You are on page 1of 54

178

ขั้นตอนการปฏิบัติในการผลิตส้มโอ

 เทคโนโลยีการผลิตส้มโอและการจัดการ
- แผนการทางานในสวนส้มโอในรอบ
12 เดือน
กรมวิชาการเกษตร

 ขั้นตอนการปลูกและการปฎิบัติดูและ
รักษาส้มโอ
 เทคโนโลยีการปลูกส้มโอเพื่อการส่งออก
 การจัดการสวนส้มโอและการผลิตส้มโอ
คุณภาพ ในรอบ 52 สัปดาห์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แผนการทางานในสวนส้มโอ
เดือน มกราคม
งานที่ต้องทา

ระยะติดดอก และระยะดอกบาน
1. ให้น้าต้นส้มโออย่างสม่้าเสมอ
2. ส้ารวจการเข้าท้าลายของแมลงศัตรูพืชในช่วงระยะดอกบานและติดผลอ่อน
2.1 เพลี้ยไฟพริก พบปริมาณเพลี้ยไฟมากกว่า 4 ตัว/ยอด หรือพบการ
ท้าลายผลอ่อนมากกว่าหรือเท่ากับ 10 % ของจ้านวนผลที่สุ่มส้ารวจ ด้าเนินการพ่น
สารป้องกันและก้าจัดแมลงศัตรูพืช เช่น อิมิดาโคลพริด 10% อัตรา 10 มิลลิลิตร/
น้้า 20 ลิตร หรือสารโฟซาโลน 25%อีซี อัตรา 60 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร หรือ
สารเฟนโพพาทริน 10%อีซี อัตรา 30 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
2.2 หนอนชอนใบส้ม ระบาดในช่วงแตกใบอ่อน และติดผลอ่อน พ่นสาร
ป้องกันและก้าจัดแมลงศัตรูพืช เช่น สารอะบาเม็กติน 1.8%อีซี อัตรา 30
มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร หรือสารอีไทออน 50%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร

ระยะดอกตูม และระยะดอกบาน
แผนการทางานในสวนส้มโอ
เดือน กุมภาพันธ์
งานที่ต้องทา

ระยะดอกบานและติดผลอ่อน
1. ให้น้าต้นส้มโออย่างสม่้าเสมอ
2. ส้ารวจการเข้าท้าลายของแมลงศัตรูพืชในช่วงระยะดอกบานและติดผลอ่อน
2.1 เพลี้ยไฟพริก พบปริมาณเพลี้ยไฟมากกว่า 4 ตัว/ยอด หรือพบการ
ท้าลายผลอ่อนมากกว่าหรือเท่ากับ 10 % ของจ้านวนผลที่สุ่มส้ารวจ ด้าเนินการพ่น
สารป้องกันและก้าจัดแมลงศัตรูพืช เช่น อิมิดาโคลพริด 10% อัตรา 10 มิลลิลิตร/
น้้า 20 ลิตร หรือสารโฟซาโลน 25%อีซี อัตรา 60 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร หรือสาร
เฟนโพพาทริน 10%อีซี อัตรา 30 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
2.2 หนอนเจาะผลส้ม ตัดแต่งผลที่ถูกท้าลาย พ่นด้วยสารไซเปอร์เมทริน +
โฟซาโลน 6.25% + 22.5%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร

เพลี้ยไฟพริก
แผนการทางานในสวนส้มโอ
เดือน มีนาคม
งานที่ต้องทา

ระยะติดผลอ่อน
1. ให้น้าต้นส้มโออย่างสม่้าเสมอ
2. ส้ารวจการเข้าท้าลายของแมลงศัตรูพืชในช่วงระยะดอกบานและติดผลอ่อน
2.1 เพลี้ยไฟพริก พบปริมาณเพลี้ยไฟมากกว่า 4 ตัว/ยอด หรือพบการท้าลาย
ผลอ่อนมากกว่าหรือเท่ากับ 10 % ของจ้านวนผลที่สุ่มส้ารวจ ด้าเนินการพ่นสาร
ป้องกันและก้าจัดแมลงศัตรูพืช เช่น อิมิดาโคลพริด 10% อัตรา 10 มิลลิลิตร/น้้า
20 ลิตร หรือสารโฟซาโลน 25%อีซี อัตรา 60 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร หรือสารเฟน
โพพาทริน 10%อีซี อัตรา 30 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
2.2 หนอนเจาะผลส้ม ตัดแต่งผลที่ถูกท้าลาย พ่นด้วยสารไซเปอร์เมทริน +
โฟซาโลน 6.25% + 22.5%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
2.3 ไรแดง พบการระบาดในช่วงที่มีอากาศแห้งแล้ง แก้ไขโดยพ่นสารป้องกัน
และก้าจัดไรแดง เช่น อะมีทราซ 20%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร

ระยะติดผลอ่อน
แผนการทางานในสวนส้มโอ
เดือน เมษายน
งานที่ต้องทา

ระยะติดผลอ่อน
1. ให้น้าต้นส้มโออย่างสม่้าเสมอ
2. ตัดแต่งผลที่มีขนาดเล็ก รูปทรงบิดเบี้ยว มีโรคหรือแมลงเข้าท้าลาย โดยตัดแต่ง
ให้เหลือ 1-2 ผล/ช่อ ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของกิ่งที่ติดผล
3. ส้ารวจการเข้าท้าลายของแมลงศัตรูพืชในระยะติดผล
3.1 เพลี้ยไฟพริก พบการท้าลายผลอ่อนมากกว่าหรือเท่ากับ 10 % ของ
จ้านวนผลที่สุ่มส้ารวจ ด้าเนินการพ่นสารป้องกันและก้าจัดแมลงศัตรูพืช เช่น อิมิดา
โคลพริด 10% อัตรา 10 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร หรือสารโฟซาโลน 25%อีซี
อัตรา 60 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร หรือสารเฟนโพพาทริน 10%อีซี อัตรา 30
มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
3.2 หนอนเจาะผลส้ม ตัดแต่งผลที่ถูกท้าลาย พ่นด้วยสารไซเปอร์เมทริน
+ โฟซาโลน 6.25% + 22.5%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
4. ผลอายุ 1-2 เดือน หลังดอกบาน ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตราเป็นกิโลกรัมต่อ
ต้น โดยใช้อัตรา 1 ใน 3 ของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางทรงพุ่มเป็นเมตร

ระยะติดผล
แผนการทางานในสวนส้มโอ
เดือน พฤษภาคม
งานที่ต้องทา

ระยะติดผล
1. ให้น้าต้นส้มโออย่างสม่้าเสมอ
2. ส้ารวจการเข้าท้าลายของแมลงศัตรูพืชในช่วงระยะติดผล
2.1 เพลี้ยไฟพริก พบปริมาณเพลี้ยไฟมากกว่า 4 ตัว/ยอด หรือพบการ
ท้าลายผลอ่อนมากกว่าหรือเท่ากับ 10 % ของจ้านวนผลที่สุ่มส้ารวจ ด้าเนินการพ่น
สารป้องกันและก้าจัดแมลงศัตรูพืช เช่น อิมิดาโคลพริด 10% อัตรา 10 มิลลิลิตร/
น้้า 20 ลิตร หรือสารโฟซาโลน 25%อีซี อัตรา 60 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร หรือ
สารเฟนโพพาทริน 10%อีซี อัตรา 30 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
2.2 หนอนเจาะผลส้ม ตัดแต่งผลที่ถูกท้าลาย พ่นด้วยสารไซเปอร์เมทริน +
โฟซาโลน 6.25% + 22.5%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
2.3 หนอนชอนใบส้ม ระบาดในช่วงแตกใบอ่อน พ่นสารป้องกันและก้าจัด
แมลงศัตรูพืช เช่น สารอะบาเม็กติน 1.8%อีซี อัตรา 30 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
หรือสารอีไทออน 50%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
ระบบน้าแบบมินิสปริงเกอร์
แผนการทางานในสวนส้มโอ
เดือน มิถุนายน
งานที่ต้องทา

ระยะติดผล
1. ให้น้าต้นส้มโออย่างสม่้าเสมอ
2. ส้ารวจการเข้าท้าลายของโรคและแมลงศัตรูพืชในช่วงระยะติดผล
2.1 เพลี้ยไฟพริก พบปริมาณเพลี้ยไฟมากกว่า 4 ตัว/ยอด หรือพบการท้าลายผลอ่อนมากกว่าหรือเท่ากับ 10 % ของจ้านวนผลที่สุ่มส้ารวจ ด้าเนินการพ่น
สารป้องกันและก้าจัดแมลงศัตรูพืช เช่น อิมิดาโคลพริด 10% อัตรา 10 มิลลิลิตร/น้า้ 20 ลิตร หรือสารโฟซาโลน 25%อีซี อัตรา 60 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร หรือ
สารเฟนโพพาทริน 10%อีซี อัตรา 30 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
2.2 หนอนเจาะผลส้ม ตัดแต่งผลที่ถูกท้าลาย พ่นด้วยสารไซเปอร์เมทริน + โฟซาโลน 6.25% + 22.5%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
2.3 หนอนชอนใบส้ม ระบาดในช่วงแตกใบอ่อน พ่นสารป้องกันและก้าจัดแมลงศัตรูพืช เช่น สารอะบาเม็กติน 1.8%อีซี อัตรา 30 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
หรือสารอีไทออน 50%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
2.4 ระวังการเข้าท้าลายของโรคแคงเกอร์ที่ใบ กิ่ง และ ผลของส้มโอ ให้ป้องกันโดยการพ่นสารคอปเปอร์ออกซีคลอไรด์ และคอปเปอร์ไฮดร็อกไซด์ ทุกๆ 7 วัน
โดยเฉพาะในช่วงที่มีฝนตกชุก
แผนการทางานในสวนส้มโอ
เดือน กรกฎาคม
งานที่ต้องทา

ระยะผลแก่
1. ใส่ปุ๋ยเคมีทางดิน สูตร 13-13-21 อัตรา 1-3 กิโลกรัม/ต้น เพื่อพัฒนาคุณภาพของเนื้อ และความหวาน
2. ส้ารวจการเข้าท้าลายของโรคและแมลงศัตรูพืชในช่วงระยะติดผล
2.1 หนอนเจาะผลส้ม ตัดแต่งผลที่ถูกท้าลาย พ่นด้วยสารไซเปอร์เมทริน + โฟซาโลน 6.25% + 22.5%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
2.2 หนอนชอนใบส้ม ระบาดในช่วงแตกใบอ่อน พ่นสารป้องกันและก้าจัดแมลงศัตรูพืช เช่น สารอะบาเม็กติน 1.8%อีซี อัตรา 30 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
หรือสารอีไทออน 50%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
2.3 ระวังการเข้าท้าลายของโรคแคงเกอร์ที่ใบ กิ่ง และ ผลของส้มโอ ให้ป้องกันโดยการพ่นสารคอปเปอร์ออกซีคลอไรด์ และคอปเปอร์ไฮดร็อกไซด์ ทุกๆ 7
วัน โดยเฉพาะในช่วงที่มีฝนตกชุก
แผนการทางานในสวนส้มโอ
เดือน สิงหาคม
งานที่ต้องทา

ผลแก่และการเก็บเกี่ยวผลผลิต
1. ส้ารวจการเข้าท้าลายของโรคและแมลงศัตรูพืชในช่วงระยะผลแก่
1.1 หนอนชอนใบส้ม ระบาดในช่วงแตกใบอ่อน พ่นสารป้องกัน
และก้าจัดแมลงศัตรูพืช เช่น สารอะบาเม็กติน 1.8%อีซี อัตรา 30
มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร หรือสารอีไทออน 50%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า
20 ลิตร หยุดพ่นสารก่อนการเก็บเกี่ยว 14 วัน
1.2 ระวังการเข้าท้าลายของโรคแคงเกอร์ที่ใบ กิ่ง และ ผลของส้ม
โอ ให้ป้องกันโดยการพ่นสารคอปเปอร์ออกซีคลอไรด์ และคอปเปอร์ไฮด
ร็อกไซด์ ทุกๆ 7 วัน โดยเฉพาะในช่วงที่มีฝนตกชุก หยุดพ่นสารก่อนการเก็บ
เกี่ยว 14 วัน
2. งดให้น้าก่อนการเก็บเกี่ยวอย่างน้อย 1 สัปดาห์
3. เก็บผลผลิต โดยประเมินจากอายุหลังดอกบาน ประมาณ 6.5-7.5 เดือน
(ขึ้นอยู่กบั สายพันธุ์) และลักษณะภายนอกผลประกอบ เช่น ต่อมน้้ามัน
บริเวณก้นผลจะห่าง ผิวผลมีนวล ควรใช้แรงที่มีความช้านาญในการเก็บ
เกี่ยวส้มโอ
ระยะผลแก่
แผนการทางานในสวนส้มโอ
เดือน กันยายน
งานที่ต้องทา

ระยะเก็บเกี่ยวผลผลิต
1. งดให้น้าก่อนการเก็บเกี่ยวอย่างน้อย 1 สัปดาห์
2. เก็บผลผลิต โดยประเมินจากอายุหลังดอกบาน ประมาณ 6.5-7.5 เดือน
(ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์) และลักษณะภายนอกผลประกอบ เช่น ต่อมน้้ามันบริเวณ
ก้นผลจะห่าง ผิวผลมีนวล ควรใช้แรงที่มีความช้านาญในการเก็บเกี่ยวส้มโอ
3. คัดแยกผลผลิตส้มโอด้อยคุณภาพ มีร่องรอยการเข้าท้าลายของโรคและ
แมลงศัตรูพืช
แผนการทางานในสวนส้มโอ
เดือน ตุลาคม
งานที่ต้องทา

ระยะเตรียมต้นก่อนการออกดอก
1. ตัดแต่งกิ่งที่แห้ง กิ่งที่เป็นโรค น้าไปเผาท้าลาย
2. ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 20 กิโลกรัม/ต้น
3. ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 และ 46-0-0 อัตราส่วน 1: 1 อัตรา 1-2 กิโลกรัม/ต้น เพื่อบ้ารุงต้นส้มโอ
4. ให้น้าต้นส้มโออย่างสม่้าเสมอ
5. ส้ารวจการเข้าท้าลายของโรคและแมลงศัตรูพืชในช่วงแตกยอดและใบอ่อน
5.1 เพลี้ยไฟพริก พบปริมาณเพลี้ยไฟมากกว่า 4 ตัว/ยอด โดยเฉพาะในช่วงที่อากาศแห้งแล้ง ด้าเนินการพ่นสารป้องกันและก้าจัดเพลี้ยไฟ เช่น อิมิดาโคลพ
ริด 10% อัตรา 10 มิลลิลติ ร/น้้า 20 ลิตร หรือสารโฟซาโลน 25%อีซี อัตรา 60 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร หรือสารเฟนโพพาทริน 10%อีซี อัตรา 30 มิลลิลิตร/
น้้า 20 ลิตร
5.2 ไรแดง พบการระบาดในช่วงที่มีอากาศแห้งแล้ง แก้ไขโดยพ่นสารป้องกันและก้าจัดไรแดง เช่น อะมีทราซ 20%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
5.3 หนอนชอนใบส้ม ระบาดในช่วงแตกใบอ่อน พ่นสารป้องกันและก้าจัดแมลงศัตรูพืช เช่น สารอะบาเม็กติน 1.8%อีซี อัตรา 30 มิลลิลิตร/น้า้ 20 ลิตร
หรือสารอีไทออน 50%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
5.4 ระวังการเข้าท้าลายของโรคแคงเกอร์ที่ใบ กิ่ง และ ผลของส้มโอ ให้ป้องกันโดยการพ่นสารคอปเปอร์ออกซีคลอไรด์ และคอปเปอร์ไฮดร็อกไซด์ ทุกๆ 7
วัน โดยเฉพาะในช่วงที่มีฝนตกชุก
แผนการทางานในสวนส้มโอ
เดือน พฤศจิกายน
งานที่ต้องทา

ระยะเตรียมต้นก่อนการออกดอก
1. ให้น้าต้นส้มโออย่างสม่้าเสมอ
2. ส้ารวจการเข้าท้าลายของโรคและแมลงศัตรูพืชในช่วงแตกยอดและใบอ่อน
2.1 เพลี้ยไฟพริก พบปริมาณเพลี้ยไฟมากกว่า 4 ตัว/ยอด โดยเฉพาะในช่วงที่
อากาศแห้งแล้ง ด้าเนินการพ่นสารป้องกันและก้าจัดเพลี้ยไฟ เช่น อิมิดาโคลพริด 10%
อัตรา 10 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร หรือสารโฟซาโลน 25%อีซี อัตรา 60 มิลลิลิตร/
น้้า 20 ลิตร หรือสารเฟนโพพาทริน 10%อีซี อัตรา 30 มิลลิลิตร/ น้้า 20 ลิตร
2.2 ไรแดง พบการระบาดในช่วงที่มีอากาศแห้งแล้ง แก้ไขโดยพ่นสารป้องกัน
และก้าจัดไรแดง เช่น อะมีทราซ 20%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
2.3 หนอนชอนใบส้ม ระบาดในช่วงแตกใบอ่อน และติดผลอ่อน พ่นสาร
ป้องกันและก้าจัดแมลงศัตรูพืช เช่น สารอะบาเม็กติน 1.8%อีซี อัตรา 30 มิลลิลิตร/
น้้า 20 ลิตร หรือสารอีไทออน 50%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
2.4 ระวังการเข้าท้าลายของโรคแคงเกอร์ที่ใบ กิ่ง และ ผลของส้มโอ ให้
ป้องกันโดยการพ่นสารคอปเปอร์ออกซีคลอไรด์ และคอปเปอร์ไฮดร็อกไซด์ ทุกๆ 7 วัน
โดยเฉพาะในช่วงที่มีฝนตกชุก
ระยะเตรียมต้นก่อนการออกดอก
แผนการทางานในสวนส้มโอ
เดือน ธันวาคม
งานที่ต้องทา

1. การจัดการน้้าเพื่อกระตุ้นการออกดอก โดยงดการให้น้าแก่ต้นส้มโอ ประมาณ


3-4 สัปดาห์ โดยสังเกตอาการใบห่อเนื่องจากการขาดน้้า หลังจากนั้นให้น้าต้นส้ม
โอตามปกติ ต้นส้มโอจะแตกใบอ่อนพร้อมกันทั้งต้น
2. ส้ารวจการเข้าท้าลายของแมลงศัตรูพืชในช่วงระยะดอกบานและติดผลอ่อน
2.1 เพลี้ยไฟพริก พบปริมาณเพลี้ยไฟมากกว่า 4 ตัว/ยอด หรือพบการ
ท้าลายผลอ่อนมากกว่าหรือเท่ากับ 10 % ของจ้านวนผลที่สุ่มส้ารวจ ด้าเนินการ
พ่นสารป้องกันและก้าจัดแมลงศัตรูพืช เช่น อิมิดาโคลพริด 10% อัตรา 10
มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร หรือสารโฟซาโลน 25%อีซี อัตรา 60 มิลลิลิตร/น้้า 20
ลิตร หรือสารเฟนโพพาทริน 10%อีซี อัตรา 30 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
2.2 หนอนชอนใบส้ม ระบาดในช่วงแตกใบอ่อน พ่นสารป้องกันและก้าจัด
แมลงศัตรูพืช เช่น สารอะบาเม็กติน 1.8%อีซี อัตรา 30 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
หรือสารอีไทออน 50%อีซี อัตรา 20 มิลลิลิตร/น้้า 20 ลิตร
3. ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 12-24-12 อัตรา 1 กิโลกรัม/ต้น
การให้น้าส้มโอหลังจากการกักน้า
ขั้นตอนการปลูก
และการปฏิบัตดิ ูแลรักษาส้ มโอ

รศ.ดร.อาไพวรรณ ภราดร์ นุวฒ ั น์


ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ทีป่ รึกษาและผู้ประสานงาน
“การพัฒนางานวิจัยส้ มโอเพือ่ การส่ งออก” สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ขั้นตอนการปลูกและการปฏิบัติดูแลรักษาสมโอ
การดแลรั
การดู แลรกษาชวงตดผล-เกบเกยว
กษาชวงติดผล เก็บเกี่ยว การกักน้ําและบังคับออกดอก
การกกนาและบงคบออกดอก
การตัดแตงกิ่ง
ระยะผลิยอดออนพรอมดอก 1. ระวังการทําลายของไรแดง ไรขาว หนอนฝดาษ โรคแคงเกอร โรคแผลจุด 1. ให “กักน้ํา” ประมาณ 1-3 สัปดาห
1. ตัดแตงกิ่งกระโดงภายในทรงพุม กิ่งแหง กิ่งเปนโรคหรือมีแมลงทําลาย
1. ระมัดระวังการทําลายของเพลี้ยไฟ 2. อยาปลอยใหตมสมติดผลมากเกินไป เพราะทําใหผลมีขนาดเล็กและ 2. เริ่ม “ขึ้นน้ํา”โดยการใสปุยเคมี (เชน
2.ใสปุยคอก/ปุยหมัก ประมาณ 10 - 20 กก./ตน รวมกับใสปุยเคมีที่มีธาตุ
2. ใหปุยและธาตุอาหารรองแกตนสม ขนาดไมสม่ําเสมอ (แตงผลออกภายหลังการติดผล ประมาณ 90 วัน) สูตรเสมอ) หรือปุยคอก ไมเกินสัปดาห
ไนโตรเจนสูง (เชน สูตร 30 - 20 – 10, 25 - 7 - 7 หรือ 20 - 10 – 10)
3. รดน้ําและรักษาความชื้นของหนาดิน 3. ใหปุยหรือธาตุอาหารแกตนสม ตัง้ แตระยะเริ่มผลิยอดถึงกอนการเก็บเกี่ยว ที่ 3-4 ตนสมจะผลิยอดออนพรอมดอก
ประมาณ 1 กก./ตน (ใสในระยะแตกใบออนชุดที่ 1 หลังการเก็บเกี่ยว)
อยางนอย 3-4 ครัง้ (ระยะผลิยอด ผลอายุ 4-5 เดือน และกอนเก็บ 30-45 วัน)
ระยะกลีบดอกโรยและเริ่มติดผลออน การเก็บเกี่ยวผลผลิต การสะสมอาหาร
1. ระมัดระวังการทําลายของเพลี้ยไฟ 1. เก็บเกี่ยวตามอายุของผลผลิต ประมาณ 7-7.5 เดือน 1. เมื่อใบออนชุดแรกแกเต็มที่ และ/หรือแสดงอาการขาดน้ํา
2. ไมควรใหน้ํามากเกินไปในระยะดอกบาน สมโอชุดเดียวกันสามารถทยอยเก็บได จึงควรหมั่นเขา (เล็กนอย) ให “ขึ้นน้ํา” โดยการใสปุย (เชนเดียวกันกับการ
(ใหน้ําในชวงระยะดอกตูมและหยุดการใหน้ําในวันดอกบาน) สํารวจคาดการณปริมาณผลผลิตและติดตอตลาด ใสครั้งแรก) และรดน้ําใหแกตนสมเพื่อบังคับใหผลิยอดเปน
3. ไมควรฉีดพนสารเคมีเกษตรแกตนสมในวันดอกบาน 2. เริ่มทยอยเก็บเกี่ยวผลผลิตที่แกกอน (สังเกตจากสีผิว ใบออนชุดที่ 2
เปลือกจะมีสีเขียวออนจางลง และตุมนํา้ มันจะขยายเต็ม็ ที่) 2. ตน สมควรมีีใบแก 2 ชุด กอ นการผลิยิ อดใหม
ใ พรอ มดอก

30 วัน 60 วัน 90 วัน 120 วัน 150 วัน 180 วัน 210 วัน 240 วัน 270 วัน 300 วัน 330 วัน 360 วัน
ตรวจสภาพแปลงอยางสม่ําเสมอ ใชปุยเคมีตามความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และผลการวิเคราะหดิน

การใหปุยระยะเริ่มผลิยอดถึงกอนการเก็บเกี่ยวผลผลิต (โดยเฉพาะในพืน้ ที่ปลูกภาคกลาง)


1. ชวงระยะที่ผลสมโอกําลังพัฒนา ควรใสปุยสูตรเคมีสูตร 1:1:1, 2:1:1 หรือ 3:1:1 (เชน 15-15-15 ,16-16-16, 25-7-7) อัตรา 2-3 กก./ตน อาจแบงใส 2 - 3 ครั้ง
อาจใหปุยทางใบและธาตุอาหารรองบาง เพื่อชวยบํารุงผลใหดียิ่งขึ้น ประมาณเดือนละครั้ง
2. กอนการเก็บเกี่ยวผลผลิต 45-50 วัน ควรใสปุยสูตรเคมีสูตร 1:1:3 หรือ 1: 2:3 (เชน 8-12-24 หรือสูตร 13-13-21 ประมาณ 1 กก./ ตน และใหปุยทางใบ เชน สูตร 10-20-30 ฉีดพน 1 - 2 ครั้ง
3. หลังเก็บเกี่ยวควรใสปุยอินทรีย เชน ปุยหมัก ประมาณ 10-20 กก./ตัน และใสปุยเคมีที่มีธาตุไนโตรเจนสูง เชน สูตร 30-20-10 25-7-7 หรือ 20-10-10 ประมาณ 1 กก./ตน
อําไพวรรณ ภราดรนุวัฒน. 2553. 4. กอนออกดอก 1-2 เดือน ควรใสปุยสูตร 12 - 24 -12 หรือ 8 - 24 - 24 อัตรา 1 กก./ตน และอาจใหปุยทางใบรวมดวยทุก 7-10 วัน เชน สูตร 15–30–15 หรือ 7-13-13+12.5 ธาตุสังกะสี
คูมือการผลิตสมโอคุณภาพ. (การใสปุยที่มีธาตุฟอสฟอรัสสูง จะใชในกรณีที่สมโอมีอายุประมาณ 5-6 ป ยังไมมีผลผลิต มีใบขนาดใหญ และควรปรับตามความเหมาะสมกับสภาพพืน้ ที่ หรือผลวิเคราะหดินปลูก)
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
รูปแบบการจัดการแปลงปลูกสมโอ การปรับปรุงคุณภาพโดยเทคนิคการหอผล
การปลูกสม โอในทีด่ อนหรือในสภาพไร

8 เมตร
6 50 เมตร
6.50
สันรอง
1. ถุงกระดาษเคลือบไขสําหรับหอผลไม 2. ผลออนสมโออายุ 75-80 วัน
0.8-1.0 เมตร กอนการใชใหจดบันทึกวันที่หอผลบนถุง ที่พรอมหอดวยถุงกระดาษเคลือบไข

1.50 เมตร 0.70 เมตร

การปลู กสมโอในทลุ
การปลกส มโอในที่ลม หรื
หรอสภาพสวนยกรอง
อสภาพสวนยกรอง

3. ใชลวด (อยูด า นขางถุง) มัดพัน 4. การหอผลสมโอ ภายหลังการฉีด


คันกวาง 8 เมตร รองสวนดานใน ปากถุงกระดาษใหมิดชิด พนสารปองกันแมลงและไร 1 วัน

คูน้ําดานนอก

ทอน้ํา คูน้ําดานใน

การแพรระบาดของโรค และแมลงศัตรูที่สําคัญของสมโอ 5. เปดหรือถอดถุงกระดาศออก เพื่อใหผลสม 6. ผลสมโอขาวแตงกวาหอผล ที่มีคุณภาพและ


โอไดรับแสงแดด กอนเกบเกยว
โอไดรบแสงแดด กอนเก็บเกี่ยว 10
10-14
14 วน
วัน ปลอดภัยจากสารเคมีปองกันกําจัดศัตรพืพช
ปลอดภยจากสารเคมปองกนกาจดศตรู
1. ระมัดระวังการทําลายของเพลี้ยไฟ ตั้งแตระยะเริ่มผลิยอด ระยะดอกออน-ดอกตูม-กลีบดอกโรย ถึงระยะผลออนอายุ 1 เดือน
2. ระวังการทําลายของไรแดง ไรขาว ตั้งแตผลออนอายุ 2 - 4 เดือน อําไพวรรณ ภราดรนุวัฒน. 2553.
3. ระวังการทําลายของโรคแคงเกอรเมื่อใบสมมีอายุ 30-45 วัน และเมื่อผลสมมีอายุ 3.5 - 5 เดือน (โดยเฉพาะในฤดูฝน)
4. ระวังการทําลายของไรแดง ไรสนิม เมื่อผลสมมีอายุ 6 - 7.5 เดือน คูมือการผลิตสมโอคุณภาพ.
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
เทคโนโลยีการปล ูกส้มโอ
เพื่อการส่งออก

รองศาสตราจารย์ ดร.อาไพวรรณ ภราดร์นวุ ฒ ั น์


ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ที่ปรึกษาและผูป้ ระสานงาน
“การพัฒนางานวิจยั ส้มโอเพื่อการส่งออก” สานักงานกองท ุนสนับสน ุนการวิจยั (สกว.)
เทคโนโลยีการปล ูกส้มโอ
เพื่อการส่งออก

รองศาสตราจารย์ ดร.อาไพวรรณ ภราดร์น ุวัฒน์


ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ที่ปรึกษาและผูป้ ระสานงาน
“การพัฒนางานวิจยั ส้มโอเพื่อการส่งออก” สานักงานกองท ุนสนับสน ุนการวิจยั (สกว.)

1
พันธส์ ุ ม้ โอในประเทศไทย
ส้มโอซึ่งปล ูกกระจายตามแหล่งปล ูกต่างๆของประเทศ ทัง้ แหล่งปล ูกที่
มีความสาคัญทางด้านเศรษฐกิจและปล ูกเพื่อการบริโภคในท้องถิ่น ในปัจจุบนั พบว่า
มีหลายพันธด์ ุ ว้ ยกัน พันธท์ ุ ี่มีความสาคัญและนิยมปล ูก ได้แก่

พันธุท์ องดี พันธุข์ าวน้าผึง้

พันธข์ ุ าวทองดี
ผลร ูปทรงกลมแป้น ไม่มีจกุ มีจีบเล็กน้อยบริเวณขัว้ ผล ปลายผลค่อนข้าง
ตัด ขนาดปานกลาง น้าหนัก 940-1,060 กรัม ความสูง 12 -14 ซม. เส้นผ่าน
ศนู ย์กลาง 14 - 16 ซม. เส้นรอบวงบริเวณกลางผลประมาณ 40 ซม. เปลือกผลมี
ขนอ่อนนุ่มเล็กน้อย เปลือกค่อนข้างบาง 1-1.5 ซม. น้าหนัก 320 - 400 กรัม
เปลือกในและผนังหม้ ุ กลีบมีสีชมพูเรือ่ ๆ จานวน 14 -16 กลีบ เนื้อหรือกง้ ุ สีชมพู
อ่อน นิ่มฉ่าน้า มีความหวานสงู น้าหนักเนื้อ 520 - 670 กรัม เมล็ดมีขนาดเล็ก
จานวนปานกลางถึงมาก
แหล่งปล ูกสาคัญ คือ นครปฐม สมุทรสาคร ราชบ ุรี และปราจีนบ ุรี
พันธข์ ุ าวน้าผึ้ง
ทรงผลกลมมีจกุ แต่เห็นไม่ชดั เจน ผลขนาดใหญ่ น้าหนักผลเฉลี่ย 1,800
กรัม ความสูงผล 18 ซม. เส้นผ่านศนู ย์กลาง 17-19 ซม. เส้นรอบวงด้านกว้าง
ประมาณ 56 ซม. ผิวผลเรียบมีสีเขียว หนา 2.3-2.5 ซม. น้ าหนักเปลือก 300-
780 กรัม เปลือ กในและผนัง กลี บ สี ข าว จ านวน 13-15 กลีบ เนื้ อผลหรือก ง้ ุ มี
ขนาดใหญ่ สีเหลืองอมน้าตาล รสชาติเปรี้ยวอมหวานและกรอบ น้าหนักเนื้อ 700-
1,000 กรัม
แหล่งปลกู สาคัญ คื อ นครปฐม (สามพรานและนครชัยศรี ) สมุทรสาคร
(บ้านแพ้วและกระทมุ่ แบน) ราชบ ุรี (ดาเนินสะดวก) 2
พันธุข์ าวแตงกวา พันธุข์ าวใหญ่

พันธข์ ุ าวแตงกวา
ผลทรงกลมแป้นไม่มีจกุ ก้นผลป้านถึงเว้าเล็กน้อย ขนาดผลปานกลาง หนัก
816-1,580 กรัม ความสูงผล 12 - 16 ซม. เส้นผ่านศนู ย์กลางผล 14 -16 ซม.
เส้นรอบวง 44 - 53 ซม. ผิวเปลือกเรียบสีเขียว มีต่อมน้ามันละเอียด เปลือกหนา
ปานกลาง 1.8 - 2.7 ซม. น้ าหนัก เปลือก 420 - 446 กรัม มี 12-15 กลีบ/ผล
เนื้ อ ก ง้ ุ นิ่ มสี ข าวอมเหลือ ง เบี ยดกัน ค่ อนข้า งแน่ น น้ าหนัก เนื้ อ 516 -972 กรัม
รสชาติหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย แห้งกรอบไม่แฉะน้า แกะกลีบและเนื้อออกได้ง่าย
แหล่ง ปลกู ส าคัญ คื อ อาเภอสวรรคบรุ ี อาเภอวัดสิงห์ และอ าเภอมโนรมย์
จังหวัดชัยนาท จังหวัดนครสวรรค์ และอ ุทัยธานี

พันธข์ ุ าวใหญ่
ทรงผลกลมสูงท้ายผลเรียบ ขนาดผลใหญ่ หนัก 1,200-2,300 กรัม ความ
สูงผล 14 -19 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 14 -19 ซม. เส้นรอบวงกลางผล 45-
60 ซม. เปลือ กผลผิว เรีย บสี เ ขี ย วเข้ม อมเหลื อ ง ต่ อ มน้ า มัน ขนาดเล็ ก ละเอี ย ด
เปลือกหนาปานกลาง 1.3 - 2.0 เซนติ เมตร น้าหนักเปลือก 369 - 700 กรัม
น้าหนักเนื้อ 789 - 1,090 กรัม จานวนกลีบ 12 - 16 กลีบ/ผล ผนังกลีบด้านใน
สีชมพู เนื้อกง้ ุ สีขาวอมเหลือง จนถึงสีน้าตาลอ่อนอมชมพูเล็กน้อย กง้ ุ เกาะตัวกัน
แน่นไม่หล ุดร่วงง่าย รสชาติหวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว
แหล่งปล ูกสาคัญ คือ อาเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม

3
พันธข์ ุ าวหอม
ผลทรงกลม ก้นผลเรียบ ขนาดผลปานกลาง น้าหนักผล 800-1,500 กรัม
ความสูงผล 12 - 16 ซม. เส้นผ่านศนู ย์กลาง 12-16 ซม. เส้นรอบวงด้านกว้าง
38-50 ซม. ผิวเปลือกเรียบ สีเขียวอมเหลืองเล็กน้อย ต่อมน้ามันละเอียด เปลือก
ด้านในมีสี ขาว น้ าหนัก เปลือ ก 250-340 กรัม มี 11-15 กลีบ/ผล น้ าหนัก เนื้ อ
720 - 940 กรัม ผนังกลีบแยกออกจากเปลือกผลได้ง่าย กง้ ุ มีสีขาวอมเหลือง
ขนาดเล็กเบี ยดกัน แน่น ไม่แฉะน้ า สามารถแกะออกจากผนังกลีบได้ง่า ย รสชาติ
หวานอมเปรี้ยวเล็กน้อย
แหล่งปล ูกสาคัญ คือ นครปฐม (สามพราน) ราชบ ุรี (ดาเนินสะดวก)
พันธท์ ุ บั ทิมสยาม
มีลกั ษณะประจาพันธ์ ุ คือ ใบค่อนข้างกว้าง ปลายใบแหลม ใต้ใบมีขนอ่อน
นุ่ม ทรงผลกลมมีจกุ คล้ายหลอดไฟ ผลขนาดใหญ่ หัวจีบ (คล้ายขาวพวง) น้าหนัก
ผลเฉลี่ย 1,800-2,000 กรัม ความสูงผล 18-20 ซม. เส้นผ่านศนู ย์กลาง 16-
22 ซม. เส้นรอบวงด้านว้างประมาณ 16-22 นิ้ว ผิวผลเรียบมีสีเขียว ผิวผลมีขน
อ่อนนุ่มคล้ายกามะหยีป่ กคล ุมทัว่ ทัง้ ผล เมื่อจับผลเบาๆ จะรส้ ู ึกผิวเปลือกนมุ่ เปลือก
บาง ถ้าเก็บเกี่ยวหรือขนส่งไม่ดีจะช้าง่าย เปลือกในและผนังกลีบสีชมพูเข้ม จานวน
11-13 กลีบ/ผล เนื้ อผลหรือกง้ ุ มีขนาดปานกลาง สีชมพูเข้มถึงสีแดงเข้มคล้าย
ทับทิม รสชาติหวานและหอมนุ่ม น้าหนักเนื้อ 800-1,000 กรัม
แหล่งปล ูกสาคัญ คือ นครศรีธรรมราช (บ้านแสงวิมาน ปากพนัง)

พันธุท์ บั ทิมสยาม

พันธุข์ าวหอม
4
สิ่งสาคัญก่อนการปล ูกส้มโอ

1. พื้นที่ปล ูกที่มีแหล่งน้าและสามารถด ูแลได้ทวั่ ถึง


เกษตรกรแต่ละรายควรมี พ้ ืนที่ปล ูกอย่างน้อย 5 ไร่ข้ ึนไป เนื่องจากจานวน
ต้นที่ปล ูกได้ต่อไร่คือ 50-55 ต้น ต้นท ุนการผลิตปีที่ 1-5 เฉลี่ย คือ 3,000-5,000
บาท/ไร่/ปี และในปีที่ 6 ขึ้นไป ต้นท ุนเฉลี่ย 6,000 – 7,000 บาท/ไร่/ปี ผลผลิตใน
ปีที่ 6 ขึ้นไปเฉลี่ย 1,600-2,800 กิโลกรัม/ไร่/ปี หากขายได้กิโลกรัมละ 25 บาท จะ
ได้รายได้ 40,000-70,000 บาท/ไร่/ปี ข้อสาคัญคือในแหล่งปลกู ควรจะมีแหล่ง
น้าตามธรรมชาติหรือแหล่งน้าที่ข ุดสร้างไว้ใช้ในฤด ูแล้ง
2. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
ดินปลกู ดิน โปร่งร่วนซ ยุ มี ความอ ุดมสมบูรณ์ ระบายน้ าได้ดี มีค่ าความเป็นกรด
เป็นด่างปานกลาง หรือเป็นกรดเล็กน้อย ประมาณ 5.5 - 6.5
ปริมาณน้าฝน ส้มโอจะเจริญเติบโตได้ดี ต้องให้น้าอย่างสม่าเสมอ พื้นที่ที่เหมาะสม
จะปล ูกส้มโอควรมีปริมาณน้าฝนเฉลี่ยปีละ 1,500-1,800 มิลลิเมตร หรือเลือก
พื้นที่ปล ูกอยูใ่ กล้แหล่งน้าหรือสามารถให้น้าแก่ตน้ ส้มโอได้ในเวลาที่พืชต้องการ
อ ุณหภ ูมิ ที่เหมาะสมควรอยูร่ ะหว่าง 25-30 องศาเซสเซียส
3. การวางแผนปล ูกที่ดี
ต้องคัดเลือกกิ่งพันธท์ ุ ี่ดี แข็งแรง ตรงตามสายพันธ ์ ุ ให้ผลดก
มีการเตรียมดินที่ดี ในที่ลมุ่ ควรยกร่องปล ูก ในที่ดอนควรยกดินเป็นโขด
เกษตรกรที่ตอ้ งการปล ูกส้มโอเพื่อส่งออกนัน้ จะต้องมีความพร้อมในปัจจัย
หลายด้าน เพราะส้มโอเป็นพืชที่ตอ้ งการความด ูแลเอาใจใส่เป็นอย่างดีตลอดปี เช่น
การให้ป๋ ยุ ให้น้า การตัดแต่ง และการป้องกันกาจัดโรคและแมลง

ควรคัดเลือกกิ่งพันธท์ ุ ี่ดี ซึ่งขยายพันธ์ ุ


จากต้นแม่ที่แข็งแรง สมบูรณ์ไม่เป็นโรค
กิ่งมีสีเขียวอมน้าตาลหรือสีน้าตาลอมเขียว
ไม่เป็นกิ่งแก่ หรือเพาะชาไว้นานเกินไป

5
การปล ูกส้มโอ

4. การเตรียมการปล ูก
พื้ น ที่ ล มุ่ ต้อ งยกร่อ งให้ส งู จากระดับ น้ า ท่ วมถึ ง อย่า งน้อ ย 50 เซนติ เ มตร
ระหว่ า งร่อ งข ดุ เป็ นร่อ งน้ า กว้า ง 1- 1.5 เมตร ลึก 0.80-1.00 เมตรเพื่ อ
ระบายน้ า หน้า ร่องปลกู กว้าง 6-8 เมตร โดยปกติ จะมีคนั ดิ นเพื่อป้องกันน้ า
ท่วมใช้ระยะปล ูกคือ 5x5 6x6 ระยะที่เหมาะสมคือ 8x8 เมตร ในพื้นที่ 1ไร่ จะ
ปล ูกได้ 25 ต้น
พื้นที่ดอน ให้ไถเตรียมดินปรับพื้นที่ให้เรียบ พูนดินตรงบริเวณที่ปลกู เป็นโขด
หรือกระทะคว่าสูงประมาณ 50-70 ซม.
ใช้ระยะปล ูกคือ 5x5 เมตร หรือ 6x6 เมตร หากเลือกใช้ระยะปล ูกที่เหมาะสม
คือ 8x8 เมตร ในพื้นที่1ไร่ จะปล ูกได้ 25 ต้น

การเตรียมแปลงปล ูกส้ม
และการคล ุมแปลงภายหลังการปล ูกเพื่อรักษาความชื้น
6
การปล ูกส้มโอ

5. วิธีการปล ูก
5.1 ฤด ูปล ูกที่เหมาะสม คือ ในช่วงต้นฤด ูฝน
5.2 ข ุดหล ุมปล ูกกลางร่องที่ยกร่องไว้หรือกลางโขดที่พนู ดินไว้ ให้กว้างและลึก
เท่ากับถ ุงที่เพาะชากิ่งพันธ์ ุ หรือ ประมาณ 50 เซนติเมตร
5.3 ผสมดิน ปุ๋ยคอกเก่า(และปุ๋ยร็อคฟอสเฟต)เข้าด้วยกันในหล ุมให้สงู ประมาณ
2/3 ของหล ุม
5.4 ยกวางถ ุงเพาะชากิ่งพันธส์ ุ ม้ โอลงในหล ุม โดยให้ระดับของหน้าดินในถ ุงกิ่งพันธ ์ ุ
สูงกว่าระดับดินปากหล ุมปล ูกเล็กน้อย
5.5 ใช้มีดที่คมกรีดถ ุงจากก้นถ ุงขึ้นมาถึงปากถ ุงทัง้ ด้านซ้ายและขวา ดึงถ ุงเพาะชา
พลาสติกออก
5.6 จัดรากของกิ่งพันธใ์ ุ ห้เป็นชัน้ ๆและกระจายโดยรอบ กลบดินลงในหล ุม อย่าให้
สูงถึงรอยที่ติดตา/เสียบยอดหรือรอยทาบ กดดินบริเวณโคนต้นให้แน่น
5.7 ปักไม้หลักและผูกเชือกยึด เพื่อป้องกันลมพัดโยก
5.8 หาวัสด ุคล ุมดินบริเวณโคนต้น เช่น ฟางข้าว หญ้าแห้ง
5.9 รดน้าให้โชก ทาร่มเงา เพื่อช่วยพรางแสงแดด

การปล ูกส้มในสภาพที่ดอนพร้อมระบบน้า
และการผูกหลักไม้เพื่อยึดต้นส้มป้องกันการโยกคลอน

7
การด ูแลสวนส้มโอ

6. การด ูแลและการทางานหลังปล ูก-ต้นอาย ุ 1 ปี


1. ผูกยึดต้นส้มให้แน่นกับหลักไม้รวกที่ปักไว้เพื่อป้องกันไม่ให้ตน้ ส้มโยกคลอน
2. ให้น้าแก่ตน้ ส้มที่ปล ูกใหม่อย่างสม่าเสมอและพอเพียง อย่าให้ตน้ ส้มขาดน้า
3. ให้ป๋ ยทางดิ
ุ นแก่ตน้ ส้ม ควรเลือกให้ป๋ ยหมั
ุ กหรือปุ๋ยคอกเก่า หรือปุ๋ยเคมี
สูตร 46-0-0, 16-20-0 หรือ 20-20-0 ระยะ 50-55 วัน/ครัง้ ตัง้ แต่ตน้
อาย ุ 6-12 เดือนหลังปล ูก
4. อาจให้ป๋ ยสู
ุ ตรเสมอ 30-20-10 หรือ 19-20-20 ทางใบ เดือนละ 1-2 ครัง้
5. ในฤด ูแล้ง ควรคล ุมบริเวณทรงพุ่มด้วยเศษพืช ฟางข้าว ต้นถัว่ เปลือกถัว่
6. ระวังการทาลายของเพลี้ยไฟและหนอนชอนใบในระยะยอดและใบอ่อน
7. ตัง้ แต่ตน้ ส้มอาย ุ 8 เดือนขึ้นไป ควรตัดแต่งกิ่งกระโดง กิ่งแห้งและกิ่งเป็นโรค
8. อย่าฉีดพ่นสารป้องกันกาจัดวัชพืชใกล้บริเวณโคนต้นหรือทรงพุ่ม
9. ระวังการทาลายของโรคแคงเกอร์หรือโรคใบจุดที่ใบอ่อนในฤด ูฝน
10. หากดินปล ูกไม่ดีหรือเป็นดินเปรี้ยว ควรใช้วสั ด ุปรับปร ุงค ุณภาพของดิน เช่น
อินทรียว์ ตั ถ ุ หรือ ปูน ให้เหมาะสมกับชนิดของดิน
11. ปล ูกซ่อมแซมต้นส้มที่ตายหรือไม่แข็งแรง โดยใช้ตน้ พันธส์ ุ ม้ ที่สมบูรณ์แข็งแรง
12. หากแปลงปล ูกอยูใ่ นสภาพที่โล่ง ใกล้นาข้าว ที่รกร้าง ควรรีบปล ูกพืชล้อมที่
หรือมีพืชกาบังลม ภายหลังจากที่ปล ูกต้นส้มแล้ว
13. ปล ูกพืชอื่นที่อาย ุสัน้ เพื่อเสริมรายได้ เช่น พืชตระก ูลถัว่ ผัก กล้วยไข่ มะละกอ

การปล ูกพืชแซม (กล้วยไข่) ในสวนส้มโอ


ในระยะต้นส้มอาย ุ 1-2 ปี เป็นพืชอาย ุสัน้
เพื่อเสริมสร้างรายได้

8
การด ูแลสวนส้มโอ

การด ูแลสวนส้มโอ ต้นส้มโออาย ุ 1-2 ปี ควรมีการตัดแต่งกิง่


และจัดทรงพุ่มและสร้างกิง่ หลักให้ถกู ต้อง

7. การด ูแลและการทางานต้นส้มอาย ุ 1-3 ปี


1. ให้เริม่ สร้างทรงพุ่ม โดยมีลาต้นหลักเพียงลาเดียวและมีกิ่งใหญ่ 3-5 กิ่ง
2. ควบค ุมให้แตกยอดอ่อนเป็นรนุ่ หรือเป็นช ุดพร้อมๆ กัน ตัง้ แต่ตน้ ส้มอาย ุ 1 ปี
3. ควบค ุมการแตกยอดอ่อนให้มีการแตกตาข้างมากกว่าการแตกตายอด ด้วยการ
ให้ตน้ ส้มโอผลิยอดช ุดใหม่ท ุกๆ 50-55 วัน โดยการไม่ให้น้าและให้น้าเป็นระยะๆ
4. ด ูแลให้ใบส้มได้ขนาดมาตรฐาน ใบหนา สีเขียวเข้ม ไม่แสดงอาการขาดธาต ุ
อาหารหลักหรืออาหารรอง
5. การให้ป๋ ยทางดิ
ุ นควรเริม่ ปรับเป็นการให้ท ุก ๆ 2 เดือน ใช้ป๋ ยอิ
ุ นทรียส์ ลับกับ
ปุ๋ยเคมี
7. เริม่ “สอนดอก” เมื่อต้นส้มโออาย ุประมาณ 30-36 เดือน โดย “เว้นน้า” หรือ
“กักน้า” จากนัน้ จึงให้น้าเพื่อให้เริม่ ผลิยอดและดอกในส้มรนุ่ ที่ 1 หรือ รนุ่ 2
8. หากใบส้มมีขนาดใหญ่กว่าปกติ ให้ควบค ุมการออกดอกโดยการใช้ป๋ ยทางใบที ุ ่มี
ธาต ุฟอสฟอรัสสูง เช่น สูตร 15-30-15 พ่นก่อนการเว้นน้าหรือกักน้า 1 เดือน
9. การให้ตน้ ส้มโอแตกยอดอ่อนพร้อมดอกรนุ่ แรก อาจใช้วิธีการกักน้าให้ตน้ ส้มมี
สภาพขาดน้าในช่วงเวลาสัน้ ๆ จากนัน้ จึงให้น้าเพื่อให้ตน้ ส้มผลิยอดอ่อนช ุดใหม่
10. ความสูงของต้นส้มโอที่สามารถเริม่ บังคับให้ออกดอกและติดผล คือ 2.5-3.0
เมตร

9
การด ูแลสวนส้มโอ

8. การด ูแลและการทางานเมื่อต้นส้มอาย ุ 4 ปี ขึ้นไป


1. ต้นส้มที่ มีอายนุ อ้ ยมักมีใบขนาดใหญ่ และมีการแตกกิ่งกลางทรงพุ่ม กิ่งตัง้ สูง
และกิ่ ง กระโดงที่ ย าวเป็ นเหลี่ ย มและมี ห นาม จึ ง ควรต้อ งมี ก ารตัด แต่ ง กิ่ ง
บ่อยครัง้ ห้ามตัดแต่งกิ่งขนาดเล็ก (ประมาณ 8-10 นิ้ว) และมีมมุ กิ่งที่เอียง
ลง ทั้ง กิ่ ง ที่ อ ยู่ภ ายในลาต้น และกิ่ งที่ อยู่รอบนอกทรงพุ่ม ให้ตัดแต่ งในเดื อ น
กันยายนและเดือนธันวาคมของท ุกปี
2. ต้นส้มโอที่มีอาย ุตัง้ แต่ 4 ปีขึ้นไป หากต้นส้มมีความสมบูรณ์แข็งแรง ก็จะให้เริม่
ผลิดอกและติดผลได้ ในปีแรก ๆ อาจให้มีผลผลิตเพียง 20-30 ผล/ต้น
ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของต้นและความสมบูรณ์
3. การให้ออกดอกและติดผลรนุ่ แรก อาจเลือกปฏิบตั ิได้ 3 แนวทาง คือ
3.1 ผลิดอกและติดผลส้มรนุ่ 1 (ผลิดอกประมาณมกราคมหรือก ุมภาพันธ์)
เก็บเกี่ยวผลได้ประมาณเดือนสิงหาคม-กันยายน
3.2 ผลิดอกและติดผลส้มรนุ่ 2 (ผลิดอกประมาณพฤษภาคมหรือมิถ ุนายน)
เก็บกี่ยวผลได้ประมาณเดือนธันวาคม-มกราคม
3.3 ผลิดอกและติดผลส้มรนุ่ 3 (ผลิดอกประมาณพฤศจิกายนหรือธันวาคม)
เก็บเกี่ยวผลได้ประมาณเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม

10
การด ูแลสวนส้มโอ

8. การด ูแลและการทางานเมื่อต้นส้มอาย ุ 4 ปี ขึ้นไป


4. อาย ุการเก็บเกี่ยวของผลส้มโอ คือ ประมาณ 7-8 เดือนหลังจากดอกบาน ซึ่ง
แตกต่างกันตามสายพันธ์ ุ
4.1 ผลส้มโอส่งออก จะเก็บเกี่ยวที่อาย ุผลประมาณ 70-75 % หรือก่อนผลแก่
ประมาณ 2-3 สัปดาห์
4.2 ผลส้มโอบริโภคภายในประเทศ ควรเก็บเกี่ยวที่อาย ุประมาณ 85-95 %
5. ผลส้มโอของต้นส้มที่มีอาย ุน้อย (อาย ุ 4-6 ปี) มักมีเปลือกหนา รสชาติอมเปรี้ยว
และฟ่ามง่าย จึงต้องเก็บเกี่ยวผลส้มเร็วกว่าผลส้มโอจากต้นส้มที่มีอายมุ าก
(อาย ุเกิน 7 ปีขึ้นไป)
6. ผลส้มโอที่มีค ุณภาพจะเป็นผลส้มที่มีขนาดไม่ใหญ่เกินไป น้าหนักดี ผลไม่บิดเบี้ยว
ทรงผลไม่เสียรปู ร่าง สีเปลือกเขียวสม่าเสมอ เปลือกไม่หนา

ผลส้มโอพันธท์ ุ องดีอาย ุ 7-7.5 เดือนมี


ค ุณภาพของผลและเปลือกผลตาม
ความต้องการของตลาดต่างประเทศ
ซึ่งไม่มีความเสียหายที่เกิดจากการ
ทาลายของศัตร ูพืช โดยเฉพาะเพลี้ยไฟ
ไร และโรคแคงเกอร์

เพลี้ยไฟเป็นแมลงขนาดเล็ก อาศัยเข้าด ูดกินยอดอ่อนและดอกของ


พืชได้หลายชนิดรวมทัง้ ส้มโอ ตัวเต็มวัยมีสีน้าตาลเข้มเกือบดา มีขนาด 1.5
มิลลิเมตร ตัวอ่อนมีสีครีมอาศัยอยู่รวมเป็นกลมุ่ เข้าทาลายตัง้ แต่ระยะผลิ
ยอดอ่อน ด ูดกินบริเวณโคนกลีบดอก ทาให้ดอกเกิดอาการช้าและร่วง ด ูด
กินน้าเลี้ยงตามใบอ่อน และด ูดกินผลอ่อน ทาให้ผลอ่อนร่วง ผิวผลเสียหาย
โดยจะปรากฏชัดเมื่อผลโตขึ้น ทาให้ไม่เป็นที่ตอ้ งการของตลาด

11
การด ูแลและการท
การดางานเมื ่อต้นมส้โอ
ูแลสวนส้ มโออาย ุ 4 ปีขึ้นไป
1. ระยะผลยอดอ่อนพร้อมดอก
ต้นส้มโอจะผลิยอดอ่อนใหม่พร้อมดอก เมื่อพ้นฤด ูหนาว
 ใส่ป๋ ยหมั
ุ ก/ปุ๋ยคอก 5-10 กก./ต้น หว่านกระจายรอบทรงพุ่ม
 อาจใส่ป๋ ยเคมี
ุ เพิ่ม 1-1.5 กก./ต้น และรดน้าให้ละลาย
 พ่นสารเคมีป้องกันเพลี้ยไฟ 2 ครัง้ ในระยะผลิยอดและก่อน
ดอกบาน ห้ามพ่นสารเคมีและรดน้าในวันดอกบาน

เดือนมกราคม-เดือนก ุมภาพันธ์

2. ผลอ่อนอาย ุ 1-2 เดือน


หากต้องการผลรนุ่ นี้ ให้ระวังการทาลายของเพลี้ยไฟ
และไขาว
ให้พ่นสารป้องกันเพลี้ยไฟ 1 ครัง้ สลับกับสารป้องกันไร 2 ครัง้
 พ่นธาต ุสังกะสีและธาต ุแมกนีเซี่ยม สลับกับแคลเซี่ยมหรือ
อาหารเสริม เช่น สาหร่ายสกัด 1-2 ครัง้
 ระยะนี้ควรให้น้าแบบเปี ยกสลับแห้ง
 หากหญ้าหรือวัชพืชยาวหรือรก ให้ตด ั ดาย/พ่นสารควบค ุมได้

เดือนมีนาคม-เดือนเมษายน

3. ผลอ่อนอาย ุ 3-4 เดือน


 ระวังการทาลายของไรขาวและไรแดง ให้พ่นสารป้องกันไร 2
ครัง้ สลับกับสารป้องกันแมลง 1 ครัง้ หากฝนเริม่ ตก จะเกิด
โรคแคงเกอร์ที่ผล ให้ผสมสารคอปเปอร์ไฮดร็อกไซด์กบั สาร
ป้องกันไร 2 ครัง้ สลับกับสารแมนโคเซ็บ 1 ครัง้
 ภายหลังพ่นสารป้องกันศัตรูพืช 1 วัน ให้ห่อผลได้ทน ั ที
 ระยะนี้ อาจมีการผลิยอดอ่อนช ุดใหม่ ให้ใส่ป๋ ยเคมี
ุ สตู รเสมอ
(1:1:1) หรือสูตรผสม (สูตรเสมอ+15-0-0 หรือ 46-0-0)
เดือนพฤษภาคม-เดือนมิถ ุนายน 0.5-0.8 กก./ต้น รดน้าให้ป๋ ยละลาย

12
การด ูแลและการท
การดางานเมื ่อต้นมส้โอ
ูแลสวนส้ มโออาย ุ 4 ปีขึ้นไป
4. ผลอาย ุ 5-6 เดือน
พ่นสารป้องกันไรแดง/ไรสนิม สลับกับสารป้องกันแมลง
ทาลายผล (หนอนเจาะผล หนอนฝีดาษ แมลงวันทอง/ผลไม้)
 พ่นสารป้องกันโรคพืช (เช่นสารแมนโคเซ็บหรือโปรปิเน็บ) ครัง้
เว้นครัง้ หรือ 2 ครัง้ ติดต่อกันแล้วเว้น 1 ครัง้ (7-10 วัน/ครัง้ )
 ใส่ป๋ ยเคมี
ุ สตู ร 13-13-21 (หรือ 16-16-16+0-0-60)
0.5-1.0 กก./ต้น เมื่อผลส้มมี อาย ุ 6-6.5 เดือน
เดือนกรกฎาคม-เดือนสิงหาคม

5. ผลอาย ุ 7-8 เดือน


เมื่อผลส้มอาย ุ 7 เดือนและมีฝนตก จะเกิดโรคทาให้ผลร่วง
ให้
พ่นสารป้องกันโรคพืช (เช่น คาร์เบดาซิมหรือคลอโรทาโลนิล)
1-2 ครัง้ ภายใน 3 วัน ทันที่หลังจากฝนหย ุดตกและมีแสงแดด
 อาจให้ป๋ ยเคมี
ุ สตู ร 13-13-21 (หรือ 16-16-16+0-0-60)
เพิ่มก่อนการเก็บ 1 เดือน ถ้าต้นส้มติดผลส้มดกหรือดกมาก 
ควรให้น้าแบบเปี ยกสลับแห้งและต้องรักษาความชื้นในดิน
เดือนกันยายน-เดือนต ุลาคม

6. ภายหลังการเก็บเกี่ยว
ให้ตด
ั แต่งกิ่งแห้ง/กิ่งกระโดงหนนาม/กิ่งที่เป็ นโรคและแมลง
ภายหลังจากการเก็บ ประมาณเดือนกันยายน-ต ุลาคม และ
เร่งใส่ป๋ ยรดน
ุ ้าเพื่อให้ตน้ ส้มผลิยอดอ่อนช ุดใหม่
 เมื่อใบแก่พร้อม ให้เตรียมต้นส้มเพื่อการทาผลผลิตรน ุ่ ใหม่
โดยให้ผลิยอดพร้อมดอกในเดือนธัวาคม-เดือนมมกราคม
 ให้ใส่ป๋ ยอิ
ุ นทรียห์ รือปุ๋ยเคมีสตู รเสมอ 1.0-1.5 กก./ต้น

เดือนพฤศจิกายน-เดือนธันวาคม

13
โรคและแมลงศัตรูส้มโอ
ส้มโอเป็ นพืชที่มีโรคและแมลงศัตรูรบกวนค่อนข้างมาก เมื่อเปรียบเทียบกับพืช
ชนิดอื่น ๆ โรคสาคัญที่ทาลายส้มโอ คือ โรครากเน่าและโคนเน่า โรคยางไหล โรคแคง
เกอร์ โรคแผลจุด โรคขัว้ ผลเน่า ส่วนแมลงศัตรูที่ทาลายส้มโอ คือ เพลี้ยไฟ หนอน
ชอนใบ หนอนเจาะผล ไรขาว ไรแดง
โรครากเน่าและโคนเน่า

ลักษณะอาการ
พบเกิดที่บริเวณรากและโคน
ต้น อาการเริ่มแรกอาจสังเกตได้
ยาก เพราะเชือ้ จะเข้าทาลายทีราก
ฝอย เมื่อรากพืชถูกทาลายมากๆ
 ลักษณะการทาลายบริ เวณโคนต้ นส้ม จะมีอาการใบเหลือง เหี่ยวคล้าย
ขาดนา้ รากที่ถกู ทาลายจะมีสี
เป็ นโรคสาคัญ ที่ทาความเสีย หายกับ นา้ ตาลและเปื่ อยยุ่ยลามไปถึงโคน
ส้มโอมากที่สดุ โรคหนึ่ง ทาให้ตน้ ส้มทรุด ต้น
โทรมและตายได้ในระยะเวลารวดเร็ ว โรค สาหรับต้นส้มที่มีอายุมากๆ
รากเน่าและโคนเน่าของส้มโอ พบทัว่ ไปใน อาจพบอาการเปลือกแตกบริเวณ
แหล่งปลูกส้มโอเกือบทุกแหล่งปลูก โคนต้นบางครัง้ มียางไหลด้วยถ้า
ถากเปลือกออกดูจะพบว่าเปลือก
สาเหต ุของโรค
เปื่ อยยุย่ มีแผลสีนา้ ตาลแดงบริเวณ
เกิดจากเชือ้ ราไฟทอฟธอรา
โคนต้น เชือ้ รานีน้ อกจากจะทาลาย
(Phytophthora spp.)
รากและโคนต้นแล้ว ยังเข้าทาลาย
โดยทัว่ ไปจะพบเชือ้ ราที่ชอื่ ว่า
ส่วนของดอก ใบและผลได้ดว้ ย
Phytophthora parasitica Dastur.
โดยเชือ้ ราอาจติดไปกับหยดนา้ หรือ
เชือ้ ราสาเหตุของโรคนีอ้ าศัยอยู่ได้ในนา้
ลมฝน ทาให้เกิดอาการดอกเน่า
และดิน โรคจึงแพร่กระจายติดไปกับดินนา้
ใบไหม้และผลเน่ากับพืช
และชิน้ ส่วนของพืชที่เป็ นโรค
14
การป้องกันกาจัด
1) อย่าปลูกต้นส้มให้ลึก การปลูกแบบยกร่องต้องให้กลางร่องสูงกว่าขอบร่อง
เพื่อป้องกันการเกิดเป็ นแอ่งขังนา้
2) ตัดแต่งทรงพุ่มให้โคนต้นโปร่ง การถ่ายเทอากาศดี แสงแดดส่องถึง และหาก
พบว่าต้น ใดเป็ นโรคเน่าควรจะรักษาให้หายขาด หากเป็ นมากควรจะ
กาจัดทิ้ง เพื่อไม่ให้เป็ นแหล่งสะสมของโรค
3) ถ้าพบอาการเริ่มแรกของโรครากเน่าให้ราดดินด้วยสารเคมีเมทาแลคซิล และ
สาหรับต้นที่มีอาการโคนเน่า
4) อาจใช้มีดถากเปลือกที่เป็ นโรคออกแล้วทาแผลด้วยสารเคมีเมทาแลคซิล อีโฟ
ไซท์-อลูมินมั ่ โดยผสมนา้ ให้ขน้ ๆ แล้วทาแผลทุกๆ 5-7 วัน จนกว่า
แผลจะแห้ง
5) หรืออาจใช้อีโฟไซท์-อลูมินมั ่ หรือฟอสฟอรัส แอซิค พ่นทางใบหรือฉีดเข้าลา
ต้นก็ได้
6) ใช้ตน้ ตอส้มที่ทนทานต่อโรค เช่น ทรอยเยอร์ คาริโซ ซี-35 หรือ สวิงเกิล
ซิทรูเมโล

15
โรคยางไหล
โรคยางไหล (Gummosis)
เป็ นโรคที่พบได้ทวั ่ ไปเช่นกัน เกิด
จากหลายสาเหตุ ส้มโอที่พบอาการยาง
ไหลมาก คือ พันธุข์ าวพวง และ พันธุ์
ขาวทองดี ทาให้พืชมีอายุสนั้ กว่าปกติ
สาเหต ุของโรค
อาการผิดปกตินี้ อาจเกิดจาก
สาเหตุใดสาเหตุหนึง่ ในหลายสาเหตุ คือ
1.เชือ้ ราเข้าทาลาย ได้แก่ เชือ้ รา
Botrydiplodia sp.
2. ขาดธาตุอาหาร
3. แมลงเจาะหรือกัดกิน
4. ต้นส้มเป็ นโรคทริสเตซ่า หรือ โรคราก
เน่าโคนเน่า

การแพร่ระบาดของโรค
หากอาการยางไหลเกิดจากเชือ้ รา
โรคจะแพร่ระบาดโดยสปอร์ของเชือ้ รา
จะติดไปกับยางที่ไหลออกมา หยดนา้
กิ่งพันธุท์ ี่เป็ นโรคโดยทางบาดแผลแล
เครื่องมือการเกษตรและอื่น ๆ
ส่วนโรคยางไหลที่เกิดจากการ
ขาดธาตุอาหาร จะไม่มีการระบาด
นอกจากนีค้ วามชืน้ สูงก็มีสว่ นทา
ให้เกิดโรคได้งา่ ยขึน้
16
อาการของโรค
1) อาการยางไหลที่เกิดจากเชือ้ ราเข้าทาลาย จะพบยางไหลออกมาจากกิ่งก้าน
และลาต้น อาการเริ่มแรกจะเป็ นแผลสีดาเป็ นรอยชา้ แล้วขยายขนาดขึน้
เชือ้ ราจะเจริญลุกลามอยู่ใต้เปลือกไม้ จากนัน้ เปลือกจะประแตกออกและ
มียางไหลออกมา ถ้าเป็ นมากแผลจะเน่า
2) อาการยางไหลเนือ่ งจากขาดธาตุโบรอน (B) และธาตุทองแดง (Cu) ซึ่งจะ
เกิดยางไหลตามลาดับและกิ่งก้านทัว่ ๆไปไม่จากัดที่และไม่มีบาดแผลสี
นา้ ตาลดา อาจเป็ นเพียงรอยปริแตกของเปลือก แผลที่ยางไหลออกมาไม่
ขยายลุกลาม
3) ยางไหลที่เกิดจากแมลงเจาะหรือกัดกิน จะพบร่องรอยการทาลายเนือ่ งจาก
แมลงและมักจะพบสิ่งขับถ่ายของแมลงติดอยู่บริเวณใกล้ๆบาดแผล
4) อาการยางไหลที่เกิดจากโรคทริสเตซ่าต่างจากยางไหลที่เกิดจากเชื้อรา คือ
จะไม่เกิดยางไหลบนแผลเน่าชา้ หรือรอยปริแตก

การป้องกันกาจัด
1) ตัดแต่งกิ่งที่เป็ นโรค แล้วนาไปเผาทาลาย
2) โรคยางไหลที่เกิดจากการขาดธาตุอาหาร สามารถรักษาโดยการฉีดพ่น
ธาตุอาหารนัน้ ๆให้กบั พืช
3) อาการยางไหลที่เกิดจากโรคโคนเน่าให้ปฏิบตั เิ ช่นเดียวกับการป้องกัน
กาจัดโรคโคนเน่าดังได้กล่าวไปแล้ว
4) โรคยางไหลที่เกิดจากเชือ้ รา Diplodia sp. และ Botryodiplodia sp.
สามารถป้องกันได้โดยถากและทาโคนต้นด้วยสารประกอบทองแดง
แมนโคเซบ คาร์เบนดาซิม เบนโนมิล เป็ นต้น

17
โรคแคงเกอร์

โรคแคงเกอร์ (Canker)
โรคแคงเกอร์เป็ นโรคที่พบเห็นได้ทวั ่ ไปและมีการระบาดอย่างกว้างขวางใน
แหล่งปลูกส้มของประเทศไทย
ส้มโอพันธุข์ าวนา้ ผึ้ง ขาวแตงกวา ขาวหอม ขาวพวง และท่าข่อย เป็ นพันธุท์ ี่
อ่อนแอ เป็ นโรคนีไ้ ด้รนุ แรง เชือ้ สาเหตุสามารถเข้าทาลายพืชได้ทงั้ ส่วนผล กิ่งและใบ
ทาให้ร่วง ต้นพืชทรุดโทรม กิ่งแห้ง และผลผลิตเสียหาย
สาเหต ุของโรค
เกิดจากเชือ้ แบคทีเรีย Xanthomonas campestris pv. citri (Hasse) Dye.

แผลของโรคแคงเกอร์

18
ลักษณะอาการ
อาการของโรคพบได้ทงั้ บนใบ กิ่งและผล โดยเชือ้ โรคจะเข้าทาลายในระยะ
ที่เนือ้ เยื่อยังอ่อนอยู่ เช่น ใบอ่อน กิ่งอ่อน ผลอ่อน จนถึงระยะกิ่งแก่ถึงอ่อน
(ระยะเพสลาด) โดยระยะแรกจะเกิดเป็ นจุดกลมใส ฉา่ นา้ ขนาดเท่าหัวเข็มหมุด สี
เหลืองอ่อน ต่อมาแผลจะขยายใหญ่มีลกั ษณะฟูคล้ายฟองนา้ แผลอาจจะนูนขึน้ ทัง้
2 ด้านของใบ หรือด้านใดด้านหนึง่ ต่อมาแผลจะเริ่มเปลี่ยนเป็ นสีนา้ ตาลลักษณะฟู
จะยุบตัว แล้วแตกออกเป็ นสะเก็ด ตรงกลางบุม๋ ขอบแผลบนใบจะมีสีเหลืองคล้าย
วงแหวน (halo) ล้อมรอบ ขนาดแผลและความรุนแรงของโรคขึน้ อยู่กบั พันธุส์ ม้ และ
สภาพแวดล้อม เช่น ในกรณีที่มีฝนตกติดต่อกันหลายวัน โรคจะระบาดรุนแรง ทา
ให้ใบแก่ร่วงหมดต่อมากิ่งจะแห้ง ทาให้ตน้ ส้มตายได้

การแพร่ระบาดของโรค
ระบาดได้รนุ แรงในฤดูฝนในสภาพที่ฝนตกชุกความชืน้ ในอากาศสูง เชือ้ จะเข้าสู่
พืชโดยทางช่องเปิ ดธรรมชาติของพืช เช่น ปากใบ และบาดแผลซึ่งอาจเกิดจาก
สาเหตุตา่ ง ๆ รวมทัง้ แผลเนือ่ งจากหนอนชอนใบ (Citrus leaf - minner :
Phyllocnistis citrella Stainton) เชือ้ แบคทีเรียชนิดนีส้ ามารถอยู่ในเศษซากพืชได้เป็ นปี

การป้องกันกาจัด
1) ตัดแต่งกิ่งส้มที่เป็ นโรคออกเผาทาลาย
2) ไม่นากิ่งพันธุท์ ี่เป็ นโรคเข้ามาในแปลงปลูก
3) กาจัดแมลงที่ทาให้เกิดบาดแผล โดยเฉพาะหนอนชอนใบในช่วงแตกใบอ่อน
4) หลังการเก็บเกี่ยวและการตัดแต่งกิ่ง ต้นส้มโอมักจะแตกใบอ่อน ควรฉีดพ่นด้วย
สารประกอบทองแดง เช่น คอปเปอร์ซัลเฟท คอปเปอร์ออกซีคลอไรด์ คอป
เปอร์ไฮดร็อกไซด์ คิวปรัสออกไซด์ หรือใช้บอร์โดมิกเจอร์ (จุนสี 80 - 150
กรัมผสมปูนขาว 80 -150 กรัม ละลายในนา้ 20 ลิตร) สาหรับสารปฏิชวี นะ
ต่าง ๆ ในปั จจุบนั ไม่แนะนาให้ใช้ เพราะอาจมีฤทธิ์ตกค้างในผลส้ม ซึ่งจะมีผลต่อ
ผูบ้ ริโภคได้
19
เพลี้ยไฟ

เพลี้ยไฟ (Thrips)
เพลี้ยไฟเป็ นแมลงศัตรูที่สาคัญของพืชตระกูลส้มรวมทัง้ ส้มโอ ชนิดที่ระบาด
ทาลายส้มโอมี 2 ชนิด ได้แก่ Tthrips hawaiiensis ทาลายบริเวณซอกของกลีบดอก
และ Scirtothrips dorsalis ทาลายใบอ่อนและผลอ่อนของส้มโอ

หากมีการระบาดรุนแรงจะทาให้ใบอ่อนหงิกงอ ดอกอ่อนร่วง หรือผลอ่อนหลัง


กลีบดอกโรยร่วง ผลอ่อนบิดเบี้ยว มีการพัฒนาช้าและมักร่วงหล่นก่อนการเก็บเกี่ยว
ผลส้มโอที่ถกู ทาลายมักมีขนาดผลเล็ก ส่วนผลที่ถกู ทาลายน้อยจะปรากฏรอยสีเทา
เงินขยายตัวเป็ นวงจากบริเวณขัว้ ลงส่วนล่างของผล ความเสียหายที่เกิดจากการ
ทาลายของเพลี้ยไฟทาให้เกิดความเสียหายและเป็ นอุปสรรคอย่างมากในการส่งออก
ส้มโอ
20
รูปร่างลักษณะ
เพลี้ยไฟเป็ นแมลงขนาดเล็ก เพลี้ยไฟชนิด S. dorsalis ตัวเต็มวัยมีสีเหลือง
อ่อน ส่วนชนิด T. hawaiiensis ตัวเต็มวัยมีสีค่อนข้างเข้ม ลักษณะลาตัวแคบยาว
ประมาณ 1 มม. มีปีก 2 คู่ ลักษณะเป็ นแผงขนที่บริเวณขอบตัวอ่อนมีลกั ษณะ
คล้ายตัวเต็มวัยแต่ขนาดเล็กกว่า ไม่มีปีกเพราะว่าอยู่ระหว่างการพัฒนา ตัวอ่อนจะ
เคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วและตัวเต็มวัยจะบินทันทีเมื่อถูกรบกวน
การแพร่ระบาด
เพลี้ยไฟมักพบทาลายส้มโอและผลไม้อื่นๆ อีกหลายชนิดตลอดปี การระบาด
รุนแรงมากมักเกิดกับส้มโอในระยะยอดอ่อน ระยะดอกและระยะผลอ่อน ในระยะ
สภาพที่อากาศแห้งและมีฝนตกน้อย คือ ในฤดูแล้ง หรือ ช่วงเดือนธันวาคมถึง
กุมภาพันธ์ นอกจากนีย้ งั พบระบาดกับผลผลิตส้มโอในการผลิตส้มโอทะวาย ซึ่งเป็ น
ผลผลิตในประมาณเดือนกรกฎาคมถึงกันยายน

การป้องกันกาจัด
1) ควรหมัน่ สารวจการแพร่ระบาดในช่วงฤดูแล้งหรือสภาพที่มีอากาศแห้ง ฝน
น้อย และช่วงที่สม้ โอผลิเริ่มยอดอ่อน ระยะออกดอกและระยะการพัฒนา
ของผลอ่อน
2) ผลส้มในระยะเริ่มพัฒนาที่แสดงอาการบิดเบี้ยวเนือ่ งจากการทาลายของเพลี้ยไฟ
ซึ่งมักพบรอยแผลสีเทาเงิน ควรเด็ดผลออกทาลายทิ้ง
3) การป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟ สามารถปฏิบตั ไิ ด้โดยการใช้สารป้องกันกาจัดแมลง
หรือสารเคมีป้องกันกาจัดเพลี้ยไฟตามคาแนะนา โดยการใช้สลับชนิดของ
สารเคมีเพื่อป้องกันเพลี้ยไฟสร้างความต้านทานต่อสารป้องกันกาจัดแมล
ตัวอย่างสารป้องกันกาจัดแมลง เช่น
คาร์โบซัลแฟน (เช่น พอสซ์ 20 % อีซี ®)อัตรา 30 มล. ต่อนา้ 20 ลิตร
เพอร์มีทริน (เช่น แอมบุช 10 % อีซี ®) อัตรา 30 มล. ต่อนา้ 20 ลิตร

21
หนอนชอนใบส้ม

หนอนชอนใบส้ม (Citrus leaf miner)


(Phyllocnictis citrella (Stainton)
หนอนชอนใบส้มทาความเสียหาย
ค่อนข้างรุนแรงต่อส้มโอในระยะแตกใบ
อ่อน ตัง้ แต่แรกปลูกจนถึงระยะก่อน
ให้ผลผลิต ตัวเต็มวัยวางไข่บนใบอ่อน
เมื่อฟั กเป็ นตัวหนอนจะชอนเข้าไปกัดกิน
ในระหว่างชัน้ ของผิวใบ และเคลื่อนย้าย
ภายในใบไปเรื่อยๆ ทาให้เกิดเป็ นรอย
โพรงสีขาว คดเคี้ยวไปมาภายใต้ผิวใบ
ทัง้ ด้านหน้าและด้านหลัง ทาให้การ
สังเคราะห์แสงของใบลดลง มีผลทาให้
การเจริญเติบโตช้า นอกจากนีร้ อยแผล
จากการทาลายของหนอนชอนใบทาให้
เกิดโรคแคงเกอร์ได้

การแพร่ระบาด
หนอนชอนใบระบาดในช่วงแตกใบอ่อน มักพบระบาดรุนแรงในช่วงฤดูฝน
ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ส่วนในช่วงอื่นๆ ก็พบการเข้าทาลายบ้าง
พอสมควร ถ้ามีการให้นา้ และแตกใบอ่อน

22
รูปร่างลักษณะ
หนอนชอนใบเป็ นตัวอ่อนของผีเสื้อ
กลางคืนมีขนาดเล็กประมาณ 5 มม.
ปี กมีสีเทาเงินและมีจดุ สีดาที่บริเวณขอบ
ปี ก ความกว้างของปี กจากปลายด้าน
หนึง่ ถึงอีกด้านหนึง่ ประมาณ 8 มม.
ภายหลังการผสมพันธุแ์ ล้ว แม่ผีเสื้อมัก
วางไข่เดีย่ วๆบริเวณเส้นกลางใบอ่อน มี
ลักษณะกลมแบนสีเหลืองใส ตัวหนอนมี
สีเหลืองอ่อน อาศัยกัดกินเนือ้ เยื่อภายใน
ใบอ่อน ระยะตัวหนอน 7 - 10 วัน เข้า
ดักแด้ในเนือ้ เยื่อใบที่บริเวณขอบใบโดย
ยึดริมขอบใบให้มว้ นคลุมดักแด้สีนา้ ตาล
ระยะการพัฒนาของดักแด้เข้าสูร่ ะยะตัว
เต็มวัยใช้เวลานาน 5 - 7 วัน

การป้องกันกาจัด
1) รวบรวมใบอ่อนที่ถกู ทาลายมาเผาไฟ กาจัดวัชพืชในสวนเพื่อไม่ให้เป็ นที่หลบอาศัย
2) การป้องกันกาจัดโดยการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดแมลง เช่น
a. คาร์โบซัลแฟน (เช่น พอสซ์ 20 % อีซี ®) อัตรา 30 มล. ต่อนา้ 20 ลิตร
b. เฟนอกซูรอน (เช่น แคสเคด 5 % อีซี ®) อัตรา 6 มล. ต่อนา้ 20 ลิตร

23
การจัดการสวนส้ มโอ
และการผลิตส้ มโอคุณภาพ
แผนการทางานในสวนส้ มโอ
ในรอบ 52 สัปดาห์

รศ.ดร. อาไพวรรณ ภราดร์ นุวัฒน์


ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ที่ปรึกษาและผู้ประสานงาน
“การพัฒนางานวิจัยส้ มโอเพื่อการส่ งออก” สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
แผนการทางานในสวนส้ มโอ
สัปดาห์ ท่ ี 1- สัปดาห์ ท่ ี 4
สภาพต้ น งานที่ต้องทา
สัปดาห์ ท่ ี 1 ระยะผลิยอด-ระยะยอดอ่ อนยาว 2-3 ซม.
1. รดน ้าแบบเปี ยกสลับแห้ ง (รดน ้าให้ ดนิ เปี ยกลึก 30-40 ซม. แล้ ว
เว้ นน ้าให้ หน้ าดินแห้ ง) หรื อ รดน ้าแบบรักษาความชื ้น
2. ใส่ป๋ ยเคมี
ุ หรื อปุ๋ยอินทรี ย์ (ปริมาณขึ ้นกับอายุ ขนาดทรงพุม่
และผลวิเคราะห์ดิน)
3. พ่นสารป้องกันกาจัดเพลี ้ยไฟ (และหนอนชอนใบ) ครั ง้ ที่ 1
เช่น อิมิดาโคลพริด ไพรี ทรอยด์ ไซเปอร์ เมทริน คาร์ โบซัลแฟน
สัปดาห์ ท่ ี 2 ระยะดอกตูมเล็ก-ระยะดอกตูมขาว
1. รดน ้าแบบรักษาความชื ้น ระวังอย่าให้ หน้ าดินแห้ งมาก
2. ห้ ามตัดหญ้ าหรื อพ่นสารกาจัดวัชพืชโดยเด็ดขาด
3. พ่นสารป้องกันกาจัดเพลี ้ยไฟ(และหนอนชอนใบ) ครั ง้ ที่ 2 เช่น
อิมิดาโคลพริด ไพรี ทรอยด์ หากพบเพลี ้ยไฟที่ดอก
ในฤดูฝนต้ องระวังโรคแคงเกอร์ เข้ าทาลายที่ใบ
4. ห้ ามพ่นปุ๋ยทางใบที่มีธาตุฟอสฟอรัสสูง แต่พน่ ธาตุอาหารรองได้
สัปดาห์ ท่ ี 3 ระยะดอกตูมขาว - ดอกเริ่มบาน
1. รดน ้าแบบรักษาความชื ้น 3-5 วัน/ครัง้ ขึ ้นอยูก่ บั สภาพอากาศ
และควรรดน ้าให้ เพียงพอหรื อดินเปี ยกชื ้นก่อนดอกบาน
2. พ่นสารป้องกันกาจัดเพลี ้ยไฟ ครัง้ ที่ 3 หากพบเพลี ้ยไฟที่ดอก
หรื อเลือกวิธีการรดน ้าเหนือต้ น และระวังโรคแคงเกอร์ ที่ใบ
3. อาจผสมปุ๋ยทางใบสูตร 46-0-0 หรื อ 13-0-46 อัตรา 30 กรัม/
น ้า 20 ลิตร ในสวนที่เคยพบอาการแผลแตกที่ก้นผล อาจผสม
ธาตุแคลเซี่ยม อัตรา 10-20 กรัม/น ้า 20 ลิตร
สัปดาห์ ท่ ี 4 ระยะดอกบาน
1. ในวันที่ดอกส้ มบาน เกษตรกรไม่ควรเข้ าไปทางานในแปลงปลูก
2. ห้ ามการพ่นสารเคมีทกุ ชนิด
3. ห้ ามตัดดายหญ้ าและห้ ามพ่นสารกาจัดวัชพืชโดยเด็ดขาด
4. ห้ ามใส่ป๋ ยโดยเฉพาะปุ
ุ ๋ ยเคมี
5. ห้ ามรดน ้าในวันดอกบาน ยกเว้ นอากาศร้ อนจัด ให้ รดเปี ยก
เฉพาะรอบ ๆ ทรงพุม่
แผนการทางานในสวนส้ มโอ
สัปดาห์ ท่ ี 5- สัปดาห์ ท่ ี 8
สภาพต้ น งานที่ต้องทา
สัปดาห์ ท่ ี 5 ระยะกลีบดอกโรย
1. เริ่มรดน ้าตามปกติ (แบบเปี ยกสลับแห้ ง รักษาความชื ้นดิน)
2. หากพบเพลี ้ยไฟตัวอ่อนซึง่ มีสีเหลืองอ่อนขนาดเล็ก จานวน
มากกว่า 5 ตัวต่อผล ให้ พน่ สารกาจัดเพลี ้ยไฟ ครัง้ ที่ 4 หรื อให้
น ้าเหนือต้ น หากไม่พบเพลี ้ยไฟ ไม่จาเป็ นที่ใช้ สารเคมี
3. ระยะนี ้หากอากาศร้ อน ให้ พน่ ปุ๋ย 13-0-46 อัตรา 25-30 กรัม/
น ้า 20 ลิตร (และสารสกัด-อะมิโนแอซิคในอัตรา 10-20 ซีซี/น ้า
20 ลิตร)
สัปดาห์ ท่ ี 6 ระยะติดผลอ่ อน
1. ผลอ่อนที่มีการติดผลสมบูรณ์ จะเริ่ มมีสีเขียวเข้ มขึ ้น กลีบดอก
ยังคงอยูก่ บั ผลอ่อน
2. ป้องกันไรแดงและไรขาวที่ผลอ่อน หากพบให้ พน่ สารเคมี
ป้องกันกาจัดไร เช่น โปรปาไกจ์ หรื อให้ น ้าเหนือต้ น
3. ให้ พน่ ปุ๋ย 13-0-46 อัตรา 25-30 กรัม/น ้า 20 ลิตร และอาจผสม
สารสกัด(อะมิโนแอซิค) ในอัตรา 10-20 ซีซี/น ้า 20 ลิตร
สัปดาห์ ท่ ี 7 ระยะผลอ่ อน
1. ตรวจดูเพลี ้ยไฟและไรขาวที่ผลอ่อน หากพบเพลี ้ยไฟหรื อไแดง/
ไรขาว ให้ พน่ สารเคมีสาหรับกาจัดเพลี ้ยไฟหรื อไร (ที่สามารถ
คุมได้ ทงไรแดงและไรขาว
ั้ เช่น โปร์ ปาไจท์)
2. ให้ พน่ ปุ๋ยที่มีธาตุไนโตรเจนสูงหรื อสูตรเสมอ อัตรา 25-30
กรัม/น ้า 20 ลิตร และอาจผสมธาตุอาหารรองที่มีแมกนีเซี่ยม
ในอัตรา 30 ซีซี/น ้า 20 ลิตร เพื่อช่วยให้ ผลอ่อนมีการพัฒนา
สัปดาห์ ท่ ี 8 ระยะผลอ่ อน
1. ระยะนี ้อาจพบการทาลายของหนอนฝี ดาษ และหนอนเจาะผล
อ่อน หากพบให้ พน่ สารป้องกันกาจัดแมลง
2. พ่นสารป้องกันกาจัดแมลงและสารกาจัดเชื ้อรา เช่น ซีเน็บหรื อ
แมนโคเซ็บ
3. หรื อถ้ าเป็ นฤดูฝนให้ เลือกใช้ คอปเปอร์ ออกซีคลอไรด์ อัตรา
30 ซีซี/น ้า 20 ลิตร หรื อคอปเปอร์ ไฮดร็อกไซด์ 8-12 กรัม/น ้า
20 ลิตร
แผนการทางานในสวนส้ มโอ
สัปดาห์ ท่ ี 9- สัปดาห์ ท่ ี 12
สภาพต้ น งานที่ต้องทา
สัปดาห์ ท่ ี 9 ระยะผลอ่ อน
1. ปลิดผลอ่อนที่มีรูปร่างบิดเบี ้ยว ผิดปกติ หรื อเป็ นโรค/แมลง
หรื อผลที่เป็ นพวงออก
2. พ่นปุ๋ยเคมี 13-0-46 หรื อ สูตรเสมอ และ ธาตุอาหารรอง (ธาตุ
แมกนีเซี่ยม) และธาตุแคลเซี่ยม (เพื่อป้องกันก้ นผลแตก)
3. ถ้ าเป็ นฤดูฝนให้ พน่ คอปเปอร์ ออกซีคลอไรด์ หรื อคอปเปอร์ ไฮ
กนผลแตก
้ ดร็อกไซด์เพื่อป้องกันโรคแคงเกอร์ (ในฤดูแล้ งไม่ต้องพ่น)
สัปดาห์ ท่ ี 10 ระยะผลอ่ อน
1. ปลิดผลอ่อนที่มีรูปร่างบิดเบี ้ยวผิดปกติออก ตรวจดูไรขาวที่ผล
อ่อน หากพบอาจพ่นสารเคมีป้องกันกาจัดไร หรื อเลือกการให้ น ้า
เหนือต้ น ระยะนี ้อาจพบการทาลายของหนอนฝี ดาษ หากพบให้
พ่นสารกาจัดแมลง
2. ถ้ าเป็ นฤดูฝนให้ ป้องกันโรคแคงเกอร์ โดยพ่นคอปเปอร์ ออกซีคลอ
ผลบิดเบีย
้ วและเป็ นโรค ไรด์ หรื อคอปเปอร์ ไฮดร็อกไซด์ (ฤดูแล้ งไม่จาเป็ นต้ องพ่น)

สัปดาห์ ท่ ี 11 ระยะผลอ่ อน
1. ตรวจดูไรขาวที่ผลอ่อน หากพบให้ พน่ สารป้องกันไรพร้ อมกับ
สารเคมีในข้ อ 2
2. พ่นสารป้องกันกาจัดเพลี ้ยแป้ง เพลี ้ยเกล็ดและสารป้องกันเชื ้อ
ราเช่นซีเน็บหรื อแมนโคเซ็บ อัตรา 25-30 กรัม/น ้า 20 ลิตร
3. ภายหลังการพ่นสาร 1 วัน ห่อผลด้ วยถุงกระดาษเคลือบไข
หนอนฝี ดาษ
โดยเลือกห่อผลที่สมบูรณ์และเป็ นผลเดี่ยว
สัปดาห์ ท่ ี 12 ระยะผลอ่ อน
1. หากไม่หอ่ ผลต้ องตรวจดูไรขาวที่ผลอ่อน หากพบการระบาด ต้ อง
พ่นสารเคมีป้องกันกาจัดไร หรื อสารป้องกันกาจัดแมลง
2. ถ้ าเป็ นฤดูฝนให้ ป้องกันโรคแคงเกอร์ โดยพ่นคอปเปอร์ ออกซีคลอ
ไรด์ หรื อคอปเปอร์ ไฮดร็อกไซด์ (ฤดูแล้ งไม่จาเป็ นต้ องพ่น)
3. หากห่อผลด้ วยถุงกระดาษ ไม่จาเป็ นต้ องพ่นสารเคมีกาจัดศัตรูพืช
โรคแคงเกอร ์ จนกว่าจะเก็บเกี่ยว จนกว่าต้ นส้ มจะผลิยอดชุดใหม่
แผนการทางานในสวนส้ มโอ
สัปดาห์ ท่ ี 13- สัปดาห์ ท่ ี 16
สภาพต้ น งานที่ต้องทา
สัปดาห์ ท่ ี 13 ระยะผลอ่ อน
1. ตรวจดูไรขาว ที่ผลอ่อน หากไม่หอ่ ผล ให้ พน่ สารป้องกันกาจัด
ไร และสารป้องกันกาจัดเชื ้อรา เช่น ซีเน็บหรื อแมนโคเซ็บ
2. ให้ ตรวจดูร่องรอยหรื อการทาลายของหนอนเจาะผลและ
หนอน ฝี ดาษ หากพบให้ พน่ ด้ วยสารกาจัดแมลง
3. ผลอ่อนระยะนี ้ ยังสามารถห่อผลด้ วยถุงกระดาษห่อผลไม้
ก้นผลแตก เพื่อป้องกันการทาลายของศัตรูพืชได้ แต่ก่อนการห่อ 1 วัน
ก้นผลแตก ต้ องพ่นสารกาจัดแมลงโดยเฉพาะเพลี ้ยแป้งและเพลี ้ยเกล็ด
สัปดาห์ ท่ ี 14 ระยะผลอ่ อน
1. เก็บผลอ่อนที่เป็ นโรคแคงเกอร์ หนอนฝี ดาษ และหนอนเจาะผล
(หากพบในแปลง) นาออกไปเผาไฟ
2. ตรวจดูไรขาวที่ผลอ่อน หากไม่พบการทาลาย ไม่ต้องพ่นสารเคมี
3. ระยะนี ้ยังสามารถห่อผลด้ วยถุงกระดาษได้ หากในสัปดาห์ที่ 12,
หรื อสัปดาห์ที่ 13 ยังไม่ได้ หอ่ ผล แต่ก่อนการห่อ 1 วันต้ องพ่นสาร
ผลบิดเบี้ยวและเป็ นโรค
ผลบิดเบีการห ่อผล
้ ยวและเป็ นโรค กาจัดแมลงโดยเฉพาะเพลี ้ยแป้งและเพลี ้ยเกล็ด
สัปดาห์ ท่ ี 15 ระยะผลอ่ อน
1. พ่นสารเคมีป้องกันเพลี ้ยกระโดด เพื่อป้องกันอาการแผล
ดาวกระจาย หากไม่พบแมลงไม่จาเป็ นต้ องพ่น
2. ในฤดูแล้ งให้ พน่ สารเคมีป้องกันกาจัดโรค เช่น ซีเน็บหรื อแมน
โคเซ็บ เพื่อป้องกันโรคเมลาโนสหรื อโรคกิ่งแห้ ง
3. หรื อถ้ าเป็ นฤดูฝนให้ เลือกใช้ คอปเปอร์ ออกซีคลอไรด์ หรื อ
หนอนเจาะผล คอปเปอร์ ไฮดร็อกไซด์ เพื่อป้องกันโรคแคงเกอร์
สัปดาห์ ท่ ี 16 ระยะผลอ่ อน
1. ระยะสัปดาห์ที่ 13-16 ควรให้ น ้าบ่อยครัง้ โดยเฉพาะในวันที่
อากาศร้ อนเพื่อให้ ผลอ่อนมีการเจริญเติบโตได้ ดี
2. พ่นสารเคมีป้องกันแมลงเพลี ้ยกระโดด เพื่อป้องกันอาการแผล
ดาวกระจาย หากไม่พบไม่จาเป็ นต้ องพ่นสารเคมี
3. ใส่ป๋ ยเคมี
ุ สตู รเสมอหรื อตัวหน้ าสูง เช่น 15-15-15, 25-7-7,
โรคแคงเกอร์ หรื อตามผลวิเคราะห์ดนิ หรื ออาจเลือกใส่ป๋ ยอิ
ุ นทรี ย์
แผนการทางานในสวนส้ มโอ
สัปดาห์ ท่ ี 17 - สัปดาห์ ท่ ี 20
สภาพต้ น งานที่ต้องทา
สัปดาห์ ท่ ี 17 ระยะผลกาลังเจริญเติบโต
1. ตรวจดูไรแดงและไรสนิมที่ผล หากพบการทาลาย ให้ พน่ สาร
กาจัดไรแดง เช่น กามะถันผง หรื อสารกาจัดไรชนิดอื่น ๆ
2. พ่นสารป้องกันกาจัดเชื ้อรา เช่น ซีเน็บหรื อแมนโคเซ็บเพื่อ
ป้องกันโรคกิ่งแห้ งและโรคแอนแทรคโนส ยังคงต้ องระวังโรค
แคงเกอร์ ในฤดูฝน
แผลดาวกระจาย 3. สาหรับพันธุ์ทองดี ต้ องระวังอย่าให้ น ้ามากเกินไป ต้ นส้ มที่
ได้ รับน ้ามากเกินไป จะมีการแตกใบใหม่ ทาให้ ผลร่วง
สัปดาห์ ท่ ี 18 ระยะผลกาลังเจริญเติบโต
1. ตรวจดูไรแดงและไรสนิมที่ผล หากพบหรื อตรวจพบการ
ทาลาย ให้ พน่ สารกาจัดไรแดง เช่น กามะถันผง หรื อสาร
กาจัดไรชนิดอื่น ๆหากไม่พบการทาลาย ไม่มีความจาเป็ นใน
การพ่นสารเคมี
2. พ่นปุ๋ยเคมีทางใบสูตรเสมอหรื อตัวหน้ าสูง พร้ อมธาตุอาหาร
รองโดยเฉพาะธาตุสงั กะสีและธาตุแมกนีเซี่ยม
สัปดาห์ ท่ ี 19 ระยะผลกาลังเจริญเติบโต
1. ตรวจดูไรแดงและไรสนิมที่ผล หากพบการทาลาย ให้ พน่ สาร
กาจัดไรแดง เช่น กามะถันผง หรื อหรื อสารกาจัดไรชนิดอื่น ๆ
หากไม่พบการทาลาย ไม่มีความจาเป็ นในการพ่นสารเคมี
2. รดน ้าแบบเปี ยกสลับแห้ ง ระยะนี ้หากไม่มีการผลิยอดอ่อน ให้
ตัดหรื อดายหญ้ า เพื่อการใส่ป๋ ยเคมี
ุ ทางดินหรื อปุ๋ยอินทรี ย์
หนอนเจาะผล
การท าลายของไรแดง เพิ่มเติมได้ โดยเฉพาะต้ นที่มีผลส้ มจานวนมาก
สัปดาห์ ท่ ี 20 ระยะผลกาลังเจริญเติบโต
1. ตรวจดูไรแดงและไรสนิมที่ผล หากพบหรื อตรวจพบการทาลาย ให้
พ่นสารกาจัดไรแดง เช่น กามะถันผง หรื อสารกาจัดอื่น ๆ หากไม่
พบการทาลาย ไม่มีความจาเป็ นในการพ่นสารเคมี
2. ให้ พน่ สารป้องกันกาจัดเชื ้อรา เช่น ซีเน็บหรื อแมนโคเซ็บ
3. พ่นปุ๋ยเคมีทางใบสูตรเสมอหรื อตัวหน้ าสูง พร้ อมธาตุอาหารรอง
การทาลายของไรสนิม โดยเฉพาะธาตุสงั กะสี ธาตุแคลเซี่ยมและธาตุแมกนีเซี่ยม
แผนการทางานในสวนส้ มโอ
สัปดาห์ ท่ ี 21 - สัปดาห์ ท่ ี 24
สภาพต้ น งานที่ต้องทา
สัปดาห์ ท่ ี 21 ระยะผลกาลังเจริญเติบโต
1. ตรวจดูไรแดงและไรสนิมที่ผล หากไม่พบการระบาด ไม่ต้อง
พ่นสารเคมี
2. พ่นสารป้องกันกาจัดเชื ้อรา เช่น คลอโรทาโลนิล หรื อ โปรปิ
เน็บ หรื อ คาร์ เบดาซิม อัตรา 25-30 กรัม/น ้า 20 ลิตร
โดยเฉพาะเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง หรื อฝนตก เพื่อ
แผลดาวกระจาย ป้องกันโรคแผลจุดสีน ้าตาล และโรคทางน ้าตาหรื อราลอยฟ้า
สัปดาห์ ท่ ี 22 ระยะผลกาลังเจริญเติบโต
แผลทางน้าตาหรือราลอยฟ้า
1. ตรวจดูไรแดงและไรสนิมที่ผล หากไม่พบการระบาด ไม่ต้อง
พ่นสารเคมี
2. พ่นสารป้องกันกาจัดเชื ้อรา เช่น คลอโรทาโลนิล หรื อ โปรปิ
เน็บ หรื อ คาร์ เบดาซิม อัตรา 25-30 กรัม/น ้า 20 ลิตร
โดยเฉพาะเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง หรื อฝนตก เพื่อ
ป้องกันโรคแผลจุดสีน ้าตาล และโรคทางน ้าตาหรื อราลอยฟ้า
สัปดาห์ ท่ ี 23 ระยะผลกาลังเจริญเติบโต
1. ในระยะนี ้หากมีการแตกใบอ่อนมาก ควรใส่ป๋ ยเคมี
ุ ทางดิน
สูตรเสมอ (15-15-15 หรื อ 16-16-16) ผสมกับ 0-0-60 หรื อ
สูตร 14-9-20 หรื อ สูตร 13-13-21 สูตรและปริมาณขึ ้นกับ
จานวนผลผลิต ขนาดและอายุต้น และผลวิเคราะห์ดนิ
2. พ่นปุ๋ยทางใบสูตรเสมอ อัตรา 50-60 กรัม/น ้า 20 ลิตร ผสม
การทาลายของไรแดง กับสูตร 13-0-46 อัตรา 30-50 กรัม/น ้า 20 ลิตร

สัปดาห์ ท่ ี 24 ระยะผลกาลังเจริญเติบโต
1. จัดการเช่นเดียวกับการทางานในสัปดาห์ที่ 23 หากไม่ได้
ดาเนินการ โดยเฉพาะการใส่ป๋ ยเคมี
ุ ทางดิน
2. ไม่ควรใส่ป๋ ยอิ
ุ นทรี ย์ โดยเฉพาะปุ๋ยคอกซึง่ มีธาตุไนโตรเจนสูง

แผลจุดสี น้าตาล
การทาลายของไรสนิ ม
แผนการทางานในสวนส้ มโอ
สัปดาห์ ท่ ี 25 - สัปดาห์ ท่ ี 28
สภาพต้ น งานที่ต้องทา

สัปดาห์ ท่ ี 25 ระยะผลกาลังเจริญเติบโต
1. ตรวจดูไรแดงและไรสนิมที่ผล หากไม่พบการระบาด ไม่ต้อง
พ่นสารเคมี
2. พ่นปุ๋ยทางใบสูตรสูตรเสมอ เช่น 19-20-20 อัตรา 25-30 กรัม/
น ้า 20 ลิตร อาจผสมธาตุอาหารรอง คือ ธาตุสงั กะสี และธาตุ
แผลดาวกระจาย แมกนีเซี่ยม

แผลทางน้าตาหรือราลอยฟ้า สัปดาห์ ท่ ี 26 ระยะผลกาลังเจริญเติบโต


1. ในระยะนี ้หากมีการแตกใบอ่อนมาก ควรใส่ป๋ ยเคมี
ุ ทางดิน
สูตรเสมอ (15-15-15 หรื อ 16-16-16) ผสมกับ 0-0-60 หรื อ
สูตร 14-9-20 หรื อ สูตร 13-13-21 สูตรและปริมาณขึ ้นกับ
จานวนผลผลิต ขนาดและอายุต้น และผลวิเคราะห์ดนิ
2. พ่นปุ๋ยทางใบสูตรเสมอ อัตรา 50-60 กรัม/น ้า 20 ลิตร ผสม
กับสูตร 0-0-60 อัตรา 30-50 กรัม/น ้า 20 ลิตร
สัปดาห์ ท่ ี 27 ระยะผลกาลังเจริญเติบโต
1. ตรวจดูไรแดง และไรสนิมที่ผล หากไม่พบการระบาด ไม่ต้อง
พ่นสารเคมี
2. พ่นสารป้องกันกาจัดเชื ้อรา เช่น คลอโรทาโลนิล หรื อ โปรปิ
เน็บ หรื อ คาร์ เบดาซิม อัตรา 25-30 กรัม/น ้า 20 ลิตร
โดยเฉพาะเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง หรื อฝนตก เพื่อ
การทแผลจุ
าลายของไรแดง
ดสี น้าตาล ป้องกันโรคแผลจุดสีน ้าตาล และโรคทางน ้าตาหรื อราลอยฟ้า
สัปดาห์ ท่ ี 28 ระยะผลกาลังเจริญเติบโตเต็มที่
1. รดน ้าอย่างสม่าเสมอ หรื อรดน ้าแบบเปี ยกสลับแห้ ง เพื่อให้ ผล
ส้ มมีคณ
ุ ภาพและมีน ้าหนักดี
2. ไม่ควรใส่ป๋ ยอิ
ุ นทรี ย์ โดยเฉพาะปุ๋ยคอกอย่างเด็ดขาด

การทาลายของไรสนิ ม
แผลจุดสี น้าตาล
แผนการทางานในสวนส้ มโอ
สัปดาห์ ท่ ี 29 - สัปดาห์ ท่ ี 32
สภาพต้ น งานที่ต้องทา
สัปดาห์ ท่ ี 29 ระยะผลที่มีการพัฒนาเต็มที่
1. พ่นสารป้องกันกาจัดเชื ้อรา เช่น คลอโรทาโลนิล หรื อ โปรปิ เน็บ
หรื อ คาร์ เบดาซิม อัตรา 25-30 กรัม/น ้า 20 ลิตร โดยเฉพาะ
เมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง หรื อฝนตก เพื่อป้องกันโรครา
จุดสีน ้าตาล โรคขัวผลเน่
้ าหรื อผลร่วงก่อนการเก็บเกี่ยว
2. รดน ้าตามปกติ ระวังอย่าให้ ผลนิ่มเนื่องจากการขาดน ้า
3. ห้ ามใส่ปนู เพื่อปรับสภาพดิน รวมทังห้
้ ามให้ ธาตุแมกนีเซี่ยม
สัปดาห์ ท่ ี 30 ระยะผลมีการเริ่มเปลี่ยนสีผิว
1. หากห่อผลด้ วยถุงกระดาษเคลือบไข ต้ องเปิ ดถุงออกก่อนการ
เก็บเกี่ยว 10-15 วัน
2. พ่นสารป้องกันกาจัดเชื ้อรา เช่น คลอโรทาโลนิล หรื อ โปรปิ เน็บ
หรื อ คาร์ เบดาซิม อัตรา 25-30 กรัม/น ้า 20 ลิตร ภายหลังการ
เปิ ดถุง (โดยเฉพาะเมื่อสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงหรื อฝนตก)
เพื่อป้องกันโรคขัวผลเน่
้ าหรื อผลร่วงก่อนการเก็บเกี่ยว
สัปดาห์ ท่ ี 31 ระยะผลมีอายุเริ่มพร้ อมเก็บเกี่ยวเพื่อส่ งออก
1. อย่าให้ น ้ามากหรื อดินเปี ยกมากเกินไป เพื่อทาให้ ผลส้ มมี
รสชาติดี เนื ้อผลไม่แฉะหรื อฉ่าน ้ามากเกินไป
2. ระยะนี ้ไม่จาเป็ นต้ องพ่นสารป้องกันกาจัดศัตรูพืช ยกเว้ น
สภาพอากาศเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะภายหลังจากฝนตก ต้ อง
พ่นสารป้องกันกาจัดเชื ้อราเพื่อป้องกันโรคขัวผลเน่
้ าหรื อผล
แผลจุดสี น้ าตาล ร่วงก่อนการเก็บเกี่ยว
สัปดาห์ ท่ ี 32 ระยะผลแก่ พร้ อมเก็บเกี่ยวเพื่อการส่ งออก
1. งดการพ่นสารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืชที่มีฤทธิ์ตกค้ างนาน หรื อ
สารเคมีที่อนั ตราย
2. ไม่ควรใส่ป๋ ยเคมี
ุ หรื อปุ๋ยอินทรี ย์ใด ๆ ก่อนการเก็บเกี่ยวและ
ระหว่างการเก็บเกี่ยว
3. พ่นปุ๋ยเคมีที่มีธาตุตวั ท้ าย (K) สูงได้ และควรเลือกใช้ สตู รที่มี
แผลจุดสี น้ าตาล คลอไรด์เช่น สูตร 0-0-60 (แทนการใช้ สตู รที่มีซลั เฟต เช่น 0-0-50
แผนการทางานในสวนส้ มโอ
สัปดาห์ ท่ ี 33 - สัปดาห์ ท่ ี 36
สภาพต้ น งานที่ต้องทา
สัปดาห์ ท่ ี 33 ระยะผลแก่ พร้ อมเก็บเกี่ยวเพื่อขายในประเทศ
1. เก็บเกี่ยวผลส้ มที่มีอายุประมาณ 80-90 % ไม่ควรเก็บเกี่ยวผล
ส้ มที่มีอายุน้อยหรื ออ่อนเกินไป ควรเลือกผลที่มีคณุ ภาพ มี
รูปร่างสมบูรณ์ ไม่มีแผลที่เกิดจากการทาลายของโรคและแมลง
หรื อไรศัตรูพืช
2. ระมัดระวังอย่าให้ ผลตกลงพื ้นดินหรื อเกิดบาดแผลเนื่องจากการ
เก็บเกี่ยว และควรวางผลส้ มในภาชนะรองรับที่สะอาด และไม่
ควรโยนผลส้ มลงน ้า (ในร่องน ้า) อย่างเด็ดขาด
สัปดาห์ ท่ ี 34 ระยะผลแก่ จัด (อาจพบอาการเมล็ดข้ าวสาร)
1. ควรเร่งการเก็บผลส้ มโอที่แก่จดั ออกจาหน่ายสูต่ ลาดให้ หมด
2. พ่นสารป้องกันกาจัดเชื ้อรา เช่น ซีเน็บ หรื อ แมนโคเซ็บ หรื อ
คาร์ เบดาซิม ภายหลังจากการเก็บเกี่ยวผลส้ มหมดแล้ ว หรื อ
ถ้ าเป็ นฤดูฝนให้ เลือกใช้ คอปเปอร์ ออกซีคลอไรด์ หรื อคอป
เปอร์ ไฮดร็อกไซด์

สัปดาห์ ท่ ี 35 ระยะเริ่มพักต้ น
1. ควรรดน ้าให้ น้อยลงหรื อไม่ให้ น ้าแก่ต้นส้ ม เพื่อให้ ต้นส้ มพักต้ น
2. ตัดหรื อดายหญ้ า เปิ ดหน้ าดินเพื่อให้ หน้ าดินแห้ ง
3. เตรี ยมปุ๋ยอินทรี ย์ เพื่อใส่ให้ แก่ต้นส้ ม หากในช่วงก่อนหน้ านี ้ ไม่มี
โอกาสในการให้ แก่ต้นส้ ม แต่ไม่ควรใส่มากหากเป็ นฤดูฝน
4. พ่นสารเคมีฟอสฟอริคแอซิค อัตรา 50-60 กรัม (หรื อ ซีซี) /น ้า 20
ลิตร เพื่อป้องกันโรครากเน่าและโรคโคนเน่า

สัปดาห์ ท่ ี 36 ตัดแต่ งต้ นส้ ม


1. ตัดแต่งทรงพุม่ ที่หนาทึบเกินไป กิ่งที่ต้องตัดแต่งออก คือ กิ่งที่
แห้ ง กิ่งที่เป็ นโรคและมีการทาลายของแมลง กิ่งกระโดงหนาม
ภายในทรงพุม่
2. พ่นสารป้องกันกาจัดไรและสารป้องกันกาจัดเชื ้อรา โดยพ่นให้
ครอบคลุมทรงพุม่ ภายหลังจากการตัดแต่งเสร็จ
แผนการทางานในสวนส้ มโอ
สัปดาห์ ท่ ี 37 - สัปดาห์ ท่ ี 40
การทาใบรุ่ นที่ 1 งานที่ต้องทา
1. ในกรณีที่ต้องการปรับสภาพดินที่เปรี ย้ ว เนื่องจากความเป็ น
กรดด่างต่า ให้ ใส่หรื อหว่านปูนและรดน ้าให้ ปนู ละลาย ก่อน
การใส่ป๋ ยอย่
ุ างน้ อย 10 -15 วัน
2. ใส่ป๋ ยเคมี
ุ หรื อปุ๋ยอินทรี ย์ เมื่อต้ นส้ มเริ่มผลิยอด (ภายหลังการ
ตัดแต่ง) รดน ้าภายหลังจากที่ใส่ป๋ ยแล้ ุ ว
3. รดน ้าอย่างสม่าเสมอเพื่อเร่งให้ ต้นส้ มผลิยอดใหม่พร้ อม ๆ กัน

1. ระวังการทาลายของเพลี ้ยไฟที่ยอดอ่อน
2. หากใบส้ มชุดนี ้มีขนาดเล็กกว่าปกติ ควรเพิ่มการให้ ป๋ ยเคมี
ุ ทาง
ใบ และ/หรื อการให้ ป๋ ยเคมี
ุ สตู ร 46-0-0 หรื ออาจเพิ่มการให้
ปุ๋ยอินทรี ย์ทางดิน
3. รดน ้าแบบเปี ยกสลับแห้ ง หรื อรดแบบให้ ดนิ มีความชื ้น
สม่าเสมอ

1. ระวังการทาลายของเพลี ้ยไฟที่ยอดอ่อน
2. หากใบส้ มชุดนี ้มีลกั ษณะเหลืองหรื อมีอาการขาดธาตุอาหาร
เช่นการขาดธาตุสงั กะสี ธาตุแมกนีเซี่ยม และธาตุแมงกานีส
ให้ พน่ ธาตุอาหารดังกล่าวแก่ต้นส้ ม อย่างน้ อย 2-3 ครัง้
ติดต่อกัน

1. ระวังการทาลายของหนอนชอนใบส้ ม หนอนแก้ ว ที่ใบอ่อน


หากพบหรื อมีการระบาดเข้ าทาลาย ให้ รีบกาจัดด้ วยวิธีการ
ต่าง ๆ หรื ออาจพ่นสารเคมีป้องกันกาจัดแมลง 1-2 ครัง้
2. หากเป็ นฤดูฝน ให้ ระวังการเกิดโรคแคงเกอร์ ที่ใบส้ มเมื่อใบส้ ม
อยูใ่ นระยะเพสลาด ป้องกันโดยการใช้ สารคอปเปอร์ ออกซี
คลอไรด์ หรื อ สารคอปเปอร์ ไฮดร็อกไซด์
แผนการทางานในสวนส้ มโอ
สัปดาห์ ท่ ี 41 - สัปดาห์ ท่ ี 44
ใบเพสลาด-ใบแก่ งานที่ต้องทา

1. เมื่อใบส้ มอยูใ่ นระยะเพสลาดหรื อใบเริ่มโตเต็มที่ หากใบส้ มมี


ขนาดค่อนข้ างใหญ่ และ/หรื อ อยูใ่ นฤดูฝนให้ พน่ ปุ๋ยทางใบ
สูตรที่มีตวั กลางสูงเช่น 15-30-15, 10-52-17 อัตรา 40-50
กรัม/น ้า 20 ลิตร 2-3 ครัง้ ติดต่อกัน ห่างกัน 7-10 วัน
2. ระวังโรคแคงเกอร์ ทาลายที่ใบ หากเป็ นฤดูฝนให้ ป้องกันโดย
การใช้ สารคอปเปอร์ ออกซีคลอไรด์ หรื อ สารคอปเปอร์ ไฮ
ดร็อกไซด์
1. เริ่มเว้ นน ้าเมื่อใบส้ มเริ่มมีสีเขียวเข้ ม เพื่อทาให้ ใบส้ มแก่เร็วขึ ้น
2. พ่นธาตุอาหารรอง ได้ แก่ธาตุแคลเซี่ยม ธาตุแมกนีเซี่ยม และ
ธาตุสงั กะสี
3. ระวังการทาลายของเพลี ้ยจักจัน่ และเพลี ้ยกระโดดส้ ม หรื อ
หนอนแก้ ว และด้ วงกุหลาบกัดกินใบ หากพบการทาลายให้ พน่
สารป้องกันกาจัดแมลง
1. เริ่มเว้ นน ้าเมื่อใบส้ มมีสีเขียวเข้ ม เพื่อช่วยให้ ใบส้ มแก่ได้ เร็วขึ ้น
2. พ่นธาตุอาหารรอง ได้ แก่ธาตุแคลเซี่ยม ธาตุแมกนีเซี่ยม และธาตุ
สังกะสี
3. ระวังการทาลายของไรแดง หากพบการทาลายให้ พน่ สารป้องกัน
กาจัดไร เช่น กามะถันผง อัตรา 50-60 กรัม/น ้า 20 ลิตร

1. ไม่ให้ น ้าหรื อไม่รดน ้าเมื่อใบส้ มแก่จดั ประมาณ 10-15 วัน


ขึ ้นกับสภาพของอากาศ และเพื่อให้ หน้ าดินปลูกแห้ ง
2. พ่นปุ๋ยเคมีทางใบสูตร 15-30-15 หรื อ 10-52-17 อัตรา 40-50
กรัม/น ้า 20 ลิตร อาจผสมกับสารป้องกันกาจัดเชื ้อรา เช่น แมน
โคเซ็บ หรื อโปรปิ เน็บ
3. ระวังการทาลายของไรแดง หากพบการทาลายให้ พน่ สาร
ป้องกันกาจัดไร เช่นกามะถันผง อัตรา 50-60 กรัม/น ้า 20 ลิตร
4. เตรี ยม “ขึ ้นน ้า” หรื อรดน ้าให้ มากพอ เพื่อให้ ผลิยอดชุดใหม่
แผนการทางานในสวนส้ มโอ
สัปดาห์ ท่ ี 45 - สัปดาห์ ท่ ี 48
การทาใบรุ่ นที่ 2 งานที่ต้องทา
1. รดน ้าอย่างสม่าเสมอเพื่อเร่งให้ ต้นส้ มผลิยอดใหม่พร้ อม ๆ กัน
2. ระวังการทาลายของเพลี ้ยไฟในระยะผลิยอดเท่าเขี ้ยวปลา ถึง
ระยะยอดอ่อนยาว 2-4 ซม. พ่นกามะถันผง หรื อสารป้องกัน
กาจัดเพลี ้ยไฟ หรื ออาจใช้ วิธีรดน ้าให้ ต้นและใบเปี ยก (รดน ้า
เหนือยอดต้ น)
3. พ่นปุ๋ยเคมีทางใบสูตร 30-21-10 หรื อ 46-0-0 อัตรา 30-40
กรัม/น ้า 20 ลิตร โดยอาจผสมธาตุอาหารรอง เช่น ธาตุสงั กะสี
หรื อธาตุอาหารรวม
1. ระวังการทาลายของเพลี ้ยไฟที่ยอดอ่อน หากไม่พบการทาลาย
ไม่ต้องพ่นสารเคมี
2. รดน ้าแบบเปี ยกสลับแห้ ง หรื อรดแบบให้ ดนิ มีความชื ้น
สม่าเสมอ
3. ตรวจการวางไข่และการทาลายของหนอนแก้ ว

1. ระวังการทาลายของหนอนชอนใบส้ มที่ใบอ่อน หากไม่พบการ


ทาลาย ไม่ต้องพ่นสารเคมี
2. รดน ้าแบบเปี ยกสลับแห้ ง หรื อรดแบบให้ ดนิ มีความชื ้น
สม่าเสมอ
3. ในระยะนี ้หากเป็ นฤดูฝน มักมีการระบาดของโรคแคงเกอร์ ที่ใบ
อ่อน ให้ พน่ สารป้องกันกาจัดโรค เช่น คอปเปอร์ ออกซีคลอ
ไรด์หรื อ คอปเปอร์ ไฮดร็อกไซด์ (ครัง้ ที่ 1)

1. ระวังการทาลายของหนอนชอนใบส้ มที่ใบอ่อน หากไม่พบการ


ทาลาย ไม่ต้องพ่นสารเคมี
2. รดน ้าแบบเปี ยกสลับแห้ ง หรื อรดแบบให้ ดนิ มีความชื ้น
สม่าเสมอ
3. ในระยะนี ้หากเป็ นฤดูฝน มักมีการระบาดของโรคแคงเกอร์ ที่ใบ
อ่อน ให้ พน่ สารป้องกันกาจัดโรคพืช เช่น คอปเปอร์ ออกซี
คลอไรด์ หรื อ คอปเปอร์ ไฮดร็ อกไซด์ (ครัง้ ที่ 2)
แผนการทางานในสวนส้ มโอ
สัปดาห์ ท่ ี 49 - สัปดาห์ ท่ ี 52
สภาพต้ นส้ มที่พร้ อมกักนา้ และขึน้ นา้ งานที่ต้องทา
1. เมื่อใบส้ มอยูใ่ นระยะเพสลาดหรื อใบเริ่มโตเต็มที่ หากใบส้ มมี
ขนาด ค่อนข้ างใหญ่ และ/หรื อ อยูใ่ นฤดูฝนให้ พน่ ปุ๋ยทางใบสูตร
ตัวกลางสูงเช่น 15-30-15, 10-52-17 อัตรา 40-50 กรัม/น ้า 20
ลิตร 2-3 ครัง้ ติดต่อกัน ห่างกัน 7-10 วัน
2. ระวังโรคแคงเกอร์ ทาลายที่ใบ หากเป็ นฤดูฝนให้ ป้องกันโดยการใช้
สารคอปเปอร์ ออกซีคลอไรด์ หรื อ สารคอปเปอร์ ไฮดร็อกไซด์

1. เริ่มเว้ นน ้าเมื่อใบส้ มเริ่มมีสีเขียวเข้ ม เพื่อให้ ใบส้ มแก่ได้ เร็วขึ ้น


2. พ่นธาตุอาหารรอง ได้ แก่ธาตุแคลเซี่ยม ธาตุแมกนีเซี่ยม และธาตุ
สังกะสี
3. พ่นสารฟอสฟอริคแอซิค อัตรา 50-60 กรัม (ซีซี)/น ้า 20 ลิตร
4. ระวังการทาลายของเพลี ้ยจักจัน่ และเพลี ้ยกระโดดส้ มหรื อหนอน
กัดกินใบ หากพบการทาลายให้ พน่ สารป้องกันกาจัดแมลง

1. เริ่มเว้ นน ้าเมื่อใบส้ มมีสีเขียวเข้ ม เพื่อช่วยให้ ใบส้ มแก่ได้ เร็วขึ ้น


2. พ่นธาตุอาหารรอง ได้ แก่ธาตุแคลเซี่ยม ธาตุแมกนีเซี่ยม และธาตุ
สังกะสี
3. ระวังการทาลายของไรแดง หากพบการทาลายให้ พน่ สารป้องกัน
กาจัดไร เช่นกามะถันผง อัตรา 50-60 กรัม/น ้า 20 ลิตร

1. ไม่รดน ้าเมื่อใบส้ มแก่จดั ประมาณ 10-15 วัน หรื อให้ ต้นต้ มใบ
เหี่ยวเล็กน้ อย ขึ ้นกับสภาพของอากาศ
2. หากใบส้ มมีขนาดใหญ่ ให้ พน่ ปุ๋ยเคมีทางใบสูตร 15-30-15
หรื อ 10-52-17 อัตรา 40-50 กรัม/น ้า 20 ลิตร อาจผสมกับ
สารป้องกันกาจัดเชื ้อรา เช่น แมนโคเซ็บ
3. ระวังการทาลายของไรแดง หากพบการทาลายให้ พน่ สาร
ป้องกันกาจัดไร เช่น โปรปาร์ ไกจ์
4. “ขึ ้นน ้า”หรื อรดน ้าให้ มากพอ ต้ นส้ มผลิยอดชุดใหม่พร้ อมดอก

You might also like