You are on page 1of 27

29

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 3

หัวข้ อเนือ้ หา
3.1 ความนา
3.2 ความหมายและลักษณะของการเขียนแบบรู ป
3.3 การเขียนแบบภาพไอโซเมตริ ก
3.3.1 เส้นแกนของภาพไอโซเมตริ ก
3.3.2 การวางตาแหน่งภาพของภาพไอโซเมตริ ก
3.3.3 การสร้างภาพไอโซเมตริ ก
3.3.4 การสร้างรู ปวงรี บนภาพไอโซเมตริ ก
3.3.5 การสร้างรู ปทรงกระบอกบนภาพไอโซเมตริ ก
3.4 การเขียนแบบภาพออบลิค
3.4.1 เส้นแกนของภาพออบลิค
3.4.2 การวางตาแหน่งภาพของภาพออบลิค
3.4.3 การสร้างภาพออบลิค
3.4.4 การสร้างรู ปวงรี บนภาพออบลิค
3.5 การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟ
3.5.1 การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟ ชนิดจุดรวมสายตาจุดเดียว
3.5.2 การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟ ชนิดจุดรวมสายตา 2 จุด
3.5.3 การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟ ชนิดจุดรวมสายตา 3 จุด
3.6 บทสรุ ป
3.7 แบบฝึ กหัดท้ายบท
เอกสารอ้างอิง

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
เมื่อผูเ้ รี ยนเรี ยนจบบทนี้ แล้ว ผูเ้ รี ยนสามารถ
1. อธิบายความหมายและลักษณะของการเขียนแบบรู ปได้อย่างถูกต้อง
3. สามารถเขียนแบบภาพไอโซเมตริ กได้อย่างถูกต้อง
3. สามารถเขียนแบบภาพออบลิคได้อย่างถูกต้อง
4. สามารถเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟได้อย่างถูกต้อง
30

วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน
1. บรรยายประกอบเอกสารการสอน
3. บรรยายโดยใช้แผ่นใสประกอบ
3. ทาแบบฝึ กหัดท้ายบท
4. มอบหมายแบบฝึ กหัดเป็ นการบ้าน

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอน
3. แผ่นใสประกอบคาบรรยาย

การวัดผลและประเมินผล
1. จากการซักถามและตอบคาถามของผูเ้ รี ยน
3. จากการตรวจผลงานแบบฝึ กหัด
31

บทที่ 3
การเขียนแบบรู ป (Pictorials Drawing)

3.1 ความนา

การเขียนแบบรู ปหรื อการเขียนแบบภาพสามมิติ เป็ นการเขียนแบบที่แสดงรู ปร่ างต่างๆ


ของงานบางอย่างที่ไม่สามารถจะบอกกล่าวหรื ออธิบายให้เข้าใจด้วยคาพูดได้ จึงจาเป็ นต้องใช้การ
เขียนรู ปเป็ นสื่ออธิบาย การเขียนรู ปที่นิยมใช้ในงานเขียนแบบทัว่ ๆ ไปมีอยู่ 3 ลักษณะ คือการเขียน
แบบภาพไอโซเมตริ ก (isometric projection) การเขียนแบบภาพออบลิค (oblique projection) และ
การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟ (perspective projection) การเขียนแบบภาพไอโซเมตริ กเป็ นการ
เขียนแบบภาพสามมิติที่มองเห็นภาพทั้ง 3 ด้าน โดยเกิดจากการยกแกนภาพของวัตถุให้เป็ นมุมเท่าๆ
กันทั้ง 3 มุม การเขียนแบบภาพออบลิคเป็ นการเขียนแบบภาพสามมิติที่มีลกั ษณะไม่เหมือนชิ้นงาน
จริ ง เพราะมีเส้นแกนของภาพเอียงด้านเดียว แบ่งได้เป็ น 2 ชนิดคือ แบบคาวาเลีย (cavalier) กับแบบ
คาบิเนต (cabinet) การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟ หรื อภาพทัศนียภาพเป็ นภาพสามมิติที่เป็ นภาพ
คล้ายของจริ งในลักษณะของการมองไกล ภาพเพอร์สเพกทิฟแบ่งออกได้เป็ น 3 ชนิด คือ แบบจุด
รวมสายตาจุดเดียว แบบจุดรวมสายตา 2 จุด และแบบจุดรวมสายตา 3 จุด

3.2 ความหมายและลักษณะของการเขียนแบบรูป

การเขียนแบบรู ปหรื อการเขียนแบบภาพสามมิติ เป็ นการเขียนแบบที่แสดงลักษณะ


ของงานได้เหมือนกับชิ้นงานจริ ง ด้วยการเขียนภาพที่สามารถแสดงให้เห็นด้านของวัตถุมากกว่า
หนึ่งด้าน ซึ่งประกอบไปด้วยแกนของภาพ 3 แกน คือ ความกว้าง ความยาว และความสูง ทามุมซึ่ง
กันและกัน อย่างไรก็ตามรายละเอียดต่าง ๆ ของแบบไม่สามารถเขียนลงในภาพสามมิติได้ครบถ้วน
ยังต้องใช้ภาพฉายช่วยให้รายละเอียดที่ครบถ้วนอีกครั้งหนึ่ง ในทางปฏิบตั ิไม่นิยมนาภาพสามมิติมา
เป็ นแบบทางาน จะใช้สาหรับดูรูปร่ างของชิ้นงาน การเขียนแบบรู ปที่นิยมใช้ในงานเขียนแบบทัว่ ๆ
ไปมีอยู่ 3 ลักษณะ คือ

3.3.1 การเขียนแบบภาพไอโซเมตริ ก (Isometric Projection) เป็ นภาพสามมิติที่นิยมใช้


กับงานเขียนแบบมากที่สุด สามารถเขียนได้ง่ายเพราะจะเป็ นภาพที่มีแกน 3 แกนยาวเท่ากัน และมุม
ทั้ง 3 ก็เท่ากันด้วย
32

3.2.2 การเขียนแบบภาพออบลิค (Oblique Projection) เป็ นภาพสามมิติที่มีลกั ษณะไม่


เหมือนชิ้นงานจริ ง สามารถเขียนได้ง่าย เพราะมีดา้ นเอียงด้านเดียว ภาพชนิดนี้มองแล้วความยาว
ของแบบจะมีลกั ษณะยาวกว่าขนาดของชิ้นงานจริ งยังแบ่งได้เป็ น 2 ชนิดคือ

3.2.3.1 แบบคาวาเลีย (cavalier)


3.2.3.2 แบบคาบิเนต (cabinet)

3.3.3 การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟ (Perspective Projection) หรื อภาพทัศนียภาพ


เป็ นภาพที่เหมือนจริ งตามสายตาที่มองเห็น ชิ้นงานที่อยูไ่ กลจะมองเห็นภาพมีขนาดเล็กลงเรื่ อย ๆ
เรี ยกว่าเป็ นส่วนลึกของภาพ ภาพเพอร์สเพกทิฟแบ่งออกได้เป็ น 3 ชนิด คือ

3.3.3.1 แบบจุดรวมสายตาจุดเดียว หรื อมีแกนเดียว


3.3.3.2 แบบจุดรวมสายตา 2 จุด หรื อมีแกนเอียง 2 แกน
3.3.3.3 แบบจุดรวมสายตา 3 จุด หรื อมีแกนเอียง 3 แกน

3.3 การเขียนแบบภาพไอโซเมตริก

การเขียนแบบภาพไอโซเมตริ กนั้น เป็ นการเขียนภาพสามมิติที่มองเห็นภาพทั้ง 3 ด้าน


โดยเกิดจากการยกแกนภาพของวัตถุให้เป็ นมุมเท่า ๆ กัน ทั้ง 3 มุม ภาพไอโซเมตริ กเป็ นลักษณะ
หนึ่งในสามลักษณะของภาพชนิดแอกโซโนเมตริ ก (axonometric projection) หรื อภาพสามมิติที่เกิด
จากการยกแกนภาพเป็ นการเขียนภาพที่เส้นฉาย (projection line) ขนานและตั้งฉากกับฉากรับภาพที่
ต้องการเขียน วัตถุน้นั ๆ มีลกั ษณะการมอง 3 ลักษณะด้วยกัน คือ
ภาพไอโซเมตริ ก จะเป็ นภาพที่มีแกน 3 แกนยาวเท่ากัน และมุมทั้ง 3 เท่ากันด้วย
ภาพไดเมตริ ก (diametric projection) จะมีแกน 2 แกนยาวเท่ากัน แต่อีกแกนหนึ่งยาว
กว่า มุมเท่ากัน 2 มุม และอีกมุมหนึ่งไม่เท่า
ภาพไตรเมตริ ก (trimetric) แกนทั้ง 3 และมุมทั้ง 3 ไม่เท่ากัน
ดังรู ปที่ 3.1
33

ไอโซเมตริ ก ไดเมตริ ก ไตรเมตริ ก

รูปที่ 3.1 ภาพแอกโซโนเมตริ ก


ที่มา (technical drawing, 1980, P.499)

3.3.1 เส้นแกนของภาพไอโซเมตริ ก (Isometric Axis) ภาพไอโซเมตริ กมีขนาดของ


แกนยาวเท่ากัน และมุมของแกนเท่ากันด้วย ดังนั้นมุมของภาพไอโซเมตริ กจึงเท่ากับมุมในจุด
ศูนย์กลางของวงกลมที่แบ่งออกเป็ น 3 ส่วน ซึ่งมีค่ามุมเท่ากับ 120 องศา และจะต้องมีแกนหนึ่งอยู่
ในแนวดิ่ง อีก 2 มุมจะทามุม 30 องศากับแนวระดับ ดังรู ปที่ 3.2 สาหรับเส้นสร้างหรื อเส้นของภาพ
ที่เกิดขึ้นจะเป็ นเส้นขนานกับแกนของภาพไอโซเมตริ ก และหากมีมุมเอียงของภาพ เราจะเรี ยกเส้น
นั้นว่า เส้นนอกแกนไอโซเมตริ กหรื อเส้นไม่ขนานกับแกนไอโซเมตริ ก ดังรู ปที่ 3.3

รูปที่ 3.2 เส้นแกนของภาพไอโซเมตริ ก


ที่มา (เขียนแบบเทคนิค 1, 2542, หน้า 301)
34

รูปที่ 3.3  เส้นแกนไอโซเมตริ ก


 เส้นขนานกับแกนไอโซเมตริ ก
 เส้นไม่ขนานกับแกนไอโซเมตริ ก
ที่มา (เขียนแบบเทคนิค 1, 2542, หน้า 302)

3.3.2 การวางตาแหน่งภาพของภาพไอโซเมตริ ก ในการวางตาแหน่งภาพของภาพ


ไอโซเมตริ ก มีการวางอยู่ 4 ลักษณะ โดยแต่ละลักษณะจะเน้นส่วนหนึ่งส่วนใดของวัตถุให้ชดั เจน
ขึ้น เพื่อให้อ่านแบบได้ง่าย ดังนั้นควรเลือกวางภาพให้เหมาะสมกับลักษณะของงานที่ตอ้ งการ ดัง
รู ปที่ 3.4

เน้นภาพด้านบน เน้นภาพด้านล่าง เน้นภาพด้านบน เน้นภาพด้านบน


วางแนวราบ ยกมุมหน้าซ้าย ยกมุมหลังซ้าย ยกมุมหลังขวา

รูปที่ 3.4 การวางตาแหน่งภาพของภาพไอโซเมตริ ก


ที่มา (technical drawing, 1980, P.502)

3.3.3 การสร้างภาพไอโซเมตริ ก ในการเขียนแบบภาพไอโซเมตริ กนั้น จะเป็ นการ


เขียนภาพจากแบบภาพฉายหรื อภาพ 2 มิติ มาเป็ นภาพ 3 มิติ การเขียนแบบภาพไอโซเมตริ กจึงต้อง
อ่านภาพฉายให้ถกู ต้อง แล้วจึงจินตนาการที่เป็ นจริ งของภาพที่เป็ นจริ งของภาพสามมิติก่อนจึงจะลง
มือเขียนแบบร่ างด้วยมือเปล่า ลาดับขั้นตอนการเขียนเมื่อได้รูปแบบภาพฉายที่กาหนดแล้ว ดังรู ปที่
3.5
35

รูปที่ 3.5 ภาพฉาย 3 ด้านของวัตถุที่กาหนด


ที่มา (เขียนแบบเทคนิค 1, 2542, หน้า 303)

รูปที่ 3.6 การสร้างภาพไอโซเมตริ ก


ที่มา (เขียนแบบเทคนิค 1, 2542, หน้า 304)
36

สิ่งที่ควรคานึงถึงก็คือ ตาแหน่งของแกนภาพที่ตอ้ งวางให้เหมาะสมและสวยงาม


กับหน้ากระดาษ และการวางแบบ จากนั้นจึงเริ่ มสร้างภาพไอโซเมตริ กตามลาดับดังนี้คือ
3.3.3.1 จากรู ป ก สร้างแกนไอโซเมตริ กทั้ง 3 แกน
3.3.3.2 จากรู ป ข สร้างรู ปกล่องสี่เหลี่ยม ขนาดกว้าง 20 มิลลิเมตร ยาว 40
มิลลิเมตร และสูง 20 มิลลิเมตร เท่ากับด้านของวัตถุที่กาหนด
3.3.3.3 จากรู ป ค จากภาพฉายในด้านหน้า นาเส้นและรายละเอียดของ
ภาพเขียนลงในภาพด้านหน้าของรู ปกล่อง โดยวัดความสูงจากจุด A สูง 10 มิลลิเมตร และยาวจาก
จุด A 20 มิลลิเมตร และขนาดยาว 10 มิลลิเมตร กว้าง 10 มิลลิเมตร อีกระยะหนึ่งที่จุด P, Q
3.3.3.4 จากรู ป ง จากภาพด้านบนวัดระยะของภาพด้านบนซึ่งทับกับจุด A มี
ระยะ 20 มิลลิเมตร และลากเส้นในแนวดิ่ง ซึ่งจะตัดกับเส้นในภาพด้านหน้าที่จุด X
3.3.3.5 จากรู ป จ ลากเส้นขนานตามเส้นแกนไอโซเมตริ ก ในภาพด้านหน้า
และภาพด้านข้างที่จุด ซึ่งเขียนไว้แล้วมาตัดกันที่จุด Y ลากเส้นตั้งฉากที่จุด Y ไปตัดกับเส้น 20
มิลลิเมตรที่ภาพด้านบน จะเห็นเป็ นรู ปชิ้นงาน จากนั้นลากเส้นขนานกับแกน ผ่านที่จุด P และ Q ทั้ง
สองเส้นตัดกันที่ R และ S
3.3.3.6 จากรู ป ฉ ลากเส้นเต็มหนัก ตามแนวรู ปชิ้นงานจริ งจะได้ภาพไอโซ
เมตริ ก

3.3.4 การสร้างรู ปวงรี บนภาพไอโซเมตริ ก ในชิ้นงานที่มรี ู ปทรงกลม รู หรื อส่วนโค้ง


เมื่อนามาเขียนเป็ นภาพไอโซเมตริ กแล้วจะเป็ นวงรี มีวิธีการสร้างรู ป ดังรู ปที่ 3.7

ก ข ค

รูปที่ 3.7 การสร้างรู ปวงรี บนภาพไอโซเมตริ ก


ที่มา (เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น, 2547, หน้า 243)
37

จากรู ป ก เมื่อมองระดับสายตาจะเป็ นวงกลม


จากรู ป ข จากจุด D ลากเส้น DA และ DB ทามุม 30 องศา กับระนาบ
สร้างรู ปสี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปู DBCA ลากเส้นแบ่งครึ่ งสี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน
ออกเป็ นสี่ส่วนด้วยเส้นผ่าศูนย์กลาง
ลากเส้นจากจุด D ไปหาจุดตัดที่อยูต่ รงข้ามจุด D 2 เส้น ลากเส้นจากจุด C ไปหา
จุดตัดที่อยูต่ รงข้ามจุด C 2 เส้น จะได้จุดตัด 1, 2 เพื่อเขียนส่วนโค้งเล็ก
จากรู ป ค ที่จุด C และ D เขียนส่วนโค้งใหญ่จะได้รูปวงรี ตามต้องการ
3.3.5 การสร้างรู ปทรงกระบอกบนภาพไอโซเมตริ ก การสร้างรูปทรงกระบอกบนภาพ
ไอโซเมตริ ก มีข้นั ตอนการสร้างรู ปดังรู ปที่ 3.8

ก ข

ค ง

รูปที่ 3.8 การสร้างรู ปทรงกระบอกบนภาพไอโซเมตริ ก


ที่มา (เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น, 2547, หน้า 245)
38

จากรู ป ก กาหนดจุดศูนย์กลาง ABC และเส้นผ่าศูนย์กลางทั้ง 3 จุด โดยระยะห่าง


ตามแบบ
จากรู ป ข สร้างกรอบสี่เหลี่ยมตามขนาดของวงกลม และร่ างเส้นตามแนวดิ่ง
จากรู ป ค สร้างวงรี จากด้านบนสุดลงมาทีละวง ถ้าวงกลมใดมีขนาดเท่าก็อาศัย
วิธีการถ่ายจุด
จากรู ป ง ลงเส้นหนักทับเส้นร่ าง

3.4 การเขียนแบบภาพออบลิค

การเขียนแบบภาพออบลิค เป็ นการเขียนแบบภาพสามมิติที่มองจากภาพฉาย เช่นเดียวกับ


ภาพไอโซเมตริ ก แต่ลกั ษณะการเกิดภาพออบลิคเปรี ยบเสมือนการผลักหรื อเย้แกนของภาพให้เอียง
ไปด้านใดด้านหนึ่ง แล้วยกด้านท้ายให้สูงขึ้น ดังรู ปที่ 3.9 การเกิดภาพออบลิคนี้ แกนของภาพที่ถกู
ผลักออกไปให้เห็นในด้านที่ 2 นั้น ยาวกว่าปกติ ซึ่งก็เป็ นเพียงภาพลวงตาเท่านั้น เราเรี ยกภาพออบลิค
ลักษณะนี้ว่า คาวาเลีย ดังรู ปที่ 3.9 ก ในการปรับลักษณะภาพที่จะมองแล้วเห็นเป็ นภาพคล้ายของ
จริ งมากขึ้น ทาให้ลดขนาดความยาวของด้านที่ถกู ผลักลงครึ่ งหนึ่งจากความยาวจริ ง เราเรี ยกภาพ
ออบลิค ลักษณะนี้ว่า คาบิเนต ดังรู ปที่ 3.9 ข

รูปที่ 3.9 ก. การเขียนภาพออบลิคแบบคาวาเลีย


ข. การเขียนภาพออบลิคแบบคาบิเนต
ที่มา (technical drawing, 1980, P.534)

3.4.1 เส้นแกนของภาพออบลิค (Oblique Axis) เส้นแกนของภาพออบลิคนี้อาจจะมี


แกนของภาพเอียงตั้งแต่นอ้ ยไปหามาก หากแกนของมุมเอียงน้อยภาพออกมาจะเอียงน้อย หากมุม
เอียงหรื อเย้มาก ภาพออกมาจะเอียงมาก แกนของภาพออบลิคอาจมีแกนภาพ 2 แกน ตั้งฉากกัน
ส่วนอีกแกนหนึ่งจะไม่ต้งั ฉาก มุมเอียงของภาพออบลิคที่นิยมใช้ได้แก่ 30 องศา 45 องศา และ 60
องศา ทั้งนี้เพราะมีเครื่ องมือช่วยให้เขียนได้ง่ายขึ้น และง่ายต่อการอ่านแบบ ดังรู ปที่ 3.10
39

รูปที่ 3.10 ลักษณะแกนของมุมภาพออบลิค


ก. วางเอียงมุม 45 องศา
ข. วางเอียงมุม 30 องศา
ที่มา (technical drawing, 1980, P.534)

3.4.2 การวางตาแหน่งภาพของภาพออบลิค การวางตาแหน่งภาพของภาพออบลิค มี


การวางได้หลายตาแหน่ง แต่ส่วนใหญ่จะใช้อยู่ 4 ตาแหน่ง คือ วางเอียงไปทางด้านขวา วางมุม
แหงนเอียงขวา วางเอียงไปทางด้านซ้ายและวางมุมแหงนเอียงซ้าย ดังรู ปที่ 3.11

รูปที่ 3.11 ลักษณะการวางตาแหน่งภาพของภาพออบลิค


ก. เอียงขวา
ข. มุมแหงนเอียงขวา
ค. เอียงซ้าย
ง. มุมแหงนเอียงซ้าย
ที่มา (technical drawing, 1980, P.534)
40

3.4.3 การสร้างภาพออบลิค การเขียนภาพออบลิคนั้นมีวิธีการเขียนเช่นเดียวกันกับ


ภาพไอโซเมตริ ก จะแตกต่างกันที่แกนภาพ ภาพออบลิคมีแกนเอียงเพียงแกนเดียว โดยเริ่ มต้นการ
เขียนจากภาพด้านหน้า ซึ่งจะชัดเจนกว่าและเริ่ มจากโครงร่ างของกล่องเป็ นพื้นฐาน โดยเฉพาะ
รู ปทรงเหลี่ยม ลาดับขั้นตอนการเขียนเมื่อได้รูปแบบภาพฉายที่กาหนดให้ ดังรู ปที่ 3.12

รูปที่ 3.12 ภาพฉาย 3 ด้าน ของวัตถุที่กาหนด


ที่มา (เขียนแบบเทคนิค 1, 2542, หน้า 308)

ขั้นตอนการสร้างภาพออบลิค ดังรู ปที่ 3.13

รูปที่ 3.13 วิธีการสร้างภาพออบลิค


ที่มา (เขียนแบบเทคนิค 1, 2542, หน้า 308)
41

3.4.3.1 จากรู ป ก สร้างแกนออบลิคทั้ง 3 แกน


3.4.3.2 จากรู ป ข สร้างรู ปกล่องสี่เหลี่ยมขนาดกว้าง 20 มิลลิเมตร ยาว 40
มิลลิเมตร และสูง 20 มิลลิเมตร บนแกนทั้งสาม
3.4.3.3 จากรู ป ค จากภาพฉายในด้านหน้า นาเส้นและรายละเอียดของ
ภาพเขียนลงในภาพด้านหน้าของรู ปกล่อง โดยวัดความสูง 10 มิลลิเมตร และความยาว 20 มิลลิเมตร
ความกว้าง 10 มิลลิเมตร
3.4.3.4 จากรู ป ง จากภาพด้านบนวัดระยะของภาพด้านบน และลากเส้นใน
แนวดิ่งซึ่งจะตัดกับเส้นในภาพด้านหน้าที่จุด X
3.4.3.5 จากรู ป จ ลากเส้นขนานตามเส้นแกนออบลิคในภาพ ด้านหน้าและภาพ
ด้านข้าง ที่จุดซึ่งเขียนไว้แล้วมาตัดกันที่จุด Y ลากเส้นตั้งฉากที่จุด Y ไปตัดกับเส้น 20 มิลลิเมตรที่
ภาพด้านบนจะเห็นเป็ นรู ปร่ างของชิ้นงาน และลากเส้นขนานกับแกนผ่านที่จุด P และ Q ทั้ง 2 เส้น
ตัดกันที่ R และ S
3.4.3.6 จากรู ป ฉ ลากเส้นเต็มหนักตามรู ปชิ้นงานจริ ง จะได้ภาพออบลิค

3.4.4 การสร้างรู ปวงรี บนภาพออบลิค การสร้างวงรี บนภาพออบลิคมีข้นั ตอนการสร้าง


ดังรู ปที่ 3.14

ก ข


รูปที่ 3.14 การสร้างวงรี บนภาพออบลิค
ที่มา (เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น, 2547, หน้า 247)
42

จากรู ป ก กาหนดให้ O เป็ นจุดศูนย์กลาง เขียนเส้นผ่าศูนย์กลางตามแนวนอน


และแนวเอียง โดยกาหนดขนาด OA, OB, OC และ OD ลงบนเส้นศูนย์กลางเท่ากับรัศมีของวงกลม
จากรู ป ข ที่จุด A, B, C และ D ลากเส้นขนานจะได้กรอบสี่เหลี่ยม จากนั้น
ลากเส้นตั้งฉากกับด้านทั้งสี่ของกรอบสี่เหลี่ยม จะได้จุด G, H, E และ R ใช้จุด E และ R เป็ นจุด
ศูนย์กลางของรัศมี EA และ RB เขียนส่วนโค้ง AE และ BR จะได้ส่วนโค้งเล็ก
จากรู ป ค ใช้จุด E และ H เป็ นจุดศูนย์กลาง รัศมี EA และ HC เขียนส่วนโค้ง
ใหญ่ต่อกับส่วนโค้งเล็ก จากนั้นลงเส้นหนักทับจะได้วงรี ตามต้องการ

3.5 การเขียนแบบภาพเพอร์ สเพกทิฟ

การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟ หรื อภาพทัศนียภาพ เป็ นภาพสามมิติที่เป็ นภาพคล้าย


ของจริ งในลักษณะของการมองไกลเป็ นวิธีการเขียนแบบดั้งเดิมที่ใช้สื่อความหมายระหว่างนักออกแบบ
กับผูผ้ ลิตผลิตภัณฑ์ แท้จริ งแล้วการเขียนแบบนั้นเป็ นสื่อสาหรับการตัดสินใจของนักลงทุนและ
การตลาด โดยปกติคนทัว่ ๆ ไปไม่สามารถที่จะอ่านการเขียนแบบทางวิศวกรรมได้ แต่การเขียน
แบบภาพเพอร์สเพกทิฟสามารถแสดงให้คนทัว่ ๆ ไปเข้าใจในผลิตภัณฑ์สาเร็ จรู ปได้ดี เพราะว่าภาพ
ชนิดนี้สามารถมองเห็นวัตถุได้เหมือนภาพความเป็ นจริ ง การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟมีคาศัพท์
ที่ควรรู้ดงั นี้
เส้นแนวนอน (horizon) เป็ นเส้นแบ่งพื้นดินหรื อพื้นน้ าออกจากท้องฟ้ า เส้นแนวนอน
นี้จะอยูใ่ นระดับสายตาที่มองภาพ ดังรู ปที่ 3.15
จุดสายตา (vanishing points, VP) เป็ นจุดบนเส้นแนวนอนที่เส้นของวัตถุจะเบนเข้าหา
กัน ดังรูปที่ 3.15
จุดมอง (station point, SP) เป็ นตาแหน่งของตาผูม้ องภาพเมื่อดูภาพ วัตถุทศั นียภาพที่
ได้จะมีลกั ษณะต่างกัน ถ้าจุดมองอยูส่ ูงกว่าวัตถุจะเห็นภาพด้านบนของวัตถุน้ นั ชัดเจน แต่ถา้ จุดมอง
อยูต่ ่ากว่าวัตถุจะเห็นส่วนล่างของวัตถุน้ นั ถ้าเลื่อนไปทางซ้ายหรื อขวาก็จะเห็นด้านซ้ายหรื อขวา
ของวัตถุน้ นั ดังรู ปที่ 3.16 เกณฑ์ทวั่ ไปสาหรับวัตถุขนาดเล็กและขนาดกลางจุดมองจะอยูส่ ูงกว่า
เส้นแนวนอนเล็กน้อย แต่ถา้ เป็ นวัตถุขนาดใหญ่เส้นแนวนอนจะอยูส่ ูงกว่าเส้นพื้นดิน (GL)
ประมาณ 5 ฟุต เพื่อให้ได้ภาพที่สมบูรณ์แบบ จุดมอง (SP) ควรจะอยูใ่ นตาแหน่งที่เป็ นรู ปกรวยของ
เส้นรัศมีรอบขอบวัตถุทามุมไม่เกิน 30 องศา ถ้ามุมมีขนาดใหญ่กว่าหรื อน้อยกว่านี้จะทาให้ภาพที่
ได้บิดเบี้ยวมาก ดังรู ปที่ 3.17
43

เส้นรัศมี (visual rays) เส้นหรื อรัศมีที่เห็นซึ่งเบนเข้าหากันจากวัตถุไปยังสายตาที่เห็น


ภาพ ดังรู ปที่ 3.15
เส้นพื้นดิน (ground line, GL) เป็ นเส้นที่เกิดจากระนาบภาพตัดกับระนาบพื้นดิน ดังรู ป
ที่ 3.15

รูปที่ 3.15 ภาพเพอร์สเพกทิฟ


ที่มา (technical drawing, 1980, P.548)
44

รูปที่ 3.16 ลักษณะของภาพเพอร์สเพกทิฟที่เปลี่ยนไปตามจุดมอง


ที่มา (เขียนแบบเทคนิค, 2532, หน้า 184)
45

รูปที่ 3.17 ก. ตาแหน่งของจุดมอง อยูใ่ นรู ปกรวยของเส้นรัศมีรอบขอบวัตถุทามุม 30 องศา


ข. ตาแหน่งของจุดมอง อยูใ่ นรู ปกรวยของเส้นรัศมีรอบขอบวัตถุทามุมมากกว่า
30 องศา
ค. ตาแหน่งของจุดมอง อยูใ่ นรู ปกรวยของเส้นรัศมีรอบขอบวัตถุทามุมน้อยกว่า
30 องศา
ที่มา (เขียนแบบเทคนิค, 2532, หน้า 185)
46

ระนาบภาพ (picture plane, PP) หรื อตาแหน่งของระนาบรับภาพ ถ้าตาแหน่งของ


ระนาบภาพอยูร่ ะหว่างวัตถุกบั ตาแหน่งที่มอง ภาพที่ได้จะมีขนาดเล็กกว่าขนาดของวัตถุ ยิง่ ถ้า
ระนาบภาพเลื่อนห่างออกจากวัตถุมากเท่าไร ภาพที่ได้จะมีขนาดเล็กลงเท่านั้น ดังรู ปที่ 3.18 ถ้าจะ
ให้ภาพมีขนาดใหญ่กว่าขนาดของวัตถุจะต้องวางวัตถุระหว่างจุดมองกับระนาบภาพ ดังรู ปที่ 3.18
โดยมากการเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟ ระนาบภาพจะอยูร่ ะหว่างวัตถุกบั จุดมอง

รูปที่ 3.18 การวางตาแหน่งของระนาบภาพ


ที่มา (technical drawing, 1980, P.552)

การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟ แบ่งออกเป็ น 3 ชนิด คือ


3.5.1 การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟชนิดจุดรวมสายตาจุดเดียวหรื อแบบขนาน (one
point perspective, parallel perspective) การเขียนแบบชนิดนี้ภาพที่ได้จะมีลกั ษณะคล้ายกับภาพที่
ได้จากการฉายภาพเสมือนแบบออบลิค โดยมีขอ้ แตกต่างกันคือ การวางภาพด้านบนจะวางให้
ระนาบด้านหน้าของวัตถุขนานกับระนาบภาพ (PP) และการเลือกจุดสายตา (VP) บนเส้นแนวนอน
มีเพียงจุดเดียว ดังรู ปที่ 3.19
47

รูปที่ 3.19 เพอร์สเพกทิฟชนิดจุดรวมสายตาจุดเดียวหรื อแบบขนาน


ที่มา (technical drawing, 1980, P.554)

ขั้นตอนการเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟชนิดจุดรวมสายตาจุดเดียวหรื อแบบขนาน
ดังรู ปที่ 3.20
48

รูปที่ 3.20 ขั้นตอนการเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟชนิดจุดรวมสายตาจุดเดียวหรื อแบบขนาน


ที่มา (การเขียนแบบเทคนิค 1 และ 2, 2531, หน้า 189)

จากรู ป ก ลากเส้นแนวนอน กาหนดจุดสายตา บนเส้นแนวนอน 1 จุด พร้อมทั้งเขียน


ภาพด้านหน้าของวัตถุให้ขนานกับเส้นแนวนอน
จากรู ป ข ลากเส้นรัศมีจากภาพด้านหน้าของวัตถุไปยังจุดสายตา
จากรู ป ค ลากเส้นดิ่งและเส้นขนานกับเส้นแนวนอนตามขนาดของวัตถุ
จากรู ป ง จะได้ภาพเพอร์สเพกทิฟชนิดจุดรวมสายตาจุดเดียวหรื อแบบขนาน

3.5.2 การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟชนิดจุดรวมสายตา 2 จุด หรื อแบบเชิงมุม (two


point perspective, angular perspective) การเขียนภาพแบบนี้จาเป็ นต้องใช้ภาพที่ได้จากการฉายภาพ
ในทิศที่ต้งั ฉากกับวัตถุโดยการวางรู ปให้มุมหนึ่งวางอยูใ่ นระนาบภาพ ที่มีทิศทางตั้งฉากกับกระดาษ
และระนาบด้านหน้าวางทามุม 30 องศา กับระนาบภาพ การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟชนิดนี้มี
จุดสายตา 2 จุดบนเส้นแนวนอน ดังรู ปที่ 3.21
49

รูปที่ 3.21 เพอร์สเพกทิฟชนิดจุดรวมสายตา 2 จุดหรื อแบบเชิงมุม


ที่มา (technical drawing, 1980, P.138)

ขั้นตอนการเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟชนิดจุดรวมสายตา 2 จุดหรื อแบบเชิงมุม


ดังรู ปที่ 3.22
50

รูปที่ 3.22 ขั้นตอนการเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟชนิดจุดรวมสายตา 2 จุดหรื อแบบเชิงมุม


ที่มา (การเขียนแบบเทคนิค 1 และ 2, 2531, หน้า 190)

จากรู ป ก ลากเส้นแนวนอน กาหนดจุดสายตาบนเส้นแนวนอน 2 จุด แล้วลากเส้น


ด้านหน้าของวัตถุให้ต้งั ฉากกับเส้นแนวนอน ขนาดตามต้องการ
จากรู ป ข ลากเส้นรัศมีจากเส้นวัตถุไปยังจุดสายตา ทั้งสองจุด
จากรู ป ค กาหนดจุดขนาดของวัตถุบนเส้นรัศมีให้มีขนาดตามที่ตอ้ งการ
จากรู ป ง ลากเส้นรัศมีจากวัตถุไปยังจุดสายตา ทั้ง 2 จุด
จากรู ป จ ลากเส้นดิ่งและเส้นขนานกับเส้นแนวนอนตามขนาดของวัตถุ
จากรู ป ฉ จะได้ภาพเพอร์สเพกทิฟชนิดจุดรวมสายตา 2 จุด ตามต้องการ

3.5.3 การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟชนิดจุดรวมสายตา 3 จุด (three point


perspective) เป็ นการเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟที่มีจุดสายตา 3 จุด มีแกนหลักทั้งสามเอียงทามุม
ใด ๆ กับระนาบภาพ หรื อเรี ยกว่าทัศนียภาพแบบออบลิค ดังรู ปที่ 3.23
51

รูปที่ 3.23 เพอร์สเพกทิฟชนิดจุดรวมสายตา 3 จุด


ที่มา (technical drawing, 1980, P.557)
52

รูปที่ 3.24 ขั้นตอนการเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟชนิดจุดรวมสายตา 3 จุด


ที่มา (เขียนแบบเทคนิค, 2532, หน้า 187)

จากรู ป ก สร้างรู ปสามเหลี่ยมด้านเท่าเพื่อให้มุมทั้งสามของสามเหลี่ยมเป็ นจุดสายตา


ทั้ง 3 จุด คือ LVP, RVP, VVP ลากเส้นแบ่งครึ่ งมุมทั้งสามเส้นให้ตดั กันที่จุดมอง
จากรู ป ข, ค ลากเส้น ML ขนานกับเส้น LVP – RVP และลากเส้น M1L1 ขนานกับเส้น
RVP-VVP วัดระยะจาก SP ไปทางซ้ายตามแนว ML ให้เป็ นความยาวของวัตถุ แล้ววัดระยะจาก SP
ไปทางขวาให้เป็ นความกว้าง และวัดจาก SP ตามแนว M1L1 เป็ นความสูงของวัตถุ
จากรู ป ง ลากเส้นรัศมีจากจุดที่วดั ไว้ตามแนว ML และ M1L1 ไปยังจุด VP โยงเส้นตรง
ระหว่างจุดตัดกันก็จะได้ภาพวัตถุแบบภาพเพอร์สเพกทิฟชนิดจุดรวมสายตา 3 จุด ตามต้องการ
53

3.6 บทสรุป

การเขียนแบบรู ปหรื อการเขียนแบบภาพสามมิติ เป็ นการเขียนแบบที่เขียนได้ง่ายและ


สะดวก ทาให้เกิดความเข้าใจในแบบงานและรายละเอียดมากขึ้น จึงนิยมนามาใช้ในการเขียนแบบ
มากพอ ๆ กับการเขียนภาพฉาย การเขียนแบบภาพไอโซเมตริ กและการเขียนแบบภาพออบลิคนั้น
จะมีวิธีการสร้างภาพที่เหมือนกัน แตกต่างกันเล็กน้อยที่มุมเท่านั้น การเขียนแบบภาพเพอร์ส-
เพกทิฟหรื อการเขียนแบบภาพทัศนียภาพ เป็ นการเขียนภาพสามมิติที่มองเห็นวัตถุได้เหมือนภาพ
ความเป็ นจริ งในลักษณะการมองไกล
54

3.7 แบบฝึ กหัดท้ ายบท

1. จงอธิบายความหมายของข้อความต่อไปนี้
1) การเขียนแบบรู ป
2) การเขียนแบบภาพไอโซเมตริ ก
3) การเขียนแบบภาพออบลิค
4) การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟ
3. จงเขียนเส้นแกนของภาพไอโซเมตริ ก พร้อมแสดงขนาดมุมของแกนนั้นด้วย
3. จงแสดงการวางตาแหน่งภาพของภาพไอโซเมตริ ก ทั้ง 4 ลักษณะ พร้อมคาอธิบาย
4. จงเขียนเส้นแกนของภาพออบลิค ทั้ง 2 ลักษณะ
5. จงแสดงการวางตาแหน่งภาพของภาพออบลิค โดยกาหนดให้วางเอียงไปทางด้านขวา
6. จงสร้างภาพออบลิคตามขั้นตอนพร้อมทั้งคาอธิบายประกอบ
7. จงอธิบายความหมายของคาต่อไปนี้
1) เส้นแนวนอน
2) จุดสายตา
3) จุดมอง
4) เส้นรัศมี
5) เส้นพื้นดิน
6) ระนาบภาพ
8. การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟ แบ่งออกได้กี่ชนิด อะไรบ้าง
9. การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟที่เรี ยกว่าทัศนียภาพแบบออบลิคนั้น เป็ นการ
เขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟชนิดใด และมีแกนหลักทั้งสามเป็ นเช่นไร จงอธิบาย
10. การเขียนแบบภาพเพอร์สเพกทิฟชนิดใด ที่ได้ภาพลักษณะคล้ายกับภาพที่ได้จาก
การฉายภาพเสมือนแบบออบลิค แล้วอธิบายข้อแตกต่างระหว่างภาพทั้ง 2 แบบนั้นด้วย
55

เอกสารอ้ างอิง

จารุ ญ ตันติพิศกลกุล. (2551). เขียนแบบวิศวกรรม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุ งเทพฯ : สามลดา.


ดิเรก ช่างเรี ยน, ศิริพร อกนิษฐ์กุล, ทนงศักดิ์ แสงวัฒนะชัย และกวีวงศ์ ปวิดาภา. (2529).
เทคนิคการเขียนแบบวิศวกรรม. กรุ งเทพฯ : ยูไนเต็ดท์บคุ๊ ส์.
ธีระชัย เจ้าสกุล. (2542). เขียนแบบเทคนิค 1. กรุ งเทพฯ : ดวงกมลสมัย.
ฝ่ ายวิชาการ, บริ ษทั . (2547). เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น. กรุ งเทพฯ : สกายบุ๊กส์.
ราชบัณฑิตยสถาน, สานักงาน. (2546). ศัพท์วิทยาศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุ งเทพฯ :
อรุ ณการพิมพ์.
. (2530). พจนานุกรม (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุ งเทพฯ : อักษรเจริ ญทัศน์.
สาคร ธันธโชติ. (2531). เขียนแบบเทคนิ ค 1 และ 3. กรุ งเทพฯ : โอเดียนสโตร์ .
อานวย อุดมศรี . (2540). เขียนแบบวิศวกรรม (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุ งเทพฯ : สกายบุ๊กส์.
Giachino, J.W., Beukema, H.J., สุรศักดิ์ พูนชัยนาวาสกุล, และพงษ์ธร จรัญญากรณ์
(แปลและเรี ยบเรี ยง). (2532). เขียนแบบเทคนิค. กรุ งเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชัน.
Ivan Leroy Hill and John Thomas Dygdon. (1980). Technical drawing (7th ed.). New York :
Macmillan Publishing.

You might also like