You are on page 1of 10

บทที่ 4

ภาพฉาย ภาพช่ วย
ในงานช่ างอุ ตสาหกรรมจะนาแบบงานไปเป็ นแบบที่ ใช้สาหรั บสร้ างชิ้ นส่ วนเครื่ องจักรกลหรื อ
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ซึ่ งจะต้องเป็ นแบบที่เขียนได้ง่าย มีรายละเอียดของแบบงานครบถ้วนสมบูรณ์ชดั เจน เพื่อให้
ผูป้ ฏิบตั ิงานสามารถนาไปปฏิบตั ิตามแบบได้อย่างถูกต้อง แบบงานที่นิยมจะเขียนเป็ นแบบภาพฉาย เพราะ
สามารถแสดงรายละเอียดต่างๆ เช่น รู ปร่ าง ผิวงาน และกาหนดขนาดที่ชดั เจน

1. ลักษณะการฉายภาพ
ภาพฉาย เป็ นภาพลายเส้นที่บอกขนาดสัดส่ วนต่างๆ ที่อ่านค่าแล้วเอามาทางานได้ ภาพฉายส่ วน
ใหญ่จะเขียนหรื ออ่านมาจากภาพไอโซเมตริ กหรื อภาพของจริ ง มองแต่ละด้านแล้วเขียนออกมาตามภาพที่
มองเห็นนั้นๆ ในแต่ละด้านของชิ้นงานตามปกติชิ้นงานจะมีท้ งั หมด 6 ด้าน เหมือนลูกเต๋ า แต่ภาพในการ
ทางานจริ งจะใช้เพียง 3 ด้าน เท่านั้น ในส่ วนที่มองไม่เห็นจะเขียนแสดงด้วยเส้นประ ด้านของภาพที่ใช้งาน
จะเป็ นด้านหน้า (Front View : F) ด้านข้าง (Side View : S) และด้านบน (Top View : T)

ทิศทางการมองของภาพทั้ง 6 ด้ าน
53

การฉายภาพในปัจจุบนั จะฉายภาพได้ 2 แบบ ตามความนิยม คือ อุตสาหกรรมทางยุโรป และ


อุตสาหกรรมทางอเมริ กา ดังนี้
1. การฉายภาพมุมที่ 1 (FIRST ANGLE PROJECTION) เป็ นการเขียนภาพฉายในครอดแลนด์ที่ 1
อาจเรี ยกการฉายภาพแบบ E-TYPE ใช้เขียนกันทางยุโรปซึ่ งนิยมในทางปั จจุบนั
2. การฉายภาพมุมที่ 3 (THIRD ANGLE PROJECTION) เป็ นการเขียนภาพฉายในครอดแลนด์ที่ 3
อาจเรี ยกการฉายภาพแบบ A-TYPE เป็ นที่นิยมในอเมริ กา

ตาแหน่ งระนาบที่วางภาพ

การมองภาพที่อยูใ่ นตาแหน่งมุมที่ 1 หรื อมุมที่ 3 จะใช้สัญลักษณ์บอกลักษณะไว้ที่มุมขอบขวาของ


แบบด้านใดด้านหนึ่ง ควรจาสัญลักษณ์ให้แม่นยาเพื่อจะได้ไม่สับสน

สัญลักษณ์ ของมุมที่ 1 สัญลักษณ์ ของมุมที่ 3

สัญลักษณ์ ตาแหน่ งการมองภาพ


54

2. ตาแหน่ งการมองภาพฉาย

แสดงการมองภาพในตาแหน่งต่างๆ เพื่อจะเขียนภาพฉาย

การมองภาพด้ านที่ใช้ งาน


การมองภาพฉาย เกิดจากดวงตามองไปยังวัตถุ ถ้าเอาจอไปรับภาพของวัตถุวางไว้ดา้ นหลัง แล้วใช้
ไฟฉายส่ องไปยังวัตถุ แสงของไฟฉายผ่านวัตถุ ทาให้เกิดภาพบนจอ ในลักษณะของการขยายภาพให้โตขึ้น
ซึ่ งไม่ใช่ขนาดของภาพจริ ง แต่ในทางการเขียนแบบต้องการขนาดภาพเท่ากับของจริ ง (วัตถุที่นามามอง)
ดังนั้นจึงต้องปรับเส้นในการฉายภาพให้เป็ นภาพขนาน เพื่อจะให้ได้ขนาดตามความเป็ นจริ ง โดยกาหนดให้
เส้นการมองอยูใ่ นแนวระนาบพุ่งตรงจากวัตถุไปยังจอภาพ ภาพที่ปรากฏบนจอจะมีขนาดเท่ากับวัตถุน้ นั ๆ
ดังรู ป การฉายภาพในลักษณะเช่นนี้ จัดเป็ นการฉายภาพในมุมที่หนึ่ งของหลักการมองภาพฉาย วัตถุ จะอยู่
หน้าจอรับภาพ ด้านที่นิยมได้แก่ ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบนที่ใช้ในการเขียนภาพฉาย ซึ่ ง
ช่วยให้อ่านภาพได้ง่ายขึ้น
55

การมองขยายโตกว่ าของจริ ง

การมองภาพเท่ ากับของจริ ง

3. ภาพฉายมุมที่ 1
การมองภาพฉายในตาแหน่งมุมที่ 1 ฉากรับภาพจะอยูด่ า้ นหลังของชิ้นงาน ทาการฉายภาพให้ไป
ปรากฏบนฉาก มองเห็นภาพอย่างไรภาพก็จะไปปรากฏบนฉากอย่างนั้นจากด้านที่มอง ซึ่งภาพในทางเขียน
แบบจะใช้เฉพาะภาพด้านหน้า ด้านข้าง และภาพด้านบนเท่านั้น

วางชิ ้นงานบนฉากรั บภาพช่ องที่ 1


56

ขั้นที่ 1 นามุมที่ 1 ของฉากรับภาพออกมาพิจารณา จะสังเกตการมองได้วา่ จะมองเห็นชิ้นงานก่อน


ภาพจะปรากฏบนจอรับภาพด้านหลังของชิ้นงานด้านที่มอง

มองภาพด้ านหน้ า

ขั้นที่ 2 มองภาพตามทิศทางของการมอง ภาพจะปรากฏอยูบ่ นฉากรับภาพ

มองด้ านข้ าง มองด้ านบน

ขั้นที่ 3 เมื่อนาชิ้นงานออก และหมุนฉากรับภาพไปตามทิศทางของลูกศร ให้ฉากรับภาพให้อยูใ่ น


แนวระนาบจะได้ภาพฉายสามด้าน ระบบมุมที่ 1
57

คลี่ฉากรั บภาพตามลูกศร ภาพฉายสามด้ าน

4. ภาพฉายมุมที่ 3

การมองภาพฉายในตาแหน่งมุมที่ 3 ฉากรับภาพจะอยูด่ า้ นหน้าของชิ้นงาน การฉายภาพ แสงส่ องจะ


กระทบชิ้นงานแล้วสะท้อนมาปรากฎยังฉากรับภาพ จะได้ภาพตามที่มอง
ชิ้นงานจะวางอยูใ่ นมุมที่ 3 จะสังเกตได้วา่ เมื่อมองชิ้นงานตามทิศทางการมองภาพด้านหน้า ภาพ
ด้านข้าง และภาพด้านบน ภาพจะสะท้อนกลับมาปรากฏบนฉากรับภาพ
58

การมองภาพมุมที่ 3

เมื่อนาชิ้นงานออก คลี่ฉากรับภาพตามแนวลูกศร จะได้าพฉาย 3 ด้าน คือ ภาพด้านหน้า ภาพ


ด้านข้าง และภาพด้านบน

คลี่ฉากรั บภาพตามแนวลูกศร

ภาพฉายสามด้ าน
59

ตารางเปรี ยบเทียบภาพฉายมุมที่ 1 และภาพฉายมุมที่ 3

การเขียนภาพช่ วย
ในการเขียนแบบทัว่ ไปของชิ้ นงาน บางชิ้ นพื้นผิวอาจจะได้ฉาก บางชิ้ นอาจจะอยูใ่ นแนวระนาบ
และบางชิ้นอาจจะเอียงทาทุม ดังนั้นเพื่อให้การเขียนแบบเข้าใจง่ายยิ่งขึ้นและให้ได้ขนาดตามความเป็ นจริ ง
ผูเ้ ขียนควรนาหลักการเขียนแบบภาพช่วย มาใช้ในการเขียนแบบ ซึ่ งวิธีการเขียนจะใช้วิธีการหาขนาดจริ ง
ของพื้นผิวเรี ยบ สามารถกระทาได้โดยมองให้สายตาตั้งฉากกับผิวเอียงนั้น และภาพที่เขียนออกมาเรี ยกว่า
ภาพช่วย

1.ความหมายของภาพช่ วย
ภาพช่วย หมายถึง ภาพที่แสดงรายละเอียดลักษณะที่แท้จริ งของผิวงานด้านนั้น

ตัวอย่ างภาพช่ วย
60

2. ประเภทของภาพช่ วย ภาพช่วย แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ดังนี้

2.1 ภาพช่ วยทีม่ ีลกั ษณะสมมาตร หมายถึง ภาพที่เมื่อลากเส้นแบ่งครึ่ งภาพแล้ว ครึ่ งซ้ายและครึ่ งขวา
มีรูปร่ างเหมือนกันและมีขนาดเท่ากันทุกประการ และให้ใช้เส้นแบ่งกึ่งกลางของภาพเป็ นเส้นอ้างอิงหรื อ
เป็ นแนวสมมาตรได้ จากนั้นให้เขียนรู ปไปทางซ้ายและทางขวาเท่าๆ กัน

ภาพช่ วยที่มีลกั ษณะสมมาตร


2.2 ภาพช่ วยทีม่ ีลกั ษณะไม่ สมมาตร หมายถึงภาพช่วย เมื่อลากเส้นแบ่งครึ่ งภาพแล้วทั้งสองข้างมี
รู ปร่ างไม่เหมือนกัน ขณะเขียนภาพช่วยแบบนี้ ให้ยดึ เส้นอ้างอิงเป็ นหลัก แล้วให้เขียนออกไป ทางใดทาง
หนึ่ง หรื อเขียนออกไปทั้งสองข้างของเส้นอ้างอิงได้

แสดงวิธีการเขียนภาพช่ วยที่มีลักษณะไม่ สมมาตร


61

แสดงภาพช่ วยที่สมมาตรกันจากภาพด้ านข้ าง

You might also like