You are on page 1of 69

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักรกล

(Free-hand sketching)

เขียนแบบวิศวกรรมเครื่องกล
รหัสวิชา 4110102
หัวขอการเรียนรู
1. ความหมายของการสเก็ตภาพ
2. เครื่องมือที่ใชสเก็ตซภาพ
3. เสนที่ใชในการสเก็ตซภาพ
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ
6. การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล
การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | หัวขอการเรียนรู 2
หัวขอการเรียนรู
1. ความหมายของการสเก็ตซภาพ
2. เครื่องมือที่ใชสเก็ตซภาพ
3. เสนที่ใชในการสเก็ตซภาพ
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ
6. การสเก็ตซช้นิ สวนเครื่องกล
การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ความหมายของการสเก็ตซภาพ 3
1. ความหมายของการสเก็ตซภาพ
การสเก็ ต ซ ภ าพหมายถึ ง การเขี ย นแบบโดยไม ใ ช
เครื่องมือและอุปกรณในการเขียนแบบ เพื่อความสะดวก
รวดเร็วในการถายทอดความคิ ดของผู สเก็ ตซ ห รื อ ร า ง
แบบงาน หรือสิ่งที่ตองการสื่อสารไปยังบุคคลอื่นไดรับรู
เพื่อใหเกิดความเขาใจในขณะนั้นทั้งในรูปแบบของภาพ
2 มิติและ 3 มิติลงบนแผนกระดาษ กอนที่จะนําไปเขียน
แบบใหถูก ตอ งตามมาตรฐานตอ ไป โดยที่ม าตราส ว น
อาจไมตรงกับความเปนจริง บางครั้ งจะเล็ก กว าขนาด
จริงหรือใหญกวาขนาดจริงก็ได

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ความหมายของการสเก็ตซภาพ 4
หัวขอการเรียนรู
1. ความหมายของการสเก็ตภาพ
2. เครื่องมือที่ใชสเก็ตซภาพ
3. เสนที่ใชในการสเก็ตซภาพ
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ
6. การสเก็ตซช้นิ สวนเครื่องกล
การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เครื่องมือที่ใชสเก็ตซภาพ 5
2. เครื่องมือที่ใชสเก็ตซภาพ
2.1. ดินสอ – ขนาด HB และ 2B
2.2. ยางลบ
2.3. กระดาษ

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เครื่องมือที่ใชสเก็ตซภาพ 6
หัวขอการเรียนรู
1. ความหมายของการสเก็ตภาพ
2. เครื่องมือที่ใชสเก็ตซภาพ
3. เสนที่ใชในการสเก็ตซภาพ
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ
6. การสเก็ตซช้นิ สวนเครื่องกล
การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เสนที่ใชในการสเก็ตซภาพ 7
3. เสนที่ใชการสเก็ตซภาพ
ลักษณะของเสนที่ใชในการสเก็ตซภาพมีลักษณะเหมือนกับการเขียนแบบทุกประการคือ เสนเต็มหนา
เสนเต็มบาง เสนศูนยกลาง เสนประ เปนตน โดยแตละเสนที่ไดจากการสเก็ตซจะไมตรง บิดเบี้ยวมาก
นอยขึ้นอยูกับความชํานาญของผูสเก็ตซแตละคน ซึ่งน้ําหนักของเสนในการสเก็ตซจะมี 2 ขนาด คือ เสน
เต็มหนา และเสนเต็มบาง

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เสนที่ใชในการสเก็ตซภาพ 8
หัวขอการเรียนรู
1. ความหมายของการสเก็ตภาพ
2. เครื่องมือที่ใชสเก็ตซภาพ
3. เสนที่ใชในการสเก็ตซภาพ
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ
6. การสเก็ตซช้นิ สวนเครื่องกล
การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เทคนิคการสเก็ตซภาพ 9
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ

เนื่องจากการสเก็ตซภาพไมไดใชเครื่องมือเขียนแบบชวย ดังนั้นภาพที่ออกมาจึงไมไดขนาดและมาตรา
สวนตามจริง แตสิ่งสําคัญคือสัดสวนของชิ้นงานที่ทําการสเก็ตซจะตองใกลเคียงกับความเปนจริง ซึ่งทั้งนี้ก็
ขึ้นอยูกับความชํา นาญของผูสเก็ตซภาพ สําหรับผูเริ่ มตนจะตองฝ กลากเสนในลักษณะตา งๆหรื อ ใน
ชวงแรกอาจจะตองใชกระดาษตาราง เมื่อมีความชํานาญแลวจึงใชกระดาษเขียนแบบแบบไมมีตาราง

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เทคนิคการสเก็ตซภาพ 10
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ (ตอ)
4.1. การจับดินสอ ควรจับตามความถนัด โดยดินสอเอียงทํามุมกับกระดาษประมาณ 50-60° และ
ในขณะสเก็ตซใหหมุนดินสอไปดวยเพื่อใหปลายดินสอมีความแหลมสม่ําเสมอกัน

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เทคนิคการสเก็ตซภาพ 11
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ (ตอ)
4.2. การออกแรงกดดินสอ เพื่อใหเกิดความผิดพลาดนอยที่สุดในการสเก็ตซภาพควรออกแรงกดนอยๆ
กอนใหไดรูปรางและสัดสวนที่ใกลเคียงกับชิ้นงานจริง หลังจากนั้นคอยลงน้ําหนักเสนใหไดมาตรฐาน
4.3. การสเก็ตซเสนตรงในแนวนอน

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เทคนิคการสเก็ตซภาพ 12
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ (ตอ)
4.4. การสเก็ตซเสนตรงในแนวตั้ง

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เทคนิคการสเก็ตซภาพ 13
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ (ตอ)
4.5. การสเก็ตซเสนตรงในแนวเฉียง
การสเก็ตซเสนตรงในแนวเฉียงขวา การสเก็ตซเสนตรงในแนวเฉียงซาย

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เทคนิคการสเก็ตซภาพ 14
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ (ตอ)
4.6. การสเก็ตซเสนตรงที่มคี วามยาวมาก

1. กําหนดจุดเริ่มตนและจุดสิ้นสุดความยาว
2. กํ า หนดจุ ด ที่ 1 และ 2 ที่ อ ยู ร ะหว า งจุ ด เริ่ ม และ
จุดสิ้นสุด
3. ลากเสนจากจุดเริ่มไปจุดที่ 1, 2 และจุดสิ้นสุดความ
ยาวเสนโดยลากจากซายไปขวา

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เทคนิคการสเก็ตซภาพ 15
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ (ตอ)
4.7. การสเก็ตซวงกลมจากรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส
1. เขียนเสนตรงใหเปนรูปสี่เหลี่ยมขนาด 50x50 มม.
2. เขียนเสนศูนยกลาง 2 เสนตัดกันใหไดกึ่งกลางรูป
สี่เหลี่ยม
3. เขียนเสนตรงทะแยงมุมทั้งสี่มุม
4. ขีด เส น สั้ นๆ ที่ เ ส น ทะแยงมุ ม ให มี ร ะยะห า งจาก
ศูนยกลาง 25 มม. เพื่อกําหนดวงกลม
5. ใชมือวาดวงกลมตามตําแหนงที่ไดกําหนดไว

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เทคนิคการสเก็ตซภาพ 16
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ (ตอ)
4.8. การสเก็ตซวงกลมดวยการวัดระยะรัศมี
1. กําหนดระยะรัศมีของวงกลมที่ตองการลงบนเศษกระดาษ
โดยใหจุด C เปนจุดศูนยกลางวงกลมและจุด E เปนความ
ยาวรัศมีของวงกลม
2. เขียนเสนศูนยกลาง 2 เสนตัดกันจะไดจุด O
3. นํ า เศษกระดาษที่ กํ า หนดรั ศ มี ไ ว แ ล ว วางทาบลงบนเส น
ศูนยกลางโดยใหจดุ C อยูตรงจุด O
4. ขีดเสนสั้นๆ ที่จุด E แลวหมุนกระดาษพรอมกับขีดเสนสั้นๆ
ใหครบรอบเปนวงกลม
5. ใชมือวาดวงกลมตามตําแหนงที่กําหนดไว

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เทคนิคการสเก็ตซภาพ 17
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ (ตอ)
4.9. การสเก็ตซวงกลมดวยการหมุนกระดาษ

1. เขียนเสนศูนยกลางสองเสนตัดกันที่จุด O
2. จับดินสอใหปลายของดินสอเทากับรัศมีของวงกลม
โดยใหนิ้วกอยวางลงบนจุด O เพื่อใหเปนศูนยกลาง
ในการเขียนวงกลม
3. ใช มือ หมุน กระดาษตามทิศ ทางของลู ก ศรจนเป น
วงกลม

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เทคนิคการสเก็ตซภาพ 18
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ (ตอ)
4.10. การสเก็ตซวงกลมดวยการใชดินสอสองแทง

1. เขียนเสนศูนยกลางสองเสนตัดกันที่จุด O
2. จับดินสอใหปลายของดินสอเทากับรัศมีของวงกลม
โดยใหดินสออีกแทงหนึ่งวางลงบนจุด O เพื่อเปน
ศูนยกลางในการเขียนวงกลม
3. ใช มื อ หมุ น กระดาษตามทิ ศ ทางของลู ก ศรจนเป น
วงกลม

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เทคนิคการสเก็ตซภาพ 19
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ (ตอ)
4.11. การสเก็ตซวงรีดวยสี่เหลี่ยมผืนผา

1. เขียนเสนตรงใหเปนรูปสี่เหลี่ยมขนาด 50x30 มม.


2. เขียนเสนศูนยกลาง 2 เสนตัดกันใหไดกึ่งกลางรูป
สี่เหลี่ยมผืนผา
3. ขี ด เ ส น ส ว น โ ค ง สั้ น ๆ ที่ จุ ด ตั ด ร ะ ห ว า ง เ ส น
สี่เหลี่ยมผืนผากับเสนศูนยกลาง เพื่อเปนการกําหนด
ขนาดของวงรี
4. ใชมือวาดวงรีตามตําแหนงที่ไดกาํ หนดไว

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เทคนิคการสเก็ตซภาพ 20
หัวขอการเรียนรู
1. ความหมายของการสเก็ตภาพ
2. เครื่องมือที่ใชสเก็ตซภาพ
3. เสนที่ใชในการสเก็ตซภาพ
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ
6. การสเก็ตซช้นิ สวนเครื่องกล
การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ชนิดของการสเก็ตซภาพ 21
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ
เพื่อการมองภาพใหชัดเจน จําเปนตองทําการสเก็ตซภาพใหสามารถมองเห็นรายละเอียดของชิ้นงานให
มากที่สุด เพื่อเปนการสื่อสารในสวนของแบบงานใหมีความเขาใจไดตรงกัน ไมเกิดความคาดเคลื่อนและ
ผิดพลาด ดังนั้นการสเก็ตซภาพในงานเขียนแบบเครื่องกลที่นิยมมี 3 ชนิดคือ สเก็ตซภาพฉาย สเก็ตซ
ภาพไอโซเมตริก (Isometric) และสเก็ตซภาพออบบลิก (Oblique)
5.1. การสเก็ตซภาพฉาย
กอนทําการสเก็ตซภาพ ผูสเก็ตซจะตองทําการวิเคราะหชิ้นงานนั้นวาจะตองใชภาพฉายกี่ดานถึงจะใหขนาดของชิ้นงาน
นั้นไดครบถวน โดยการสเก็ตซภาพฉายจะมีวิธีการเหมือนกับการเขียนแบบทั่วไป ตางกันตรงที่การสเก็ตซแบบนั้นจะ
ไมไดใชเครื่องมือ แตตองสเก็ตซใหไดสัดสวน ความถูกตอง ดูแลวสามารถเขาใจไดงาย ไมเกิดความคาดเคลื่อน

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ชนิดของการสเก็ตซภาพ 22
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ (ตอ)
5.1. การสเก็ตซภาพฉาย มีขั้นตอนดังนี้
1. ตรวจสอบชิ้นงานวาควรกําหนดภาพฉายกีด่ าน

2. สรางขอบเขตของการสเก็ตซภาพ

กําหนดใหภาพที่เห็นรายละเอียดชัดเจนทีส่ ุดเปนภาพดานหนา
สวนภาพดานบนจะวางไวดานลางของภาพดานหนา สวนภาพ
ดานขางจะวางไวทางขวามือของภาพดานหนา

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ชนิดของการสเก็ตซภาพ 23
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ (ตอ)
3. เขียนโครงรางภาพสเก็ตซ
ดานขาง ดานหนา
สเก็ตซภาพดานหนาแลวฉายเสนตางๆไปยังภาพดานบน
และภาพดา นขา ง ดว ยน้ํา หนัก เสน เบาๆ เพื่ อตรวจสอบ
ความถูกตอง

ดานบน

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ชนิดของการสเก็ตซภาพ 24
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ (ตอ)
ดานขาง ดานหนา
4. เขียนชิ้นงานสเก็ตซแบบสมบูรณ
และลบเสนที่ไมตองการออก

ดานบน

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ชนิดของการสเก็ตซภาพ 25
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ (ตอ)
ดานขาง ดานหนา
5. กําหนดขนาดในแบบสเก็ตซ

ขนาดที่กําหนดลงไปจะตองเปนขนาด
ดานบน
จริงที่วัดจากชิ้นงาน

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ชนิดของการสเก็ตซภาพ 26
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ (ตอ)
5.2. การสเก็ตซภาพไอโซเมตริก (Isometric)
เปนการสเก็ตซภาพสามมิติที่นิยมใชในการถายทอดมิติของความกวาง ความยาวและความสูงของชิ้นงานมากที่สุด เขียน
งาย เพราะมีมุมเอียงทั้ง 2 ขาง 30 องศาเทากัน ทําใหภาพที่ไดออกมาเหมือนกับชิ้นงานจริง

ตัวอยางภาพที่นํามาสเก็ตซภาพไอโซเมตริก
ฐานปากกาจับชิ้นงาน

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ชนิดของการสเก็ตซภาพ 27
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ (ตอ)
ขั้นตอนการสเก็ตซภาพไอโซเมตริก
1. สรางเสนโครงรางสําหรับสเก็ตซภาพ
สรางเสนตรงแนวนอนและแนวดิ่งตัดกันที่
จุด O แลวสรางเสน A และ B จากจุด B
ใหทํามุม 30° กับเสนแนวนอน

2. สเก็ตซโครงสรางใหสัดสวนใกลเคียงชิ้นงาน
ลากเสนใหเปนกรอบสี่เหลี่ยมใหไดสดั สวน
เหมือนกับชิ้นงาน

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ชนิดของการสเก็ตซภาพ 28
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ (ตอ)
3. สเก็ตซผิวงานทางดานหนา ลากเสนขึ้นรูปในสวนดานหนาของชิ้นงาน

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ชนิดของการสเก็ตซภาพ 29
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ (ตอ)
4. สเก็ตซผิวงานทางดานบน 5. เขียนเสนขอบงานใหเขมและลบ
เสนที่ไมเกี่ยวของออก

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ชนิดของการสเก็ตซภาพ 30
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ (ตอ)
5.3. การสเก็ตซภาพออบลิก (Oblique)
ภาพออบลิกเปนภาพอีกภาพหนึ่งที่นิยมสเก็ตซ เพราะจะแสดงภาพดานหนาที่ชัดเจนแลวยังสามารถเขียนสวนโคงหรือ
วงกลมไดงาย โดยภาพดานหนึ่งจะอยูในแนวระดับสวนอีกดานจะทํามุม 45 องศา

ตัวอยางภาพที่นํามาสเก็ตซภาพออบลิก
แคลมปจับยึดชิ้นงาน

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ชนิดของการสเก็ตซภาพ 31
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ (ตอ)
ขั้นตอนการสเก็ตซภาพออบลิก

1. เขียนเสนโครงรางภาพออบลิก 2. ลากเสนกรอบสี่เหลี่ยมใหสดั สวนเหมือนกับชิน้ งาน

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ชนิดของการสเก็ตซภาพ 32
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ (ตอ)
3. ลากเสนขึ้นรูปในสวนดานหนาของชิ้นงาน

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ชนิดของการสเก็ตซภาพ 33
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ (ตอ)
4. ลากเสนขึ้นรูปในสวนดานบนของชิ้นงาน

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ชนิดของการสเก็ตซภาพ 34
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ (ตอ)
5. ลากเสนขึ้นรูปในสวนดานขางของชิ้นงาน 6. เขียนเสนขอบงานใหเขมและลบเสนที่
ไมจําเปนออก

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | ชนิดของการสเก็ตซภาพ 35
หัวขอการเรียนรู
1. ความหมายของการสเก็ตภาพ
2. เครื่องมือที่ใชสเก็ตซภาพ
3. เสนที่ใชในการสเก็ตซภาพ
4. เทคนิคการสเก็ตซภาพ
5. ชนิดของการสเก็ตซภาพ
6. การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล
การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 36
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล
วัตถุประสงคของการสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล

1. สเก็ตซงานใหลูกคาดูเพื่อเปนตัวอยาง
2. สําหรับการสั่งงานผลิตแบบเรงดวน
3. ใชสําหรับการระดมความคิด
4. เพื่อคัดลอกรูปแบบงานในการนําไปใชในดานอื่นๆ

ทั้งนี้ผูที่ทําการสเก็ตซงาน ควรจะตองมีความรูพื้นฐานการเขียนแบบมากอนเนื่องจากตองใชมาตรฐานและรูปแบบเดียวกันกับการเขียนแบบ
แทบทั้งสิ้น เพียงแคไมไดใชเครื่องมือเขียนแบบ ไมไดสนใจเรื่องมาตราสวน แตผูสเก็ตซตองสเก็ตซใหมีสัดสวนใกลเคียงกับชิน้ งานจริง
การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 37
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
ตัวอยางการสเก็ตซชิ้นงานสลักเกลียว

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 5
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
ขั้นตอนการสเก็ตซสลักเกลียว
1. เขียนเสนโครงรางและสเก็ตซผวิ งานดานหนา
วัดจากระยะขอบความโตนอกของเกลียว

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 39
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
2. สเก็ตซปลายเกลียวและเสนสิ้นสุดเกลียว
ความยาวของเกลียว
เสนปลายเกลียว เสนสิ้นสุดความยาวของเกลียว

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 40
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
3. สเก็ตซเสนโคนหรือเสนความลึกของเกลียว

เสนความลึกของเกลียว

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 41
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
4. สเก็ตซเสนลบมุม

เสน 45 องศา เสน 30 องศา

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 42
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
5. สเก็ตซเสนลบมุมโคนเกลียว

เสนกําหนดรอยลบมุม

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 43
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
6. สเก็ตซสวนหัวสลักเกลียว

เสนกรอบความหนาของหัวสลักเกลียว

ความยาวสวนที่ไมมีเกลียว

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 44
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)

7. สเก็ตซสวนโคงที่หัวสลักเกลียว
8. เขียนเสนศูนยกลางและลงน้ําหนักเสนขอบงาน

เสนศูนยกลาง
เสนขอบงาน
การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 45
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
9. สเก็ตซเสนศูนยกลาง

เสนศูนยกลางของหัวสลักเกลียว

เสนศูนยกลางสลักเกลียว

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 46
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
10. สเก็ตซภาพดานขางหนาตัดเกลียว
เขียนรูปวงกลมวงใหญใหมีขนาดเทากับเสนยอดเกลียว และวงกลมวงเล็กมีขนาดเทากับเสนโคนเกลียว โดยวงเล็กให
เขียนขนาดเทากับ ¾ ของวงกลม เนื่องจากเปนสัญลักษณของเกลียว

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 47
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
11. สเก็ตซภาพดานขางหัวหกเหลี่ยม

เขียนรูปหกเหลี่ยมที่ภาพดานขางและวงกลมแสดงการลบมุมของหัวสลักเกลียว

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 48
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
12. ลบเสนรางที่ไมตองการออก
จะไดภาพสเก็ตซเกลียวแบบสําเร็จ

13. เขียนเสนกําหนดขนาดและลงขนาดจริงที่วัดไดจากชิ้นงาน

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 49
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
ตัวอยางการสเก็ตซชิ้นงานเฟอง

ขั้นตอนการสเก็ตซแบบเฟอง
1. สรางเสนแกนกลางในการเขียนวงกลม

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 50
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
2. สเก็ตซภาพดานหนาเฟอง

เขียนวงกลมโตนอกสุดของเฟอง
เสนผานศูนยกลางวงกลมพิตซ และ
แกนรูสําหรับสวมประกอบกับเพลา

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 51
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
3. สเก็ตซรองลิ่ม

เขียนรองลิ่มที่วงกลมเล็กสุด

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 52
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
เสนแนวแกนสวม
4. สเก็ตซผิวขอบดานขางเฟอง เสนแนวความหนาของเฟอง

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 53
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
5. สเก็ตซเสนถายขนาด

เขียนเสนถายขนาดจากภาพ
ดานหนาไปยังภาพดานขาง

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 54
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
6. เขียนเสนตอที่จุดตัด

เขียนเสนตอที่จุดตัด 1-2, 3-4,


5-6, และ 7-8 เพื่อใหเกิดขอบ
ตัวเฟอง

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 55
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
7. สเก็ตซรายละเอียดของเฟอง

เขียนภาพดานขางใหชัดเจน และสวนที่
บังแสดงดวยเสนประ กําหนดเสนราง
แกนกลางใหเปนเสนศูนยกลาง เขียน
เสนผานศูนยกลางวงกลมพิตซดวยเสน
ศูนยกลาง และลบเสนที่ไมตองการออก

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 56
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล (ตอ)
8. เขียนเสนกําหนดขนาดและลงขนาดจริงที่วัดไดจากชิ้นงาน

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 57
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล ภาพสามมิติ
การสเก็ตซภาพสามมิติชวยใหมองเห็นรายละเอียดของชิ้นงานในมุมกวาง ยาว และสูง ซึ่งชวยใหการระบุ
รายละเอียดของงานชัดเจนยิ่งขึ้น
ตัวอยางการสเก็ตซชิ้นงานสามมิติของตัวจับยึดมีดไส

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 58
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล ภาพสามมิติ (ตอ)
ขั้นตอนการสเก็ตซตัวจับยึดมีดไส
2. เขียนโครงรางสเก็ตซภาพวงกลม ใหมีขนาดเสน
1. เขียนเสนโครงรางสเก็ตซภาพสามมิติ ผานศูนยกลางใกลเคียงกับสวนปลายของเกลียว

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 59
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล ภาพสามมิติ (ตอ)
3. สเก็ตซกรอบเขียนวงกลม
เขียนโครงรางสําหรับเขียนวงกลมชัน้ ที่ 2 ขนาดเทากับความโตของเกลียวและหางจากชั้นที่ 1 เทากับระยะลบคมชิน้ งาน
และโครงรางชั้นที่ 3 ขนาดโตเทากับชั้นที่ 2 มีระยะหางจากชั้นที่ 2 เทากับความยาวเกลียว

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 60
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล ภาพสามมิติ (ตอ)
4. สเก็ตซวงกลมในสวนที่เปนเกลียว
เขียนวงกลมในกรอบสี่เหลี่ยมทัง้ สองรูป และลบกรอบออก

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 61
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล ภาพสามมิติ (ตอ)
5. เขียนเสนเชื่อมตอวงกลมทั้งสองใหเปนทรงกระบอก
พรอมทั้งลบขอบวงกลมดานหลังในสวนที่ถูกบังออก

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 62
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล ภาพสามมิติ (ตอ)
6. เขียนสวนโคงเพื่อแสดงเกลียว 7. สเก็ตซโครงรางสําหรับเขียนวงกลมใหมีขนาดเสนผานศูนยกลาง
ใกลเคียงกับสวนที่ไมมีเกลียว

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 63
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล ภาพสามมิติ (ตอ)
8. สเก็ตซชิ้นงานสวนที่ไมมเี กลียว
เขียนวงกลมลงในกรอบสีเ่ หลี่ยมทัง้ สองรูปพรอมกับลากเสนเชื่อมตอวงกลมทั้งสองจนเกิดเปนรูปรางของชิ้นงานและลบ
กรอบสี่เหลี่ยมออก

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 64
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล ภาพสามมิติ (ตอ)
9. สเก็ตซกรอบวงกลมดานใหญ
เขียนโครงรางกรอบสี่เหลีย่ มใหมีขนาดเสนผานศูนยกลางใกลเคียงกับสวนปลายดานใหญ โดยใหชั้นที่
4 และ 5 หางเทากับความหนาสวนปลายดานใหญ

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 65
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล ภาพสามมิติ (ตอ)
10. สเก็ตซชิ้นงานสวนปลายดานใหญ
เขียนวงกลมในกรอบสี่เหลี่ยมทัง้ สองรูปพรอมลากเสนเชือ่ มตอวงกลมทั้งสองจนเกิดเปนรูปรางของชิ้นงาน และลบกรอบ
สี่เหลี่ยมออก

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 66
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล ภาพสามมิติ (ตอ)
11. สเก็ตซรองชิ้นงาน
เขียนสวนโคงจากจุด C ไป D ขนาดเทากับความกวางรอง จากนั้นลากเสนตรงจากจุด D ไป E ใหยาวเทาขนาดความยาวรอง

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 67
6. การสเก็ตซภาพชิ้นสวนเครื่องกล ภาพสามมิติ (ตอ)
12. สเก็ตซรองชิ้นงานสวนปลาย 13. ลบเสนที่ไมตองการออกใหไดเฉพาะรูปรางของ
ชิ้นงานสําเร็จ

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | การสเก็ตซชิ้นสวนเครื่องกล 68
เอกสารอางอิงการสอน

• จํารูญ ตันติพิศาลกุล เขียนแบบวิศวกรรม 1 (เขียนแบบทั่วไป) พิมพ


ครั้งที่ 5 (ปรับปรุงใหม) พ.ศ. 2551
• สื่อการเรียนการสอนวิชาเขียนแบบชางกล วิทยาลัยเทคนิคอางทอง,
https://www.attc.ac.th/ พ.ศ. 2556

การสเก็ตภาพชิ้นสวนเครื่องจักร | เอกสารอางอิงการสอน 69

You might also like