You are on page 1of 22

บทที่7 เครื่ องกัดและ

เครื่ องมือตัด
จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. บอกชนิดของเครื่ องกัดได้
2. บอกหน้าที่และส่ วนประกอบหลักของเครื่ องกัดได้
3. อธิบายหลักการทางานของเครื่ องกัดได้
4. อธิ บายขั้นตอนการใช้เครื่ องกัดได้
5.บอกชนิดของเครื่ องมือตัดได้
6.คานวณความเร็ วรอบและความเร็ วตัดได้
ชนิดของเครื่องกัด

เครื่ องกัดตัง้ เครื่ องกัดนอน เครื่ องกัดอเนกประสงค์


ส่ วนประกอบของเครื่องกัด
ประกอบด้ วยส่ วนหลักๆอยู่ 3 ส่ วนด้ วยกัน
1.ส่ วนหัวเครื่อง (Spindle head)
ส่ วนประกอบของเครื่องกัด
2.ส่ วนแท่ นโต๊ ะจับงาน (TABLE)
เป็ นส่ วนที ใช้จบั วางงาน
เพื่อป้ อนงานเคลื่อนที่เข้า
หาเครื่ องมือตัด สามารถ
ที่ ไ ด้ส ามแนวแกน โดย
ก าหนดเป็ นแกน X,Y
เป็ นแนวระนาบ และ
แกนZ ในทิศทางตั้งฉาก
ส่ วนประกอบของเครื่องกัด
3..ส่ วนโครงเครื่อง (BODY)
ถูกหล่อขึ้นมาเพื่อทาหน้าที่เป็ น
โครงเครื่ อง ฐานและเป็ นส่ วนเชื่อมต่อชื้น
ส่ วนอื่นเข้ากับตัวเครื่ อง
ดอกกัดงาน
ดอกกัดงาน มี 2 ประเภท
ดอกกัดงาน

กัดหน้าเรี ยบ (Face Milling)ผิวงานกัดจะตั้ง


ฉากกับแกนหมุนดอกกัดชนิ ดนี้จะมีขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางกว้างมากเพื่อทาผิวเรี ยบ
ให้ได้ระนาบ เรี ยกดอกกัดผิวหน้าราบ ใช้
งานกับเครื่ องกัดแนวตั้ง
ดอกกัดงาน
กัดข้างเรี ยบ (Peripheral Milling)
ผิวงานกัดจะขนานกับแกนหมุนดอกกัด
ชนิดนี้จะใช้ผวิ รอบวงในการกัดงานเรี ยบ
ใช้งานกับเครื่ องกัดแนวนอนและเครื่ องกัด
แนวตั้งรู ปร่ างของดอกกัดโดยทัว่ ไปจะมี
ลักษณะกลมทรงกระบอก มีต้ งั แต่ขนาดวง
ใหญ่บางเป็ นแผ่น จนหนาขึ้นไปและวงเล็ก
ลงเป็ นแท่ง
ดอกกัดงาน
แบ่งได้ 2 ลักษณะคือ

Single cutter Inserted tooth cutter


อุปกรณ์ จบั ดอกกัด
แกนหรื อแขนจับมีด (Arbor) เป็ นอุปกรณ์ที่ต่อ
เข้ากับเพลาหมุนของเครื่ องกัดแกนนอนใช้
สาหรับจับดอกกัดต่อแขน
(Arbor cutter)
อุปกรณ์ จบั ดอกกัด
แข่ งจับดอกสว่ านมี 3 ชนิดคือ
1.แกนจับแบบ A (Style A) ใช้สาหรับจับ
ดอกกัดขนาดไม่ใหญ่นกั เนื่องจากแหวน
ประกบจะมีขนาดเล็ก

2.แกนจับแบบ B (Style B) จะมีแหวน


ประกบขนาดใหญ่ประกอบเข้ามาด้วย
เพื่อกระชับดอกกัดขนาดใหญ่ได้ดีข้ ึน อีก
ทั้งช่วยให้ติดตั้งดอกกัดได้หลายตัวบน
แกน สามารถกัดหนักได้ดี
อุปกรณ์ จบั ดอกกัด

3.แกนจับแบบ C(Style C) ชนิดนี้แกนจะสั้น


ใช้สาหรับจับดอกกัดหน้าราบ (Face mills)
ร่ องลิ่มของแกนจับแบบ A และ B มีไว้เพื่อใส่
ลิ่มสาหรับขัดดอกกัดเพื่อไม่ให้เกิดการหมุน
ฟรี เวลากัดงานแขนจับจะสวมเข้ากับเพลา
เครื่ องกัดด้วยลักษณะของเรี ยวพร้อมกับมี
สลักรั้ง (Draw-in bar) ขันเพื่อดึงให้แขนจับ
แน่นกับเพลา
อุปกรณ์ จบั ดอกกัด

ปลอกจับด้าม (collets) ในการจับ


ดอกกัดมีดา้ ม โดยเฉพาะดอก
ขนาดเล็กจาเป็ นต้องใช้ปลอกจับ
ด้าม (Spring collets) สวมเข้ากับ
ด้ามดอกกัดแล้วจึงประกอบเข้ากับ
Adapters ก่อนจึงจะสวมประกอบ
เข้ากับเพลาเครื่ องกัด ซึ่ งจะใช้กบั
เครื่ องกัดแนวตั้งเป็ นส่ วนใหญ่
ความเร็วตัดและอัตราป้ อน
ความเร็ วตัด (Cutting speed) ในงานกัดเป็ น
ระยะทางของฟันตัดเคลื่อนที่ไปในหนึ่งนาที
(ในแนวเส้นรอบวงของดอกกัด) มีหน่วยเป็ น
เมตร/นาที ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั การตั้งความเร็ วรอบ
ของดอกกัด (รอบ/นาที)

N = ความเร็ วรอบ (รอบ/นาที)


CS = ความเร็ วตัด (Cutting speed) (เมตร/นาที)
D = เส้นผ่าศูนย์กลางดอกกัด (เมตร)
ตารางค่ าความเร็วตัดของโลหะ
อัตราป้ อน
อัตราการป้ อนตัด (Feed) เป็ นระยะการเคลื่อนที่งานเข้าหาดอกกัดเมื่อดอก
กัดหมุนไปในหนึ่งรอบต่อหนึ่ งฟันกัด มีหน่วยเป็ น มม./ฟัน

ความเร็ วป้ อนงาน = Feed x จานวนฟันตัด x N (มม./นาที)


เครื่องมือจับงาน
เครื่ องมือจับงาน (Work holding attachment)ใช้สาหรับยึดจับงานให้
อยูบ่ นโต๊ะแท่นเครื่ อง มีต้ งั แต่ชนิดจับงานอย่างง่ายๆ ไปจนถึงการ
เคลื่อนหมุนงานกัดรู ปทรงซับซ้อน เครื่ องมือจับชิ้นงานมีมากมาย
หลายชนิด แบ่งตามลักษณะงานที่ทาการขึ้นรู ป เช่น งานกัดผิวเรี ยบ
ทัว่ ไปมักใช้ปากกาจับงานยึดติดกับแท่นเลื่อน หรื อ งานกัดเฟื องต้อง
ใช้หวั แบ่งองศาเท่านั้น เพราะการเลือกใช้เครื่ องจับงานเป็ นส่ วนสาคัญ
อย่างมากในการขึ้นรู ปชิ้นงาน
เครื่องมือจับงาน
ปากกาจับงาน (Vises) เป็ นเครื่ องมือจับงานทัว่ ๆไปยึดติดบนโต๊ะแท่น
เครื่ อง(Table)ด้วยสลักร้อยเข้ากับรู สลักของโต๊ะแท่นเครื่ อง มีอยูด่ ว้ ยกัน
หลายชนิด เช่น

ชนิดตายตัว(Flanged vise)
ปากกาชนิดจับงานตายตัว
ไม่สามารถหมุนหรื อเอียง
ชิ้นงานได้
เครื่องมือจับงาน
ชนิดหมุนได้ (Swivel vise) จับงานแล้วสามารถ
หมุนงานได้ โดยที่ฐานปากกาหมุนไปมากน้อย
ตามสเกลที่ระบุไว้ได้

ชนิดเอนกประสงค์ (Universal vise) นอกจาก


สามารถหมุนได้ในแนวนอนยังสามารถหมุน
ปรับเอียงงานเป็ นมุมตามต้องการได้

แม่เหล็กจับงาน (Magnetic chuck) จับงานให้อยู่


กับที่ดว้ ยแรงแม่เหล็ก
เครื่องมือจับงาน
โต๊ะหมุน (Rotary table) ใช้กบั งานลักษณะกลมหรื องานที่กดั เป็ น
แนวขององศาต่อกัน เช่นร่ องที่ทามุมกัน จับงานให้หมุนในแนวตั้ง
เครื่องมือจับงาน
หัวแบ่ง (Index table) ใช้จบั งานให้สามารถหมุนในแนวนอนเพื่อกัดงานใน
ลักษณะแนวองศา โดยมีจานดัชนี (Index plate) สาหรับช่วยหมุนหาอัตราส่ วน
ของรอบวงและยันศูนย์ สาหรับช่วยจับงานยาว เป็ นส่ วนประกอบ เช่นช่วยจับ
งานในการกัดเฟื อง

หัวแบ่ง จานแบ่ง

You might also like