You are on page 1of 134

กล่าวนา

1. บทบาทของปื นกล
ปื นกลเป็ นอาวุธยิงสนับสนุนพลปื นเล็กทั้งในการเข้าตีและตั้งรับ ปื นกลเป็ นอาวุธที่มีสมรรถนะในการยิง
ต่อที่หมายด้วยอานาจการยิงเป็ นกลุ่มก้อน และมีความแม่นยาซึ่ งปฏิบตั ิอยูข่ า้ งหลังของอานาจการยิงของอาวุธ
ประจากาย สามารถสนับสนุนพลปื นเล็กด้วยกลุ่มการยิงอย่างหนาแน่นโดยใกล้ชิดและต่อเนื่องตามความจาเป็ น
เพื่อให้บรรลุภารกิจที่รับมอบในการเข้าตีสามารถทาการยิงระยะไกล การยิงป้ องกันระยะใกล้และการยิงป้ องกัน
ขั้นสุ ดท้าย โดยใช้เป็ นอาวุธทาการตั้งยิงเป็ นหน่วย อยูเ่ ป็ นส่ วนหนึ่งของหน่วยยิงในการตั้งรับ
2. คาจากัดความ
ก.กล่าวทัว่ ไป
ปื นกลแบบ เอ็ม 60 ระบายความร้อนด้วยอากาศ บรรจุกระสุ นด้วยสายเป็ นอาวุธอัตโนมัติที่มีการทางาน
ด้วยแก๊ส (รู ปที่ 1) เป็ นอาวุธยิงจากท่าลูกเลื่อนเปิ ดป้ อนกระสุ นเข้าปื นด้วยสายกระสุ นโลหะชนิ ดข้อต่อ ปื นทุก
กระบอกจะได้รับจ่ายลากล้องปื น 2 ลากล้อง เป็ นอาวุธที่จดั ระยะหน้าลูกเลื่อนแบบตายตัว ซึ่งทาให้เปลี่ยน
ลากล้องได้รวดเร็ ว
ข.เครื่ องเล็ง
ปื นกลแบบ เอ็ม 60 มีศูนย์หน้าติดแน่นอยูก่ บั ลากล้องเป็ น ใบศูนย์หลังติดตั้งอยูบ่ นฐานมีแหนบ
แบบกระดก (รู ปที่ 2) สามารถที่จะพับศูนย์หลังไปข้างหน้าให้อยูต่ ามแนวพื้นระดับได้ในเมื่อเคลื่อนย้ายปื น
แผ่นมาตราระยะยิงติดอยูท่ ี่ใบศูนย์หลัง โดยมีเครื่ องหมายทุก ๆ ระยะยิง 100 เมตร ตั้งแต่ 300 เมตร จนถึง
ระยะยิงหวังผลสู งสุ ด 1,100 เมตร การเปลี่ยนระยะยิงอาจจะทาโดยใช้กรอบเลื่อนศูนย์หรื อควงมุมสู งก็ได้
กรอบเลื่อนศูนย์หลังมักใช้สาหรับการแก้มุมสู งที่เป็ นหลักใหญ่ ๆ ควงมุมสู งนั้นใช้ในการปรับรายละเอียด
เช่นในระหว่างการยิงปรับศูนย์ปืน ควงมุมสู งเมื่อหมุน 4 คลิก จะแก้มุมสู งของปื นได้ 1 มิลเลียม ศูนย์
สามารถปรับทางทิศไปทางขวาหรื อทางซ้ายข้างละ 5 มิลเลียม จาก 0 ควงมุมทิศ ติดตั้งอยูท่ างด้านซ้ายของตัวศูนย์
1 คลิก ของควงมุมทิศจะแก้ทางทิศได้เท่ากับ 1 มิลเลียม
รูปที่ 1 ปื นกลแบบ เอ็ม 60 ติดตั้งขาทรายแลขาหยัง่
ค.ห้ ามไก
แผ่นห้ามไกติดตั้งอยูท่ างด้านซ้ายของเรื อนเครื่ องลัน่ ไก โดยมีตวั หนังสื อ S (SAFE) และตัวหนังสื อ
F (FIRE) บอกตาแหน่งไว้ เมื่ออยูใ่ นท่าห้ามไกลูกเลื่อนจะดึงมาข้างหลังไม่ได้ หรื อจะปลดให้เคลื่อนที่ไป
ข้างหน้าก็ไม่ได้ คันรั้งลูกเลื่อนติดอยูก่ บั ทางด้านข้างขวาของปื น สาหรับดึงลูกเลื่อนมาข้างหลัง ทุกครั้งที่
ดึงลูกเลื่อนมาข้างหลังด้วยมือ จะต้องดันคันรั้งลูกเลื่อนกลับไปอยูใ่ นตาแหน่งข้างหน้าเสมอ
ค.ปลอกป้ องกันแสง
มีปลอกป้ องกันแสง ซึ่ งติดอยูต่ ่อจากปากลากล้อง ร่ องเซาะของปลอกป้ องกันแสงนี้ จะเกิดอาการ
สั่นในระหว่างทาการยิงและขจัดแสงและควันให้หมดไป

จ.ขาทราย
ปื นกลแบบ เอ็ม 60 สามารถยิงอย่างได้ผลในเมื่อปื นกลติดตั้งขาทราย เหล็กพาดบ่ามีไว้เพื่อรองรับ
ด้านท้ายของปื น ด้ามหิ้วปื นมีไว้สาหรับนาปื นเคลื่อนที่ในระยะใกล้ ๆ และสามารถจัดให้เบนหลบพ้นจาก
เส้นเล็งของพลยิงได้
ฉ.ขาหยัง่
ขาหยัง่ แบบ เอ็ม122 จัดไว้เพื่อทา ให้ปืนเกิดความมัน่ คงในระหว่างการตั้งยิงปื นกลเอ็ม 60 การยิง
ปื นจากขาหยัง่ จะทาให้เกิดความแม่นยามาก และบังคับปื นได้ง่าย

รูปที่ 2 ใบศูนย์ หลัง


3. รายการทัว่ ไป
กระสุ น..........................................ขนาด 7.62 มม. ชนิดธรรมดา, ส่ องวิถี,เจาะเกราะ, เจาะเกราะเพลิง, ซ้อมรบ,
กระสุ นหัดบรรจุ สาหรับกระสุ นเจาะเกราะและเจาะเกราะเพลิงยังไม่
อนุมตั ิใช้เพื่อฝึ ก
ความยาวของปื น.............................................................43 1/2 นิ้ว
น้ าหนักของปื น.................................................................23 ปอนด์
น้ าหนักของขาหยัง่ เอ็ม 122 พร้อมด้วย
เรื อนควงสู งและควงส่ วนและเดือยยึด
ปื นและฐานยึดปื น...................................................................19.5 ปอนด์
ระยะยิงไกลสุ ด...................................................................3,725 เมตร
ระยะยิงหวังผลสู งสุ ด..........................................................1.100 เมตร
ความสู งของปื นเมื่อติดขาหยัง่ แบบ เอ็ม 122.................16 1/2 นิ้ว
อัตราการยิง
จังหวะยิงต่อเนื่ อง.....................................100 นัดต่อนาที (เปลี่ยนลากล้องปื นทุก 10 นาที)
จังหวะยิงเร็ ว...............................................200 นัดต่อนาที (เปลี่ยนลากล้องปื นทุก 2 วินาที)
ความเร็ วในการยิงสู งสุ ด............................... ประมาณ 550 นัดต่อนาที(เปลี่ยนลากล้องปื นทุก 10 นาที)
อัตรากระสุ นมูลฐาน
(ชุดพลประจาปื น).............................................600 ถึง 900 นัด
พลยิงนากระสุ นชนิดกระเป๋ าผ้า 100 นัด 3 สาย (หนึ่งสายติดอยูก่ บั ปื น)
พลยิงผูช้ ่วยนากระสุ นชนิดกระเป๋ าผ้า 100 นัด 3 สาย
พลกระสุ นเมื่อทาหน้าที่นากระสุ นชนิดกระเป๋ าผ้า 100 นัด 3 สายต่อปื น
ระยะไกลสุ ดในการยิงกราดเมื่อภูมิประเทศเป็ น
พื้นที่ระดับหรื อภูมิประเทศลาดเสมอ.....................................600 เมตร
มุมสู ง เมื่อยึดขาหยัง่ ........................................................... 200 มิลเลียม
มุมสู งเมื่อปล่อยขาหยัง่ ......................................................445 มิลเลียม
มุมกด เมื่อยึดขาหยัง่ ...........................................................200 มิลเลียม
มุมกด เมื่อปล่อยขาหยัง่ ......................................................445 มิลเลียม
มุมส่ าย บังคับด้วยเรื อนควงมุมส่ ายและมุมสู ง.....................100 มิลเลียม
เขตการยิงปกติ........................................................................875 มิลเลียม
(เมื่อติดขาหยัง่ ทางซ้าย 450 มิลเลียม ทางขวา 425 มิลเลียม)
การลุกไหม้หมดของกระสุ นส่ องวิถี........................................ประมาณ 900 เมตร
การถอด และการประกอบ
1. กล่าวทัว่ ไป
1.1 ปื นกลแบบ เอ็ม 60 สามารถถอดและประกอบได้โดยไม่ตอ้ งใช้กาลัง ยกเว้นแต่ชุดลากล้องปื น
เครื่ องมือในการถอดปื นทุกชิ้นส่ วน ใช้หวั กระสุ นหรื อวัตถุปลายแหลมอื่น ๆ
1.2 ในขณะที่ถอดปื นออกจะต้องวางชิ้นส่ วน (ตามลาดับที่ถอด) บนพื้นที่สะอาดเรี ยบ เช่น บนโต๊ะ
บนผ้าเต็นท์ หรื อบนแผ่นชิ้นส่ วนปื น การปฏิบตั ิดงั นี้เป็ นการลดการตกหายของชิ้นส่ วนปื น และเป็ นการช่วย
ในการประกอบปื นอีกด้วย การประกอบชิ้นส่ วนจะกระทาย้อนกลับตามลาดับ ชิ้นส่ วนของปื นทุกชิ้นส่ วน
ต้องทราบในขณะที่ถอดออกมา และประกอบเข้าที่ดว้ ย
1.3 การถอดและการประกอบชิ้นส่ วนระบบแก๊ส และการปรับแผ่นมาตราระยะยิงต้องกระทาน้อย
ที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยงการสึ กหรอของชิ้นส่ วนเหล่านั้น
1.4 ไม่อนุญาตให้ถอดปื นด้วยวิธีอื่น นอกจากที่บรรยายไว้ในคู่มือนี้ เว้นแต่เจ้าหน้าที่สรรพาวุธที่
รับการฝึ กมาแล้ว
2. แบบของการถอดและประกอบ
การถอดและประกอบมี 2 แบบ คือ การถอดและประกอบปกติ และการถอดและประกอบพิเศษ
การถอดปกติ หมายถึงการถอดออกมาและประกอบข้าวของชิ้นส่ วนใหญ่ๆ 6 ชิ้นส่ วน (รู ปที่ 3)
การถอดและประกอบพิเศษ หมายถึงการถอดออกมาและประกอบข้าวของชิ้นส่ วนย่อยๆ ใน
ชิ้นส่ วนใหญ่

รูปที่ 3 การถอดปื นกลออกเป็ น 6 ชิ้นส่ วนใหญ่


การถอดปกติ
3.1 กล่าวทัว่ ไป
3.1.1 ชิ้นส่ วนใหญ่ 1 ชิ้นส่ วน ได้แก่ ชุดพานท้ายปื น, ชุดเครื่ องรับแรงถอย, ชุดเคลื่อนที่, ชุดเรื อน
ลัน่ ไก, ชุดลากล้อง และชุดโครงลูกเลื่อน (รู ปที่ 3)
3.1.2 การถอดปกติ จะเริ่ มเมื่อลูกเลื่อนอยูข่ า้ งหน้า ปิ ดฝาปิ ดห้องลูกเลื่อนและแผ่นห้ามไกที่อยูท่ ี่
ห้ามไกก่อนที่จะถอดปื นจะต้องตรวจปื นให้ปลอดภัยเสี ยก่อน
3.2 การถอดชุ ดพานท้ ายปื น
3.2.1 ยกเหล็กพาดบ่าขึ้น แล้วสอดปลายหัวกระสุ นเข้าไปในช่องสลักกลอน (รู ปที่ 4 )
3.2.2 เมื่อสลักกลอนหลุด ให้เลื่อนพานท้ายออกมา โดยดึงออกมาทางด้านหลังตรง ๆ

รูปที่ 4 การปลดกลอนยึดพานท้ าย
3.3 การถอดชุ ดเครื่ องรั บแรงถอย
ชุดเครื่ องรับแรงถอยประกอบด้วย แผ่นกลอนเครื่ องรับแรงถอย และเครื่ องรับแรงถอย (รู ปที่ 3)
3.3.1.ใช้อุง้ มือดันท้ายเครื่ องแรงถอยแล้วกดเบาๆ(รู ปที่5) ถอดแผ่นกลอนเครื่ องรับแรงถอยออกจาก
ทางตอนบนของโครงลูกเลื่อน (รู ปที่5)
3.3.2ดึงเครื่ องรับแรงถอยออกช้าๆ เพื่อให้แหนบส่ งก้านสู บค่อยๆขยายตัวออกจนกระทัง่ หัวแหนบ
ส่ งก้านสู บโผล่ออกมาทางด้านหลังของโครงลูกเลื่อน (รู ปที่ 6 )
3.3.3 ดึงแกนเครื่ องรับแรงถอยออกจากช่องหัวแหนบส่ งก้านสู บ (รู ปที่ 6 )
3.4 การถอดชุ ดเคลื่อนที่
ชุดเคลื่อนที่ประกอบด้วย ก้านสู บ ลูกสู บ ลูกเลื่อน แหนบส่ งก้านสู บ และแกนแหนบส่ งก้านสู บ
3.4.1 ดึงแกนแหนบส่ งก้านสู บ และแหนบออกจากโครงลูกเลื่อนแล้วแยกออกจากกัน
3.4.2 ใช้มือซ้ายจับที่ดา้ มปื น แล้วดึงคันรั้งลูกเลื่อนมาข้างหลังจนกระทัง่ ลูกเลื่อนหลุดออกจากช่อง
ที่ลากล้องปื น แล้วคงดึงก้านสู บและลูกเลื่อนมาข้างหลังต่อไป โดยจับที่หวั ลูกเบี้ยว (รู ปที่ 7)

รูปที่ 5 การถอดชุดเครื่ องรับแรงถอย


3.4.3 เมื่อก้านสู บและลูกเลื่อนโผล่ออกมาจากโครงลูกเลื่อนทางด้านหลังประมาณ 4 นิ้ว แล้วให้ใช้
มือจับด้วยความระมัดระวัง เพื่อป้ องกันมิให้ลูกเลื่อนหมุน และแล้วถอดออกมาจากโครงลูกเลื่อน (รู ปที่ 8)
คลายมือที่จบั แล้วปล่อยให้ลูกเลื่อนหมุนช้าๆ ห้ามแยกลูกเลื่อนออกจากก้านสู บ
3.5 การถอดชุ ดโครงเครื่ องลัน่ ไก
ชุดโครงเครื่ องลัน่ ไก ประกอบด้วย โครงเครื่ องลัน่ ไก (เรื อนเครื่ องลัน่ ไก
กระเดื่องไก แกนกระเดื่องไก แหนบแกนกระเดื่องไก สลักไก และไก) สลักโครงเครื่ องลัน่ ไก
(สามารถเปลี่ยนทดแทนกันได้กบั สลักกระเดื่องไก รู ปที่ 23) และใบแหนบเครื่ องลัน่ ไก
3.5.1กดปลายด้านหน้าของใบแหนบเครื่ องลัน่ ไก แล้วหมุนปลายด้านหน้าลงข้างล่างเพื่อให้หลุด
พ้นออกจากหัวสลักโครงเครื่ องลัน่ ไก (รู ปที่ 9) แล้วดึงไปข้างหน้าให้หลุดจากปุ่ มด้านหลังของสลักกระเดื่องไก
3.3.2 ถอดสลักโครงลัน่ ไกโดยดันไปทางซ้าย
3.5.3 ค่อย ๆ เลื่อนเรื อนเครื่ องลัน่ ไกไปข้างหน้าช้า ๆ ให้ดา้ นหน้าของโครงเครื่ องลัน่ ไกค่อย ๆ หมุน
ลงข้างล่าง แล้วถอดออกมา (รู ปที่ 10)
3.6 การถอดชุ ดลากล้ องปื น
ชุดลากล้องปื น ประกอบด้วย ลากล้อง ปลอกป้ องกันแสง ชุดก้านศูนย์หน้า และกระบอกสู บ ให้
ยกกลอนยึดลากล้องให้อยูใ่ นท่าตั้งแล้วค่อย ๆ ถอดลากล้องออกโดยดึงลากล้องออกทางด้านหน้า (รู ปที่ 11)
3.7 ชุ ดโครงลูกเลื่อน
ชุดโครงลูกเลื่อน ประกอบด้วย โครงลูกเลื่อน, รองลากล้องปื น, ศูนย์หลัง,ฝาปิ ดห้องลูกเลื่อน,
เครื่ องป้อนกระสุ น และด้ามหิ้ว การถอดปกติของปื นจะสมบูรณ์เมื่อถอดชิ้นส่ วนใหญ่ 5 ชิ้น ออกจากโครง
ลูกเลื่อนแล้ว

รูปที่ 6 การแยกชุดเครื่ องรับแรงถอย


4. การถอดประกอบปกติ
4.1 การประกอบชุ ดลากล้ องปื น
ตรวจดูให้กลอนยึดลากล้องอยูใ่ นตาแหน่งตั้ง (รู ปที่ 11) แล้วสอดด้านหลังของลากล้องเข้าไปข้าง
ใต้ของรองลากล้องปื น และจัดแนวให้สลักหัวกระบอกสู บตรงกับช่องที่รองลากล้องปื นแล้วกดกลอนยึดลา
กล้องลงข้างล่างให้เข้าที่
4.2 การประกอบชุ ดโครงลูกเลื่อน
-วางแง่ยดึ โครงเครื่ องลัน่ ไกให้เข้าในช่องรับที่อยูด่ า้ นใต้ของเครื่ องลัน่ ไก(รู ปที่ 10) หมุนด้านหน้า
โครงเครื่ องลัน่ ไกขึ้นข้างบน แล้วจัดให้ตรงรู ที่โครงลูกเลื่อน ใส่ สลักโครงลัน่ เข้าจากทางด้านซ้าย
-ใส่ ดา้ นหลังของใบแหนบเครื่ องลัน่ ไก เข้ากับสลักกระเดื่องไก (รู ปที่ 9) โดยให้ใบแหนบเข้าถูกที่
จะทาให้ส่วนโค้งกดดันด้านข้างของโครงลัน่ ไก แล้วหมุนด้านหน้าของใบแหนบขึ้นข้างบน แล้วให้เข้ายึดอยู่
กับหัวสลักโครงเครื่ องลัน่ ไก
4.3 การประกอบชุ ดเคลื่อนที่
4.3.1 สอดปลายของก้านสู บเข้าไปในโครงลูกเลื่อน โดยใช้มือข้างหนึ่งรองรับเอาไว้มืออีกข้างหนึ่ง
ดันท้ายลูกเลื่อนไปข้างหน้า หมุนลูกเลื่อนจนกระทัง่ กลอนลูกเลื่อนอยูใ่ นท่าตั้งตรง (รู ปที่ 12)
4.3.2 ให้ลูกเบี้ยวอยูด่ า้ นบน แล้วดันก้านสู บและลูกเลื่อนเข้าไปในโครงลูกเลื่อน จนกระทัง่ ปลาย
ของก้านสู บเข้าที่ สุ ดด้านหลังของโครงลูกเลื่อน (รู ปที่ 13)
4.3.3 ใส่ แกนแหนบส่ งก้านสู บเข้าในแหนบส่ งก้านสู บ แล้วสอดปลายด้านตรงข้ามเข้าไปในช่อง
ก้านสู บ (รู ปที่ 13) เหนี่ยวไกและดันแหนบส่ งก้านสู บเข้าไปจนกระทัง่ หัวของแกนแหนบเข้าไปได้ประมาณ
1 นิ้ว (รู ปที่ 6)
4.4 การประกอบชุ ดเครื่ องรับแรงถอย
4.4.1 สอดแกนเครื่ องรับแรงถอยเข้าไปในแหนบส่ งก้านสู บ (รู ปที่ 6) แล้วดันเครื่ องรับแรงถอยไป
ข้างหน้า จนกระทัง่ ก้านสู บและลูกเลื่อนเคลื่อนไปข้างหน้าจนสุ ด
4.4.2 ดันเครื่ องรับแรงถอยเข้าไปข้างใน จนกระทัง่ ร่ องบนเครื่ องรับแรงถอยตรงแนวกับช่องใน
โครงลูกเลื่อนใส่ แผ่นกลอนเครื่ องรับแรงถอยจากทางด้านบนของโครงลูกเลื่อนลงมาให้เข้าที่ (รู ปที่ 5)
4.5 การประกอบชุ ดพานท้ ายปื น
จัดร่ องทางเดินของพานท้ายปื นให้ตรงกับร่ องทางเดินที่โครงลูกเลื่อน แล้วดันไปข้างหน้า
จนกระทัง่ พานท้ายเข้าที่สุดจะได้ยนิ เสี ยงกลอนยึดดังคลิ๊ก

รูปที่ 7 การเลื่อนชุดเคลื่อนที่มาทางด้ านหลังของโครงลูกเลื่อน


4.6 การประกอบทีถ่ ูกต้ อง
การตรวจเพื่อการประกอบที่ถูกต้อง คือ ดึงคันรั้งลูกเลื่อนมาข้างหลังแล้วดันกลับไปในตาแหน่ง
ข้างหน้า ปิ ดฝาปิ ดห้องลูกเลื่อนแล้วเหนี่ยวไก ลูกเลื่อนจะต้องเคลื่อนที่ไปข้างหน้า
รูปที่ 8 การถอดชุดเคลื่อนที่ออกจากโครงลูกเลื่อน

รูปที่ 9 การถอดใบแหนบโครงเครื่ องลัน่ ไก


รูปที่ 10 การถอดชุดโครงเครื่ องลัน่ ไก

รูปที่ 10 การถอดชุดโครงเครื่ องลัน่ ไก ต่ อ


รูปที่ 11 การถอดชุดลากล้องปื น

รูปที่ 12 การใส่ ชุดเคลื่อนที่เข้ าในโครงลูกเลื่อน


รูปที่ 13 การสอดใบแหนบส่ งก้านสู บเข้ าที่
การติดตั้งขาทราย
5.กล่าวทัว่ ไป
5.1 ขาทรายเป็ นชิ้นส่ วนหนึ่งของชุ ดลากล้องปื น หน่วยใช้หา้ มถอดขาทรายออกโครงหัวขาทราย
จะติดอยูร่ อบ ๆ ลากล้องปื น และติดยึดอยูไ่ ด้ดว้ ยปลอกป้ องกันแสง(รู ปที่ 14)

รูปที่ 14 ชุดขาทราย
5.2 การกางขาทราย การปรับและการพบขาทราย
ก. การกางขาทราย วิธีกางขาทรายให้ดึงขาทรายมาข้างหลัง (กดแหนบบังคับ) แล้วด้นลงข้างล่าง
(รู ปที่ 17 ) ขาทรายจะเข้าที่โดยอัตโนมัติ เมื่อกางออกถึงที่ (รปที่17)
ข. การปรับขาทราย การปรับขาทรายให้ยาวนั้นกระทาโดยดึงพลัว่ ขาทรายออก กระเดื่องขาทราย
จะขัดอยูใ่ นช่องทิ่แกนพลัว่ ขาทราย และจะยึดให้อยูต่ ามที่ๆที่ตอ้ งการได้ การปรับขาทรายให้ส้นเข้านั้นให้
กดกระเดื่องยืดขาทราย แล้วดันพลัว่ ขาทรายขึ้นข้างบน (รู ปที่ 17)
ค. การพับขาทราย วิธีพบั ขาทรายให้อยูใ่ นท่าเก็บขาทรายนั้น ให้ดึงขาทรายลงข้างล่าง ( กดแหนบ
บังคับ ) แล้วพับขาทรายให้เข้าทีจนกระทัง่ ยืดแน่นอยูด่ า้ นลากล้องปื น
รูปที่ 15 การกางขาทราย
รูปที่ 16 การปรับพลัว่ ขาทราย
รูปที่ 17 ขาหยัง่ แบบ เอ็ม 112
รูปที่ 18 เรื อนควงมุมส่ าย และควงมุมสู ง เดือยปื น และฐานปื น
รูปที่ 19 ปื นเมื่อเทียบกับขาหยัง่
รูปที่ 20 การติดตั้งเรื อนควงมุมส่ ายและควงมุมสู ง
รูปที่ 21 การถอดเรื อนควงมุมส่ ายและควงมุมสู ง
ตอนที่ 2 ขาหยัง่ เอ็ม 122
รายการทัว่ ไป
ขาหยัง่ เอ็ม 122 ประกอบด้วย ตัวขาหยัง่ เรื อนควงมุมส่ าย และมุมสู ง เดือยปื นและฐานปื น
ก.ตัวขาหยัง่ ประกอบด้วย หัวขาหยัง่ ซึ่ งมีช่องรับเดือยปื นและกลอนยึดเดือยปื น และกลอนยืด
เดือยปื นขาหยัง่ หน้า 1 ขา ขาหยัง่ หลัง 2 ขา และราวคานส่ ายปื น (รู ปที่ 34 )ราวคานส่ ายปื นติดอยูก่ บั ขาหยัง่
หลังทั้งสองขา และเป็ นเครื่ องรองเรื อนควงมุมส่ ายและมุมสู ง บนราวคานได้สลักมาตราเอาไว้ โดยแบ่งเป็ น
ผาตราส่ วนใหญ่ 100 มิลเลียม และมาตราสวนย่อยขีดละ 5 มิลเลียม จากจุดศูนย์กลางมีมาตราทางด้านซ้าย
450 มิลเลียมและทางด้านขวา 425 - 430 มิลเลียม มีปลอกราวส่ ายปื นเพื่อเชื่อมต่อราวสายปื นนกับขาหยัง่ อัน
หลัง เพื่อพับเก็บขาทรายได้ ขอบหยุดราวส่ ายปื นมีไว้เพื่อกางและพับขาหยัง่ มีกลอนยึดปลอกราวส่ ายปื น
อยูท่ ี่ขาหยัง่ ข้างขวา เพื่อยึดขาหยัง่ เมื่อกางขาหยัง่ ออก (รู ปที่ 34)
ข. เรื อนควงมุมส่ ายและควงมุมสู ง (รู ปที่ 35) ประกอบด้วย
1. ก้านต่อควงมุมสู งซึ่ งจะติดเข้ากับแผ่นฐานตัวปื น ซึ่ งอยูใ่ ต้โครงลูกเลื่อน
2. ตัวควงมุมส่ ายสร้างให้มีคลิกเป็ นมิลเลีม หมุน 1 คลิก จะเปลี่ยนไป 1 มิลเลียม ที่ควงมุมส่ ายได้
สลักมาตราเอาไว้ โดยแบ่งเป็ นขีดย่อย 1 มิลเลียม มีท้ งั หมด 25 มิลเลียม เมื่อใช้ควงมุมส่ ายนี้ ปื นสามารถที่
จะส่ ายได้ ประมาณ 100 มิลเลียม (ทางขวา 50 มิลเลียม และทางชัาย 50 มิลเลียม จากจุดศูนย์กลาง)
3. ควงมุมสู ง ประกอบด้วย แกนควงมุมสู งตอนบน และตอนล่าง ควงมุมสู งนี้ได้สร้างไว้ให้มีคลิก
เป็ นมิลเลียม 1 คลิก จะเปลี่ยนมุมสู งไป 1 มิลเลียม บนควงมุมสู งได้ทามาตราเอาไว้ โดยแบ่งเป็ นมาตราส่ วน
ใหญ่ขีดละ 5 มิลเลียม และมาตราส่ วนย่อย ส่ วนละ 1 มิลเลียม การอ่านมาตราส่ วนให้อ่านตรงดรรชนีช้ ี
มาตรา แกนควงมุมสู งตอนบนแบ่งเป็ นขีดช่องละ 50 มิลเลียม สามารถเปลี่ยนมุมสู งได้ท้ งั หมด 400 มิลเลียม
ด้านบน 200 มิลเลียม และด้านล่าง 200 มิลเลียม จากจุด 0
4. เลื่อนราวส่ ายปื นพร้อมกับคันยึดเลื่อนราวส่ ายปื น ชิ้นส่ วนเหล่านี้ทาไว้เพื่อให้เกิดความรวดเร็ ว
ในการเลื่อนปื นบนราวสายปื น การอ่านมาตราต้องอ่านทางขอบซ้ายของเลื่อนราวส่ ายปื น
5. เดือยปื นและฐานปื น (รู ปที่ 35) ประกอบด้วยฐานปื นซึ่งเป็ นที่ติดตัวปื นและเดือยปื นซึ่งจะสวม
เข้ากับหัวขาหยัง่
ค. การติดตั้งปื น
ก. การติดตั้งปื น ._
1. สวมเดือยปื นและฐานปื นลงในช่องสวมเดือยปื น (รู ปที่ 19)
2. จัดสลักหน้า (อยูใ่ นชุดลองลากล้องปื น) เข้ายึดเดือยฐานปื นอันหน้า
3. ลดโครงลูกเลื่อนจนสลักตัวหลังยึดติดอยูภ่ ายใต้กลอนฐานปื น
ข. การประกอบเรื อนควงมุมส่ ายและควงมุมสู ง
1. เมื่อปื นติดตั้งอยูบ่ นขาหยัง่ แล้ว ให้ปลดกลอนบังคับฐานปื น แล้วยกท้ายปื นขึ้น
2. สวมช่องรับแผ่นติดตัวปื นเข้ากับแผ่นติดตัวปื น จากทางด้านหลัง แล้วดันไปข้างหน้า (รู ปที่ 20)
สลักกลอนยึดจะเข้าที่ตามอัตโนมัติอยูข่ า้ งใต้แผ่นติดตัวปื น
3. ลดท้ายปื นลงแล้ววางเลื่อนราวส่ ายปื น (โดยให้คนั ยึดเลื่อนราวส่ ายปื นอยูข่ า้ งหลัง) ลงบนราว
ส่ ายปื น แล้วหมุนคันยึดเลื่อนราวส่ ายปื นเข้าที่จนแน่น
ง. การถอดขึ้นออกจากขาหยัง่
1. การถอดเรื อนควงมุมส่ ายและควงมุมสู ง ให้ปลดคันยึดเลื่อนราวส่ ายปื นออกแล้วยกท้ายปื นขึ้น
กดเหล็กปลดเหล็กยึดลงข้างล่าง แล้วดึงเรื อนควงมาทางด้านหลังตรงๆให้หลุดออกจากแผ่นติดตัวปื น (รู ปที่21)
2. ดันกลอนบังคับฐานปื นให้กลับไปอยู่ ในท่าต่า ยืนถอดอยูท่ างด้านซ้ายของปื น แล้วจับด้ามหิ้ ว
ปื นด้วยมือซ้าย ใช้มือขวากดกลอนฐานปื น แล้วยกท้ายปื นให้สูงขึ้นช้า ๆ แล้วถอดสลักยึดตัวหลังออกจาก
ภายใต้กลอนฐานปื น วางมือขวาลงบนพานท้ายปื น ดึงปื นมาข้างหลังช้า ๆ กดลงบนพานท้ายปื นแล้วยกปื น
ออกจากขาหยัง่
การปฏิบัตแิ ละการทางานของปื น
การปฏิบัติต่อปื น
1.กล่าวทัว่ ไป
ปื นกลแบบ เอ็ม ๖๐ เมื่อจะบรรจุ ทาการยิง เลิกบรรจุ และตรวจปื นนั้นจะปฏิบตั ิในขณะที่ลูก
เลื่อนอยูใ่ นตาแหน่ง เปิ ดลูกเลื่อน ก่อนที่จะดึงลูกเลื่อนมาข้างหลังแผ่นห้ามไกจะต้องเลื่อนอยูใ่ นตาแหน่ง
"ยิง" (FIRE) เสี ยก่อน
2.การบรรจุ 5 ขั้น
1. แผ่นห้ามไก ให้อยูใ่ นตาแหน่งยิง (FIRE)
2.ดึงลูกเลื่อนมาข้างหลัง โดยดึงที่คนั รั้งลูกเลื่อน
3. ในเมือลูกเลื่อนถูกยึดอยูข่ า้ งหลังด้วยกระเดื่องไก แล้วให้เลื่อนคันรั้งลูกเลื่อนกลับไปข้างหน้า
แล้วจัดแผ่นห้ามไกให้อยูใ่ นตาแหน่ง (SAFE)
4.ยกฝาปิ ดห้องลูกเลือนขึ้น ตรวจดูวา่ เครื่ องป้ อนกระสุ น โครงลูกเลื่อนและรังเพลิงสะอาด (รู ปที่ 22)
5.วางกระสุ นนัดแรกของสายกระสุ นลงบนร่ องเครื่ อง ป้ อนกระสุ น แล้วปิ ดห้องลูกเลื่อนตรวจดูให้
แน่วา่ กระสุ นยังคงวางอยูใ่ นร่ องของเครื่ องป้ อนกระสุ น (รู ปที่ 22)
3.การเลิกบรรจุ
1.ดึงลูกเลื่อนมาข้างหลัง จัดแผ่นห้ามไกอยูใ่ นตาแหน่ง (SAFE) แล้วดันคันรั้งลูกเลื่อนกลับไป
ข้างหน้า ยกฝาปิ ดห้องลูกเลือนขึ้นแล้วถอดกระสุ นหรื อสายกระสุ นออกจากเครื่ องป้ อนกระสุ น
4. การตรวจปื น
ก. ภายหลังที่ ปื นเลิกบรรจุแล้ว
1.ตรวจดูฝาปิ ดห้องลูกเลื่อน เครื่ องป้ อนกระสุ น โครงลูกเลื่อน รังเพลิง ว่าปลอดภัยดี ไม่มีอะไร
ตกค้างกยู่
2. เสร็ จแล้วจัดแผ่นห้ามไก่ให้อยูใ่ นตาแหน่งยิง (FIRE) แล้วเหนี่ยวไก เสร็ จแล้วเลื่อนแผ่นห้ามไก
อยูใ่ นตาแหน่งห้ามไก (SAFE)
3.ในระหว่างการฝึ กเรื่ องเครื่ องกลไก ปื นจะปลอดภัย เมื่อลูกเลื่อนอยูข่ า้ งหน้าสุ ด ห้ามไกตั้งอยูท่ ี่
SAFE และยกฝาปิ ดห้องลูกเลื่อนขึ้น ในระหว่างการฝึ กยิงด้วยกระสุ นจริ ง ควรใช้แส้ทาความสะอาดปื น
สอดเข้าไปในลากล้องปื น จนกระทัง่ เห็นปลายแส้อยูด่ า้ นในของโดรงลูกเลื่อน แล้วถอดออก
การทางานของเครื่ องกลไก
1.กล่าวทัว่ ไป
ก. ถ้าจะกล่าวถึงความรู ้เบื้องต้นของการทางานของเครื่ องกลไก ปื นกล เอ็ม 60 แล้วชุดพลประจา
ปี นต้องมีความรู ้ดีกว่า โดยสามารถจัดการทางานของปื น และสามารถแก้ไขเหตุติดขัดซึ่ งเกิดขึ้นในระหว่าง
การยิงได้
ข. อาวุธปื นกลได้ออกแบบ ให้มีการทางานของเครื่ องกลไกอย่างอัดโนมัติ ปื นจะลัน่ ออกไปได้
นานเท่านานตราบที่กระสุ นยังคงป้ อนเข้าในปื น/เละเหนี่ยวไก่ไว้ทุกๆครั้งที่ยงิ กระสุ นออกไป 1 นัด ขึ้นส่ วน
ของเครื่ องกลไกปื นจะเกิดการทางานพร้อม ๆ กัน ในเวลาเดียวกัน และจะแบ่งออกเพื่อความมุ่งหมายในการ
สอนให้เข้าใจเท่านั้น ลาดับขั้นของการปฏิบตั ิการของปื นเรี ยกว่า วงรอบของการทางานของปื น
ค. เพื่อให้เกิดความเข้าใจได้ง่ายจึงแบ่งวงรอบของการทางานของปื นเป็ น 8 ขั้น ดังนี้.-
1. การป้อนกระสุ น กระสุ นนัดหนึ่งจะต้องเข้าอยูท่ ี่ร่องเครื่ องป้ อนกระสุ น
2.การเข้าสู่ รังเพลิง กระสุ นนัดหนึ่งจะถูกดันออกจากสายกระสุ น และเข้าสู่ รังเพลิง
3. การขัดกลอน ลูกเลื่อนจะขัดกลอนอยูท่ ี่ดา้ นในของช่องขัดกลอนที่ลากล้อง
4.การยีง เข็มแทงชนวนจะกระแทกและจุดจอกกระทบแตกที่จานท้ายปลอกกระสุ น
5. การปลดกลอน ถูกเลื่อนจะปลดกลอนออกจากช่องขัดกลอนที่ลากล้องปื น
6. การรั้งปลอกระสุ น ปลอกกระสุ นเปล่าจะถูกดึงออกจากรังเพลิง
7.การคัดปลอกกระสุ น ปลอกกระสุ นเปล่าจะกระเด็นออกจากโครงลูกเลื่
8.การขึ้นนก กระเดื่องไกจะเข้าขัดแง่ยดึ กระเดื่องไกที่กา้ นสู บ
รูปที่ 22 การป้อนกระสุ นเมื่อยังไม่ ได้บรรจุ และบรรจุกระสุ นแล้ว
วงรอบของการทางานของเครื่ องกลไก
วงรอบของการทางานของเครื่ องกลไก จะเริ่ มต้นเมื่อใส่ กระสุ นนัดแรกเข้าไปยังช่องเครื่ องป้อน
กระสุ น และแล้วเหนี่ยวไกมาข้างหลัง เพื่อปลดกระเดื่องไกให้หลุดจากแง่ยดึ กระเดื่องไก (รู ปที่ 23) ปื นจะ
หยุดยิงต่อเมื่อปล่อยไก และกระเดื่องจะเข้าขัดกับแง่ยดึ กระเดื่องไกที่กา้ นสู บเมื่อยังคงเหนี่ยวไกมาข้างหลัง
อยู่ ด้านหลังของกระเดื่องไกจะต่าลงพันจากแง่ยดึ ของกระเดื่องไกจึงทาให้กา้ นสู บและลูกเลื่อนเคลื่อนที่ไป
ข้างหน้าได้ดว้ ยแรงของแหนบก้านสู บขณะที่ปืนจะเริ่ มทางาน วงรอบของการทางานจะเริ่ มต้น

รูปที่ 23 กระเดื่องไกจะหลุดจากแง่ ยดึ กระเดื่องไก


ก.การป้อนกระสุ น
1. ขณะที่ลูกเลื่อนเริ่ มต้นเคลื่อนที่ไปข้างหน้า คันเลื่อนสายกระสุ นจะถูกบังคับให้เลื่อนไปทางขวา
ทาให้กา้ นคันเลื่อนสายกระสุ นหมุนตัวไปอยูใ่ นทิศทางตรงกันข้ามและบังคับให้เหล็กรั้งกระสุ นเคลื่อนที่ไป
เกาะบนกระสุ นนัดต่อไปที่อยูใ่ นสายกระสุ น พร้อมที่จะดึงกระสุ นมาวางตรงร่ องเครื่ องป้อนกระสุ น ในเมื่อ
ส่ วนเคลื่อนที่ถอยมาข้างหลัง (รู ปที่ 24)
2. ขณะที่ลูกเลื่อนเคลื่อนที่ถอยมาช้างหลังเมื่อลัน่ ไกแล้ว ลูกเบี้ยวบนส่ วนบนของลูกเลื่อนจะ
บังคับคันเลื่อนสายกระสุ นให้มาอยูท่ างซ้าย ก้านคันเลื่อนสายกระสุ นก็จะบังคับให้เหล็กรั้งกระสุ นเคลื่อนที่
มาทางขวาเพราะมีจุดหมุน แล้วเลื่อนกระสุ นนัดต่อไปให้เข้าอยูใ่ นช่องเครื่ องป้อนกระสุ น (รู ปที่ 24)

รูปที่ 24 การป้อนกระสุ น
ข. การเข้าสู่ รังเพลิง
1. ขณะที่ลูกเลื่อนเคลื่อนที่ไปข้างหน้า แง่ขดั กลอนลูกเลื่อนตอนบนจะดันเข้ากับขอบจานท้าย
กระสุ น (รู ปที่ 25) แรงกดของช่องบังคับกระสุ นด้านหน้าและต้านหลังจะบังคับกระสุ นเอาไว้ขณะเมื่อแง่ขดั
กลอนตอนบนของลูกเลื่อนสัมผัสเข้า ช่องบังคับกระสุ นด้านหน้าจะป้ องกันอาการเคลื่อนไหวด้านหน้าของ
สายกระสุ น ในขณะที่กระสุ นถูกถอดออกจากสายกระสุ น
2.แง่ขดั กลอนลูกเลื่อนตอนบน จะนากระสุ นเคลื่อนที่ไปข้างหน้าลาดด้านหลังรังเพลิงจะบังคับให้
ปลายหัวกระสุ นกดต่าลงเข้าสู่ รังเพลิง (รู ปที่ 26)

รูปที่ 25 การเลื่อนขณะสัมผัสกับกระสุ น
รูปที่ 26 กระสุ นถูกดันเข้ าสู่ รังเพลิง
3. เมื่อกระสุ นเข้าถึงที่ในรังเพลิงจนสุ ดแล้ว ขอรั้งปลอกระสุ นจะอ้าออกจับขอบจานท้ายปลอกกระสุ น
และเหล็กดันปลอกกระสุ นซึ่ งอยูท่ ี่หน้าลูกเลื่อนกดให้จมลงไป
ค. การขัดกลอน ขณะเมื่อกระสุ นเข้าสู่ เพลิงแล้ว ลูกเลื่อนก็เข้าขัดกลอนที่ทา้ ยลากล้องปื น แง่ขดั กลอน
อันบนและอันล่างจะสัมผัสเข้ากับพื้นร่ องลูกเลื่อนภายในช่องขัดกลอนลูกเลื่อน และแล้วลูกเลื่อนจะหมุนตัว
ตามเข็มนาฬิกา ก้านสู บยังคงเคลื่อนที่ไปข้างหน้าต่อไปเพราะเดือยก้านสู บสวมอยูใ่ นช่องรับที่ลูกเลื่อน เมื่อ
ลูกเลื่อนหมุนตัวตามเข็มนาฬิกา 1/4 รอบ (รู ปที่27) จะเป็ นการขัดกลอนอย่างสมบูรณ์
รูปที่ 27 ปื นกาลังขัดกลอนพร้ อมที่จะยิง
ง. การยิง หลังจากลูกเลื่อนเคลื่อนที่ไปข้างหน้าสุ ด และอยูใ่ นท่าขัดกลอนแล้ว ก้านสู บยังคงเคลื่อนที่
ไปช้างหน้าโดยอิสระได้อีกชัว่ ระยะสั้นๆ อันหนึ่ง เดือยก้านสู บที่ยนั อยูร่ ะหว่างขอบจานเข็มแทงชนวนจะ
ดันเข็มแทงชนวนให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า ปลายเข็มชนวนจะโผล่ผา่ นรู ที่หน้าลูกเลื่อน ออกไปกระแทกเข้า
กับจอกกระทบแตกของกระสุ นและจุดชนวนขึ้น (รู ปที่ 28 )
รูปที่ 28 เมื่อยิง
จ. การปลดกลอน
1. หลังจากกระสุ นถูกจุดและขับดันลูกกระสุ นผ่านพ้นรู แก๊สไปแล้วแก็สบางส่ วนจะขยายตัวไหล
เข้าไปในกระบอกแก๊ส โดยผ่านรู แก๊ส จะเกิดขยายตัวอย่างรวดเร็ วเข้าดันต่อหัวลูกสู บให้เคลื่อนที่ถอยมา
ข้างหลังด้วย (รู ปที่ 29)
2.ขณะที่กนั สู บเคลื่อนที่ถอยมาช้างหลังต่อไปนั้น เดือยก้านสู บซึ่ งสวมอยูใ่ นช่องรับเดือยที่ลูกเลื่อน
จะบังคับให้ลูกเลื่อนเริ่ มตันหมุนทวนเข็มนาฬิกา แง่ขดั กลอนอันบนและอันล่างที่ถูกเลื่อนจะสัมผัสเข้ากับ
ร่ องรับด้านในของซ่องชัดกลอน ลูกเลื่อนจะหมุนไป 1/4 รอบ( ทวนเข็มนาฬิกา) เป็ นการปลดกลอนลูกเลื่อน
ออกจากช่องขัดกลอนที่ทา้ ยลากล้อง การปลดกลอนจะเริ่ มเมื่อเดือยก้นสู บสัมผัสเข้ากับส่ วนโค้งของช่อง
เดือยที่ลูกเลื่อน และสิ้ นสุ ดลงเมื่อลูกเลื่อนพ้นออกจากปลายของช่องขัดกลอน
รูปที่ 29 อาการดันของแก๊สขณะเมื่อปลดกลอนลูกเลื่อน
ฉ. การรั้งปลอกกระสุ น ขณะเมื่อกาลังปลดกลอนอยู่ ขอรั้งปลอกกระสุ นจะเริ่ มต้นทางาน อากาหมุน
ของลูกเลื่อน (ตอนปลดกลอน ) ทาให้ปลอกกระสุ นหลวมจากรังเพลิง ขณะก้านสู บและลูกเลื่อนเคลื่อนที่
ถอยไปข้างหลัง ขอรั้งปลอกกระสุ น (จับอยูท่ ี่ขอบจานท้ายปลอกกระสุ น) จะดึงปลอกกระสุ นเปล่าออกจาก
รังเพลิง (รู ปที่ 30)
รูปที่ 30 การรั้งและคัดปลอกกระสุ น
ช.การคัดปลอกกระสุ น ขณะที่ปลอกกระสุ นถูกถอนออกจากรังเพลิง แหนบเหล็กคัดปลอกกระสุ นจะ
ขยายตัว เหล็กคัดปลอกกระสุ นจะดันจานท้ายปลอกกระสุ น บังคับให้ดา้ นหน้าของปลอกกระสุ นเบนหัว
ออกทางด้านขวารองโครงลูกเลื่อน ขณะที่ลูกเลื่อนยังคงเคลื่อนที่ถอยมาข้างหลังอาการดันของเหล็กคัด
ปลอกกระสุ น ต่อจานท้ายปลอกกระสุ น และขอรั้งปลอกกระสุ นจะจับขอบจานท้ายไว้ทางขวา จึงทาให้
ปลอกกระสุ นกระเด็นออกจากปื น เมื่อปลอกกระสุ นเคลื่อนที่มาถึงช่องคัดปลอกกระสุ น( รู ปที่ 30) สาย
กระสุ นร่ วงจะถูกบังคับให้กระเด็นออกตรงช่องคัดสายกระสุ น ในขณะเมื่อลูกเลื่อนเคลื่อนที่ถอยมาข้างหลัง
จึงทาให้กระสุ นนัดต่อไปเข้าอยูใ่ นร่ องเครื่ องป้ อนกระสุ น
ซ. การขึ้นนก
1.ขณะที่แก๊สขยายตัวเข้าไปดันลูกสู บมาข้างหลัง ก้านสู บจะเคลื่อนถอยมาอย่างเดียวในขั้นต้นโดย
ลูกเลื่อนไม่ถอย เมื่อเดือยของก้านสู บสัมผัสกับขอบจานเข็มแทงชนวนด้านหลัง จะทาให้เข็มแทงชนวนถอย
ตัวออกจากจอกกระทบแตกของปลอกกระสุ นที่ยงิ่ แล้ว เดือยของก้านสู บยังคงเคลื่อนที่ถอยมาข้างหลังต่อไป
จนกดขอบจานเข็มแทงชนวนอย่างเต็มที่ โดยดันแหนบเข็มแทงชนวนให้อดั ตัว (รู ปที่ 28)
2. ตราบเท่าที่ยงั เหนี่ยวไกมาข้างหลังอยู่ ปื นจะยังคงเริ่ มต้นทางานตามสาดับทั้ง 7 ต่อไป อีกเป็ น
อัตโนมัติ เมื่อปล่อยไก กระเดื่องไกจะเข้ายึดอยูก่ บั แง่ยดึ กระเดื่องไก วงรอบของการทางานจะหยุดลงและ
ปื นจะยังขึ้นนกอยู่ (รู ปที่ 23)
การทีป่ ื นไม่ ทางาน เหตุตดิ ขัดวิธีแก้ไขเหตุติดขัด
การบารุ งรักษา และการทาลายปื น
การทีป่ ี นไม่ ทางาน เหตุติดขัด และวิธีแก้ ไขเหตุติดขัด
ก. การทีป่ ื นไม่ ทางาน
1.การที่ปืนไม่ทางาน คือ การที่เครื่ องกลไกของปื นทางานบกพร่ องติดขัด ไม่เป็ นไปตามปกติ การ
ที่กระสุ นผิดรู ป หรื อการที่พลประจาปื นปฏิบตั ิต่อปื นไม่ถูกต้อง จะไม่นบั ว่าเป็ นสาเหตุของการที่ปืนไม่
ทางาน สาเหตุของปื นไม่ทางาน 2 ประการ ในสาเหตุทวั่ ไปของปื นกล แบบ เอ็ม 60 คือ การทางานของปื น
ฝื ดช้า และการทางานของปื นติดต่อกันเรื่ อยไป
2. การที่ปืนทางานฝื ดช้า และวิธีแก้ไข การที่ปืนเกิดการทางานช้า ตามปกติสาเหตุเกิดจากปื นมี
การเสี ยดสี ข้ ึนมาก โดยปื นสกปรกมีข้ ีเขม่า ขาดการหล่อลื่นที่ถูกต้อง ชิ้นส่ วนชารุ ดสึ กหรอ หรื อเนื่องจาก
แก็สระบายออกมากเกินไป ตามธรรมดาการที่แก๊สระบายหนีออกมากเกินไป จะเนื่ องจากจุกรู แก๊สหลวม
หรื อหลุดหาย ควรทาความสะอาดและหล่อลื่นปื นเสี ยตรวจแก้ชิ้นส่ วนที่ชารุ ดสึ กหรอโดยตลอดแล้ว เอา
ชิ้นส่ วนอะไหล่ใหม่ใส่ เข้าที่ตามความจาเป็ น
3. การที่ปืนทางานติดต่อกันเรื่ อยไปและวิธีแก้ไข การที่ปืนทางานติดต่อกันเรื่ อยไป คือ การที่ปืน
ยังคงยิงติดต่อกันออกไปทั้งๆ ที่ได้ปล่อยไกแล้ว ซึ่ งสาเหตุอาจเนื่องมาจากกระเดื่องไกสึ กหรอ แง่ยดื
กระเดื่องไกสึ ก หรื อปื นถอยมาข้างหลังน้อย (คือส่ วนเคลื่อนที่ถอยมาข้างหลังพอที่จะป้ อนกระสุ นใหม่และ
ยิงนัดใหม่เท่านั้น ไม่ถอยมาช้างหลังอีก พอที่จะให้กระเดื่องไกเข้าขัดกับแง่ยดื กระเดื่องไก สาเหตุเกิดจาก
แรงดันแก็สน้อยหรื อตัวก้านสู บมีข้ ีเขม่ามากเกินไป)
4.ถ้าเป็ นเกิดบกพร่ องในกรณี เช่นนี้ ให้ปืนยังคงเล็งไปยังที่หมายจนกว่าจะหยุดป้ อนกระสุ นหรื อ
จนกว่ากระสุ นหมด วิธีแก้ไขที่ดีที่สุดในการที่จะให้ปืนหยุดยิงย่อมขึ้นอยูก่ บั ปั จจัยหลายประการ เช่น
จานวนกระสุ นที่เหลืออยูใ่ นสายกระสุ น ปื นตั้งยิงในลักษณะไหนจัดให้มีพลยิงผูช้ ่วยอยูห่ รื อไม่ในขณะนั้น
เช่นตัวอย่าง ในการยิงตะลุมบอนโดยใช้กระเป๋ ากระสุ นติดอยูก่ บั ปี น พลยิงยังต้องเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและ
รักษาระดับปื นให้เล็งต่อเป้าหมายจนกว่ากระสุ นจะหมด ในการยิงกรณี อื่นๆ ควรพิจารณาในชั้นต้น คือ
รักษาระดับของปื นให้ยงิ ไปยังเป้ าหมาย อย่างไรก็ดี พลยิงหรื อพลยิงผูช้ ่วยอาจจะปฏิบตั ิต่อปื นให้หยุดยิงได้-
1. ยกผาปิ ดห้องลูกเลื่อนขึ้น จะเป็ นการหยุดการป้ อนกระสุ น
2. จับสายกระสุ นบิดขวางหรื อถอดกระสุ นออกจากสาย เพื่อหยุดการป้อนกระสุ น
3. จับคันรั้งลูกเลื่อนให้แน่น แล้วดึงมาข้างหลัง เพื่อหยุดลูกเลื่อนไม่ให้เคลื่อนที่ไปข้างหน้า
4. เมื่อปื นหยุดยิงแล้ว ให้ถอดปื นออกแล้วตรวจดูกระเดื่องไก และแง่ยดึ กระเดื่องไกว่าชารุ ดสึ ก
หรอแค่ไหน ตรวจดูระบบของแก๊สว่าจุกรู แก็ส ท่อต่อกระบอกสู บ และเป็ นเกลียวกระบอกสู บชันแน่นไหม
ทาความสะอาดก้านสู บเปลี่ยนชิ้นส่ วนใหม่เท่าที่จาเป็ น
ข. เหตุติดขัด
เหตุติดขัด คือ การที่วงรอบของการทางานของปื นไม่เป็ นปกติ สาเหตุจากปื นทางานไม่ถูกต้อง หรื อเนื่องจาก
กระสุ นผิดรู ป เหตุติดขัดแบ่งออกตามความสัมพันธ์เกี่ยวข้องของวงรอบของการทางานของปื นต่างๆ ได้
แสดงไว้ในตารางที่ 2 โดยบอกถึงสาเหตุและวิธีแก้ไขไว้
การทีป่ ื นไม่ ทางานและเหตุติดขัด
การที่ปืนไม่ทางานหรื อติดขัด อาจจะเนื่องมาจากสาเหตุ วิธีแก้ไข
ไม่ป้อนกระสุ น แรงดั้นของแก๊สไม่เพียงพอ ทาความสะอาดรู แก๊ส
ขอรั้งกระสุ นหรื อแหนบชารุ ด ส่ งคืนหน่วยเหนือ
ช่องบังคับกระสุ นอันหน้า ส่ งคืนหน่วยเหนือ
และอันหลังชารุ ด
กลอนฝาปิ ดห้องลูกเลื่อนชารุ ด ส่ งคืนหน่วยเหนือ
แหนบคันเลื่อนสายกระสุ นชารุ ด ส่ งคืนหน่วยเหนือ
ลูกเบี้ยวชารุ ด ส่ งคืนหน่วยเหนือ
การหล่อลื่นไม่เพียงพอ ให้การหล่อลื่น
กระสุ นหรื อสายกระสุ นชารุ ด เปลี่ยนใหม่
บรรจุสายกระสุ นผิดทาง กลับสายกระสุ นเสี ยใหม่
แหนบส่ งก้านสู บชารุ ดอ่อนล้า เปลี่ยนแหนบใหม่
มีสิ่งกีดขวางในโครงลูกเลื่อนนา เอาออกเสี ย
ไม่นากระสุ นเข้ารังเพลิง ปลอกกระสุ นบวมผิดรู ป ถอดกระสุ นนัดนั้นออก
กระบอกสู บมีเขม่ามาก ทาความสะอาดเขม่าออก
โครงลูกเลื่อนมีเขม่ามาก ทาความสะอาดเขม่าออก
กระสุ นชารุ ด เปลี่ยนกระสุ นใหม่
ปื นไม่ลนั่ เข็มแทงชนวนชารุ ดหรื อหัก เปลี่ยนเข็มแทงชนวนใหม่
การที่ปืนไม่ทางานหรื อติดขัด อาจจะเนื่องมาจากสาเหตุ วิธีแก้ไข
ไม่ร้ ังปลอกกระสุ น แหนบเข็มแทงชนวนชารุ ดหรื อหัก เปลี่ยนแหนบใหม่
กระสุ นผิดรู ป เปลี่ยนกระสุ น
รังเพลิงสกปรก ทาความสะอาดหรื อเปลี่ยน
แหนบส่ งก้านสู บล้าหรื อชารุ ด เปลี่ยนแหนบใหม่
ขอรั้งหรื อแหนบหัก เปลี่ยนใหม่
ถอยมาข้างหลังน้อย ทาความสะอาดรู แก๊ส, ก้านสู บ
และหล่อลื่น
ลูกสู บใส่ กลับทาง ใส่ ใหม่ให้ถูก
ไม่คดั ปลอกกระสุ น เหล็กดัดปลอกกระสุ นหรื อ
แหนบหักหรื อชารุ ด ทาความสะอาดหรื อเปลี่ยน
ชิ้นส่ วนใหม่
ไม่ข้ ึนนก กระเดื่องไกหัก สงคืนหน่วยเหนือ
แง่ยดึ กระเดื่องไกสึ ก ส่ งคืนหน่วยเหนือ
แกนกระเดื่องไกหรื อแหนบ
หักหรื อชารุ ด ส่ งคืนหน่วยเหนือ
มีสิ่งกีดขวางในโครงลูกเลื่อน ทาความสะอาดตามความต้องการ
ถอยมาข้างหลังน้อย ทาความสะอาดรู แก๊ส
ปื นยิงติดต่อกันตลอดเวลา กระเดื่องไกหักหรื อสึ กหรอ ส่ งคืนหน่วยเหนือ
แง่ยดึ กระเดื่องไกที่กา้ น สู บสึ กส่ งคืนหน่วยเหนื อ
ปื นทางานฝื ดข้า เกิดการเสี ยดสี มาก ทาความสะอาดแล้วหล่อลื่น
แก๊สระบายหนีออกมากเกินไป ขันหรื อเปลี่ยนจุกรู แก๊สใหม่
ค. การแก้ ไขเหตุติดขัดทันทีทนั ใด
1. การแก้ไขเหตุติดขัดทันทีพนั ใด คือ การปฏิบตั ิต่อเป็ นเพื่อลดเหตุติดขัดลงโดยปราศการ
ตรวจสอบถึงสาเหตุ การแก้ไขแบบนี้ตอ้ งกระทาทันทีภายในเวลา 10 วินาที รวมทั้งเวลาที่ตอ้ งรอคอย
ในขณะเมื่อลากล้องมีความร้อนสู ง อาจเป็ นสาเหตุให้กระสุ นลัน่ ออกไปได้เอง การยิงกระสุ นจานวน 150
นัด ในเวลา 2 นาที อาจจะทาให้ลากล้องร้อนสู งพอที่จะเป็ นต้นเหตุให้กระสุ นลัน่ ออกไปเองได้
ข้างหน้าใน 5 วินาทีแรก เพื่อรอดูวา่ เป็ นอาจจะเกิดการลัน่ ช้า)
2. ถ้าเกิดการติดขัดขึ้น ให้รอคอยประมาณ 5 วินาที (ลูกเลื่อนยังคงต้องอยูข่ า้ งหน้าใน 5 วินาทีแรก
เพื่อรอดูวา่ ปื นอาจจะเกิดการลัน่ ช้า
3. หลังจากรอแล้ว 5 วินาที ให้ยกฝาปิ ดห้องลูกเลื่อนขึ้นแล้วถอดกระสุ น และสายกระสุ นออกจาก
เครื่ องป้อนกระสุ น
4. ดึงคันรั้งลูกเลื่อนมาข้างหลัง ตรวจให้แน่วา่ กระเดื่องไกเข้าขัดกับแง่ยดึ กระเดื่องไกที่กา้ นสู บแล้ว
ปิ ดฝาปิ ดห้องลูกเลื่อนทันที แล้วผลักคันรั้งลูกเลื่อนให้อยูใ่ นตาแหน่งหน้าสุ ด
5.ในระหว่างที่ดึงให้ลูกเลื่อนถอยมาข้างหลัง จงสังเกตดูวา่ มีกระสุ นถูกรั้งและคัดออกมาหรื อไม่
ก. ถ้ากระสุ นไม่ถูร้ ังออกมาให้เหนี่ยวไก พยายามยิงกระสุ นออกไปใหม่ (ถ้ากระสุ นไม่ลนั่ และ
ลากล้องร้อน ต้องคอยอย่างน้อยที่สุด 5 นาที ในขณะนั้นลูกเลื่อนยังคงอยูใ่ นตาแหน่งหน้าสุ ด เพื่อป้ องกัน
ความเสี ยหายหรื อเกิดการบาดเจ็บในกรณี กระสุ นลัน่ เอง)
ภายหลังการรอ 5 นาที แล้วให้ถอดกระสุ นนัดนั้นออกโดยใช้แส้ทาความสะอาดสอดเข้าไปทางปากลากล้อง
ปื นดันออกมา
ข. ถ้ากระสุ นถูกรั้งออกมาหรื อเมื่อกระสุ นหลุดออกมาจากรังเพลิงแล้วให้ตรวจปื นและกระสุ น
เพื่อค้นหาสาเหตุของการติดขัด
ค.ภายหลังการตรวจอาวุธแล้ว ให้บรรจุกระสุ นใหม่ ทาการเล็งไปยังเป้ าหมาย และพยายามยิงต่อไป
การบารุ งรักษา และการทาลาย
ก. กล่าวทัว่ ไป
การบารุ งรักษาปื นกล แบบ เอ็ม 60 นั้น หมายรวมถึงการตรวจการทาความสะอาดและการเปลี่ยน
ทดแทนชิ้นส่ วนปื น เจ้าหน้าที่และการจัดในการบารุ งรักษาอย่างสมบูรณ์ จะกล่าวไว้ใน ทน. 9-1005-224-12
ทน. 9-1005-22-20 และหัวข้อบทเรี ยน1005-224-10
ข. การตรวจ
การตรวจจะเริ่ มต้นเมื่อได้ถอดปื นออกมาเป็ นชิ้นส่ วนใหญ่ๆ 6 ชิ้นส่ วนแล้ว
1. พานท้ายปื น
ก. ต้องไม่แตกร้าว สวมพอเหมาะกับโครงลูกเลื่อน
ข. ร่ องสวมพานท้ายต้องไม่แตกร้าว คดงอ หรื อชารุ ด
ค. เหล็กพาดบ่า และกลอนยึดควรจะทางานได้ถูกต้อง
ง. ยางรองพานท้ายและชิ้นส่ วนอื่นๆ ของปื นควรจะได้ทาการตรวจอย่าให้ทาความสะอาดด้วย
วัตถุทาความสะอาดที่หา้ มทา ส่ วนต่างๆ เหล่านี้ ทาความสะอาดวัสดุที่หา้ มแล้วจะทาให้ยางนุ่ม และจะไม่
สามารถใช้การได้
2.ชุดเครื่ องรับแรงถอย
ก.รับแรงถอยจะบรรจุอยูด่ า้ นใน ตรงกับแผ่นยางรองพานท้าย ไม่ควรมีน้ ามันอยูข่ า้ งใน
ข. แผ่นกันเครื่ องรับแรงถอย และร่ องแผ่นกันเครื่ องรับแรงถอยต้องไม่ชารุ ด แตกร้าว หรื อคดงอ
ค.แกนเครื่ องรับแรงถอย ต้องสวมเข้าในช่องแกนหัวแหนบส่ งก้านสู บอย่างง่าย
3.ชุดเคลื่อนที่
ก. แง่ยึดกระเดื่องไก ต้องไม่ปรากฏร่ องรอยว่าเกิดสึ กหรอ (การสึ กหรอมากบางทีจะแสดงถึงว่าการ
ลัน่ ไกกระทาไม่ถูกต้อง)
ข. ลูกเบี้ยว แป้ นลูกเลื่อน สลักแป้ นลูกเลื่อน และโครงลูกเบี้ยว ควรได้รับการตรวจดูวา่ ยังคงใช้ได้อยู่
ค. เข็มแทงชนวน ควรจะตรวจดูความสึ กหรอของปลายเข็มแทงชนวน
ง. ก้านสู บ แหนบส่ งก้านสู บ และแหนบเข็มแทงชนวนจะต้องไม่คดงอหรื อหัก
จ.เหล็กตัดปลอกกระสุ น และขอรั้งปลอก จะต้องได้รับการตรวจดูวา่ ชิ้นสวนนั้นๆ อยูใ่ นลักษณะมี
แหนบดันอยู่ และไม่บิ่นหรื อสึ กหรอ
4.ชุดเรื อนเครื่ องลัน่ ไก
ก.กระเดื่องไก ต้องไม่ปรากฏร่ องรอยว่ามีการสึ กหรอมาก (การสึ กหรอมากบางทีจะแสดงถึงว่าการ
ลัน่ ไกกระทาไม่ถูกต้อง)
ข.ควรจะได้ทาการตรวจหาการแตกร้าวใกล้ๆ กับสลักเรื อนเครื่ องลัน่ ไก
ค.ดูให้แน่วา่ ใบแหนบมีลกั ษณะคดงออย่างถูกต้อง
ง.แผ่นห้ามไกควรจะทางานเป็ นปกติ(เมื่อตั้งแผ่นห้ามไก SAFE แล้วเหนี่ยวไกกระเดื่องไกต้องไม่
เคลื่อนตัว และเมื่อตั้งแผ่นห้ามไกที่ยงิ FIRE จะต้องเคลื่อนตัวได้
5. ชุดลากล้องปื น
ก. ปลอกป้ องกันแสงต้องขันแน่น (ต้องตรวจดูท้ งั 2 ลากล้อง) ศูนย์หน้าและแกนยึดลากล้องปื น
ต้องไม่คดงอ แตกร้าว หรื อชารุ ด
ข.ชุดขาทรายต้องตรวจดูวา่ ทางานอย่างถูกต้อง
ค.รู แก๊สที่กระบอกสู บต้องสะอาด
ง.ลูกสู บและกระบอกสู บต้องไม่ชารุ ด และลูกสู บต้องเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ ความกว้างระหว่าง
ผนังกระบอกสู บด้านในกับลูกสู บจะต้องเล็กพอที่การเคลื่อนที่ของลูกสู บเป็ นการทาความสะอาดตัวเองด้วย
ระบบแก๊สควรจะทาการถอดและทาความสะอาดในเมื่อปื นเกิดอาการยิงฝื ดช้าเท่านั้น และสาเหตุอย่างอื่นที่ทา
ให้เกิดอาการยิงฝื ดช้ามักจะไม่ค่อยพบนัก หรื อควรถอดเพื่อการฝึ กสอนไม่บ่อยครั้งนัก
6.ชุดโครงลูกเลื่อน
ก.ไม้รองลากล้องปื น เหล็กปิ ดฝาห้องลูกเลื่อน เครื่ องป้ อนกระสุ น คันรั้งลูกเลื่อน และโครงลูก
เลื่อน ต้องไม่แตกร้าว หรื อคดงอ
ข.แผ่นคันเลื่อนสายกระสุ นและก้านต่อแผ่นคันเลื่อนสายกระสุ นเครื่ องช่วยป้ อนกระสุ น เครื่ องยึด
สายกระสุ น และกลอนยึดลากล้องปื น ต้องตรวจดูวา่ ทางานเรี ยบร้อย
ค.แผ่นศูนย์หลังระยะยิงต้องมองเห็นชัด หมุดเกลียวแผ่นระยะยิงต้องต้องไม่สึกหรอหรื อชารุ ด
รวมถึงว่าต้องไม่หลวม และขันแน่น
7.เครื่ องยึดปื น
ก.เรื อนควงมุมสายและควงมุมสู งต้องไม่ฝืด ตัวเลขมาตราควรอ่านได้ง่าย
ข.เดือยปื นต้องสวมพอดี และกลอนยึดเดือยปื นจะต้องยึดเดือยปื นเข้ากับช่องยึดเดือยปื นอย่างแน่น
ค.กลอนยึดปลอกขาหยัง่ ทางานปกติและคานราวส่ ายปื นแน่นมัน่ คง
8. ถุงลากล้องอะไหล่ (รู ปที่ 31)
ก.เครื่ องมือบารุ งรักษาปื น จะต้องมีการตรวจว่ามีอยูอ่ ย่างสมบูรณ์ และสามารถใช้การได้
ข. ถุงลากล้องอะไหล่ตอ้ งไม่ลา้ งมากเกินไป เพราะการล้างบ่อยๆ จะทาให้ไม่กนั น้ า เพราะผ้าใบจะเสื่ อ

รูปที่ 31 ที่ชุดถุงลากล้องอะไหล่ เครื่ องพร้ อม


9.การทาความสะอาดและการหล่อลื่น
ก.การทาความสะอาด
1.ภายหลังจากยิงปื นไปแล้วต้องทาความสะอาดทันที และต้องทาความสะอาดคิดต่อกันไปอีก 2 วัน
หลังจากนั้น โดยทาความสะอาดลากล้องโดยตลอดรังเพลิงและชิ้นส่ วนต่างๆ ที่เปรอะเปื้ อนขี้เขม่าปื นด้วย
น้ ามันล้างลากล้อง (น้ ามันทาความสะอาด CR)อย่าเช็ดแห้งจนถึงวันที่สามหลังจากยิง ให้ทาความสะอาดด้วย
น้ ามันล้างลากล้องเช็ดออกให้แห้ง แล้วทาน้ ามันใสบางๆ ให้ทวั่
2. ภายหลังจากนั้นทุกๆ สัปดาห์ เมื่อปื นไม่ได้ทาการยิงต้องทาความสะอาดลากล้องรังเพลิงด้วย
น้ ามันล้างลากล้อง เช็ดออกให้แห้งแล้วทาน้ ามันใส
3.ที่ติดตั้งปื น ควรจะทาความสะอาดด้วยน้ ามันทาความสะอาดชนิ ดแห้ง (SD) ทันทีหลังจากทา
การยิง แล้วหลังจากนั้นทาเป็ นรายสัปดาห์ เช็ดออกให้แห้งแล้วทาน้ ามันใส
4.อย่าทาความสะอาดภายในกระบอกแก๊ส เว้นแต่ยงิ ด้วยกระสุ นซ้อมรบมาแล้ว หรื อปื นทางาน
ฝื ดช้า ภายหลังที่ได้ตรวจแล้วว่ามีเหตุผลที่เชื่อได้วา่ ปื นทางานช้า
ข. การหล่อลื่น
1.สภาพอากาศหนาว (อุณหภูมิต่ากว่า 0' ฟาเรนไฮต์เสมอ ให้หล่อลื่นปื นด้วยน้ ามันทาปื น(LAW)
และต้องเก็บคลุมปื นเอาไว้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ เรื่ องราวรายละเอียดให้ดู ทน. 9-207 และ รส. 31-70
2.สภาพอากาศเฉลี่ยทัว่ ไป (อุณหภูมิอยูร่ ะหว่าง 60' - 80' ฟาเรนไฮต์)ให้หล่อลื่นปื นด้วยน้ ามันทา
ปื นอรรถประโยชน์ (PL Special)
3.สภาพอากาศร้อนชุ่มชื้ น ต้องตรวจปื นบ่อยๆ เพื่อตรวจดูสนิ ม ให้เก็บปื นให้ห่างจากความชื้ น
และทาน้ ามันใสบางๆ (PL Special) ถ้าปื นต้องอยูใ่ นสภาพมีละอองเค็ม ความชื้นสู งหรื อถูกน้ า ต้องทาความ
สะอาดและทาน้ ามันบ่อยๆ เพื่อขจัดสิ่ งสกปรกที่ติดอยู่
4.สภาพอากาศร้อนแห้งแล้วต้องทาความสะอาดปื นทุกวัน เมื่อจาเป็ นต้องทาความสะอาดบ่อยๆ
ในพื้นที่มีทรายหรื อมีฝุ่น ต้องเก็บรักษาปื นให้ปราศจากน้ ามันเพื่อป้ องกันทราย หรื อฝุ่ นมาจับเกาะอยูท่ ี่ชิ้นส่ วน
เคลื่อนที่ของปื น
5.เครื่ องมือในการบารุ งรักษา เครื่ องมือทั้งหลายเท่าที่จาเป็ นในการบารุ งรักษาในขั้นต้นนี้ คือ ที่
ได้จ่ายให้ในถุงลากล้องอะไหล่
10.การปฏิบตั ิต่อปื นก่อนและหลังการยิง
ก.ก่อนการยิง
1. เช็ดลากล้องให้แห้ง
2. ตรวจอาวุธดามหัวข้อในการฝึ กพลประจาปื น
3. ปฏิบตั ิตามระเบียบที่กาหนดไว้เมื่อใช้ลากล้องอะไหล่
4. ต้องแน่ใจว่าปื นได้หล่อลื่นแล้วอย่างถูกต้อง
ข.ภายหลังการยิง
1. เปลี่ยนลากล้องมีตามที่ได้อธิบายไว้ ในบทที่ 1 ตารางที่ 1 เปลี่ยนลากล้องจะเป็ นการยึดอาบลา
กล้องออกไป และทาให้ลากล้องสึ กหรอเท่า ๆ กัน
2. ต้องมีการตรวจอาวุธตามระยะเวลา เพื่อให้มนั่ ใจได้วา่ ปื นได้มีการหล่อลื่นอย่างถูกต้อง
3.เมื่อปื นเกิดอาการไม่ทางาน หรื อ เกิดเหตุติดขัดขึ้น ให้ปฏิบตั ิระเบียบในข้อ 41 และ 42
11.การบารุ งรักษาภายใต้สภาพสงคราม คชร.
ก. ถ้ าคาดถ่วงหน้าว่าปื นจะต้องสกปรกจาก คชร. ให้ทาน้ ามันตามผิว
ส่ วนที่เป็ นโลหะด้านนอกของปื นให้ทวั่ อย่าทาน้ ามันที่กระสุ น เก็บรักษาอาวุธโดยคลุมเอาไว้เท่าที่จะทาได้
ข.ถ้าอาวุธได้รับความสกปรกจากเชื่อโรคให้ขจัดสิ่ งสกปรกจากเชื้ อโรคออกโดยปฏิบตั ิตามระเบียบ
หัวข้อใน รส. 21-40 และทน. 3-220 แล้วทาความสะอาดและหล่อลื่นปื นเสี ย
11 การทาลายวัตถุเพื่อป้ องกันข้าศึกนาไปใช้
ก. การทาลายปื นกลและฐานติดตั้ง จะปฏิบตั ิเฉพาะเมื่อจะถูกยึด หรื อต้องละทิ้ง
ข.วิธีการทาลาย
1.ทางเครื่ องกลไก ให้ถอดปื นออกเท่าที่จะมีเวลาให้ถอด แล้วใช้ลากล้องหรื อเครื่ องมือหนัก
อย่างอื่น ตีฝาปิ ดห้องลูกเลื่อน เครื่ องป้ อนกระสุ น โครงลูกเลื่อน ชุ ดส่ วนเคลื่อนที่ เครื่ องรับแรงถอย พานท้าย
และกระบอกสู บ
2.การเผา การทาลายอาวุธด้วยวิธีเผา ให้ใช้ลูกระเบิดเพลิงวางลงบนโครงลูกเลื่อนตรงด้านบน
ลูกเลื่อน (โดยให้ฝาปิ ดห้องถูกเลื่อนเป็ นที่วางตัวลูกระเบิด) แล้วจุดลูกระเบิดขึ้น
3.การแยกกระจายให้แยกฝัง ขั้นส่ วนของปื นลงในบ่อ หลุมที่เหมาะ หรื อ กองชั้นส่ วนไว้ใต้ลา
ธาร โคลน หิมะ หลุมขยะ หรื อส้วม
4. การทาลายฐานติดปื น ให้ตีเรื อนควงมุมส่ ายและควงมุมสู งให้ชารุ ดทาลายฐานปื นทาให้ขา
หยัง่ คดงอ
การฝึ กพลประจาปื น
1. กล่าวนา
1.1 กล่าวทัว่ ไป
1.1.1 การฝึ กพลประจาปื น มิได้เป็ นเพียงการฝึ กให้พลประจาปื นปฏิบตั ิต่อปื นในการฝึ กเบื้องต้นเท่านั้น
แต่เป็ นการฝึ กทหารให้เกิดความเชื่อมัน่ ในความสามารถของตนเองในการใช้ปืนกลอย่างถูกต้องและรวดเร็ ว
ในระหว่างการฝึ ก ต้องมีการฝึ กหมุนเวียนตามหน้าที่ของพลปื นทุก ๆ คน เพื่อที่จะให้ทุกคนรู ้หน้าที่ของแต่
ละตาแหน่งอย่างดี ความถูกต้องคือ การยึดมัน่ อย่างแน่วแน่ในระเบียบปฏิบตั ิต่าง ๆ เฉพาะเรื่ อง เช่นการตรวจ
อาวุธก่อนการยิงปื น การจับถือปื นในระหว่างการฝึ ก และการปฏิบตั ิตามระเบียบปฏิบตั ิในการรักษาความ
ปลอดภัย ความรวดเร็ ว ทาให้การฝึ กมีความสมบูรณ์หลังจากแก้ไขข้อผิดพลาดให้ถูกต้องแล้ว ความถูกต้อง
ย่อมไม่เสี ยความรวดเร็ ว
1.1.2 การฝึ กพลประจาปื น ที่ดาเนิ นการฝึ กในการยิงประกอบภูมิประเทศและการฝึ กหมุนเวียนในระหว่าง
หลักสู ตรการยิงอื่น ๆ อยูใ่ นดุลยพินิจของผูบ้ งั คับหน่วยควรจะคานึงถึงในเรื่ องการจัดสาหรับการฝึ กพลประจาปื น
ตามที่บรรยายไว้ในบทนี้ ซึ่งกาหนดจะเป็ นหนทางหนึ่งในการฝึ กพลประจาปื นในขั้นต้น และการจัดแบบนี้
ย่อมจะใช้ไม่ได้ในทุก ๆ สถานการณ์ทางยุทธวิธี
1.1.3 การฝึ กพลประจาปื น ตามที่ได้อธิบายไว้ ณ ที่น้ ี รวมถึง ผบ.หมู่อาวุธ และพลประจาปื นของปื นกล 1
กระบอก ซึ่งมีพลยิง พลยิงผูช้ ่วย และพลกระสุ นพลประจาปื นอาจจะประกอบด้วยเพียงแต่พลยิง และพลยิง
ผูช้ ่วยเท่านั้นก็ได้ เมื่อเป็ นเช่นนี้พลยิงผูช้ ่วยจะต้องนาทั้งถุงลากล้องอะไหล่ และขาหยัง่ ไป และปฏิบตั ิหน้าที่
พลกระสุ นเพิ่มขึ้นอีกด้วย
1.1.4 ผบ.หมู่ เป็ นผูใ้ ห้คาบอกคาสั่งทั้งมวลแก่หมู่พลยิง และพลยิงผูช้ ่วยเป็ นผูท้ วนคาสั่ง ผบ.หมู่ สั่ง
หลังจากที่ปืนได้ต้ งั ยิงแล้ว พลยิงผูช้ ่วยจะส่ งสัญญาณต่าง ๆ ที่ได้จาก ผบ.หมู่ ไปยังพลยิง และจากพลยิงไป
ยัง ผบ.หมู่
1.2 เครื่ องใช้ ของพลประจาปื น
นอกจากอาวุธประจากายและเครื่ องมือเครื่ องใช้แล้ว พลประจาปื นยังต้องนาเครื่ องมือเครื่ องใช้ของการ
ฝึ กยิงด้วยขาทรายและขาหยัง่ ไปด้วย รายการต่อไปนี้เป็ นข้อแนะนาในการแบ่งเครื่ องมือเครื่ องใช้ในระหว่างพล
ประจาปื นด้วยกัน และอาจจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขตามสถานการณ์บงั คับ
ผู้บังคับหมู่และพลประจาปื น เครื่ องมือเครื่ องใช้
ผูบ้ งั คับหมู.่ ..................................... กล้องส่ องสองตา, เข็มทิศ
พลยิง.............................................. ปื นกล กระเป๋ ากระสุ น 3 ใบ(พร้อมด้วยกระสุ นหัดบรรจุ)
พลยิงผูช้ ่วย.................................... ถุงลากล้องอะไหล่ (ลากล้องอะไหล่เรื อนควงมุมส่ าย และเรื อนควงมุมสู ง
และเครื่ องอุปกรณ์) กระเป๋ ากระสุ น 3 ใบ (พร้อมด้วยกระสุ นหัดบรรจุ)
พลกระสุ น.......................................ขาหยัง่ แบบเอ็ม 122, กระเป๋ ากระสุ น 3 ใบ(พร้อมด้วยกระสุ นหัดบรรจุ)
1.3 การจัดแถวในการฝึ กพลประจาปื น (ติดขาทรายหรื อขาหยัง่ )
ผบ.หมู่ ออกคาสั่งจัดแถวฝึ กพลประจาปื น พลประจาปื นจัดแถวตอน ระยะต่อ แต่ละคน 5 ก้าว ตามลาดับ
ดังนี้ พลยิง, พลยิงผูช้ ่วย, พลกระสุ น พลยิงอยูห่ ่างจากข้างหน้าผบ.หมู่ 5 ก้าว เมื่อพลประจาปื นปฏิบตั ิอยูต่ าม
ตาแหน่งถูกต้องแล้วให้ทาท่านอน ต่อจากนั้นก็พร้อมที่จะฝึ กพลประจาปื นต่อไป (รู ปที่ 32)

รูปที่ 32 พลประจาปื นอยู่ในระหว่างการฝึ กพลประจาปื น


1.4 การหมุนเวียนหน้ าทีใ่ นระหว่ างการฝึ กพลประจาปื น
1.4.1 ในระหว่างการฝึ กพลประจาปื น ต้องฝึ กหมุนเวียนหน้าที่ของแต่ละคน เพื่อประกันได้วา่ พลประจา
ปื นแต่ละคนได้เรี ยนรู ้หน้าที่ของพลประจาปื นทุกตาแหน่งแล้ว
1.4.2 คาบอกคาสั่งในการเปลี่ยนหน้าที่คือ “เปลี่ยน ผบ.หมู”่ เมื่อได้ยินคาสั่งนี้ ทุกคนลุกขึ้นยืนเคลื่อนที่
ไปข้างหน้า แล้วปฏิบตั ิในหน้าที่ใหม่ ผบ.หมู่ กลับมาทา
หน้าที่พลกระสุ นพลยิงเคลื่อนที่ไปข้างหน้า และทาหน้าที่ ผบ.หมู่ พลยิงผูช้ ่วยเลื่อนเป็ นพลยิง และพลกระสุ น
เลื่อนขึ้นมายังพลยิงผูช้ ่วย ถ้าไม่ประสงค์จะเปลี่ยน ผบ.หมู่ จะต้องใช้คาบอกคาสั่งว่า “เปลี่ยนพลยิง” เมื่อได้
ยินคาสั่งเช่นนี้ พลประจาปื นทั้งหมดลุกขึ้นยืนพลยิงผูช้ ่วยเลื่อนขึ้นเป็ นพลยิง และพลกระสุ นเลื่อนขึ้นเป็ น
พลยิงผูช้ ่วย เมื่อพลประจาปื นเคลื่อนที่มาปฏิบตั ิในตาแหน่งหน้าที่ใหม่แล้ว ให้ขานตาแหน่งใหม่ตามลาดับ
พลกระสุ นพลยิงผูช้ ่วย พลยิง
2. การฝึ กพลประจาปื น ปื นติดขาทราย
2.1 การตรวจเครื่ องมือเครื่ องใช้ ก่อนการยิง
เมื่อเริ่ มการฝึ กทุก ๆ ขั้นการฝึ กจะต้องตรวจเครื่ องมือเครื่ องใช้ให้ตลอดเสี ยก่อน หลังจากพลประจาปื นจัด
แถวเพื่อการฝึ กพลประจาปื นแล้ว ผบ.หมู่ อาจจะออกคาสั่ง “ตรวจเครื่ องมือเครื่ องใช้ก่อนการยิงด้วยขาทราย”
เมื่อได้ยนิ คาสั่งเช่นนี้ พลประจาปื นแต่ละคนจะตรวจเครื่ องมือเครื่ องใช้
2.2 การตรวจของพลยิง
2.2.1 ประการแรกของพลยิงต้องตรวจกระสุ นก่อน กระสุ นอยูใ่ นสายข้อต่อเรี ยบร้อย สะอาดไม่สกปรก
และข้อต่อสายกระสุ นคู่อยูด่ า้ นบน (พร้อมที่จะบรรจุ)หลังจากที่พลยิงตรวจกระสุ นแล้ว พลยิงปิ ดฝากระเป๋ า
กระสุ นแล้วจัดสายสะพายผ้าคล้องไว้ที่ไหล่ (ยกเว้นกระเป๋ าสุ ดท้ายซึ่งต้องเตรี ยมที่จะใช้บรรจุ )
2.2.2 เสร็ จแล้วพลยิงตรวจ โดยปฏิบตั ิดงั นี้
2.2.2.1 ใช้มือซ้ายจับอยูท่ ี่รองลากล้องปื น มือขวาเอื้อมดึงขาทรายอันขวามาข้างหลังแล้วกางออก เสร็ จ
แล้วพลยิงเอื้อมมือไปข้างใต้ขาทรายขวา กางขาทรายซ้ายออก (รู ปที่ 16) และจัดให้ปืนวางอยูบ่ นขาทราย
2.2.2.2 ติดกระเป๋ ากระสุ นเข้ากับปื น
2.2.2.3 ตั้งแผ่นห้ามไกไปอยูท่ ี่ FIRE ดึงคันรั้งลูกเลื่อนมาข้างหลังแล้วดันแผ่นห้ามไกไปอยูท่ ี่ SAFE
ดันคันรั้งลูกเลื่อนให้กลับไปข้างหน้ายกฝาปิ ดห้องลูกเลื่อนขึ้นดูเครื่ องป้ อนกระสุ น แล้วตรวจดูรังเพลิงว่า
สะอาดไม่มีสิ่งกีดขวางอยู่ (รู ปที่ 17)
2.2.2.4 ขอแส้ทาความสะอาดลากล้อง และเครื่ องมือควบจากพลยิงผูช้ ่วย
2.2.2.5 คืนไปข้างหน้าแล้วใช้แส้แยงลากล้องดูวา่ ปลอดภัย ขณะเมื่ออยูใ่ นท่านี้พลยิงตรวจดูวา่ รู ระบาย
แก๊สด้านหน้าของกระบอกสู บว่าสะอาดหรื อไม่(รู ปที่ 18)
2.2.2.6 ตรวจปลอกป้ องกันแสงไม่แตกร้าว
2.2.2.7 ตรวจศูนย์หน้ายึดแน่น และใบศูนย์หน้าไม่ชารุ ด
2.2.2.8 ตรวจท่อต่อกระบอกสู บ จุกรู แก๊ส และแป้ นเกลียวกระบอกแก๊สให้ขนั แน่นด้วยเครื่ องมือควบ
2.2.2.9 ตรวจด้ามหิ้ วว่าสามารถจัดให้อยูใ่ นท่าที่ไม่บงั หรื อขวางในระหว่างทาการเล็งและยิง
2.2.2.10 ตรวจให้แน่ใจว่าคันกลอนยึดลากล้องพับลง และลากล้องถูกยึดอยูก่ บั โครงลูกเลื่อนอย่าง
มัน่ คง
2.2.2.11 ส่ งคืนแส้ทาความสะอาดและเครื่ องมือควบให้แก่พลยิงผูช้ ่วย
2.2.2.12 เคลื่อนที่ถอยไปข้างหลังปื นแล้วตรวจส่ วนเคลื่อนที่ในฝาปิ ดห้องลูกเลื่อน
2.2.2.12.1 ตรวจค้นเลื่อนสายกระสุ น สะอาด และมีการหล่อลื่นอย่างถูกต้อง
2.2.2.12.2 ดันคันเลื่อนสายกระสุ นกลับไปมาเพื่อตรวจดูวา่ ทางานเป็ นอิสระ
2.2.2.12.3 ดันขอรั้งกระสุ นเพื่อดูวา่ มีแรงดึงของแหนบ
2.2.2.12.4 ดันเหล็กนากระสุ นดูวา่ มีแรงดึงของแหนบ
2.2.2.13 ตรวจดูเครื่ องป้ อนกระสุ นว่ากระเป๋ ากระสุ นสวมอยูเ่ ข้าที่สุด พลยิงกดที่ขอยึดสายกระสุ นว่ามี
แรงดึงของแหนบ
2.2.2.14 ลดฝาปิ ดห้องลูกเลื่อนลง แล้วปิ ดเสี ย (โดยไม่ตอ้ งใส่ สายกระสุ น)
2.2.2.15 เหนี่ยวไกเพื่อตรวจการทางานของแผ่นห้ามไก
2.2.2.16 ดันแผ่นห้ามไกไปที่ FIRE แล้วเหนี่ยวไกปล่อยให้ลูกเลื่อนเคลื่อนที่ไปข้างหน้า
2.2.2.17 ตรวจศูนย์หลัง ตั้งศูนย์ที่ 500 เมตร และมุมทิศ 0 แล้วพับศูนย์ลง
2.2.2.18 ตรวจดูเหล็กพาดบ่าว่าทางานถูกต้องและพับลง

รูปที่ 33 พลยิงกาลังกางขาทรายออก
2.3 การตรวจของพลยิงผู้ช่วย
2.3.1 พลยิงผูช้ ่วยอยูใ่ นท่านอนเริ่ มต้นตรวจกระสุ นก่อน
2.3.2 นาเอาแส้ทาความสะอาด และเครื่ องมือควบออกจากถุงลากล้องอะไหล่ แล้วประกอบแส้เข้าด้วยกัน
2.3.3 เสร็ จแล้วพลยิงผูช้ ่วยนา เรื อนควงมุมส่ าย และเรื อนควงมุมสู งออกมา (รู ปที่ 19)
2.3.3.1 หมุนด้วยแป้ นควงมุมสู งให้เส้นเกลียวโผล่ต่ากว่าตัวควงมุมสู งประมาณ 1 1/2นิ้ว
2.3.3.2 หมุนปลอกแกนควงมุมสู ง ให้เส้นเกลียวโผล่ต่าจากตัวแป้ นควงประมาณ 1 1/2นิ้ว
2.3.3.3 หมุนแป้ นควงมุมสู งจนกระทัง่ จานวนเกลียวแต่ละข้างมีเท่ากัน
2.3.3.4 ตรวจสลักก้านต่อของตัวก้านต่อ เพื่อดูวา่ ทางานถูกต้องและมีแรงดึงของแหนบ
2.3.3.5 นาเรื อนควงมุมส่ ายและควงมุมสู งเข้าที่ แล้วนาลากล้องอะไหล่ออกมาจากถุงลากล้องอะไหล่
2.3.4 การตรวจลากล้องอะไหล่ พลยิงผูช้ ่วย
2.3.4.1 ตรวจดูลากล้อง และรู ระบายแก๊สตอนหน้าของท่อต่อกระบอกสู บว่าปลอดภัย
2.3.4.2 ตรวจดูปลอกป้ องกันแสงไม่แตกร้าว
2.3.4.3 ตรวจดูศูนย์หน้าขันแน่นและใบศูนย์ไม่ชารุ ดเสี ยหาย
2.3.4.4 ตรวจดูขาทรายทางานได้ถูกต้อง
2.3.4.5 ตรวจท่อต่อกระบอกสู บ จุกรู แก๊ส และเป็ นเกลียวกระบอกสู บโดยใช้เครื่ องมือควบขันให้แน่น
2.3.4.6 ตรวจดูทา้ ยลากล้องปื นอยูใ่ นลักษณะปลอดภัย
2.3.5 พลยิงผูช้ ่วยจะทาการตรวจเครื่ องมือเครื่ องใช้อย่างเรี ยบร้อยต่อเมื่อนาลากล้องอะไหล่เข้าเก็บในถุง
ปิ ดฝาถุงแยกท่อนแส้ทาความสะอาดเข้าเก็บ แล้วนาเครื่ องมือควบเข้าเก็บในกระเป๋ าเครื่ องประกอบ แล้ว
ตรวจดูเหล็กถอดปลอกกระสุ นแปรงทาความสะอาดลากล้อง แปรงทาความสะอาดรังเพลิง แปรงทาความ
สะอาดห้องลูกเลื่อน และถุงมือกันความร้อน ว่ายังสามารถใช้การได้
2.4 การตรวจของพลกระสุ น
2.4.1 พลกระสุ นอยูท่ ่านอน ทาการตรวจกระสุ น
2.4.2 เมื่อเสร็ จแล้วทาการตรวจขาหยัง่ ดังนี้
2.4.2.1 ตรวจดูวา่ ขาหยัง่ พับเข้าหากันได้เกือบสนิ ท
2.4.2.2 ตรวจดูกลอนปลอกขาหยัง่ ว่ามีแหนบยึดและยังใช้งานได้
2.4.2.3 ตรวจดูกลอนยึดเดือยปื นว่าได้ยดึ ติดอยูภ่ ายในช่องรับเดือยปื น และเดือยปื นสามารถหมุน
ตัวในช่องรับอย่างอิสระ
2.4.2.4 ตรวจเดือยฐานปื นอันหน้าไม่สกปรกและชี้ไปข้างหน้า
2.4.2.5 ปลดกลอนบังคับฐานปื นลง
2.4.2.6 กดกลอนฐานปื นดูวา่ ไม่สกปรก และมีแรงดันของแหนบ
2.4.3 การปฏิบตั ิตามนี้ เป็ นการตรวจเครื่ องเมื่อเครื่ องใช้ของพลกระสุ น
2.5 การรายงานการตรวจเครื่ องมือเครื่ องใช้ แล้วเมื่อได้ตรวจเครื่ องมือเครื่ องใช้แล้ว พลประจาปื นแต่ละ
คนต้องรายงานดังนี้
2.5.1 พลกระสุ นรายงาน “พลกระสุ นเรี ยบร้อย” หรื อรายงานข้อบกพร่ อง

รูปที่ 33 พลยิงกาลังตรวจรังเพลิง
2.5.2 พลยิงผูช้ ่วยรายงาน “พลกระสุ น และพลยิงผูช้ ่วยเรี ยบร้อย”หรื อรายงานข้อบกพร่ อง
2.5.3 พลยิงรายงาน “ทั้งหมดเรี ยบร้อย” หรื อรายงานข้อบกพร่ อง
2.5.4 ในระหว่างการตรวจถ้าพบข้อบกพร่ องไม่เรี ยบร้อยให้รายงานด้วย

รูปที่ 34 พลยิงกาลังตรวจลากล้องและรูระบายแก๊ส
2.6 การนาปื นตั้งยิง
การนาปื นตั้งยิง ผบ.หมู่ จะออกคาสั่งตั้งยิงและให้สัญญาณดังนี้
“ปื นตั้งยิงตรงนี้” (ชี้ที่ต้ งั ยิงให้กบั ปื น) “ข้างหน้า” (ชี้ตรงไปยังทิศทางที่ยงิ )“ตั้งยิง” (กามือชี้ในทิศทางที่
กาหนดให้ปืนเข้าตั้งยิง)
2.6.1 เมื่อได้รับคาบอกคาสั่ง “ตั้งยิง” พลยิงจะลุกขึ้นยืนจับด้ามหิ้วปื นด้วยมือซ้าย มือขวาจับด้านบน
ของพานท้ายปื น ยกปื นอยูใ่ นท่าถือปื นโดยให้ปากลากล้องปื นไปข้างหน้า แล้วเคลื่อนที่ไปเข้าที่ต้ งั (รู ปที่ 20)
2.6.2 เมื่อปื นนาเข้าถึงที่ต้ งั ยิงแล้ว พลยิงวางปื นลงที่พ้นื แล้วพลยิงหมอบนอนอยูด่ า้ นหลังปื น จัดด้าม
หิ้วปื นให้อยูใ่ นท่าที่ไม่บงั ขวางในระหว่างทาการเล็งและยิงจัดแนวปื นไปในทิศทางที่จะยิงแล้วยกศูนย์หลัง
ขึ้น (รู ปที่ 21) แล้วเปิ ดฝาปิ ดห้องลูกเลื่อนนากระสุ นนัดแรกเข้าบรรจุในร่ องเครื่ องป้ อนกระสุ นแล้วปิ ดฝา
ห้องลูกเลื่อน (ตรวจดูวา่ กระสุ นต้องไม่หล่นออกมาจากร่ องเครื่ องป้ อนกระสุ น) เสร็ จแล้วยกเหล็กพาดบ่าขึ้น
ประทับปื นวางเหล็กพาดบ่าลงบนไหล่ทาท่ายิงอย่างถูกต้อง (รู ปที่ 22)
2.6.3 พลยิงผูช้ ่วยรอเวลาจนพลยิงทาท่านอนแล้ว พลยิงผูช้ ่วยจะเคลื่อนที่มาถึงที่ต้ งั ยิงแล้วทาท่านอน
ตะแคงสะโพกข้างซ้ายติดพื้น เท้าทั้งสองชี้ไปข้างหลังอยูท่ างด้านซ้ายของปื น วางถุงลากล้องอะไหล่ขนาน
กับทิศทางของปื น ให้ทางด้านปิ ดตรงไปยังปื น แล้วเปิ ดถุงลากล้องอะไหล่ออกมา กางขาทรายออกวางลา
กล้องอะไหล่ลงบนถุงให้ลากล้องอยูข่ า้ งหน้า และอยูใ่ นระดับเดียวกับปากลากล้องปื นที่ต้ งั ยิง (รู ปที่ 22)
26.4 พลกระสุ นรอเวลาจนผูช้ ่วยพลยิงทาท่านอนแล้ว พลกระสุ นจะเคลื่อนที่มาถึงที่ต้ งั ยิง แล้วตั้งขา
หยัง่ หนึ่งทางด้านซ้ายของลากล้องปื นในแนวเดียวกับปื นให้หวั ขาหยัง่ หันออกจากปื น ปลดสายรัดขาหยัง่
ออกแล้วจึงตั้งขาหยัง่ ทั้งสองต่อไป แล้วออกไปทางซ้ายของที่ต้ งั ปื นห่างประมาณ 10 เมตร ในท่านอนยิง
แล้วเตรี ยมยิงไป ณ พื้นที่ที่หมายด้วยอาวุธประจากายของตน (รู ปที่ 23)
2.6.5 ถ้าจาต้องปรับขาทราย พลยิงผูช้ ่วยจะคืบตัวไปข้างหน้า ใช้มือซ้ายจับที่คานหัวขาทราย ยกปากลา
กล้องปื น พลยิงผูช้ ่วยต้องสวมถุงมือ แล้วจัดความสู งของ
ขาทรายด้วยมือขวา
2.6.6 เมื่อปื นพร้อมที่จะยิง (รู ปที่ 24) พลยิงจะเลื่อนแผ่นห้ามไกตั้งอยูท่ ี่FIRE แล้วรายงาน “พร้อม” พล
ยิงผูช้ ่วยให้สัญญาณ “พร้อม” ไปยังผูบ้ งั คับหมู่
รูปที่ 35 พลยิงผู้ช่วยถอดเรื อนควงมุมส่ ายและควงมุมสู งออกมาตรวจ
2.7 การเปลีย่ นลากล้องปื น
เพื่อให้เกิดความชานาญและรวดเร็ วในการเปลี่ยนลากล้องปื นเรื่ องนี้ จึงได้กาหนดไว้ในการฝึ กพล
ประจาปื นด้วยการปฏิบตั ิกระทาดังต่อไปนี้
2.7.1 เมื่อพลยิงรายงาน “พร้อม” และพลยิงผูช้ ่วยให้สัญญาณ “พร้อม”ผูบ้ งั คับหมู่ออกคาสั่ง “เปลี่ยน
ลากล้อง”
2.7.2 พลยิงวางพานท้ายปื นกับพื้นแล้ว จัดแผ่นห้ามไกอยูท่ ี่ “ห้ามไก”(SAFE) แล้วยกคันกลอนยึดลา
กล้องปื นด้วยมือขวา เลื่อนไปข้างหลังแล้ววางจับอยูท่ ี่ดา้ นบนของพานท้ายปื น ใช้มือซ้ายรองอยูข่ า้ งใต้ของ
รองลากล้องปื น มือขวากดพานท้ายปื นลงเพื่อให้ปากลากล้องปื นยกขึ้น แล้วใช้มือซ้ายยกปากลากล้องปื นขึ้น
(รู ปที่ 25
2.7.3 พลยิงผูช้ ่วย (สวมถุงมือทนความร้อน) จับลากล้องตรงเรื อนกระบอกแก๊สถอดออกจากปื น แล้ว
วางให้ทา้ ยลากล้องปื นอยูบ่ นถุงอะไหล่ จับลากล้องปื นอะไหล่ตรงเรื อนกระบอกแก๊สสอดเข้าไปในร่ องลา
กล้องปื น
2.7.4 พลยิงพับคันกล้องยึดลากล้องปื นลง เลื่อนแผ่นห้ามไกตั้งอยูท่ ี่ FIREทาท่ายิงที่ถูกต้องแล้ว
รายงาน “พร้อม” พลยิงผูช้ ่วยให้สัญญาณ “พร้อม” แก่ ผบ.หมู่
รูปที่ 36 พลยิงนาปื นเข้ าที่ต้งั ยิง
2.8 การเลิกตั้งยิง
ในการปฏิบตั ิต่อปื นเพื่อเลิกตั้งยิง ผบ.หมู่ ออกคาสั่งและให้สัญญาณเลิกยิง พลยิงและพลยิงผูช้ ่วยทวน
คาสั่ง
2.8.1 เมื่อได้รับคาสัง่ “เลิกยิง” พลกระสุ นเคลื่อนที่มายังที่ต้ งั ยิงโดยสะพายอาวุธประจากายไว้ เก็บ
กระเป๋ ากระสุ นซึ่งวางไว้ เก็บขาหยัง่ ปื นแล้วนามาอยูท่ ี่เดิมซึ่ งอยูข่ า้ งหลังที่ต้ งั ปื นประมาณ 15 ก้าว ก้มตัวลง
ทาท่านอนโดยจัดให้ขาหยัง่ ปื นอยูข่ า้ งหน้าหัวขาหยัง่ อยูท่ างด้านซ้าย
2.8.2 พลยิงผูช้ ่วยพับขาหยัง่ ของลากล้องอะไหล่ แล้วนาเข้าเก็บในถุง ก่อนที่จะลุกขึ้นต้องตรวจดูวา่ ถุง
ลากล้องอะไหล่ปืนมีลากล้องอะไหล่และเรื อนควงมุมส่ ายควงมุมุสูงอยู่ แล้ว กลับ ไปยังทีเดิม ซึ่งอยูข่ า้ งหลัง
ทีต้ งั ยิง ประมาณ 10 ก้าว แล้วรออยูใ่ นท่านอน พลยิงผูช้ ่วยใช้เวลาขณะนี้ปิดฝาถุงลากล้องอะไหล่ให้เรี ยบร้อย
ในเมื่อไม่สามารถปฏิบตั ิได้ ณ ที่ต้ งั ปื น
รูปที่ 37 พลยิงเตรียมปื นทาการยิง
2.8.3 พลยิงวางพานท้ายปื นลงบนพื้น โดยให้ลูกเลื่อนอยูด่ า้ นหลังเลื่อนแผ่นห้ามไกไปตั้งอยูท่ ี่ SAFE
แล้วยกฝาปิ ดห้องลูกเลื่อนขึ้นถอดกระสุ นออกจากเครื่ องป้ อนกระสุ นนาเข้าใส่ คืนในกระเป๋ ากระสุ นแล้วปิ ด
ฝากระเป๋ ากระสุ น พลยิงตรวจดูรังเพลิงว่าปลอดภัยปิ ดฝาปิ ดห้องลูกเลื่อน ดันแผ่นห้ามไกไปตั้งที่ FIRE แล้ว
เหนี่ยวไก แล้วเลื่อนแผ่นห้ามไกตั้งอยูท่ ี่ SAFE มือขวาปิ ดเหล็กพาดบ่าลง และมือซ้ายพับศูนย์หลังลง มือซ้าย
จับด้ามหิ้วปื น มือขวาจับที่พานท้ายปื นลุกขึ้นยืน ให้เท้าขวาเป็ นจุดหมุน หมุนตัวโดยที่ปืนไม่หมุนตามคล้าย
กับยกปื นด้วยสะโพกด้านซ้ายแล้วเคลื่อนที่ไปยังที่เดิม (รู ปที่ 26) เมื่อเคลื่อนที่มาถึงที่เดิมมองตรวจดูวา่ พล
กระสุ น และพลยิงผูช้ ่วยอยู่ ณ ที่เดิมแล้ว ทาท่านอนโดยให้ปืนอยูด่ า้ นขวา พับขาทรายให้แนบตามลากล้อง
ปื น แล้วรายงาน “พร้อม” ไปยัง ผบ.หมู่
รูปที่ 38 พลยิงอยู่ในท่ าตั้งยิง

รูปที่ 39 ตาแหน่ งที่อยู่พลกระสุ น


รูปที่ 40 ปื นพร้ อมที่จะยิง

รูปที่ 41 ท่ าที่ถูกในเมื่อเปลีย่ นลากล้องปื น


หลักการยิงในระหว่ างทัศนวิสัยดี
1. กล่าวนา
1.1 กล่าวทัว่ ไป
1. 1.1 พลประจาปื นแต่ละคนจะต้องได้รับการฝึ กในเรื่ องวิธีการปฏิบตั ิการยิงแบบมาตรฐานทั้งขณะที่
เป็ นชุดพลประจาปื น หรื อเป็ นบุคคล และจะต้องปฏิบตั ิตามหน้าที่ที่ได้รับมอบได้อย่างอัตโนมัติและอย่างมี
ประสิ ทธิผล
1.1.2 ความง่าย ความรวดเร็ ว และการยิงอย่างได้ผลมากที่สุดในเมื่อปื นตั้งยิงด้วยขาทราย ขาหยัง่ หรื อ
ติดตั้งบนยานพาหนะ จาต้องจัดแนวศูนย์ปืนตรงไปยังที่หมาย และปฏิบตั ิการยิงอย่างถูกต้องแน่นอนหลักการยิง
นี้ เรี ยกว่า การเล็งตรง
1.1.3 ในบางขณะหลักการยิงวิธีอื่นมีความเหมาะสมมากกว่า การเล็งตรงและได้ผลดีเมื่อวางการยิงใน
เวลาตะลุมบอน การยิงข้าม และการยิงจากที่ต้ งั ยิงกาบัง พลยิงจะต้องใช้หลักการยิงที่เหมาะสมถูกต้องตามที่
อธิบายไว้ในข้อ 91 ถึง 103
1.2 พื้นฐานเบื้องต้นและหลักการยิงก่อนที่จะใช้หลักการยิงอันได้แก่ ปื นกล เพื่อให้บงั เกิดผลคุม้ ค่าที่สุด
นั้น จาเป็ นต้องเข้าใจถึงพื้นฐานเบื้องต้นที่ถูกต้องและวิธีนาไปใช้เสี ยก่อน เรื่ องต่าง ๆ เหล่านี้ หมายรวมถึง
ลักษณะของการยิง ประเภทของการยิง การหาระยะยิง และการวัดระยะทางข้าง
2. พืน้ ฐานเบื้องต้ น
2.1 ลักษณะของการยิง
ก.กระสุ นวิถี คือ ทางเดินของกระสุ นที่แล่นออกไป ซึ่ งเกือบจะราบในระยะ 300 เมตรแรก หลังจาก
300 เมตรไปแล้ว กระสุ นวิถีจะเริ่ มโค้ง และความโค้งของกระสุ นวีถีจะมากขึ้นตามระยะที่ไกลขึ้น(รู ปที่42)

รูปที่ 42 กระสุ นวิถแี ละยอดกระสุ นวิถี


ข.ยอดกระสุ นวิถี คือ จุดที่สูงที่สุดของกระสุ นวิถี ตั้งอยูบ่ นเส้นสมมุติ ซึ่ งลากจากปากลากล้องปื นไป
ยังฐานของเป้ าหมาย ซึ่ งจะเกิดขึ้น ณ จุดประมาณ 2 ใน 3 ของระยะที่ต้ งั ปื นกับเป้ าหมาย ยอดกระสุ นวิถีจะ
สู งมากขึ้น ตามระยะที่เพิ่มขึ้น (รู ปที่ 42)
2.1 2 กรวยการยิง เมือทาการยิงกระสุ นหลายๆ นัดออกไปจากปื นกล ลูกกระสุ นจะแล่นออกไป
เป็ นกระสุ นวิถีแตกต่างกันเล็กน้อย ทั้งนี้มีสาเหตุมาจากอาการสั่นสะเทือนของปื นและการเปลี่ยนแปลงของ
กระสุ นและสภาพของอากาศ กระสุ นวิถีของแต่ละนัดที่ยงิ ออกไปจึงเกิดเป็ นรู ปร่ างขึ้นมา เรี ยกว่า กรวยการ
ยิง (รู ปที่ 43)

รูปที่ 43 กรวยการยิงและรูปอาการกระจาย
2.13 รู ปอาการกระจาย และกึ่งกลางกลุ่มกระสุ นตก พื้นที่ซ่ ึ งกรวยการยิงไปตกยังพื้นดินหรื อบนที่
หมาย เรี ยกว่า รู ปอาการกระจาย (รู ปที่ 43 และ 44)
2.1.3.1 ขนาดและรู ปร่ างของอาการกระจายจะเปลี่ยนไป เมื่อระยะยิงถึงเป้าหมายเปลี่ยนไป และ
เมื่อยิงไปยังภูมิประเทศที่มีลกั ษณะแตกต่างกันบนพื้นที่ลาดเสมอ
หรื อพื้นระดับรู ปอาการกระจายจะมีรูปร่ างเป็ นยาวรี (ยาวและแคบ) (รู ปที่ 44) เมื่อระยะ
หมายเพิ่มมากขึ้นเกินกว่า 500 เมตร รู ปอาการกระจายจะสั้นและกว้างกว่าเมื่อทาการยิงลงบนพื้นที่ลาดต่า
รู ปอาการกระจายจะยาว เมื่อทาการยิงลงบนพื้นที่ลาดขึ้นรู ปอาการกระจายจะสั้น เรื่ องความกว้างของรู ป
อาการกระจายนั้น ลักษณะของภูมิประเทศไม่ค่อยจะมีผลกระทบกระเทือนมากนัก
2.13 2 กึ่งกลางรู ปอาการกระจายจะเรี ยกว่า กึ่งกลางกลุ่มกระสุ นตก กึ่งกลางกลุ่มกระสุ นตกอยู่
ณ ตาบลเล็งในเมื่อปื นได้ทาการปรับศูนย์ได้อย่างถูกต้องแล้ว
2.1.3.3 เมื่อทาการยิงเป้ าหมายในระยะที่มากกว่า 700 เมตร กระสุ นวิถีจะไม่สูงเกินความเฉลี่ย
ของคนยืน (รู ปที่45)
รูปที่ 44 ขนาดและรูปร่ างของรูปอาการกระจาย

2.1.3.3 เมื่อทาการยิงเป้ าหมายในระยะที่มากกว่า 700 เมตร กระสุ นวิถีจะไม่สูงเกินความเฉลี่ย


ของคนยืน เพราะฉะนั้นย่านอันตรายจะไม่มีตลอดระยะระหว่างที่ต้ งั ปื นและเป้าหมาย (รู ปที่ 45)

รูปที่ 45 ย่ านอันตราย
2.2 ประเภทการยิง
การยิงของปื นกลเบา แบ่งประเภทการยิงเกี่ยวกับ พื้นที่ เป้ าหมายและเกี่ยวกับปื น
ก.การยิงเกี่ยวกับพื้นที่ (รู ปที่46) ได้แก่
1.การยิงกวาด คือ เมื่อกึ่งกลางกรวยการยิงไม่สูงเกิน 1 เมตรในเมื่อทาการยิงบนพื้นที่ระดับ
และพื้นที่ลาดเสมอ ระยะ 600 เมตร เป็ นระยะไกลสุ ดที่จะทาการยิงกวาด
2 การยิงมุมกระสุ นตกใหญ่ เกิดขึ้นเมื่อพื้นที่อนั ตรายมีขอบเขตจากัดเฉพาะรู ปอาการกระจาย
การยิงมุมกระสุ นตกใหญ่จะเกิดขึ้นเมื่อทาการยิงระยะไกลๆ เมื่อยิงจากพื้นที่สูงไปยังพื้นที่ต่า และเมื่อยิงไป
ยังพื้นที่สูงลาดชัน

รูปที่ 46 การยิงมุมกระสุ นตกใหญ่ และการยิงกวาด


22.2 การยิงเกี่ยวกับเป้ าหมาย (รู ปที่ 47) ได้แก่
2.2.2.1 การยิงตรงหน้า คือ เมื่อแกนทางยาวของรู ปอาการกระจายตั้งฉากกับด้านหน้าของ
เป้าหมาย
2.2.2.2 การยิงทางปี ก คือ การยิงที่กระทาทางปี กของเป้าหมาย
2.2.2.3 การยิงเฉี ยง คือ เมื่อแกนทางยาวของรู ปอาการกระจายทามุมที่ไม่ได้ต้ งั จากกับเป้ าหมาย
2.2.2.4 การยิงตามแนว คือ เมื่อแกนทางยาวของรู ปอาการกระจายทับหรื อเกือบทับแกนทางยาว
ของเป้ าหมาย การยิงประเภทนี้อาจจะกระทาตรงหน้าหรื อทางปี กก็ได้ และประเภทของยิงนี้ยอ่ มได้ผลมาก
ที่สุด เพราะได้ใช้ประโยชน์ของรู ปอาการกระจายได้มากที่สุด
2.2.3การยิงเกี่ยวกับปื นมี 6 ประเภท คือ การยิงเฉพาะตาบล ยิงกราดทางข้าง ยิงกราดทางลึก, ยิง
กราดผสม. ยิงกราดตลอด, ยิงกราดคลายปื น (รู ปที่ 48) การยิงกราดตลอดและการยิงกราดคลายปื นนั้น ปื นที่
ใช้ขาทรายไม่สามารถทาการยิงได้ เมื่อติดปื นบนยานพาหนะ การยิงกราดตลอดจะทาไม่ได้ ส่ วนการยิง
ประเภทอื่นๆ นอกนั้นสามารถทาการยิงได้ ไม่วา่ จะติดตั้งขาทราย ขาหยัง่ หรื อติดตั้งบนยานพาหนะ
2.2.3.1 การยิงเกี่ยวกับปื น ได้แก่
2.2.3.1.1 การยิงเฉพาะตาบล คือ การยิงที่กระทาต่อเป้ าหมายซึ่ งเป็ นตาบลเล็งอันโดดเดี่ยว
อันหนึ่ง
2.2.3.1.2 การยิงกราดทางข้าง คือ การยิงกระจายออกทางกว้างโดยการเปลี่ยนมุมทิศ เมื่อปื นตั้ง
บนขาหยัง่ จะเปลี่ยนด้านควงมุมส่ ายครั้งละ 4 - 6 มิลเลียม เพือ่ ให้แน่ใจว่าเป้ าหมายถูกยิงครอบคลุมอย่าง
เพียงพอ ต้องยิงออกไปหนึ่งชุดหลังจากแก้ทิศทางแล้วทุกครั้ง
รเปลี่ยนมุมสู ง เมื่อปื นตั้งบนขาหยัง่ ทาการยิงบนพื้นระดับหรื อพื้นที่ลาดเสมอ ก
2.2.3.1.3 การยิงกราดทางลึก คือ การยิงกระจายออกไปในทางลึกโดยการเปลี่ยนมุมสู ง เมื่อปื น
ตั้งบนขาหยัง่ ทาการยิงบนพื้นที่ลาดเสมอ การเปลี่ยนมุมสู งของปื นจะเปลี่ยนครั้งละ 2 มิลเลียม เมื่อทาการยิง
ต่อพื้นที่ลาดขัน จะต้องแก้มุมสู งมากกว่า เมื่อทาการยิงไปยังพื้นที่ต่า จะต้องแก้มุมสู งน้อยกว่า 2 มิลเลียม
พลยิงต้องเรี ยนรู ้ถึงจานวนที่ตอ้ งแก้ศูนย์ และปฏิบตั ิได้อย่างชานาญเพื่อให้แน่ใจว่าที่หมายถูกยิงครอบคลุม
อย่างเพียงพอ ทุกๆ ครั้ง หลังจากเปลี่ยนมุมสู งแล้ว ต้องยิง่ กระสุ นออกไปหนึ่งชุด
2.2.3.1.4 การยิงกราดผสม คือ การกระจายการยิงออกทางกว้างและทางลึกโดยการเปลี่ยนมุมทิศ
และมุมสู ง เมื่อปื นติดตั้งบนขาหยัง่ ต้องเปลี่ยนมุมทิศที่ควงมุมส่ ายครั้งละ 4 - 6 มิลเลียม ส่ วนจานวนการแก้
ทางมุมสู งย่อมขึ้นอยูก่ บั ความลาดของภูมิประเทศ และมุมของที่หมายเพื่อให้แน่ใจว่าที่หมายถูกยิง
ครอบคลุมอย่างเพียงพอ ต้องทาการลัน่ กระสุ นออกไปหนึ่งชุดทุกๆ ครั้งที่แก้เปลี่ยนมุมทิศ และมุมสู งทั้ง
สองอย่างแล้ว
2.2.3.1.5 การยิงกราดตลอด คือ การยิงที่กระทาต่อที่หมายที่กว้างมากโดยต้องใช้ควงมุมสาย
และที่หมายกาลังเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ วผ่านข้างหน้าพลยิง ซึ่ งพลยิงไม่สามารถที่จะยิงอย่างได้ผลในเมื่อใช้
ควงมุมส่ าย การยิงประเภทนี้ พลยิงต้องปลดคันยึดเลื่อนราวส่ ายปื นให้หลวม พอที่ควงมุมสายและควงมุมสู ง
เลื่อนไปมาได้โดยอิสระบนราวส่ ายปื น การแก้ทางทิศของปื น กระทาโดยใช้แรงดันที่ทา้ ยของปื น การแก้
เล็กน้อยของมุมสู งให้ใช้มือหมุนควงมุมสู ง
2.2.3.1.6 การยิงกราดคลายปื น คือ การยิงขณะที่ปืนติดตั้งบนขาหยัง่ กระทาต่อเป้ าหมายที่
ต้องการความรวดเร็ ว การแก้ทางทิศและทางระยะ ส่ วนใหญ่ไม่สามารถใช้เรื อนควงมุมส่ ายและควงมุมสู ง
ได้ และเมื่อจะกระทาการยิงจากปื นที่ติดตั้งบนยานพาหนะต่อเป้ าหมาย จะไม่สามารถยิงครอบคลุมได้ดว้ ย
วิธีการเลือกตาบลเล็งตามลาดับได้ ในการยิงวิธีน้ ีจากปื นที่ติดตั้งบนขาหยัง่ พลยิงต้องปลดคันเลื่อนราวสาย
ปื นปล่อยให้ปืนเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทุกทิศทุกทาง การยิงวิธีน้ ีจากปื นที่ติดตั้งบนยานพาหนะ พลยิงต้อง
ปล่อยให้ปืนเป็ นอิสระจากหัวขาหยัง่ ใช้แรงกดที่ตา้ นท้ายของปื นเป็ นการเปลี่ยนทางทิศ หรื อทางระยะของปื น
รูปที่ 47 ประเภทการยิงเกีย่ วกับเป้าหมาย

2.2 3.1.7 เมื่อปื นติดตั้งขาทรายหรื อติดตั้งบนยานพาหนะ การยิงเฉพาะตาบลคือ การยิงตัวยกลุ่ม


กระสุ นกลุ่มหนึ่งไปยัง ณ ตาบลเล็งอันโดดเดี่ยวอันหนึ่ง การยิงกราดทางข้าง การยิงกราดทางลึก หรื อการยิง
กราดผสมด้วยปื นติดขาทรายหรื อติดตั้งบนยานพาหนะพลยิงต้องเลือกตาบลเล็งบนเป้ าหมายเป็ นขั้นๆ แล้ว
ทาการลัน่ กระสุ นออกไปตามที่เล็งเอาไว้เพื่อให้แน่ใจว่าการยิงได้ครอบคลุมเป้ าหมายเป็ นอย่างดี พลยิงต้อง
ตรวจดูวา่ ความกว้างและความยาวของรู ปอาการกระจายของกลุ่มการยิงกลุ่มแรกๆ และเลือกตาบลเล็งแต่ละ
พอเหมาะ โดยพิจารณาจากกลุ่มการยิงครั้งก่อน เพื่อให้อาการกระจายทาบทับกัน

รูปที่ 48 ประเภทการยิงเกีย่ วกับปื น


2.3 การหาระยะยิงและการวัดระยะทางข้าง
2.3.1 การหาระยะยิง เป็ นการปฏิบตั ิเพื่อหาระยะระหว่างที่ต้ งั ปื นกับเป้ าหมายความสามารถของพลยิง
ในการยิงถูกที่หมาย ย่อมขึ้นอยูก่ บั ความสามารถในการหาระยะยิงไปยังที่หมายอย่างแม่นยา การหาระยะยิง
มีหลายวิธีดว้ ยกัน เช่น การกะระยะด้วยตา จากการยิงด้วยปื น จากการวัดระยะในแผนที่หรื อภาพถ่ายทาง
อากาศ การหาระยะด้วยวิธีเดินนับก้าวและการหาโดยใช้หลักฐานจากหน่วยอื่นๆ การหาระยะยิงของปื นกล
ควรให้ใกล้เคียง 100 เมตรมากที่สุด วิธีการที่ใช้อย่างธรรมดาที่สุดในขณะทาการรบ คือ
2.3. 1.1 การกะระยะด้วยตา วิธีการนี้มกั จะใช้อยูบ่ ่อยที่สุดในสนาม วิธีการกะระยะด้วยตากระทาได้ 2
วิธี คือ วิธีการกะระยะหน่วยหลัก 100 เมตร และวิธีจดจาลักษณะปรากฏของที่หมาย
2.3. 1. 1.1 วิธีการกะระยะหน่วยหลัก 100 เมตร การใช้วธิ ี น้ ีพลยิงต้องมีความสามารถในการจดจา
ระยะ 100 เมตร ในสนามทหารต้องจดจาระยะหลักเมตรนี้ ไว้และกะว่าระหว่างที่ต้ งั ปื นถึงที่หมายนี้แบ่งเป็ น
ระยะหลัก 100 เมตรได้เท่าใด การฝึ กการกะระยะของทหารทดสอบทหารด้วยวิธีหาระยะด้วยการนับก้าว
ก้าวเฉลี่ยของทหารประมาณ130 ก้าว ต่อ 100 เมตร) การฝึ กให้ทหารจดจาระยะหน่วยหลัก 100 เมตร บ่อยๆ
ครั้งเป็ นเรื่ องสาคัญ วิธีการนี้ ใช้เพื่อหาระยะยิงถึง 500 เมตร (รู ปที่ 49)
2.3. 1. 1.1. 1 สาหรับระยะตั้งแต่ 500 ถึง 1,000 เมตร ให้ทหารเลือกจุดกึ่งกลางระหว่างทางของ
ที่หมายแล้วกะระยะไปยังจุดกึ่งกลางด้วยวิธีใช้หน่วยวัดเป็ นหลัก 100 เมตร เมื่อกะระยะได้เท่าใดแล้วให้เอา
2 คุณ (รู ปที่ 49) การหาระยะยิงวิธีน้ ีจะไม่มีความแน่นอนแม่นยาในระยะที่เกิน 1,000 เมตร

รูปที่ 49 การใช้ วธิ ีวดั ระยะเป็ นหน่ วยหลัก 100 เมตร


ในการหาระยะยิงถึง 500 เมตร
2.3.1. 1.1.2 ภูมิประเทศบางแห่งจะมีผลกระทบกระต่อการวัดด้วยการใช้ระยะหลัก 100 เมตร
เช่น ภูมิประเทศซึ่ งลาดขึ้นตรงไปยังที่หมายระยะ 100 เมตร จะเห็นว่ายาวกว่าบนพื้นระดับ บนพื้นที่ซ่ ึ งลาด
ลงตรงไปยังที่หมายระยะ 100 เมตร จะใกล้กว่าบนพื้นระดับ
2.3.1.1.2 วิธีจดจาลักษณะปรากฏของที่หมายบ่อยๆ ครั้ง ทหารไม่สามารถตรวจการณ์เห็นที่
หมายในทุกๆ ภูมิประเทศได้ ในกรณี เช่นนี้ไม่สามารถใช้หน่วยหลักระยะ 100 เมตร ทาการวัดได้ จาต้องหา
ระยะยิงด้วยวิธีจดจาลักษณะปรากฏของที่หมาย การใช้วิธีการอันนี้ทหารต้องฝึ กทาความคุน้ เคยกับการเห็น
ของที่หมายในระยะต่างๆกัน เช่น ตัวอย่างทหารต้องศึกษารู ปร่ างของคนที่ปรากฏว่าเมื่อคนยืนในระยะ
100 เมตร เห็นอย่างโรภาพที่ปรากฏให้เห็นทหารจะต้องจดจาไว้ในใจ โดยจาขนาดและรายละเอียดของ
เครื่ องแต่งกายและยุทโธปกรณ์ ต่อไปทหารต้องศึกษาจดจาซึ่ งอยูใ่ นท่านัง่ คุกเข่า แล้วก็ต่อคนอยูใ่ นท่านอน
การปฏิบตั ิเช่นนี้คงกระทาเหมือนๆ กันหลายๆ ระยะจนถึง 500 เมตร การฝึ กให้เปรี ยบเทียบลักกษณะปรากฏ
ของคนในท่าทางต่างๆ กันในสนามที่ทราบระยะ จะช่วยให้ทหารได้นึกภาพแล้วนามาหาระยะยิงในภูมิ
ประเทศที่ไม่มีความคุน้ เคยได้จนถึงระยะ 500 เมตร
2.3.1.1.2.1 การฝึ กควรจะดาเนินการให้ทหารมีความคุน้ เคยกับการปรากฏของลักษณะที่หมาย
ทหารจาเป็ นจะต้องทาความเข้าใจอื่น ๆ เช่น อาวุธและยานพาหนะ เป็ นต้น
2.3.1.1.2.2 ปั จจัยที่กระทบกระเทือนต่อการปรากฏของลักษณะเป้าหมาย และทาความเข้าใจให้
กระจ่าง จะเป็ นการช่วยให้กะระยะมีความแน่นอน
2.3.1.2 การยิงจากปื น การหาระยะยิงโดยการยิงปื นจากขาหยัง่ ขาทรายบนยานพาหนะจาเป็ นต้องมี
การปรับศูนย์ปืนมาก่อนแล้ว (ข้อ 163) จะเริ่ มทาการยิงไปยังที่หมายโดยปื นตั้งศูนย์ตามที่กะระยะไว้แล้ว ถ้า
กึ่งกลางกลุ่มการยิงอยู่ ณ ที่ฐานของเป้ าหมายย่อมแสดงว่าระยะยิงที่ต้ งั ที่ศูนย์หลังเป็ นระยะยิงของที่หมาย
อย่างแท้จริ ง
2.3.1.2.1 เมื่อปื นติดตั้งบนขาหยัง่ ถ้ากึ่งกลางกลุ่มการยิงไม่วางลงบนฐานของเป้าหมาย ต้องใช้
เรื อนควงมุมสายและควงมุมสู ง ปรับจนกระทัง่ กลุ่มการยิงไปอยูท่ ี่ฐานของเป้าหมายแล้วหยุดยิง ตั้งศูนย์
หลังปื นใหม่ ดังนั้น เส้นเล็งของปื นจะอยูท่ ี่เป้ าหมายศูนย์หลังของปื นจะตั้งอยูท่ ี่ระยะยิงอย่างแท้จริ ง
2.3.1.2.2 เมื่อปื นติดตั้งขาทรายหรื อบนยานพาหนะ ถ้ากึ่งกลางกลุ่มการยิงตกต่าหน้าเป้าหมาย
ให้ยกโครงเลื่อนศูนย์หลังขึ้นหลังจากยิงแต่ละกลุ่ม หรื อถ้ายิงหลังที่หมายให้ลดโครงเลื่อนศูนย์หลังลง
หลังจากยิงแต่ละกลุ่มแล้ว จนกว่าเส้นเล็งจะทับรอยกระสุ นถูกบนเป้ าหมาย เสร็ จแล้วตั้งศูนย์หลังใหม่ที่
ระยะยิงต่อเป้ าหมายอย่างแท้จริ ง
2 3 1 2 3 ในเมื่อพื้นที่ในบริ เวณเป้ าหมายไม่สามารถตรวจการเห็นรู ปอาการกระจาย พลยิงต้อง
เลือกจุดสารองจุดหนึ่งซึ่งจะสามารถแลเห็นรอยกระสุ นถูกได้ จุดที่เลือกขึ้นใหม่จะต้องมีระยะเดียวกับระยะ
ของเป้ าหมาย แล้วพลยิงทาการยิงไปยังสารองนั้นบนพื้นดิน เพื่อหาระยะยิงที่แท้จริ งต่อไป การหาระยะยิงวิธี
นี้ยอ่ มได้ผลในการจูโจมต่อเป้ าหมายอีกด้วย
รูปที่ 50 วิธีการวัดด้ วยมือ
232 การวัดระยะทางข้าง เพื่อให้การหาระยะยิงได้แน่นอน พลยิงต้องสามารถใช้วธิ ีหาระยะที่รวดเร็ ว
ด้วยการวัดระยะทางขวา หรื อทางซ้ายของตาบลหลักไปยังที่หมาย
2.3.2.1 เมื่อปื นติดตั้งด้วยขาหยัง่ การวัดความกว้างกระทาได้โดยการเล็งไปยังจุดหนึ่ง แล้วใช้หมุน
ควงมุมส่ าย แล้วนับคลิกจากตาบลนั้นไปยังอีกตาบลหนึ่ง แต่ละคลิกจะเท่ากับ 1 เมตร ในระยะ 1,000 เมตร
หรื อเท่ากับ 1/2 เมตร ในระยะ 500 เมตร วิธีน้ ี จะมีความแน่นอนมากกว่าแต่สิ้นเปลืองเวลา
3.2,2 วิธีวดั โดยใช้นิ้วมือวัดไม่ใช่เป็ นวิหาระยะยิง แต่เป็ นการวัดระยะทางข้าง ด้วยนิ้วมือ ระหว่าง
จุด 2 จุด การวัดระยะด้วยนิ้วมือระหว่างตาบลหลักและที่หมายกระทาโดยเหยียดมือออกให้อุง้ มืออกนอกตัว
ให้นิ้วมือชิดติดกัน และข้อศอกเหยียดตรง หลับตาข้างหนึ่ งแล้วเล็งไปตามขอบ โดยวางขอบนิ้วตรงปี กของที่
หมายหรื อตาบลหลักจดจาช่องว่างที่ยงั เหลืออยูร่ ะหว่างจุด 2 จุด แล้วยกนิ้วมือวัดต่อไปใหม่จนกระทัง่ เต็ม
ครอบพื้นที่วา่ งอันนั้น(รู ปที่50)การวัดจากตาบลหลักไปยังที่หมายจะได้ 1 หรื อหลายนิ้วมือนั้นย่อมขึ้นอยูก่ บั
การยกนิ้วมือขึ้นมากี่นิ้วจึงจะคลุมระยะที่ตอ้ งการวัด ขอเน้นว่านิ้วมือไม่ได้เป็ นเครื่ องวัดที่เทียบในการวัดอื่นใด
การควบคุมการยิง
1. กล่าวทัว่ ไป
1.1 การควบคุมการยิง หมายถึง การกระทาทั้งมวลของผูบ้ งั คับหมู่และพลประจาปื นซึ่งเป็ นการเชื่ อมต่อ
ในการเตรี ยมการและการปฏิบตั ิการยิงอย่างได้ผลไปยังเป้ าหมายเป็ นการเลือก และกาหนดเคลื่อนย้ายการยิง
จากเป้าหมายหนึ่งไปยังอีกเป้ าหมายหนึ่ง และเมื่อจะให้ปืนหยุดยิง
และวินยั ในการยิง และการฝึ กพลประจาปื น ความล้มเหลวในการควบคุมการยิงเ
1.2 ความสามารถในการควบคุมการยิงนั้น ขึ้นอยูก่ บั ความสามารถชั้นตันของ ผบ.หมู่ และวินยั ในการยิง
และการฝึ กพลประจาปื น ความล้มเหลวในการควบคุมการยิงเป็ นผลให้การใช้ปืนกลไม่ได้ผลเต็มที่ และจะ
กระทบกระเทือนทาให้หน่วยเดียวกันได้รับอันตราย ขาดการจู่โจม, เปิ ดเผยที่ต้ งั ยิง, ทาการยิงที่หมายที่ไม่
คุม้ ค่า เสี ยเวลาในการปรับการยิง และสิ้ นเปลืองกระสุ นโดยใช่เหตุ
2. วิธีการควบคุมการยิง
การควบคุมการยิงมีวธิ ีการควบคุมหลายวิธี เสี ยงและความสับสนของสนามรบ จะเป็ นเครื่ องจากัดการใช้
วิธีการควบคุมบางประการเหล่านี้เสี ย เพราะฉะนั้น ผบ.หมู่ จะต้องเลือกวิธีที่ดีที่สุด หรื อใช้วธิ ีการผสม
เพื่อให้สาเร็ จตามความมุ่งหมายอย่างดีที่สุด
2. 1 ด้วยวาจา วิธีน้ ี เป็ นวิธีที่ได้ผลในการควบคุมวิธีหนึ่ง แต่ในเมื่อเวลาที่ ผบ.หมู่ อยูไ่ กลเกินไปจาก
พลประจาปื น หรื อในเมื่อเสี ยงต่าง ๆ ในสนามรบกวน จนกระทัง่ พลประจาปื นไม่สามารถได้ยนิ ได้
2.2 แขนและมือสัญญาณ วิธีน้ ีเป็ นวิธีที่ได้ผลวิธีหนึ่งในเมื่อพลประจาปื นสามรถแลเห็น ผบ.หมู่ ได้
พลประจาปื นทุกคนต้องเข้าใจสัญญาณแขนและมือแบบมาตรฐานที่แสดงไว้ในข้อ 80
2.3 สัญญาณที่เตรี ยมไว้ล่วงหน้า สัญญาณเหล่านี้ อาจจะเป็ นทัศนะสัญญาณ หรื อเสี ยงสัญญาณก็ได้
เช่น พลุสัญญาณ หรื อการเป่ านกหวีดสัญญาณต่างๆ เหล่านี้ ควรจะมีบ่งอยูใ่ น รจป. และพลประจาปี นต้องมี
ความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง
2.4 การติดต่อด้วยบุคคล ในสถานการณ์บ่อยๆครั้ง ผบ.หมู่ จาต้องเคลื่อนไปยังพลประจาปื น แต่ละคน
ต้องออกคาสั่งให้ การควบคุมด้วยวิธีน้ ี ผบ. หน่วยขนาดเล็กๆ มักจะใช้บ่อยๆ ผบ. หมู่ ต้องใช้ความกาบัง
และการซ่อนพรางให้มากที่สุด เพื่อไม่ให้เปิ ดเผยที่ต้ งั ของพลประจาปื น
2.5 ระเบียบปฏิบตั ิประจา ระเบียบปฏิบตั ิประจา คือ การปฏิบตั ิของพลประจาปื นเป็ นไปอย่าง
อัตโนมัติ โดยไม่ตอ้ งสัง่ รจป. ตามที่ได้กล่าวไว้ในข้อ 74.5 เป็ นการปฏิบตั ิในการฝึ กพลประจาปื น และเป็ น
การขจัดคาสั่งที่ยดื เยื้อมากกว่า และทาให้ง่ายต่อหน้าที่ของผบ.หมู่ ในการควบคุมการยิงอีกด้วย
3. คาสั่ งยิง
3.1 เมื่อ ผบ หมู่ ตกลงใจที่จะยิงต่อเป้ าหมาย ซึ่งพลยิงเห็นได้ไม่ขดั ต้องให้รายละเอียดที่พลประจาปื น
ต้องการ เพื่อจะวางการยิงอย่างได้ผลไปยังที่หมาย ผบ.หมู่ ต้องให้ทหารมีความสนใจบอกว่าที่หมายเป็ น
อะไร ตั้งอยูท่ ี่ ใช้จงั หวะการยิงอย่างไร แล้วบอกคาสั่งเริ่ มยิง
3. 2 คาสั่งยิงที่ให้ตอ้ งตามลาดับ โดยรวดเร็ วปราศจากข้อสงสัย คาสั่งยิงอาจจะให้เป็ น สั่งยิง่ เริ่ มแรก หรื อ
เป็ นคาสั่งยิงต่อมา คาสั่งยิงเริ่ มแรกเป็ นการให้คาสั่งยิงต่อเป้ าหมายหนึ่งส่ วน คาสั่งยิงต่อมาเป็ นการปรับการยิง
การเปลี่ยนจังหวะการยิง การให้การยิงเป้าหยุดลง เลื่อนการยิงย้ายไปยังเป้ าหมายใหม่ หรื อเป็ นการสิ้ นสุ ด
การเตรี ยมยิง
3.3 เสี ยงต่างๆ ความสับสนในสนามรบและการแยกตัวปื นห่างกัน จะทาให้การอย่างสมบูรณ์ โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ คาสั่งด้วยวาจากระทาได้ยากและปฏิบตั ิไม่ถูกต้องคาสั่งยิงสั้นๆ อย่างไม่มีพิธีรีตอง (ทั้งคาสั่งยิง
เริ่ มแรก คาสั่งยิงต่อมา) ย่อมเหมาะสมกว่าอย่างไรก็ดี ก่อนที่พลประจาปื นจะสามารถกระทาตามได้ถูกต้อง
เมื่อได้รับคาสั่งยิงแบบไม่เป็ นทางการ หรื อคาสั่งยิงสั้นๆ นั้น พลประจาปื นจะต้องเข้าใจคาสั่งยิงแบบ
มาตรฐานสมบูรณ์เสี ยก่อน
4.หัวข้ อคาสั่ งยิง
4.1คาสัง่ ยิงสาหรับอาวุธยิงด้วยวิธีเล็งทุกอาวุธ ย่อมมีแบบของคาสัง่ ตามหัวข้อต่างๆ คล้ายคลึงกัน คาสัง่
ยิงของปื นกลมีหวั ข้อคาสั่งอยู่ 6 หัวข้อด้วยกัน ไม่วา่ จะให้คาสั่งหรื อความหมายในคาสั่งโดยการใช้วธิ ี การ
ควบคุมหนึ่งหรื อมากกว่าหนึ่ งทาง ในระหว่างการฝึ กพลประจาปื นจะต้องทวนคาสั่งทุกๆ ข้อของคาสั่งยิงที่
ได้สั่งออกมา การปฏิบตั ิเช่นนี้เพื่อหลีกเลี่ยงมิให้เกิดการสับสน และเพื่อฝึ กพลประจาปื นให้เกิดความคิดและ
ควรกระทาตามลาดับอย่างถูกต้อง หัวข้อคาสั่งยิงทั้ง 6 หัวข้อ ที่สั่งต่อปื นกลดังนี้ คาสั่งเตือน, ทิศทาง,
ลักษณะที่หมาย, ระยะยิง, วิธีการยิง และคาสัง่ เริ่ มยิง

รูปที่ 51 ทิศทางทั่วไป
4.2 คาสั่งเตือน หัวข้อคาสั่งยิงข้อนี้ เพื่อเตือนพลประจาปื นทุกคนให้พร้อมที่จะรับคาสั่งต่อไป ผบ หมู่
อาจจะให้คาสั่งเตือนแก่พลประจาปื นทั้ง 2 กระบอก หรื อเพียงกระบอกเดียวก็ได้ ย่อมขึ้นอยูก่ บั สถานการณ์
เมื่อได้รับคาสั่งเตือนพลยิงผูช้ ่วยต้องตรวจดู ผบ.หมู่ เสมอ เพื่อสื่ อคาสั่งของ ผบ.หมู่ ต่อไปยังพลยิง คาสั่ง
เตือนตัวยวาจาประกอบด้วย "ภารกิจยิง"ซึ่งเป็ นการประกาศเตือนพลยิงว่าได้ตรวจพบที่หมายแล้วและจะทา
การยิง ถ้าให้ปืนทั้งทาการยิง ผบ.หน่วย จะสั่งว่า "ภารกิจการยิง" ถ้าต้องการให้ปืนกระบอกหนึ่งทาการยิง
เขาจะออกคาสัง่ ว่า "ปื นหมายเลขหนึ่ง (สอง) ภารกิจยิง" ถ้าต้องการให้ปืนทั้งสองเตรี ยมตัว แต่ทาการยิง
เพียงกระบอกเดียว จะต้องสั่งว่า "ภารกิจยิงปื นหมายเลขหนึ่ง (สอง)"
4.3 ทิศทาง หัวข้อคาสั่งยิงข้อนี้บ่งถึงทิศทางทัว่ ๆ ไปของเป้ าหมาย และอาจจะบอกด้วยวิธีเดียว หรื อบอก
ผสมวิธีก็ได้ ดังนี้ -
1. บอกด้วยวาจา ผบ.หมู่ บอกทิศทางของเป้ าหมาย โดยถือความสัมพันธ์กบั ที่ต้ งั ยิงของปื นตามที่ได้
แสดงไว้( รู ปที่51)
2. บอกด้วยการชี้ ผบ.หมู่ สามารถบอกทิศทางของเป้ าหมายที่เล็กหรื อปกปิ ดกาบังด้วยการชี้ ด้วยแขน
หรื อใช้ปืนกลเล็งตรงไปยังเป้ าหมายนั้น เมื่อทาการชี้ดว้ ยแขน ให้ทหารยืนข้างหลังแล้วมองข้างหลังแล้ว
มองข้ามผ่านไหลเล็งตามแนวแขนออกไปยังปลายนิ้วชี้จนถึงเป้ าหมาย เมื่อใช้เล็งด้วยปื นไปยังเป้ าหมาย ให้
ทหารมองผ่านศูนย์ปืนออกไปเพื่อให้เห็นเป้าหมาย
3. ด้วยการใช้กระสุ นส่ องวิถี วิธีช้ ีดว้ ยกระสุ นส่ องวิถีเป็ นวิธีที่รวดเร็ วและแน่นอนวิธีหนึ่ง เพื่อกาหนด
ทิศทางเป้ าหมายซึ่ งเห็นไม่ค่อยชัด เมื่อใช้วธิ ี น้ ี ผบ. หมู่ ควรจะบอกทิศทางชั้นตันให้พลประจาปี นเพ่งดูไปยัง
พื้นที่ที่ตอ้ งการก่อน เพื่อให้ลดการเสี ยการจู่โจมให้นอ้ ยที่สุด การยิงกระสุ นส่ งวิถี ผบ. หมู่ ไม่ควรจะยิง
จนกว่าจะได้ให้คาสั่งอื่นทุกอื่นหัวข้อแล้ว ยกเว้นแต่คาสั่งเริ่ มยิง เมื่อใช้วธิ ี น้ ีบอกเป้ าหมาย ผบ. หมู่ อาจจะ
ใช้อาวุธประจากายของตนหรื อจะยิงกระสุ นนัดหนึ่ง หรื อหลายนัดจากปื นกลเบาก็ได้ เมื่อยิงกระสุ นส่ องวิถี
ไปแล้วให้คาสั่งข้อสุ ดท้ายคือคาสั่งเริ่ มยิง และเป็ นสัญญาณเริ่ มยิง เช่นตัวอย่าง
"ภารกิจยิง"
"ข้างหน้า"
"หลุมที่ต้ งั ปี น"
"คอยดูกระสุ นส่ องวิถีขา้ พเจ้า"
(แล้วยิงออกไป)
ผบ.หมู่ ยิงอาวุธประจากาย หรื อปื นกลออกไปยังหลุมที่ต้ งั ปื นข้าศึก และแล้วพลยิงประจาปื นในหมู่ก็เริ่ ม
ยิงออกไป
4. บอกด้วยตาบลหลัก การบอกทิศทางของเป้าหมายอีกวิธีหนึ่งสาหรับกาหนดเป้ าหมายที่ปกปิ ดกาบัง
โดยการใช้ตาบลหลักซึ่ งเห็นได้ง่าย ลักษณะภูมิประเทศที่สะดุดตาและสิ่ งที่คนก่อสร้างขึ้นย่อมเป็ นตาบล
หลักอย่างดี ผบ.หมู่ และพลประจาปื นทั้งหมดต้องทาความคุน้ เคยกับลักษณะภูมิประเทศและการใช้ถอ้ ยคา
ให้ถูกต้อง (รส. 21-26 )ในเมื่อทาการใช้ตาบลหลัก คาว่า "ตาบลหลัก" จะต้องบอกในคาสั่ง แล้วจึงจะบอก
ลักษณะและต้องสัง่ คาว่า"ป้ าหมาย" แล้วจึงบอกลักษณะเป้ าหมายการที่ตอ้ งทาเช่นนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงการ
สับสน ควรจะบอกทิศทางทัว่ ไปของตาบลหลัก ตัวอย่างบางคาสั่งยิงในการอ้างตาบลหลักมีดงั นี้
ภารกิจหนึ่ง ปี นหมายเลขหนึ่ง
ข้างหน้า
ตาบลหลัก ต้นสนเดี่ยว
เป้าหมาย รถยนต์บรรทุก
ในบางครั้งเป้ าหมายต้องระบุถึงตาบลหลักซ้อน เช่นตัวอย่าง
ปี นหมายเลขหนึ่ง ภารกิจยิง
ข้างหน้า ทางขวา
ตาบลหลัก บ้านหลังคาแดง ทางซ้ายของกองฟางที่อยูท่ างซ้ายของโรงนา
เป้าหมาย ปื นกล
การใช้นิ้วมือวัด ย่อมนามาใช้เพื่อให้พลประจาปื นได้พิจารณาวัดด้วยขวาหรื อซ้ายของตาบลหลัก เช่น
ตัวอย่าง
ภารกิจยิง
ข้างหน้า ทางซ้าย
ตาบลหลัก สี่ แยกถนนไปทางขวา 4 นิ้วมือ
เป้าหมาย ทหารเป็ นแนว
เมื่อติดตั้งปื นอยูบ่ นขาหยัง่ ระยะห่างจากตาบลหลักย่อมสามารถที่จะหาได้อย่างแน่นอน เพราะในเมื่อพล
ยิงกาลังยิงปื นที่ติดตั้งบนขาหยัง่ ระยะห่างจะนับเป็ นมิลเลียม เว้นแต่กาหนดไว้อย่างอื่น ดังนั้นคาว่า "มิ
ลเลียม" จึงไม่จาเป็ นต้องสั่ง เช่นตัวอย่าง
ภารกิจยิง
ข้างหน้า
ตาบลหลัก ซากรถถัง
ซ้าย สี่ ศูนย์
เป้าหมาย แถวทหาร
5. ลักษณะของเป้าหมาย ลักษณะของเป้าหมายเป็ นการวาดภาพของที่หมายให้พลประจาปื นเกิดมโนภาพ
พลประจาปื นต้องเรี ยนรู ้แบบต่างๆ ของเป้ าหมาย เพื่อที่จะได้ทาการยิงได้อย่างถูกต้อง ผบ.หมู่ ควรจะอธิบาย
สั้นๆ แต่แน่นอน เช่นตัวอย่าง
ข้าศึกลงรบเดินดิน ใช้คาว่า ทหารยึดเป็ นแนว แถวทหาร
อาวุธอัตโนมัติ ใช้คาว่า ปื นกล
ยานยนต์หุม้ เกราะ ใช้คาว่า รถถัง
ยานยนต์ไม่หุม้ เกราะ ใช้คาว่า รถยนต์บรรทุก
เครื่ องบินหรื อเฮลิคอปเตอร์ ใช้คาว่า เครื่ องบิน
ถ้าเป็ นหมายอยูใ่ นที่ปกปิ ดกาบัง ไม่จาเป็ นต้องบอกลักษณะของเป้ าหมาย การใช้นิ้วมือวัดหรื อการวัด
เป็ นมิลเลียม ย่อมใช้กบั เป้ าหมายที่มีความกว้างเป็ นแนว ในเมื่อปี กของเป้าหมายที่มีความกว้างเป็ นแนว ใน
เมื่อปี กของเป้ าหมายไม่สามารถที่จะกาหนดได้
6. ระยะยิง ระยะยิงไปยังเป้ าหมายต้องบอกให้แก่พลประจาปื นได้ทราบเพื่อให้พลประจาปื นได้มอง
ตรวจดูวา่ เป้ าหมายไกลเท่าใด และจะได้รู้ทนั ทีวา่ ควรจะตั้งศูนย์ปืนที่ศูนย์หลังเท่าใด ระยะยิงควรจะบอกเป็ น
เมตร ในเมื่อได้ใช้หน่วยในการวัดมาตรฐานเป็ นเมตรอยูแ่ ล้ว คาว่า เมตร ไม่ตอ้ งสั่งสาหรับปื นกล ระยะยิงที่
หาได้แล้วจะต้องสั่งเป็ นจานวนร้อยและจานวนพัน เช่น ตัวอย่าง สามร้อย, หนึ่งพัน, หนึ่งพันหนึ่งร้อย หัวข้อ
คาสั่งยิงข้อนี้อาจจะข้ามไปในเมื่อพลยิงสามารถหาระยะยิงด้วยตนเอง แต่อย่างไรก็ดี ในบางสถานการณ์ก็ยงิ
กราดผสม, ยิงกราดตลอด หรื อยิงกราดคลายปื น
7.วิธีการยิง หัวข้อคาสั่งยิงข้อนี้หมายรวมถึงการปฏิบตั ิต่อปื นและจัดจังหวะการยิง
1. การปฏิบตั ิต่อปื น ต้องปฏิบตั ิตามที่อธิ บายไว้ในประเภทการอิงซึ่งจะต้องเกี่ยวกับปื น (ข้อ 71.3 โดย
ต้องสั่งดังนี้ ยิงเฉพาะตาบล, ยิงกราดทางข้าง, ยิงกราดทางลึก , ยิงกราดผสม , ยิงกราดตลอด หรื อกราดคลายปื น
2. จังหวะการยิง สั่งเพื่อควบคุมจังหวะการยิง มีจงั หวะการยิง 3 จังหวะที่อาจจะต้องสั่งแก่ปืน คือ ยิง
ต่อเนื่อง ยิงเร็ ว และยิงเร็ วสู งสุ ด
8.คาสั่งเริ่ มยิง ถ้าต้องหวังผลในการยิงจู่โจม คาสั่งเริ่ มยิงจะต้องสั่งออกไปเลยไม่ตอ้ งหยุดชะงัก สิ่ งที่
สาคัญอย่างยิง่ ยวดในการยิงปื นกลบ่อยๆ ครั้ง จะต้องดารงอานาจการยิงให้มีประสิ ทธิผลมากที่สุดด้วยปื นกล
ทั้ง 2 กระบอกตั้งคู่ยงิ ในเวลาเดียวกัน เพื่อให้บงั เกิดผล ผบ.หมู่ อาจจะใช้คาสั่งให้เริ่ มยิงด้วยคาว่า "คอยฟัง
คาสั่งข้าพเจ้า" เมื่อพลยิงพร้อมที่จะองต่อเป้าหมายจะรายงาน "พร้อม" ให้กบั พลยิงผูช้ ่วยซึ่งจะเป็ นผูใ้ ห้
สัญญาณ "พร้อม" แก่ ผบ. หมู่ และแล้ว ผบ. หมู่ จะให้คาสั่ง "เริ่ มยิง" ในเวลาที่ตอ้ งการ เช่นตัวอย่าง
ภารกิจยิง
ข้างหน้า
แถวทหาร
คอยฟังคาสั่งข้าพเจ้า (หยุดสั่ง จนกระทัง่ พลประจาปื นพร้อมและยิงได้ตามโอกาสที่ตอ้ งการ)
เริ่ มยิง
9. คาสั่งยิงต่อมา
ก.ถ้าพลยิงปรับการยิงเป้ าไม่ถูกที่หมาย ผบ.หมู่ ต้องพยายามแก้ไข โดยออกคาสัง่ หรื อให้สัญญาณ
แก้ไขตามที่ตอ้ งการ ในเมื่อได้รับคาสั่งการแก้ไขแล้ว พลยิงต้องแก้ไขปื นและคงทาการยิงติดต่อกันไปโดย
ไม่ตอ้ งรอฟังคาสั่งใดๆ อีก เมื่อทาการยิงอยูภ่ ายใต้การควบคุมของ ผบ.หมู่ พลยิงผูช้ ่วยจะต้องคอยเฝ้า ผบ.หมู่
จะสั่งการ แล้วสั่งคาสั่งไปยังพลยิง
ข. การปรับแก้ทางทิศควรจะกระทาก่อนเสมอ เช่น ขวา หนึ่ง ศูนย์ หรื อ ซ้าย ห้า การปรับแก้ทางระยะ
จะกระทาต่อมา เช่น เพิม่ ห้า หรื อ ลด หนึ่ง ห้า คาบอกคาสั่งเหล่านี้อาจจะบอกด้วยวาจาหรื อใช้แขน และมือ
สัญญาณ การปรับแก้ปืนทั้งในทางทิศและทางระยะ ต้องถือเป็ นมิลเลียม เมือปื นติดตั้งบนขาหยัง่ สาหรับ
ปื นที่ติดตั้งบนขาทรายหรื อติดตั้งบนยานพาหนะ การแก้ทางทิศและทางระยะจะกระทาโดยคาสั่งหรื อให้
สัญญาณ “เลื่อนไป ทางซ้าย ( ขวา) หรื อ ลด (เพิ่ม)" คาว่า "มิลเลียม" จะไม่สั่งในคาสั่งยิงต่อมานี้
ค การแก้ในเรื่ องจังหวะการยิงของปื นจะสั่งด้วยวาจา หรื อด้วยแขน และสัญญาณ
สัญญาณ (ข้อ 80.2)
ง. ในการให้ปืนหยุดทาการยิง ผบ.หมู่ จะสั่ง "หยุดยิง" หรื อให้สัญญาณหยุดยิง (ข้อ 80.5 พลประจาปี น
ยังคงอยูใ่ นท่าเตรี ยมพร้อมและการยิงยังคงตรงไปยังที่หมายเดิมอยูเ่ มื่อได้รับคาสั่ง "เริ่ มยิง"
จ. ในการสิ้ นสุ ดของการเตรี ยมพร้อม ผบ.หมู่ จะตะโกนสั่งว่า "หยุดยิง” จบจากการยิง
10. หัวข้อคาสั่งยิงที่สงสัยและการแก้ไข
1. หัวข้อคาสัง่ ยิงที่สงสัย เมื่อพลยิงเกิดการสงสัยในหัวข้อคาสัง่ ยิงตอนใดตอนหนึ่ง ให้พลยิงทวน
คาสั่งยิงที่สงสัยโดยออกเสี ยงสู ง เพื่อแสดงถึงเป็ นคาถาม ผบหมู่ จะต้องออกคาสั่งว่า "ได้สั่งว่า" แล้วซ้ าขอ
คาสั่งที่สงสัย และให้คาสั่งยิงต่อไป
2. การแก้ไข
ก.คาสั่งยิง่ เริ่ มแรก เมื่อ ผบ หมู่ ให้ออกคาสั่งยิงเริ่ มแรกผิด ผบ.หมู่ตอ้ งรี บแก้ไขคาสั่งนั้น โดยส่ งว่า
"ผิดหยุด" และแล้วให้คาสัง่ ยิงที่ถูกต้องออกไป เช่น ตัวอย่าง
ภารกิจยิง
ข้างหน้า
ทหารยึดปื นเป็ นแนว
ห้าร้อย
ผิดหยุด
หกร้อย
ยิงกราดทางข้าง
คอยฟังคาสั่งข้าพเจ้า
ข. คาสั่งยิงต่อมา เมื่อ ผบ. หมู่ ออกคาสั่งยิงต่อมาผิด ผบ.หมู่ อาจจะแก้ไขโดยสั่งว่า "ผิดหยุด" และ
แล้วทวนคาสั่งยิงต่อมาทั้งหมด เช่น ตัวอย่าง
ซ้าย ห้า, ต่า หนึ่ง
ผิดหยุด
ซ้าย ห้า, ต่า หนึ่ง ศูนย์
3.คาสั่งย่อ, คาสั่งยิงอย่างไม่เป็ นทางการ
ก.คาสั่งยิงไม่ตอ้ งการข้อความที่สมบูรณ์ หรื อเป็ นทางการเพื่อให้เกิดผลนักในสนามรบ คาสั่งยิง
ของ ผบ.หมู่ มักจะรวมหัวข้อคาสั่งยิงทั้งหมดเข้าด้วยกัน โดยที่ ผบ.หมู่ จะใช้หวั ข้อที่จาเป็ นเท่านั้น
วางอานาจการยิงลงบนที่หมายให้อย่างรวดเร็ ว และปราศจากข้อสงสัยอีกด้วย ถึงอย่างไรก็ดีในระหว่างการ
ฝึ กขั้นต้นๆ ควรจะใช้หวั ข้อคาสั่งยิงทั้งหมดเพื่อปลูกนิสัยพลประจาปื นเพื่อให้เกิดการใช้ความคิด และ
ปฏิกิริยาอาการที่ถูกต้องในเมื่อทาการยิงต่อที่หมาย ภายหลังจากที่พลประจาปื นได้รับการฝึ กขั้นต้นในเรื่ อง
คาสั่งยิงมาแล้ว ควรจะได้รับการสอนถึงการปฏิบตั ิตามคาสั่งยิงสั้นๆ อย่างไม่เป็ นทางการ โดยใช้วธิ ี การ
ควบคุมทุกวิธีตอ่ ไปนี้ เป็ นตัวอย่างคาสั่งยิงอย่างไม่เป็ นทางการ โดยใช้วธิ ีการควบคุมทุกวิธี
ภารกิจยิง ปื นหมายเลขหนึ่ง
ตาบลหลัก หลังคายุง้
ซ้าย สาม ศูนย์ (ปื นติดตั้งอยูบ่ นขาหยัง่ )
เป้าหมาย ปื นกล
เริ่ มยิง
ข. เมื่อได้เตรี ยมแผ่นจดระยะไว้แล้ว (ข้อ 114 และ 115 ผบ.หมู่ สามารถที่จะวางการยิงลงบนเป้าหมาย
ได้ โดยที่พลยิงไม่แลเห็นเป้ าหมาย โดยออกคาสั่งเพียงคาสั่งเตือน ลักษณะเป้าหมายและคาสั่งเริ่ มยิง ผบ หมู่
จะกาหนดเป้าหมายได้โดยใช้หมายเลขแทน แล้วใช้คาสั่งนี้ของเป้ าหมายแทนการเรี ยกชื่อเป้าหมาย เช่นตัวอย่าง
ปื น หมายเลข หนึ่ง
เป้าหมาย หมายเลข สาม
คอยฟังคาสัง่ ข้าพเจ้า
เริ่ มยิง
ค. แขนและมือสัญญาณ ถ้า ผบ.หมู่ ต้องการให้ปืนกลกระบอกหนึ่งทาการยิงต่อรถบรรทุกจอดอยู่
ระยะประมาณ 400 เมตร ผบ.หมู่ จะขว้างก้อนกรวดที่จะให้ยงิ พลยิง หรื อพลยิงผูช้ ่วยจะหันกลับมาดู ผบ.หมู่
ผบ.หมู่ จะชี้ไปยังเป้าหมาย
พลยิงผูช้ ่วย เมื่อปื นพร้อมที่จะยิง ก็ให้สัญญาณแก่ ผบ.หมู่ ผบ.หมู่ จะให้สัญญาณ “ เริ่ มยิง”
ง.สัญญาณที่เตรี ยมไว้ล่วงหน้า สมมุติวา่ ปื นกลทั้งคู่วางตั้งสนับสนุนด้วยการยิง ณ ที่หมาย ผบ.หมู่
ต้องการจะย้ายการยิงในเวลาที่เหมาะอันหนึ่ง ในเมื่อเวลานั้นมาถึง ผบ.หมู่ จะยิงลูกระเบิดควันสี ทางยาว
และเมื่อพลยิงเห็นสัญญาณขึ้นก็จะย้ายการยิงไปยังตาบลที่เตรี ยมไว้ล่วงหน้าทันที
จ. การติดต่อเป็ นบุคคล สมมุติวา่ ปื นทั้งสองกระบอกกาลังยิงอยูเ่ ป้ าหมายเดียวกัน ผบ. หมู่ จะเคลื่อนที่
ไปยังปื นที่ตอ้ งการให้ยา้ ยการยิง เรี ยกให้พลยิงฟังคาสั่งชี้เป้ าหมายใหม่ให้แล้วออกคาสั่ง "เริ่ มยิง"
ฉ. การขยายความของ รปจ.
1. รปจ.-ค้น-ยิง-ตรวจ
ก. ค้น พลประจาปื นต้องค้นหาที่หมายในเขตของตน
ข.ยิง พลยิงต้องเริ่ มยิงทันที อย่างอัตโนมัติ ไปยังเป้าหมายที่เหมาะสมซึ่งปรากฏขึ้นในเขตของตน
ค. ตรวจ ขณะเมื่อพลยิงกาลังทาการยิง พลยิงผูช้ ่วยจะต้องตรวจดู ผบ.หมู่ เสมอ เพื่อรอรับคาสั่ง
2. รปจ. ในการยิงตอบข้าศึก พลประจาปื นต้องได้รับการฝึ กให้ทาการยิงตอบโดยไม่ตอ้ งมีคาสั่ง
โดยเพ่งเล็งยิงอาวุธอัตโนมัติขา้ ศึก
3. รปจ. ในการย้ายการยิง พลยิงควรจะได้รับการฝึ กให้ยงิ ต่อที่หมายปื นกลอย่างเหมาะสมในเขต
การยิงของตน และให้ยา้ ยการยิงได้อย่างอัตโนมัติไปยังเป้ าหมายที่มีอนั ตรายมากกว่าที่ปรากฏให้เห็น
4. รปจ. จังหวะการยิง เมื่อพลยิงยิงต่อเป้ าหมาย เขาต้องยิงด้วย จังหวะการยิงให้มีอานาจการยิง
เหนื อกว่าเท่าที่จาเป็ น และแล้วค่อยๆ ลดจังหวะการยิงลงมาเพียงพอที่จะรักษาอานาจการยิงเหนื อกว่าเอาไว้
5. รปจ. การสนับสนุนช่วยเหลือร่ วมกัน
ก. เมื่อปื นกลทั้งสองกระบอกทาการยิงเป้ าหมายเดียวกันอยู่ ปื นกระบอกหนึ่งเกิดการติดขัด
หยุดยิงลง ปื นอีกกระบอกหนึ่งต้องเพิ่มจังหวะการยิงขึ้น เพื่อให้ครอบคลุมเป้าหมาย
ข. เมื่อต้องการปื นเพียงกระบอกเดียวทาการยิงเป้าหมาย และ ผบ.หมู่ ให้ปืนทั้งสองกระบอก
เตรี ยมตัวไว้ ปื นกระบอกเตรี ยมตัวไว้ ปื นกระบอกที่ไม่ได้ยงิ จะต้องวางการเล็งลงบนเป้ าหมาย และติดตาม
การเคลื่อนไหวของเป้ าหมายอยูต่ ลอด เพื่อที่จะสามารถยิงแทนอีกกระบอกหนึ่งซึ่ งปื นอาจไม่ทางานหรื อ
หยุดยิงลงก่อนที่เป้ าหมายจะถูกจากัด
11.แขนและมือสัญญาณ
เนื่องจากเสี ยงอันสับสนในสนามรบ และเมื่อมาพิจารณาถึงระยะห่างของที่ต้ งั ปื นกับ ผบ.หมู่ แล้ว
ย่อมมีความจาเป็ นอย่างยิง่ ที่ตอ้ งใช้แขน และมือสัญญาณเป็ นเครื่ องมือในการควบคุมการยิงปื นกล เมื่อ
ต้องการให้พลประจาปื นเพียง 1 กระบอก ปฏิบตั ิการหรื อให้เคลื่อนที่ สัญญาณเบื้องต้นที่จะให้คือ ชี้มือไปยัง
พลประจาปื นเพื่อให้ปฏิบตั ิการ เมื่อมีความจาเป็ น พลยิงผูช้ ่วยจะเป็ นผูถ้ ่ายทอดสัญญาณทั้งมวลให้แก่พลยิง
สัญญาณธรรมดาง่ายๆ ที่สุดในการควบคุมการยิงมีดงั ต่อไปนี้
1.พลยิงผูช้ ่วยให้สัญญาณว่า พลยิงพร้อมที่จะยิงแล้ว กระทาโดยการยกมือขวาขึ้นเหนื อศีรษะตรงไปยัง
ผบ.หมู่ (รู ปที่ 52)

รูปที่ 52 สัญญาณพร้ อม
2. สัญญาณเริ่ มยิง ผบ.หมู่ ใช้มือโดยให้อุง้ มืออยูข่ า้ งล่างยืดออกไปข้างลาตัวของ ผบ. หมู่ ประมาณ
แนวเอวแล้วเลื่อนมือให้ได้ระดับไปข้างหน้าลาตัวของ ผบ. หมู่ (รู ปที่ 53)ถ้าต้องการให้ยงิ่ เร็ วขึ้นให้ขยับมือ
ให้เร็ ว ถ้าต้องการให้ยงิ ช้าลงให้ลดการเคลื่อนไหวของมือลง

รูปที่ 53 สัญญาณเริ่มยิง
3. สัญญาณให้แก้ทางทิศและทางระยะในเมื่อปื นติดตั้งอยูบ่ นขาหยัง่ คือ เหยียดแขนและมือไปใน
ทิศทางที่ตอ้ งการจะแก้ แล้วเหยียดนิ้วแสดงถึงจานวนที่ตอ้ งการให้แก้เท่าที่จาเป็ น นิ้วมือแยกห่างกันพอที่ให้
พลยิงผูช้ ่วยแลเห็นได้ง่าย แต่ละนิ้วหมายความต้องการแก้นิ้วละ 1 มิลเลียม (รู ปที่ 54) ถ้าประสงค์จะแก้
มากกว่า 5 มิลเลียม ผบ.หมู่ ต้องทามือตามจานวนครั้งที่จาเป็ น เพื่อแสดงถึงจานวนเต็มที่ตอ้ งการให้แก้ เซ่น
ตัวอย่าง ขวาเก้า จะแสดงโดยเหยียดมืออกไปครั้งที่ 1 พร้อมกับเหยียดนิ้ว 5 นิ้ว และครั้งที่ 2 เหยียดนิ้ว 4 นิ้ว
รวมเป็ น 9 นิ้วด้วยกัน
รูปที่ 54 การปรับการยิงเมื่อปื นติดตั้งบนขาหยัง่
4. สัญญาณในการแก้ทางทิศและทางระยะ เมื่อปื นติดตั้งอยูบ่ นขาหยัง่ ติดตั้งบนยานพาหนะ
กระทาโดยเหยียดแขนและมือไปในทิศทางที่ตอ้ งการจะแก้โดยการเหยียดแขนและมือไปในทิศทางที่
ต้องการ จะแก้โดยเหยียดนิ้วมือให้ติดกัน (รู ปที่ 55) ถ้าพลยิงแก้ไม่ถูกหรื อแก้ไปเพียงเล็กน้อย ก็ให้สัญญาณ
ต่อไปเรื่ อยๆ จนกว่าการยิงจะตรงพื้นที่ที่ตอ้ งการ

รูปที่ 55 การปรับการยิงเมื่อปื นติดตั้งบนขาทราย


5. สัญญาณในการหยุดยิง ผบ.หมู่ จะยกแขนและมือข้างหน้าของหน้าผาก
อุง้ มือออกข้างนอกแล้วลดลงทันทีเร็ วๆ และแล้วพลยิงผูช้ ่วยจะตบหลังพลยิงเบาๆ เพื่อแสดงว่าให้ หยุดยิง
(รู ปที่56)

รูปที่ 56 สัญญาณหยุดยิง

6. ผบ.หมู่ สามารถที่จะคิดสัญญาณอื่น ๆ ขึ้นมาเพื่อควบคุม เช่น ตัวอย่าง สัญญาณในการเปลี่ยนลา


กล้องใหม่ ถอดปื นออกจากขาหยัง่ หรื อนาปื นเข้าที่ต้ งั ที่แน่นอนแห่งหนึ่ง
หลักการของการปฏิบัติการยิง
1.กล่าวทัว่ ไป
ก.การปฏิบตั ิการยิงประกอบด้วย วิธีการที่จะให้พลประจาปื นเกิดความมัน่ ใจในการยิงนั้นได้
ครอบคลุมเป้าหมายที่ได้รับมอบ รวมถึงพื้นที่ที่เชื่อว่าข้าศึกอาจจะตั้งอยูด่ ว้ ย
ข.การฝึ กในเรื่ องวิธีการปฏิบตั ิการยิงของปื นกล จะทาได้ผลภายหลังที่พลประจาปื นได้เรี ยนรู ้ถึงแบบ
ต่างๆของเป้าหมายที่เขาอาจจะเผชิญหน้าในการรบ การกระจายการยิงและการรวมกาลังอย่างถูกต้องปฏิบตั ิ
อย่างไร และการรักษาจังหวะการยิงอย่างถูกต้องปฏิบตั ิอย่างไร
2.แบบของเป้าหมาย
เป้าหมายที่จะมอบให้กบั พลยิงปื นกลในระหว่างการรบในทุกๆ กรณี ประกอบด้วยข้าศึกในรู ปขบวน
ต่างๆ ซึ่ งต้องใช้การกระจายการยิงและการรวมกาลังยิง เป้ าหมายเหล่านี้ยอ่ มมีความกว้างและความลึก และ
การปฏิบตั ิการยิงก็ตอ้ งให้ครอบคลุมพื้นที่โดยทัว่ ทั้งหมดซึ่ งรู ้วา่ มีขา้ ศึกยึดอยูห่ รื อเชื่ อแน่วา่ ยึดอยู่ เป้ าหมาย
เหล่านี้อาจสังเกตเห็นได้ง่าย หรื ออาจจะไม่ชดั เจนและยากต่อการหาที่ต้ งั ได้
1. เป้ าหมายเป็ นจุด เป็ นเป้ าหมายซึ่ งต้องใช้การเล็งเป็ นจุดตัวอย่างของเป้ าหมาย
เป็ นจุด ได้แก่ ข้าศึกในหลุมปิ ด ที่ต้ งั ยิงอาวุธยานพาหนะ กลุ่มทหารขนาดย่อม และเป้ าหมายในโอกาส เช่น
เฮลิคอปเตอร์ หรื อพลร่ มที่ลอยต่า
2. เป้าหมายเป็ นแนว มีความกว้างพอเพียงที่ตอ้ งทาการยิงสาย และความลึกต้อง
ไม่มากเกินกว่ารู ปอาการกระจายจะคลุมทับอย่างได้ผล (รู ปที่ 57)

รูปที่ 57 เป้าหมายเป็ นแนว


3. เป้าหมายเป็ นแนวมีความลึก เป้าหมายที่มีความกว้างพอควรที่ตอ้ งทาการยิงส่ ายและมีความลึกซึ่ง
รู ปอาการกระจายไม่สามารถจะครอบคลุมได้หมด จาเป็ นต้องเปลี่ยนทั้งทางทิศและทางระยะ (ยิงส่ ายและยิง
ทางลึก) เพื่อดารงการยิงอย่างมีประสิ ทธิ ผล(รู ปที่58)

รูปที่ 57 เป้าหมายเป็ นแนวมีความลึก


4.เป้ าหมายทางลึก มีความลึกแต่มีความกว้างเพียงเล็กน้อย อาจทาการยิงคลุมอย่างได้ผลโดยใช้การยิง
ทางลึก (รู ปที่ 58)

รูปที่ 58 เป้าหมายทางลึก
5.เป้ าหมายที่พ้นื ที่ ในคู่มือเล่มนี้ หมายถึง เป้าหมายที่มีความกว้างและมีความลึกต้องใช้การยิงกราด
ผสมให้มากขึ้น เป้ าหมายแบบนี้จะเกิดขึ้น เมื่อข้าศึกอยูใ่ นพื้นที่แห่งหนึ่งแต่ไม่ทราบพื้น
ที่ที่แน่นอน เช่น ที่หมายที่เป็ นยอดเขาย่อมเป็ นเป้ าพื้นที่
ค. การกระจายการยิง การรวมกาลังยิง และจังหวะการยิง
ยิงด้วยปื นหนึ่งหรื อสองกระบอก ตามปกติวธิ ี การปฏิบตั ิการยิงต่อเป้ าหมายโดย
ในสนามรบนั้นรู ปร่ างขนาดและธรรมชาติของเป้ าหมาย อาจจาเป็ นต้องใช้อานาจการยิงด้วยปื นหนึ่ง
หรื อสองกระบอก ตามปกติวิธีการปฏิบตั ิการยิงต่อเป้ าหมายโดยทัว่ ไปย่อมเหมือนกันทั้งปื นกระบอกเดียว
หรื อใช้ปืนตั้งคู่
ก. การกระจายการยิงและการรวมกาลังยิง
1. การกระจายการยิง เป็ นการปฏิบตั ิในทางกว้างในทางลึก หรื อรวมทั้ง
อย่างเข้าด้วยกัน การกระจายการยิงอย่างถูกต้องนั้น พลยิงต้องรู ้วา่ จะเล็งที่ใด และจะปรับการยิงอย่างไรและ
จะส่ ายปื นไปในทางใด
2. จุดเริ่ มแรกของการวางปื นและปรับทางปื น พลยิงจะต้องทาการทาการยิงและทาการปรับ ณ
ตาบลหนึ่งที่แน่นอนในพื้นเป้ าหมาย สิ่ งสาคัญอย่างยิง่ คือ การยิงปรับทางปื นอย่างกล้ารวดเร็ วและต่อเนื่ อง
ผบ.หมู่ ย่อมต้องใช้กล้องส่ องสองตาเป็ นเครื่ องให้ความสะดวกในการปรับการยิง พลยิงต้องมัน่ ใจว่าการยิง
ของตนนั้นกึ่งกลางกลุ่มกระสุ นตกอยูต่ รงฐานของเป้ าหมาย เพื่อให้ได้ผลอย่างสู งสุ ดจากการยิงทุกๆ นัด
การปฏิบตั ิการยิงดังนี้ ครึ่ งบนของกรวยการยิงจะถูกเป้ าหมาย และกระสุ นวิถีครึ่ งล่างของรู ปอาก"
กระจายอาจจะแฉลบกระดอนเข้าหาเป้าหมาย (รู ปที่ 59)

รูปที่ 59 การวางกึง่ กลางกลุ่มกระสุ นลงบนเป้าหมาย


3. ทิศทางที่จะให้ปืนส่ าย หลังจากทาการยิงปรับ ณ ตาบลเล็งเริ่ มแรกแล้ว พลยิงต้องเลื่อนรู ปอาการ
กระจายไปในทิศทางที่ครอบคลุมเป้าหมายทิศทางที่จะส่ ายปื นนั้นย่อมขึ้นอยูก่ บั แบบของเป้ าหมายและการ
กาหนดให้ปืนทั้งคู่หรื อกระบอกเดียวยิงเป้าหมายนั้น เมื่อจะยิงเป้ าหมายที่มิใช่เป้ าหมายยิงเฉพาะตาบลด้วย
ปื นทั้งคู่ จะต้องแบ่งปาหมายออกให้การยิงกระจายครอบคลุมตลอดพื้นที่ของเป้ าหมายนั้น
4. การยิงเป้าหมายเฉพาะตาบลหรื อยิงเฉพาะพื้นที่หนึ่งของเป้ าหมายอื่นๆ
ในภูมิประเทศเรี ยกว่า การระดมยิง
ง. จังหวะการยิง
1. จังหวะการยิงของปื นกลมีอยู่ 3 จังหวะ คือ จังหวะต่อเนื่ อง จังหวะเร็ วและจังหวะเร็ วสู งสุ ด จังหวะ
การยิงเหล่านี้กาหนดไว้เพื่อเป็ นเครื่ องแนะแนวทางเบื้องต้นในการฝึ กและเป็ นการบ่งชี้วา่ จะเปลี่ยนลากล้อง
ใหม่เมื่อไร ในการยิงหลายครั้งอาจจะต้องยิงเกินจังหวะการยิงเร็ ว และการยิงจังหวะต่อเนื่ อง หรื อต่ากว่า
จังหวะการยิงต่อเนื่ อง ฉะนั้น ในการฝึ กจังหวะการยิงควรจะได้มีการเรี ยนรู ้ และเพื่อช่วยให้พลยิงมีพ้นื ฐาน
สาหรับการคาดคะเนจานวนกระสุ นที่ยงิ ออกไปในการฝึ กขั้นต่อมาหรื อในสนามรบได้
1.1 การยิงต่อเนื่ อง คือ การยิงกระสุ น 100 นัดต่อนาที โดยทาการยิง 6 ถึง 9 นัด ในเวลา 4 - 5 วินาที ใช้
คาบอกคาสั่งว่า "ยิงต่อเนื่อง"(การเปลี่ยนลากล้องใหม่จะกระทาเมื่อยิงจังหวะยิงต่อเนื่ องไปแล้ว 10 นาที
1.2 การยิงเร็ ว คือ การยิงกระสุ น 200 นัดต่อนาที โดยทาการยิงเป็ นชุด 6 ถึง 9 นัด ในเวลา 2 -3 วินาที
ใช้คาบอกคาสั่งว่า "ยิงเร็ ว" (การเปลี่ยนลากล้องจะกระทาเมื่อยิงเร็ วไปแล้ว 2 นาที)
1.3 การยิงเร็ วสู งสุ ด หมายถึง การใช้กระสุ นยิงออกไปให้มากที่สุดของปื นกระบอกหนึ่งใน 1 นาที
อัตราการยิงเร็ วสู งสุ ดของปื นกลเอ็ม 60 ประมาณ 550นัดต่อนาทีอตั ราการยิงนี้จะกระทาได้เมื่อไกปื นถูก
เหนี่ยวมาข้างหลังตลอด และกระสุ นยังคงป้อน อย่างต่อเนื่องให้กบั ปื น(การเปลี่ยนลากล้องควรกระทา
หลังจากที่ปืนได้ยงิ จังหวะใดก็ตามที่เกินจังหวะยิงเร็ วไปแล้ว 1 นาที)
2. หลักการที่เกี่ยวกับจังหวะการยิงที่ควรจะปฏิบตั ิ เพื่อให้บงั เกิดผลสู งสุ ด มีดงั ต่อไปนี้
2.1 เป้ าหมายที่อยูก่ บั พื้นดิน ในขั้นแรกต้องใช้จงั หวะการยิงเร็ ว หรื อจังหวะที่สูงกว่า (200 นัด หรื อ
มากกว่าต่อนาที เพื่อให้มีอานาจการยิงเหนื อข้าศึก หลังจากอานาจการยิงเหนื อข้าศึกแล้ว จึงค่อยลดจังหวะ
การยิงลงมายัง ณ จังหวะหนึ่ ง ซึ่งยังดารงอานาจการยิงเหนืออยู่ การลดจังหวะการยิงนี้ มีความจาเป็ น เพื่อ
รักษามิให้ลากล้องปื นร้อนเกินควร เพื่อเป็ นการประหยัดกระสุ นด้วย
2.2 เป้าหมายในอากาศต้องใช้จงั หวะการยิงเร็ วสู งสุ ด
การปฏิบัติการยิง (การยิงต่ อเป้ าหมาย-เล็งตรง)
1. กล่าวทัว่ ไป
1.1 เมื่อปื นกลทาการยิงอยูภ่ ายใต้การควบคุมโดยตรงของ ผบ.หมู่ ผบ.หมู่ จะแบ่งมอบกึ่งกลาง และปี ก
หรื อปลายของเป้ าหมายให้ เว้นแต่เป้ าหมายเหล่านี้พลประจาปื นมองเห็นได้ชดั เจน
1.2 ในเมื่อเป้ าหมายที่มิใช่เป้ าหมายเฉพาะตาบลจะถูกยิงด้วยพลยิง 2 คน จึงจาเป็ นต้องแบ่งเป้ าหมาย พล
ยิงแต่ละคนจะใช้อานาจการยิงของตนไปยังเป้ าหมายในส่ วนของตนไปที่ได้รับมอบโดยให้มีความสัมพันธ์
กับปื นอีกกระบอกหนึ่ง ตามธรรมดาพลยิงแต่ละคนจะยิงครึ่ งหนึ่งของเป้ าหมาย ถึงอย่างไรก็ดีพลยิงจาต้อง
เตรี ยมการยิงไว้ตลอดเป้าหมาย ถ้าเกิดความจาเป็ นขึ้นมาจะได้ปฏิบตั ิทนั ที พลยิงต้องทาการยิงติดต่อกันลง
บนเป้าหมายนั้นจนกว่าจะถูกทาลายไป หรื อจนกว่าจะได้รับสัญญาณอื่นจาก ผบ.หมู่
1.3 ในกรณี ที่พลยิงปื นกลของหมู่อาวุธทาการยิงเป้ าหมายที่กาหนดให้ เพื่อเป็ นการทราบเป้าหมายที่
แน่นอนที่จะทาการยิงจึงต้องกาหนดหมายเลขที่ต้ งั ยิงให้ ที่ต้ งั ยิงของปื นที่อยูด่ า้ นขวา เป็ นที่ต้ งั ยิงหมายเลข
หนึ่ง และที่ต้ งั ยิงที่อยูท่ างซ้าย เป็ นที่ต้ งั หมายเลขสอง(รู ปที่51)ควรจะเน้นให้ทราบว่าได้กาหนดให้ที่ต้ งั ยิง
เป็ นหมายเลขมิใช่ปืนหรื อพลยิง
1.4 เพื่อให้แน่ใจว่าได้ปฏิบตั ิอย่างรวดเร็ วและถูกต้อง ในเมื่อค้นเป้าหมาย หรื อในเมื่อ ผบ.หมู่ มอบ
เป้าหมายให้ ควรจะทาการสอนวิธีปฏิบตั ิการยิงแบบมาตรฐานต่อเปาหมายทุกๆ แบบวิธีการเหล่านี้ยอ่ ม
ใช้ได้เหมือนกันหมดทั้งที่ปืนตั้งขาทราย ติดตั้งขาหยัง่ หรื อติดตั้งบนยานพาหนะ
2. เป้าหมายเป็ นจุด
2.1 เป้ าหมายเป็ นจุดต้องทาการยิงโดยปื นอยูก่ บั ที่ ถ้าที่หมายเคลื่อนที่หลังจากยิงกระสุ นชุดแรกไป
แล้ว พลประจาปื นต้องดารงรักษาการยิงต่อเป้ าหมายนั้นเอาไว้ โดยเลื่อนปื นติดตามไป
2.2 เป้าหมายเป็ นแนว ต้องทาการยิงด้วยการยิงกราดทางข้าง
3.ปี นวางสองกระบอก
3.1 การแบ่งตามปกติ เป้ าหมายจะแบ่งออกที่ก่ ึงกลางปื นหมายเลขหนึ่ง จะทาการยิงครึ่ งทางขวา และ
ปื นหมายเลขสองจะทาการยิงครึ่ งทางซ้าย สาหรับจุดเริ่ มต้นในการเล็งและปรับปื นของปื นทั้งสองจะอยู่
กึ่งกลางของเป้ าหมาย หลังจากที่ปืนหมายเลขหนึ่งทาการปรับ ณ จุดกึ่งกลางแล้ว ให้กราดปี นไปทางขวา
โดยทาการยิงเป็ นชุดหลังจากแก้ทางทิศจนกระทัง่ ยิงกราดมาถึงปี กด้านขวา ปื นหมายเลขสองยิงกราด
ทางซ้าย แล้วปื นทั้งสองกราดกลับ และมาอยูท่ ี่จุดกึ่งกลาง (รู ปที่60)
3.2 การแบ่งพิเศษ ถ้าส่ วนหนึ่งของพื้นที่แบ่งให้มีอนั ตรายมากกว่าอีกส่ วนหนึ่งจะต้องมุ่งการยิงลงไป
ในส่ วนนั้น โดยแบ่งเป้ าหมายให้ไม่เท่ากัน การแบ่งพิเศษของเป้ าหมายจะได้รับผลสาเร็ จ โดยให้คาสั่งยิง
ต่อมาหลังจากการยิงได้เริ่ มขึ้นแล้ว ในขั้นต้นพลยิงจะเล็งไปยังจุดกึ่งกลางโดยไม่คานึงถึงว่าเป็ นการแบ่ง
พิเศษ การกระทาดังนี้ เพื่อเป็ นกระทาดังนี้ เพื่อเป็ นการขจัดการสับสน (รู ปที่ 61)
3.3 ปี นวางกระบอกเดียว ตาบลที่เล็งปื นเริ่ มแรกในเมื่อยิงด้วยพลยิงคนเดียวจะต้องทาการยิงตลอด
ความกว้างของเป้ าหมายที่เป็ นแนวตาบลเล็งเริ่ มแรกจะอยูท่ ี่จุดกึ่งกลาง หรื ออยูท่ ี่หมายส่ วนหนึ่งที่มีอนั ตราย
มากกว่าแล้ว พลยิงจะส่ ายปื นไปในทิศทางจนถึงปี กเป้ าหมาย แล้วส่ ายปื นกลับมาอีกด้านหนึ่งของที่หมาย
ให้ครอบคลุมเป้ าหมายทั้งหมด (รู ปที่60)
3.4 เป้ าหมายเป็ นแนวเห็นยาก ถ้าเป้ าหมายเป็ นแนวพลยิงไม่สามารถทราบได้โดยง่าย ผบ. หมู่ อาจจะ
มอบป้ าหมายให้โดยใช้ตาบลหลักอ้าง ในเมื่อนาตาบลหลักมาใช้วธิ ี การมอบเป้ าหมายที่เห็นได้ยากนี้ ผบ.หมู่
ต้องตกลงใจเลือกกึ่งกลางเขตการยิงของเป้าหมายและบอกจานวนมิลเลียม หรื อนิ้วมือจากตาบลหลัก ซึ่ งพล
ยิงของปื นแต่ละกระบอกจะได้วางลงบนกึ่งกลางเขตกรยิงได้ ตาบลหลักอาจจะอยูภ่ ายในเป้ าหมาย หรื ออยู่
ข้างเคียงเป้ าหมายก็ได้ อย่างไรก็ดีควรจะอยูใ่ นแนวเดียวกับเป้ าหมายเพื่อจะได้ผลอย่างสู งสุ ด ภายหลังจากที่
ได้สงั่ ยิงไปแล้ว ผบ.หมู่ ต้องดารงการยิง และควบคุมการยิง ณ เป้ าหมายเอาไว้ดว้ ยใช้คาสัง่ ยิงต่อมาต่อไปนี้
เป็ นตัวอย่างคาสั่งยิง ซึ่ งประกอบตาบลหลักอยูข่ า้ งนอกพื้นที่เป้ าหมาย (รู

รูปที่ 60 การยิงเป้าหมายเป็ นแนว (ให้ ชัดเจน)


รูปที่ 61 การแบ่ งพิเศษของเป้าหมาย

รูปที่ 62 การยิงเป้าหมายเป็ นแนวเห็นได้ ยากโดยใช้


ตาบลหลักที่อยู่นอกพืน้ ที่เป้าหมาย
ภารกิจยิง
ข้างหน้า
ตาบลหลัก หลุมปิ ด ขวา ห้า กึ่งกลางเขตการยิง
เป้ าหมายทหารเป็ นแนวอยูใ่ นท่านอน
หกร้อย
ยิงกราดทางข้าง
คอยฟังคาสั่งข้าพเจ้า
เริ่ มยิง
รู ปที่ 93)
ต่อไปนี้ เป็ นตัวอย่างของคาสั่งยิง ซึ่ งประกอบตาบลหลักอยูภ่ ายในพื้นที่เป้ าหมาย
ภารกิจยิง
ข้างหน้า
ทางซ้าย
ตาบลหลัก รถถังที่ถูกเผา กึ่งกลางเขตการยิง
เป้าหมาย ทหารเป็ นแนวอยูใ่ นท่านอน ส่ ายไปทางซ้าย ห้า ศูนย์
ไปทางขวา ห้า ศูนย์
เจ็ดร้อย
ยิงกราดทางข้าง
คอยฟังคาสั่งข้าพเจ้า
เริ่ มยิง
ตาบลหลัก
รูปที่ 63 การยิงเป้าหมายเป็ นแนวเห็นได้ ยากโดยใช้
ตาบลหลักที่อยู่นอกพืน้ ที่เป้าหมาย

4.เป้าหมายทางลึก
เป้าหมายทางลึกต้องยิงด้วยวิธียงิ กราดทางลึก เมื่อบอกระยะยิงแล้ว ควรจะบอกจุดกึ่งกลางเป้ าหมาย
ให้ดว้ ย
4.1 ปี นวางสองกระบอก ตาบลเล็งเริ่ มแรกของปื นทั้งสองกระบอกต้องอยูต่ รงจุดกึ่งกลาง ซึ่ งคงเป็ นจุด
ที่แบ่งเป้ าหมายนัน่ เองเมื่อใช้การยิงตามแนว (ข้อ 71 2 4) ก็ไม่จาเป็ นที่จะต้องปรับต่อจุดกึ่งกลางขอเป้าหมาย
เพราะว่าแกนทางยาวของรู ปอาการกระจายจะเป็ นเครื่ องชดเชยในความผิดทางระยะยิง หลังจากที่กระสุ น
ชุดแรกอิงออกไปแล้วปื นหมายเลขหนึ่งจะยิงต่าลงมาจนถึงปลายเป้าหมายด้านใกล้ และปื นหมายเลขสองจะ
ยิงเพิ่มไกลขึ้นไปยังปลายเป้ าหมายด้านไกล และแล้วพลอิงทั้งสองจะยิงทวนกลับทิศทางของตนจนมาถึงจุด
กึ่งกลางเป้ าหมาย (รู ปที่ 64)
4.2ปื นวางกระบอกเดียว ตาบลที่เล็งปื นเริ่ มแรกในเมื่อยิงด้วยพลยิงคนเดียวจะอยูท่ ี่จุดกึ่งกลางของ
เป้ าหมายทางลึก เว้นแต่อีกส่ วนหนึ่งของเป้ าหมายมีความสาคัญยิง่ กล่าวแล้ว พลยิงลดปื นลงมาหาปลายด้าน
ใกล้ แล้วยิงกลับขึ้นไปหาปลายด้านไกล (รู ปที่ 64)

รูปที่ 64 การยิงต่ อเป้าหมายทางลึก


5.เป้ าหมายทางลึกเห็นได้ยาก กึ่งกลางเขตการยิงของเป้าหมายทางลึกที่เห็นได้ยากอาจจะมอบให้ดว้ ยการใช้
ตาบลหลักเช่นเดียวกับเป้ าหมายเป็ นแนว ยกเว้นแต่วา่ การแผ่ขยาย (ตามทางลึก) ของที่หมายมักจะบอกเป็ น
เมตรเสมอ ต่อไปนี้ เป็ นตัวอย่างคาสั่งยิงประกอบตาบลหลักซึ่ งอยูภ่ ายในพื้นที่เป้ าหมาย
ภารกิจยิง
ข้างหน้า
ตาบลหลัก หลุมปิ ด กึ่งกลางเขตการยิง
เป้าหมาย แถวตอนทหาร ขยายการยิงใกล้เข้ามา 100 เมตร
ไกลออกไป 100 เมตร เริ่ มยิง
ต่ อไปนีเ้ ป็ นตัวอย่างคาสั่ งยิงประกอบตาบลหลักซึ่งอยู่นอกพืน้ ทีเ่ ป้ าหมาย
ภารกิจยิง
ข้างหน้า
ตาบลหลัก หลุมปิ ด ขวา สี่ กึ่งกลางเขตการยิง
เป้าหมาย แถวตอนทหาร ขยายการยิงใกล้เข้ามา 100 เมตร
ไกลออกไป 100 เมตร เก้าร้อย
ยิงกราดทางลึก
คอยฟังคาสัง่ ข้าพเจ้า
เริ่ มยิง
6. เป้าหมายเป็ นแนวมีความลึก เมื่อสั่งระยะยิงแล้วต้องบอกกึ่งกลางเป้ าหมายด้วยปื นวางสองกระบอก
วิธีการแบ่งเขตตาบลเริ่ มแรกในการเล็ง และปรับทางปื นและการส่ ายปื นของปื นทั้งสองกระบอกคงปฏิบตั ิ
เช่นเดียวกันกับที่ได้มาแล้ว ในเรื่ องเป้าหมายเป็ นแนวพลยิง ต้องใช้การยิงทางลึกในระหว่างการยิงทุกๆ ชุด
ให้พอเพียง เพื่อรักษาให้ก่ ึงกลางของกลุ่มการยิงอยูบ่ นฐานของเป้ าหมาย (รู ปที่ 95)
เป้ าหมายเป็ นแนวมีความลึกใช้การยิงกราดผสม เมื่อสั่งระยะยิงแล้วต้องบอกกึ่งกล"
รูปที่ 65 การยิงต่ อเป้าหมายเป็ นแนวมีความลึก
6.1 ปี นวางกระบอกเดียว พลยิงคนเดียวต้องวางการเล็งเริ่ มแรก และปรับทางปื นจุดกึ่งกลางของเป้ าหมาย
เป็ นแนวมีความลึก เว้นแต่วา่ ส่ วนหนึ่งของเป้ าหมายที่มอบให้มีอนั ตรายมากกว่า พลยิงจะยิงกราดผสมมายัง
ปี กเป้ าหมายด้านใกล้ก่อน และแล้วจะยิงย้อนกลับไปยังปี กเป้าหมายด้านไกล (รู ปที่ 65)
6.2 เป้ าหมายเป็ นแนวมีความลึกที่เห็นได้ยาก ต้องกาหนดปี กของเป้ าหมายและจุดกึ่งกลางของเป้ าหมาย
เป็ นแนว มีความลึกที่เห็นได้ยากให้กบั ปื นกลหรื อปื นเล็กยาวที่ยงิ วิธีการใช้ตาบลหลักจะนามาใช้ไม่ได้
เพราะว่าต้องใช้ตาบลหลักอย่างน้อยที่สุด 2 แห่ง เพื่อแสดงมุมของเป้ าหมาย
7. เป้ าหมายเป็ นพื้นที่
ผบ.หมู่ จะกาหนดเป้ าหมายเป็ นพื้นที่ให้กบั พลประจาปื น โดยบ่งถึงความกว้างและความลึกของ
เป้ าหมาย เป้ าหมายเป็ นพื้นที่ตอ้ งใช้การยิงกราดผสม
7.1 ปี นวางสองกระบอก
7.1.1 เป้ าหมายจะแบ่ง ณ จุดกึ่งกลางเขตการยิง ปื นหมายเลขหนึ่งทาการยิงทางขวา และปื น
หมายเลขสองทาการยิงครึ่ งทางซ้าย ตาบลเล็งเริ่ มแรก และการยิงปรับปื นของปื นทั้งสองกระบอกอยูก่ ่ ึงกลาง
เขตการยิง
7.1.2 หลังจากที่ได้ปรับทางปื น ณ พื้นที่ก่ ึงกลางเขตการยิงแล้ว กระจายการยิงออกกไปโดยพิจารณา
ขนาดของรู ปอาการกระจาย แล้วแก้ทางทิศและทางระยะให้ปืนยิงครอบคลุมพื้นที่เป้ าหมายอย่างได้ผลที่สุด
ปื นหมายเลขหนึ่งส่ ายไปทางขวา ทางลึกเท่าที่จาเป็ นแล้วยิงกระสุ นออกไป 1 ชุด พลยิงคงดาเนินการยิงอย่าง
ต่อเนื่องทั้งการยิงกราดผสมขึ้นและลงจนกระทัง่ มาถึงปี กขวาของพื้นที่เป้ าหมาย ปื นหมายเลขสองทาการยิง
กราดผสมไปยังปี กซ้ายทานองเดียวกันเสร็ จแล้วปื นทั้งสองกระบอกยิงย้อนกลับ
ทิศทางที่ส่ายไปแล้ว กลับมาบรรจบกันทีก่ ึงกลางเขตการยิงทุกครั้งที่แก้ปืนทางทิศ และทางระยะต้องยิง
กระสุ นออกไปชุดหนึ่ง รู ปที่( 66)

รูปที่ 66 การยิงเป็ นพืน้ ที่


ต่อไปนี้เป็ นตัวอย่างคาสั่งยิงที่สั่งให้ยงิ เป้ าหมายเป็ นพื้นที่
ภารกิจยิง
ข้างหน้า
ตาบลหลัก ต้นส้นเดี่ยว กึ่งกลางเขตการยิง
เป้าหมาย เป็ นพื้นที่ ซ้าย ห้า ศูนย์ ขวา ห้า ศูนย์
ยิงต่อเนื่ อง
คอยฟังคาสั่งข้าพเจ้า
เริ่ มยิง
7.13 ปื นวางกระบอกเดียว เมื่อพลยิงคนเดียวต้องทาการยิงต่อเป้ าหมายที่เป็ นพื้นที่โดยวางการเล็งและ
การปรับปื นอยู่ ณ กึ่งกลางเขตการยิง แล้วยิงกราดผสมไปยังทั้งสองปี ก เมื่อมาถึงปี กแล้วให้เปลี่ยนทิศทาง
ย้อนกลับไป ปื นจะยิงกราดผสมกับในทิศทางตรงกันข้าม (รู ปที่ 66)
8. เป้าหมายในอากาศ
การยิงต่อเป้ าหมายในอากาศต้องใช้ท่ายิงประทับสะโพก หรื อท่ายิงกราดคลายปื นเมื่อปื นติดตั้งบนขาหยัง่
หรื อบนยานพาหนะ เมื่อสามารถที่จะหาได้ควรใช้กระสุ นส่ องวิถีลว้ นเพื่อให้มีความง่ายต่อการตรวจการณ์
และการปรับการยิง พลยิงจะยิงเป้าหมายในอากาศให้ถูกเป้าหมายจะต้องทาการเล็งข้างหน้าของเป้าหมาย ณ
จุดหนึ่งๆ ซึ่งเป้าหมายและกระสุ นวิถีจากปื นจะมาพบกันในเวลาเดียวกัน (รู ปที่ 67) พลยิงต้องตรวจเส้นทาง
ของกระสุ นส่ องวิถีและปรับการยิงตามความจาเป็ น

รูปที่ 67 การยิงเป้าหมายในอากาศ
การปรับการยิง ค. และ ป.
1. การปรับการยิง ค. และ ป.
1.1 กล่าวนา
ก. แม้วา่ วิวฒั นาการในการค้นหาเป้ าหมายและตรวจการณ์ดว้ ยเครื่ องมืออิเล็กทรอนิกส์กาลังก้าวหน้า
ไปก็ตาม แต่การยิงอย่างได้ผลของอาวุธปื นใหญ่ และเครื่ องยิงลูกระเบิดก็ยงั คงขึ้นอยูก่ บั ผูต้ รวจการณ์ดว้ ย
สายตาเป็ นส่ วนมากผูต้ รวจการณ์ซ่ ึ งตรวจการณ์ดว้ ยสายตาเป็ นเจ้าหน้าที่ส่วนหนึ่งของชุดหลักยิงตามปกติก็
จะเป็ นผูท้ ี่เห็นข้าศึก กาลังฝ่ ายเรา และการยิงของหน่วยรบต่างๆ ที่กระทาต่อข้าศึกด้วยตาจริ งๆ
ข. อาวุธปื นใหญ่และเครื่ องยิงลูกระเบิด เป็ นอาวุธที่สามารถทาการยิงได้ดว้ ยวิธีเล็งตรง คือการที่พล
ประจาอาวุธมองเห็นเป้าหมาย หรื อด้วยวิธีเล็งจาลองซึ่งพลประจาอาวุธ มองไมเห็น เป้ า หมาย ซึ่งวิธีหลังนี้
เป็ นวิธีหลักที่ใช้กนั อยู่ มีองค์ประกอบสาคัญในการที่จะทาการยิงถูกเป้ าหมายอยู่ 3 ส่ วน เรี ยกว่า ชุดหลักยิง
ประกอบด้วย ส่ วนยิง ศูนย์อานวยการยิง และผูต้ รวจการณ์
วิธีปฏิบตั ิของผูต้ รวจการณ์ที่จะกล่าวต่อไปเป็ นการตรวจการณ์เฉพาะด้วยสายตา ซึ่งรวมการตรวจ
การณ์ทางพื้นดินของผูต้ รวจการณ์หน้า และการตรวจการณ์โดยทหารเหล่าพลรบไว้ดว้ ย
ค. เป้ าหมายที่จะทาการยิงด้วย ป. หรื อ ค. ควรมีความเหมาะสมและคุม้ ค่า หากผูต้ รวจการณ์หรื อทหาร
พลรบตรวจพบทหารข้าศึกเพียง 2 - 3 คน ซึ่ งสามารถใช้อาวุธปื นเล็กหรื อปื นกลทาการยิงได้ ก็ไม่จาเป็ นต้อง
ขอให้ ป. หรื อ ค. ทาการยิงต่อเป้ าหมายนั้น อาจเป็ นการสิ้ นเปลืองทั้งเวลา และจานวนกระสุ น พึงจาไว้วา่
กระสุ นปื นใหญ่หรื อลูกระเบิดยิงมีน้ าหนักมากก่อให้เกิดปั ญหาในการลาเลียงทดแทนอยูบ่ า้ ง เป้ าหมายที่
เหมาะจะทาการยิงด้วย ป.หรื อ ค. ได้แก่
1) หน่วยทหารในที่โล่งหรื อหลุมเปิ ด ทหารขุดดินในสนามรบ
2) ปื นกล
3) อาวุธหนัก เช่น ปื นใหญ่ หรื อเครื่ องยิงลูกระเบิด
4) ที่รวมพล
5) รถบรรทุกที่จอดหรื อเคลื่อนที่
6) ทหารราบที่ปฏิบตั ิร่วมกับรถถัง
7) คลังกระสุ น
8) ที่ตรวจการณ์
9) ที่ต้ งั อาวุธมัน่ คงแข็งแรง
10) พื้นที่ซ่ ึ งต้องการสร้างฉากควัน
11) เป้ าหมายที่อยูห่ ลังที่กาบัง เช่น ตึก หรื อเนิน
1.2 บทบาทของผูต้ รวจการณ์ในการยิงเป้าหมาย
ก. เมื่อผูต้ รวจการณ์คน้ พบเป้ าหมายและหาที่ต้ งั ของเป้ าหมายซึ่ งอยูบ่ นพื้นที่ได้แล้วผูต้ รวจการณ์ก็ส่งคาขอยิง
เพื่อทาลายหรื อตัดรอนกาลังต่อเป้ าหมายไปยังศูนย์อานวยการยิง (ศอย.) หลังจากที่อาวุธได้ทาการยิงไปแล้ว
ผูต้ รวจการณ์ก็รายงานผลความเสี ยหายของเป้ าหมายที่เกิดขึ้นเนื่ องจากการยิงนั้นๆ เมื่อจาเป็ นผูต้ รวจการณ์
จะต้องปรับการยิง เพื่อให้ได้ผลการยิงสู งสุ ดต่อเป้ าหมายตามที่ตอ้ งการ ผูต้ รวจการณ์จะต้องนาความสามารถ
ในการตรวจการณ์ และความรู ้เกี่ยวกับสถานการณ์การรบมาใช้ประโยชน์ เพื่อช่วยให้หน่วยของตนได้รับ
ข่าวสารอย่างเพียงพอตลอดเวลา ยิง่ กว่านั้นผูต้ รวจการณ์ตอ้ งทราบและเข้าใจวิธีปฏิบตั ิของศูนย์อานวยการยิง
เป็ นอย่างดีอีกด้วย เมื่อนามาประกอบกับการตัดสิ นใจของตน ก็จะช่วยให้ชุดหลักยิงสามารถปฏิบตั ิภารกิจได้
เต็มที่สมความมุ่งหมาย
ข. ผูต้ รวจการณ์จะต้องเข้าใจการดาเนินภารกิจยิง ว่ามีข้ นั ตอนในการปฏิบตั ิแบ่งออกเป็ น 2 ขั้น คือ
1) ขั้นปรับการยิง หลังจากที่อาวุธได้ทาการยิงมาให้ตามคาขอยิงของผูต้ รวจการณ์ หากตาบลระเบิดที่
ตรวจได้ไม่ตรงเป้ าหมาย หรื อใกล้พอที่จะทาอันตรายต่อเป้ าหมายได้ตามความต้องการ ผูต้ รวจการณ์จะแก้ไข
ให้ตาบลระเบิดเข้าสู่ เป้ าหมายโดยเร็ วที่สุด เพื่อขอให้อาวุธทาการยิงหาผลต่อไป
2) ขั้นการยิงหาผล เมื่ออาวุธได้ทาการยิงนัดแรกหรื อชุดแรกมาแล้ว ผูต้ รวจการณ์ตรวจตาบลระเบิดได้
วางเป้ าหมาย หรื อผูต้ รวจการณ์ได้ปรับการยิงแล้ว ก็จะนาเข้าสู ข้ นั การยิงหาผลหน่วยยิงจะทาการยิงมาด้วย
จานวนอาวุธ และกระสุ นตามความต้องการ
ค. การยิงซึ่ งกระทาต่อเป้ าหมายโดยความมุ่งหมายต่างๆ เช่น ตัดรอนกาลัง รบกวนหรื อทาลายนั้นแบ่ง
ออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1) การยิงเป็ นพื้นที่ ส่ วนใหญ่กระทาการยิงต่อเป้ าหมายมีวญ ิ ญาณซึ่ งเคลื่อนที่ได้ เช่น คน สัตว์ ซึ่ ง
รวมทั้งยานพาหนะด้วย กระทาเพื่อตัดรอนกาลังโดยการวางการยิงอย่างหนาแน่นลงบนพื้นที่แห่งหนึ่งด้วย
การจู่โจมและรวดเร็ ว ต้องการให้เกิดอันตรายต่อเป้ าหมายด้วยอานาจจากสะเก็ดจากการระเบิดของลูกกระสุ น
ไม่จาเป็ นต้องให้ถูกเป้ าหมายโดยตรง ตามปกติจะยิงด้วยอาวุธ 1 หรื อ 2 กระบอก ในขั้นปรับการยิง ส่ วนใน
ขั้นยิงหาผลจะใช้อาวุธจานวนมากพอที่จะทาให้เกิดอันตรายต่อเป้ าหมายตามที่ตอ้ งการ ซึ่ งอาจเป็ นหมวด
กองร้อยหรื อมากกว่าก็ได้
2) การยิงประณี ต กระทาโดยการวางจุดปานกลางมณฑลของกลุ่มการยิงต่อเป้าหมายเป็ นจุดเล็กๆ ซึ่ง
อยูก่ บั ที่เพื่อทาลายเป้ าหมาย ซึ่ งเรี ยกว่า "การยิงทาลาย" หรื อหาตัวแก้ ซึ่ งเรี ยกว่า "การยิงหาหลักฐาน" ฯลฯ
ใช้อาวุธเพียงกระบอกเดียวทาการยิงตั้งแต่ปรับการยิงจนจบขั้นยิงหาผล
สรุ ป
ผูต้ รวจการณ์อาจเป็ นใครก็ได้ไม่จาเป็ นต้องเป็ นผูต้ รวจการณ์หน้าของ ป. หรื อ ค. เมื่อผูใ้ ดเห็นเป้าหมาย
กาหนดที่ต้ งั เป้ าหมาย ส่ งคาขอยิงและทาการปรับการยิงให้กบั ป.หรื อ ค.ผูน้ ้ นั ก็ทาหน้าที่เป็ นผูต้ รวจการณ์
หน้าให้กบั ป. หรื อ ค ในขณะนั้น
ชุดหลักยิงซึ่งประกอบด้วย ผูต้ รวจการณ์ ศูนย์อานวยการยิง และส่ วนยิง มีแต่ผตู ้ รวจการณ์เท่านั้นที่เห็น
เป้าหมาย ฉะนั้นการที่จะทาให้กระสุ น ถูกเป้ หมายอย่างแม่นยาและรวดเร็ วเพียงใดนั้น ย่อมขึ้นอยูก่ บั ผูต้ รวจ
การณ์เป็ นสาคัญ
การส่ งคาขอยิงของผูต้ รวจการณ์น้ นั เมื่อพบเป้าหมาย กาหนดที่เป้ าหมายแล้วก็จะส่ งคาขอยิงไปยังศูนย์
อานวยการยิง และทาการปรับการยิงโดยส่ งตัวแก้ไปยังศูนย์อานวยการยิง
ศูนย์อานวยการยิง เมื่อรับคาขอยิงหรื อตัวแก้จากผูต้ รวจการณ์แล้ว เจ้าหน้าที่ในศูนย์อานวยการยิงก็จะทา
การแปลงหลักฐานที่ได้จากผูต้ รวจการณ์ ให้เป็ นคาสั่งยิงแล้วสั่งไปยังส่ วนยิง
ส่ วนยิงรับคาสั่งจากศูนย์อานวยการยิงแล้ว ทาการตั้งหลักฐานยิงแล้วทาการยิงไปยังเป้ าหมาย
่ งลูกระเบิด แบบ 88 ขนาด 60 มม.
เครืองยิ
1. กล่าวนา
อาวุธเครื่ องยิงลูกระเบิด เป็ นอาวุธกระสุ นวิถีโค้งที่ทหารราบมีไว้ในอัตราเพื่อเสริ มกาลังยิงของทหารราบ
เอง ที่จะยิงทาลายเป้ าหมายที่อยูห่ ลังที่กาบัง ทหารราบได้มีอาวุธเล็งตรง คือ บรรดาอาวุธซึ่งมีวถิ ีราบ และยัง
ได้มีอาวุธเล็งจาลอง คือ บรรดาอาวุธซึ่งมีกระสุ นวิถีโค้ง เมื่อทหารราบมีอาวุธที่กล่าวแล้วข้างต้นในหน่วย
ทหารราบเองจึงทาให้ทหารราบบรรลุภารกิจหลักทางยุทธวิธี เข้าตี ตั้งรับ เป็ นส่ วนใหญ่ เพราะทหารราบเป็ น
ผูเ้ ข้าถึงพื้นที่ของข้าศึกด้วยการยิงและการเคลื่อนที่ เข้ายึดพื้นที่ขา้ ศึกไว้ดว้ ยการป้ องกันตนเองขั้นต้นด้วยอาวุธ
ของตนเอง หรื อขับไล่หรื อไล่ติดตามข้าศึกออกไปด้วยการยิงระยะใกล้ในขั้นต้นของอาวุธตนเอง
2. ลักษณะทัว่ ไป
เครื่ องยิงลูกระเบิด ขนาด 60 มม.จัดอยูใ่ นประเภทอาวุธประจาหน่วยปั จจุบนั นี้ ทบ.ไทยมีใช้อยูห่ ลายแบบ
เป็ นอาวุธกระสุ นวิถีโค้ง ปฏิบตั ิการยิงด้วยวิธีเล็งจาลอง หรื อปฏิบตั ิการยิงด้วยวิธีเล็งตรงได้เมื่อมองเห็นเป้าหมาย
ความแม่นยาที่เกิดจากผลการยิงของเครื่ องยิงลูกระเบิดนี้ผใู ้ ช้อาวุธจะต้องศึกษาให้มีความเข้าใจอย่างแท้จริ ง
แล้วฝึ กจนเกิดความชานาญตามลาดับขั้นการฝึ กในหลักเกณฑ์กาหนดไว้ทุกตาแหน่งตามหน้าที่ ในอัตราการ
จัดของหน่วยจนสามารถผ่านการทดสอบมาตรฐานการฝึ กที่กาหนดไว้น้ นั ได้ จะเป็ นผูท้ ี่มีความสามารถใช้อาวุธ
ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ลักษณะของเครื่ องยิงลูกระเบิด เป็ นอาวุธที่มีลากล้องภายในเกลี้ยง บรรจุลูกระเบิดทางปากลากล้องด้วย
มือทีละนัด ทาการยิงด้วยมุมสู งเครื่ องยิงชนิดแบบที่เป็ นมาตรฐาน มีชิ้นส่ วนใหญ่ ๆ 3 ชิ้นส่ วน และสามารถ
ถอดออกจากกันได้ มีน้ าหนักเบา สามารถนาไปในภูมิประเทศได้ดว้ ยพลประจาเครื่ องยิงเพียงคนเดียว กล้อง
เล็งที่ใช้กบั เครื่ องยิงใช้กล้องเล็ง เอ็ม 4 เป็ นเครื่ องช่วยเล็งของเครื่ องยิงด้วยมุมสู ง และมุมทิศ
ค. ขนาด 60 มม. แบ่งออกได้ ดังนี้
1. ค.88 ขนาด 60 มม. สหรัฐอเมริ กา
- เอ็ม 2
- เอ็ม 19
- ที 18 อี 1 (เครื่ องยิงถือ)
2. ค.ขนาด 60 มม. ศอว.ทบ.
- เอ 1
- เอ 2
- เอ 3 (คอมมานโด)
รู ปที่ 1 เครื่ องยิงลูกระเบิด ขนาด 60 มม. แบบเอ็ม 2 แผ่ นฐานเอ็ม 5
รูปที่ 2 เครื่ องยิงลูกระเบิด ขนาด 60 มม. แบบ เอ็ม 19 แผ่นฐาน เอ็ม 5

รูปที่ 3 เครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด 60 มม. แบบ ที 18 อี 6


3. ขนาดและน้ าหนัก
ชิ้นส่ วนของเครื่ องยิงลูกระเบิดแบบ 88 ขนาด 60 มม. แบ่งออกเป็ น 3 ชิ้นส่ วนใหญ่
ดังนี้
1. ขาหยัง่ 2. ลากล้อง 3. ฐานรับลากล้อง

รูปที่ 4 ลากล้อง
รูปที่ 5 ขาหยัง่

รูปที่ 6 แผ่นฐาน
ค. ขนาด 60 มม. แบบ 88 (สหรัฐอเมริกา)
ค. เครื่ องพร้อม เอ็ม 2 42.0 ปอนด์
ค. เครื่ องพร้อม เอ็ม 19 45.2 ปอนด์
ค. ที 18 อี 6 20.5 ปอนด์
ค. ขนาด 60 มม. ศอว.ศอพท.
ค. เครื่ องพร้อม เอ 1 41.88 ปอนด
ค. เครื่ องพร้อม เอ็ม 2 44.09 ปอนด์
ค. เครื่ องพร้อม เอ 3 (คอมมานโด) 24.25 ปอนด์
4. ขีปนวิธี
ระยะยิงไกลสุ ด ขึ้นอยูก่ บั ลูกระเบิดยิงแต่ละชนิดที่ใช้ทาการยิง
ค. ขนาด 60 มม. แบบ 88 (สหรัฐอเมริกา)
- ลย./สังหาร บ.49 ป.2 1,790 เมตร
- ลย./ควัน บ.302 1,450 เมตร
- ลย./ส่ องแสง บ.83 ป.1 1,000 เมตร
- ลย./ซ้อมยิง บ.50 ป.2 1,790 เมตร
- ลย./ฝึ กยิง บ.69 225 เมตร
ค. ขนาด 60 มม. ศอว.ศอพท. ลย./สั งหาร
- ไกลสุ ด ส่ วนบรรจุ 4 1,800 เมตร
- ใกล้สุด ส่ วนบรรจุ 0 100 เมตร
อัตราการยิง
- สู งสุ ด 30 นัด/นาที
- ต่อเนื่ อง 18 นัด/นาที
หมายเหตุ ถ้ายิงด้วยความเร็ วสู งสุ ดนานเกินกว่า 1 นาที จะทาให้แก๊สรั่วออกทางเครื่ องปิ ดท้าย
5. การทางานของเครื่ องกลไก
ลักษณะการทางานของเครื่ องกลไก เครื่ องยิงทาการยิงลูกระเบิดออกไปได้ดว้ ยการหย่อนลูกระเบิดยิง
พร้อมนัดลงทางปากลากล้อง โดยเอาทางครี บหางลงไปในลากล้องแล้วปล่อยลูกระเบิดยิง มุมสู งของลา
กล้องและน้ าหนักของลูกระเบิดยิงเองจะทาให้ลูกระเบิดยิงเลื่อนลงไปท้ายลากล้อง เมื่อถึงท้ายจอกกระทบ
แตกของส่ วนบรรจุหลักที่หางของลูกระเบิดยิงจะกระแทกกับเข็มแทงชนวนซึ่ งโผล่ยนื่ ออกมาจากเครื่ องปิ ด
ท้ายประมาณ 1/20 นิ้ว ก็จะเกิดการจุดระเบิดของส่ วนบรรจุหลักเป็ นประกายเปลวเพลิงจากการระเบิดของ
ส่ วนบรรจุหลักจะไปจุดส่ วนบรรจุเพิ่ม ด้วยการเผาไหม้ของส่ วนบรรจุจะกลายเป็ นแก๊สผลักดันให้ลูกระเบิด
ยิงพุง่ ขึ้นข้างบนและออกจากลากล้องปื นไป ที่ตวั ลูกระเบิดยิงจะมีแหวนกันแก๊สอยูด่ ว้ ยทาหน้าที่ป้องกัน
แก๊สรั่วไหลออกไปก่อนที่ลูกระเบิดยิงจะพ้นจากปากลากล้องและทาหน้าที่ประคองลูกระเบิดยิงในขณะ
เคลื่อนที่อยูใ่ นลากล้องด้วยสลักนิรภัยที่ชนวนหัวของลูกระเบิดยิงจะป้ องกันมิให้ชนวนอยูใ่ นลักษณะพร้อม
ทางาน เพื่อความปลอดภัยจนกว่าลูกระเบิดยิงจะพ้นจากปากลากล้องไปแล้วประมาณ 4-5 วินาทีเมื่อลูก
ระเบิดยิงพ้นจากปากลากล้องไปแล้วภายในลากล้องจะว่างเปล่า พร้อมที่จะทาการยิงลูกระเบิดยิงนัดต่อไป
ทันที
6. ลูกระเบิดยิงด้ าน
แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ ด้านนอก และด้านใน
1. ด้านใน หมายถึง เมื่อบรรจุลูกระเบิดยิงลงไปในลากล้องแล้ว ไม่ลนั่ ออกไปลักษณะเช่นนี้อาจเกิด
จากจอกกระทบแตกของส่ วนบรรจุหลักไม่ทางานหรื อเข็มแทงชนวนที่เครื่ องปิ ดท้ายลากล้องหักหรื อชารุ ด
เมื่อปรากฏว่าลูกระเบิดยิงด้านในลากล้อง จะต้องคอยอย่างน้อย 30 วินาที ห้ามมิให้ชะโงกหน้าไปดูในลา
กล้องซึ่ งอาจจะได้รับอันตรายจากการลัน่ ออกมาของลูกระเบิดยิง กรณี ลูกระเบิดยิงด้านในลากล้องให้เทลูก
ระเบิดยิงออกจากปากลากล้องด้วยการคลายด้ามเกลียวเร่ งปลอกรัดลากล้องพอให้ปลอกรัดลากล้องหลวม
แล้วหมุนลากล้องให้เดือยท้ายลากล้องพ้นออกจากการขัดกับช่องรับเดือยท้ายลากล้อง แล้วยกท้ายลากล้อง
ให้สูงขึ้นลูกระเบิดยิงจะเลื่อนออกมา และคอยใช้มือ รองรับไว้ นาลวดสลักนิรภัยสวมเข้าตาแหน่งเดิมที่
ชนวนหัว นาลูกระเบิดยิงด้านแยกไว้เพื่อหาสาเหตุการด้านจัดเครื่ องยิงเข้าที่แล้วใช้ลูกระเบิดยิงนัดใหม่ทา
การยิงต่อไป
2. ด้านนอก หมายถึง เมื่อทาการยิงลูกระเบิดยิงออกไปแล้วกระทบที่เป้ าหมายไม่ระเบิดขึ้น ลักษณะ
เช่นนี้เกิดจากการไม่ทางานของชนวนหัวลูกระเบิดยิง การด้านของลูกระเบิดยิงในลักษณะเช่นนี้ อนั ตรายมาก
เนื่องจากชนวนหัวของลูกระเบิดยิงพร้อมที่จะทางานได้ทุกขณะ เมื่อตรวจพบลูกระเบิดยิงด้านนอกห้ามแตะ
ต้องตัวลูกระเบิดยิง ให้ทา
เครื่ องหมายไว้ดว้ ยธงหรื อสลักทาสี ขาวไว้ แล้ว รายงานให้เจ้าหน้าที่ สพ.ทบ.มาทาลายต่อไป
7. กล้องเล็ง เอ็ม 4
กล้องเล็ง เอ็ม 4 เป็ นอุปกรณ์สาหรับตั้งเครื่ องยิงให้ตรงทิศ และตั้งมุมสู งให้กบั เครื่ องยิงได้ตามระยะที่
ต้องการ กล้องเล็งนี้สวมอยูท่ ี่แท่นรับก้านเครื่ องเล็งด้านซ้ายของเครื่ องยิง เป็ นเครื่ องเล็งมาตรฐานที่ใช้กบั
เครื่ องยิง ขนาด 60 มม. เอ 1, เอ 2, เอ 3 และค.88 เอ็ม 2 และเอ็ม 19 ประกอบด้วยชิ้นส่ วนต่าง ๆ ดังนี้
- กล้องสอบการเล็ง
- ศูนย์เปิ ด เส้นเล็งหางม้าสี ดา
- ควงมุมทิศ ดรรชนีช้ ีมาตรา มาตรามุมสู งส่ วนใหญ่ มาตรามุมสู งส่ วนย่อย
- หลอดระดับมุมสู ง
- หลอดระดับแก้เอียง
- ก้านกล้องเล็งและกระเดื่องก้านกล้องเล็ง
รู ปที่ 7 กล้องเล็ง เอ็ม 4
วิธีใช้ กล้องเล็ง เอ็ม 4
1. นากล้องเล็งออกจากกล่อง สวมเข้ากับแท่นรับกล้องเล็งตรวจดูวา่ เข้าที่สนิทเรี ยบร้อยแล้ว
2. ตั้งมุมสู งและมุมทิศตามที่ตอ้ งการ ตามคาสัง่ ยิงหรื อจากตารางยิงให้ถูกต้อง
3. หมุนควงสู ง ปรับหวอดระดับทางสู ง หมุนควงส่ าย ปรับแนวเส้นเล็ง แล้วปรับหวอดระดับทางข้าง
จนกระทัง่ เส้นเล็งอยูข่ อบซ้ายของหลักเล็ง การยิง 3 นัดแรกให้ถอดกล้องเล็งออกก่อน เพื่อให้พลัว่ ของแผ่น
ฐานฝังตัวแน่นกับพื้น การกระทบกระเทือนมาก ๆ อาจทาให้ชิ้นส่ วนที่บอบบางชารุ ดได้
4. การถอดกล้องเล็งออกจากแท่นรับก้านกล้องเล็ง มือซ้ายจับกล้องเล็ง หัวแม่มือกับนิ้วชี้ขวาผลัก
กระเดื่องก้านกล้องเล็งไปทางขวาจนสุ ด มือซ้ายดึงกล้องเล็งขึ้นข้างบน ให้กล้องเล็งหลุดออกมา ตั้งมุมสู ง 40
องศา มุมทิศ 0 มิลเลียม เก็บเข้ากล่องกล้องเล็ง
8. เครื่ องให้ แสง เอ็ม 37
เครื่ องให้แสงนี้ใช้เป็ นเครื่ องช่วยเล็งในเวลากลางคืนของกล้องเล็ง เอ็ม 4 ใช้ถ่านไฟฉายขนาด 1 1/2 โวลต์
มีปลายสาย 2 อัน ใช้ส่องสว่างในกล้องสอบการเล็งหนึ่งอัน และใช้ส่องดูมาตรามุมสู งและมุมทิศอีกหนึ่งอัน
ถ้าหน่วยไม่มีจะพัฒนาดัดแปลงโดยใช้ไฟฉายขนาดเล็กปิ ดด้วยกระดาษสี ดา เจาะรู เล็ก ๆ ให้แสงสว่างผ่าน
เพียงพอที่จะใช้ส่องด้านหน้าทางข้างชิดกล้องสอบการเล็ง จะเห็นเส้นสี ขาวในกล้องสอบการเล็ง เป็ น สี แดง
9. ไฟฉายหัวหลักเล็ง เอ็ม 41
ใช้ประกอบเครื่ องให้แสง เอ็ม 37 เมื่อต้องการเล็งในเวลากลางคืน วางสวมไว้บนหัวหลักเล็ง เอ็ม 10 หรื อ
หลักเล็งเพิ่มที่เตรี ยมไว้มีขนาดเท่ากัน บางครั้งจา เป็ นต้องเตรี ยมไว้หลายๆ อัน โดยดัดแปลงไว้ให้มีลกั ษณะ
ใกล้เคียงหรื อเหมือนกันได้ วิธีเล็ง ให้เส้นเล็ง ที่หลอดไฟฉายหัวหลักเล็งอยูด่ า้ นบน เส้นเล็งในกล้องตรวจสอบ
การเล็งต่อเป็ นแนวดิ่งอยูด่ า้ นล่าง
10. หลักเล็ง เอ็ม 10
เป็ นหลักเล็งที่ทาด้วยเหล็กยาว 25 1/2 นิ้ว มีมาตรามิลเลียมที่บรรทัดวัดมุม หรื อชี้ทิศทางยิงขั้นต้นให้เครื่ องยิง
ถ้าใช้มาตราวัดมุมเป็ นมิลเลียมให้ยดึ หลักเล็งอยูห่ ่างตา 18 นิ้ว ห่างกันขีดละ 10 มิลเลียม จาก 0 ไปทางขวา
และทางซ้ายข้างละ 100 มิลเลียม หลักเล็งนี้จะใช้ไม้ทาแทนได้ขนาดโดยประมาณ คือ 2 นิ้ว X 1 นิ้ว ยาว 2 ฟุต
หมายเหตุ ความสัมพันธ์ของควงส่ ายกับควงแก้เอียง คือ หมุนควงส่ าย 1 รอบ และหมนุ ควงแก้เอียงไป 1-9
รอบ ไปในทิศทางเดียวกันจะทาให้หลอดระดับไม่เปลี่ยนแปลง
11. ลูกระเบิดยิง
ลูกระเบิดยิงที่ใช้กบั เครื่ องยิงลูกระเบิด ขนาด 60 มม. เป็ นลูกระเบิดยิงครบนัด กล่าวถึงลูกระเบิดยิงทั้ง
นัด เครื่ องหมายและหลักฐานทางขีปนวิธี ลูกระเบิดยิงที่ใช้กบั ค.88 ขนาด 60 มม. แบ่งประเภทตามลักษณะ
การใช้มีอยู่ 5 ประเภท
ลูกระเบิดยิงชนิดสังหาร
ลูกระเบิดยิงชนิดควัน
ลูกระเบิดยิงชนิดส่ องแสง
ลูกระเบิดยิงชนิดฝึ กยิง
ลูกระเบิดยิงชนิดซ้อมยิง
รู ปที่ 8 ลูกระเบิดยิงสั งหารแบบ 49 ป.2 พร้ อมด้ วยชนวน บ.525
11.1 ลูกระเบิดยิงสังหาร บ.49 ป.2 (รู ปที่ 2)
ก.ลูกระเบิดยิงชนิดนี้ เป็ นลูกระเบิดยิงชนิดสังหารมาตรฐานที่ใช้กบั เครื่ องยิงลูกระเบิดขนาด 60 มม.
และใช้มากกว่าชนิดอื่นๆ ส่ วนใหญ่ใช้สังหารบุคคล และได้ผลมาก ในการทาให้บาดเจ็บ เพราะว่าสะเก็ด
ระเบิดสามารถกระจายไปได้รอบตัวในทันทีที่ลูกระเบิด ตกกระทบพื้นหรื อวัตถุแข็งอื่นๆ มียา่ นฉกรรจ์กว้าง
ประมาณ 18 เมตร และอีก 9 เมตร
ข.ลูกระเบิดยิงสังหาร ประกอบด้วย ตัวลูกระเบิด หางลูกระเบิด ซึ่ งขันเกลียวติดอยูต่ อนท้ายลูกระเบิด
และชนวน (บ.525 หรื อ บ.525 ป.1) ซึ่ งติดอยูต่ อนท้ายของลูกระเบิดดินระเบิดทีเอ็นที หนัก 0.34 ปอนด์ ที่
บรรจุอยูใ่ นตัวลูกระเบิด และถูกจุดด้วยดินขยายการประทุที่บรรจุอยูต่ อนฐานของชนวนในโอกาสที่เกิดการ
กระทบ สาหรับรายละเอียดเกี่ยวกับชนวนกระทบแตกไว หางลูกระเบิด เป็ นที่บรรจุส่วนบรรจุหลัก และเมื่อ
เกิดการลุกไหม้ทาให้สามารถติดถุงดินส่ วนบรรจุเพิ่มได้ดว้ ย หางลูกระเบิดยังช่วยรักษาการทรงตัวของลูก
ระเบิดขณะที่วงิ่ ไปในอากาศ ถ้าใช้ส่วนบรรจุเพิ่ม 4 ส่ วนบรรจุกบั ลูกระเบิดยิงหนัก 3 ปอนด์ (โดยประมาณ
สามารถทาการยิงได้ในระยะไกลสุ ด 1,790 เมตร (โดยประมาณ)

รู ปที่ 9 ลูกระเบิดยิง ค.ขนาด 60 มม.


11.2 ลูกระเบิดยิงควัน เอ็ม 302
ใช้ทาฉากควัน ทาอาณัติสัญญาณ ทาให้บาดเจ็บ และทาให้เกิดการเผาไหม้ บรรจุภายในด้วยฟอสฟอรัส
ขาว เมื่อถูกความร้อน 100 องศาฟาเรนไฮต์ หรื อมากกว่าขึ้นไป จะกลายเป็ นวัตถุเหลว การเก็บลูกระเบิดยิง
จะเอาหัวชนวนขึ้นด้านบน รัศมีอนั ตราย 15 เมตร ระยะยิงไกลสุ ด 1,450 เมตร ที่ตวั ลูกระเบิดยิงทาสี เทา
เครื่ องหมายสี เหลือง
11.3ลูกระเบิดยิงส่ องแสง เข็ม 83 เอ 1, เอ 3
ใช้ยงิ ในเวลากลางคืน เพื่อส่ องสว่างใช้ในการตรวจการณ์ ภายในบรรจุวตั ถุส่องแสงและร่ ม ใช้ชนวนแตก
อากาศ เอ็ม 65 ชนวนเริ่ มทางานเมื่อยิงออกไปแล้ว 14.5 วินาทีเริ่ มจากชนวนเชื้อจุดวัตถุส่องแสง จุดดินดา
ดินดาขับร่ มให้เปลือกลูกระเบิดยิงแตกออกจากกัน ร่ มจะกลางออก มีวตั ถุส่องแสงสว่างแขวนห้อยอยูด่ ว้ ย
นานประมาณ 25 วินาทีถา้ ยิงด้วยลูกระเบิดยิง เอ็ม 83 เอ 1 จะให้แสงสว่าง 145,000 แรงเทียน ลูกระเบิดยิง
เอ็ม 83 เอ 3 ให้แสงสว่าง 330,000 แรงเทียน อัตราการตกของร่ ม 3 เมตร ต่อวินาที
ลูกระเบิดยิงทั้งนัดหนัก 5.14 ปอนด์ ระยะยิงไกลสุ ด 1,000 เมตร
11.4 ลูกระเบิดซ้อมยิง เอ็ม 50 เอ 2
ลักษณะเหมือนลูกระเบิดสังหาร ผิดกันที่สีทา ใช้ในการฝึ กและมีความมุ่งหมาย เช่นเดียวกับลูกระเบิดยิง
สังหารเพราะมีลกั ษณะทางขีปนวิธีเหมือนกัน ตัวลูกระเบิดยิงทาสี ฟ้า บรรจุดินดาเล็กน้อยและวัตถุปรับ
น้ าหนักแทนดิน ทีเอ็นที
11.5 ลูกระเบิดฝึ กยิง เอ็ม 69
ลูกระเบิดฝึ กยิงเป็ นเหล็กเหนียวแข็ง และส่ วนครี บหางเป็ นแบบที่มาตรฐาน หนัก 4.4 ปอนด์ ยิงได้ไกล
225 เมตร การเลือกสนามฝึ กยิงควรจะหาพื้นที่เป็ นดินอ่อนจะทาให้ลูกระเบิดยิงมีอายุใช้งานได้นาน
หมายเหตุ มีลูกระเบิดยิงชนิดสังหาร ได้รับการพัฒนามีใช้อยูห่ ลายแบบไม่มีเอกสารอ้างอิงไว้ ดังนั้นผูใ้ ช้
จะต้องพิจารณาโดยรอบคอบ นาตารางยิงไปใช้ให้ตรงกับลูกระเบิดยิงนั้นด้วย
12. ตารางยิง
คือ หลักฐานการตั้งมุมสู งและส่ วนบรรจุตามระยะยิงที่กาหนดไว้เป็ นเมตรหรื อเป็ นหลา ซึ่งอาจจะแจ้ง
รายการอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการใช้ลูกระเบิดยิงแต่ละชนิด เช่น เวลาแล่น สู งยอดกระสุ นวิถี ย่านคลาดเคลื่อน
คาดคะเนทางระยะและทางทิศ บางชนิดแจ้งให้ทราบการทางานของชนวนไว้ดว้ ย ตารางยิงของลูกระเบิดยิง
ต่างชนิดกันที่ไม่กาหนดไว้จึงใช้ร่วมกันไม่ได้ มีขอ้ พิจารณาการใช้ตารางยิงไว้ดงั นี้
ก. การยิงควบ ให้เลือกใช้มุมยิงที่มีส่วนบรรจุเพิ่ม ลดระยะยิง หรื อ เพิ่ม ระยะยิงได้หลายระยะ
ข. ระหว่างการยิงควบ ไม่ควรเปลี่ยนส่ วนบรรจุเพิม่ ที่ต่างกันจะทาให้ความแม่นยาลดน้อยลง
ค. การยิงทางลึก หรื อการยิงเป้ าหมายที่เปลี่ยนไปในทางลึกให้เลือกเปลี่ยนมุมยิงที่ใช้ส่วนบรรจุเดิม
ง. การยิงต่อระยะหน้าหรื อฝ่ ายเดียวกัน อยูห่ ่างเป้ าหมาย 300 เมตรลงมาให้เลือกใช้มุมยิงที่มีส่วนบรรจุต่า
ที่สุด
จ. ตารางยิงที่มีระยะยิงเป็ นหลา เมื่อต้องการยิงระยะมากกว่า 1,500 หลา จะต้องเพิ่มมุมสู งลงไปให้ตรงกับ
ระยะยิงที่เพิม่ ครั้งละ 25 หลาด้วย (เพราะระยะยิงห่างกันช่วงละ100 หลา)
คุณลักษณะของวัตถุระเบิดทางทหาร
ตอนที่ 1 กล่าวทัว่ ไป
ความมุ่งหมาย
1. บทเรี ยนนี้ แนะนาการใช้วตั ถุระเบิดทางทหาร ในการทาลายเครื่ องกีดขวางทางทหารใช้ในงานก่อสร้าง
ต่าง ๆ ซึ่ งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ คือ
1.1 ชนิดคุณลักษณะพิเศษตลอดจนการใช้วตั ถุระเบิดและอุปกรณ์
ในการจุดระเบิด
1.2 การเตรี ยมการ การวางดินระเบิด ตลอดจนการจุดระเบิด
1.3 สู ตรการคานวณหาดินระเบิด (Charge calculation formulas)
1.4 วิธีการทาลายแบบประณี ตและเร่ งด่วนสาหรับใช้ในเขตหน้า
1.5 กฎความปลอดภัยต่าง ๆ
1.6 การจับถือ การขนส่ ง และการเก็บรักษาวัตถุระเบิด
1.7 การใช้ดินระเบิดที่เหมาะสมต่อการทาลาย
2. การทาลายในทางทหาร
การทาลายในทางทหารมีการทาลายด้วยไฟ ด้วยน้ า ด้วยวัตถุระเบิด ด้วยเครื่ องมือกลและด้วยอาวุธยิง
การทาลายจะทาลายด้วยวิธีใดก็แล้วแต่สถานที่และเป้ าหมายที่จะทาลายโดยให้สาเร็ จผลตามความมุ่งหมาย
ของทางทหาร แต่ในที่น้ ีจะกล่าวถึงการทาลายด้วยวัตถุระเบิดเพียงอย่างเดียว การทาลายด้วยวัตถุระเบิดเรา
สามารถใช้ได้ท้ งั ในการรุ กและในการตั้งรับ เช่น ทาลายฉากขัดขวางของข้าศึกเพื่อความสะดวกในการเคลื่อน
ที่ของฝ่ ายเราและทาลายให้เป็ นเครื่ องกีดขวางเพื่อรั้งหน่วง หรื อจากัดการเคลื่อนที่ของข้าศึก เป็ นต้น
วัตถุระเบิดทางทหาร
1. วัตถุระเบิดทางทหารเป็ นสสารชนิดหนึ่ง ซึ่ งเกิดปฏิกิริยาทางเคมี เมื่อได้รับความร้อนการเสี ยดสี การ
กระทบกระแทก หรื อได้รับแรงกระตุน้ เตือนเริ่ มแรกอย่างเหมาะสมทาให้เกิดเป็ นสารอย่างใหม่ข้ ึน หรื อ
กลายเป็ นแก๊สจานวนมาก ๆ เราแยกชนิดของวัตถุระเบิดแรงต่าและวัตถุระเบิดแรงสู งด้วยอัตราความเร็ วใน
การระเบิด (เป็ นฟุต หรื อเมตรต่อวินาที)ซึ่ งผลจากการระเบิดนี้เป็ นลักษณะพิเศษของวัตถุระเบิดแต่ละชนิด
2. วัตถุระเบิดแรงต่าวัตถุระเบิด แรงต่าเกิดจากการเผาไหม้จากของแข็งไปเป็ นแก๊สอย่างช้า ๆ สม่าเสมอ
(อัตราเร็ วในการระเบิดตั้งแต่เริ่ มต้นจนถึง 400 เมตร หรื อ 1,312 ฟุต/วินาที)
คุณลักษณะพิเศษนี้ ทาให้วตั ถุระเบิดแรงต่าแรงต่า เหมาะสมอย่างมากเมื่อต้องการให้ผลในการผลักดัน
ตัวอย่างของวัตถุระเบิดแรงต่า ได้แก่ ดินไร้ควัน และดินดา
3. วัตถุระเบิดแรงสู ง เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของวัตถุระเบิดเป็ นแก๊สอย่างรวดเร็ ว ในอัตรา 1,000 เมตร/
วินาที (3,280 ฟุต /วินาที) ถึง 8,500 เมตร/วินาที (27,880 ฟุต /วินาที) ก่อให้เกิดผลการฉี กขาดต่อเป้ าหมาย
วัตถุระเบิดแรงสู งนี้ใช้บรรจุเป็ นดินระเบิดแท่ง บรรจุในทุ่นระเบิด กระสุ นปื นใหญ่ และในลูกระเบิดต่าง ๆ
วัตถุระเบิดใช้ ในทางทหาร
1. แอมโมเนียมไนเตรท (AMMONIUM NITRATE) แอมโมเนียมไนเตรท เป็ นวัตถุระเบิดที่มีความไวใน
การระเบิดน้อยที่สุดในบรรดาวัตถุระเบิดทางทหาร จึงต้องมีดินขยายการระเบิดในการระเบิด เพราะว่าดิน
ระเบิดแอมโมเนียมไนเตรทมีความไวในการระเบิดน้อย จึงใช้ผสมสาหรับการใช้เป็ นดินระเบิดตัดหรื อ
ระเบิดแตกหัก แต่เราจะนาไปใช้สาหรับระเบิดทาหลุม หรื อขุดคู ส่ วนมากจะนาไปใช้ดา้ นอุตสาหกรรม
เหมืองแร่ หรื อการขุดดิน แอมโมเนียมไนเตรทจะชื้นเมื่อถูกอากาศ ดังนั้น จึงต้องบรรจุให้ดีเพื่อป้ องกันมิให้
อากาศเข้าได้ ฉะนั้น วัตถุระเบิดชนิดนี้ จึงไม่เหมาะสมที่จะใช้ใต้น้ านอกจากจะได้มีการป้ องกันมิให้ถูกน้ าซึม
เท่านั้น
2. พีอีทีเอ็น (PENTAERYTHRITE TETRANITRATE) (PETN)
พีอีทีเอ็น เป็ นวัตถุระเบิดที่มีความไวสู ง (highly sensitive) และมีอานาจมากที่สุดในบรรดาวัตถุระเบิด
ทางทหาร มีอานาจพอ ๆ กับ อาร์ดีเอ็กซ์ และไนโทรกรี เซอรี น พีอีทีเอ็น ใช้เป็ นดินขยายการระเบิด บรรจุใน
ชนวนฝักแคระเบิด และเชื้ อปะทุบางชนิ ด และบางทีก็ใช้ผสมกับดินระเบิดทีเอ็นที หรื อใช้กบั ไนโตรเซลลูโลส
เช่น ดินระเบิด M118 พีอีทีเอ็นไม่ละลายน้ าจึงสามารถใช้ในการทาลายใต้น้ าได้
3. อาร์ ดีเอ็กซ์ (CYCCLOTRIMETHLENETRINITRAMINE) (RDX)
อาร์ ดีเอ็กซ์ เป็ นวัตถุระเบิดที่มีความไวในการระเบิดมาก มีอานาจในการทาลายสู งและเป็ นวัตถุระเบิด
ทางทหารที่มีอานาจมากชนิดหนึ่ง อาร์ดีเอ็กซ์ใช้เป็ นวัตถุระเบิดหลักในเชื้อปะทุไฟฟ้า เอ็ม 6 และเชื้อปะทุ
ชนวน เอ็ม 7 ดินระเบิดชนิดนี้ถา้ ทาให้หมดความไวในการระเบิดแล้ว สามารถใช้เป็ นดินช่วยขยายการ
ระเบิด ดินระเบิดทาลาย และดินระเบิดแท่งได้ ส่ วนใหญ่ดินระเบิดอาร์ ดีเอ็กซ์ ใช้เป็ นส่ วนผสมทาเป็ นดิน
ระเบิดชนิดอื่น ๆ เช่น ดินระเบิดคอมโปซิ ชนั่ เอ, บี หรื อคอมโปซิ ชนั่ ซี
4. ทีเอ็นที (TRINITROTOLUENE) (TNT)
ทีเอ็นที เยอรมนีผลิตขึ้นใช้เป็ นชาติแรก โดยใช้โทลูอีนจากถ่านหิ นเป็ นวัตถุดิบ ต่อมาสหรัฐฯ ใช้โทโล
อีนจากปิ โตรเลียม ทาให้สามารถผลิตได้อย่างเพียงพอ เนื่องจากทีเอ็นทีมีคุณสมบัติในการหลอมบรรจุได้ดี
ฉะนั้น ทีเอ็นทีจึงมีที่ใช้อย่างกว้างขวางจัดเป็ นวัตถุระเบิดมาตรฐานที่สาคัญในราชการทหาร มีลกั ษณะเป็ น
ผลึกสี เหลืองอ่อน มีความคงทนดีมีความไวน้อยถ้าลุกไหม้ในที่โล่งจะเกิดควันสี ดา ใช้สาหรับบรรจุลูกกระสุ น
ปื นใหญ่ ลูกระเบิดอากาศ ลูกระเบิดขว้าง ดินระเบิดทาลาย ทาส่ วนประกอบของดินเริ่ ม และส่ วนประกอบ
ของดินกระสุ นบางชนิด เมื่อเก็บรักษาในที่มีอากาศร้อนอาจเกิดการไหลเยิม้ ได้ ซึ่งเป็ นอันตรายต่อการใช้
นอกจากนี้ดินระเบิดทีเอ็นทียงั เป็ นวัตถุระเบิดหลักทางทหาร ซึ่ งใช้เป็ นกาลังเปรี ยบเทียบอานาจการระเบิด
กับวัตถุระเบิดชนิดอื่น ๆ
5. เทตตริ ล (TETRYL)
เทตตริ ล ใช้เป็ นดินขยายการระเบิดใช้ทาวัตถุระเบิดผสม และใช้ในการระเบิดทาลาย เทตตริ ล มีความ
ไวและอานาจมากกว่าทีเอ็นที อย่างไรก็ตามเทตตริ ลและวัตถุระเบิด
ที่มีสีส่วนผสมของเทตตริ ล กาลังได้รับการทดแทนด้วย RDX และพีอีทีเอ็น ซึ่ งมีอานาจมากกว่า
6. ไนโทรกลีเซอรี น (NITROGLYCERIN)
ไนโทรกลีเซอรี น เป็ นวัตถุระเบิดที่มีอานาจมากพอกับอาร์ ดีเอ็กซ์ และพีอีทีเอ็นใช้เป็ นดินระเบิดหลัก
ในไดนาไมต์ทางการค้า ไนโทรกลีเซอรี นมีความไวในการระเบิดเมื่อถูกกระทบกระแทกเสี ยดสี สูง เพราะมี
ความไวในการระเบิดสู ง จึงยากต่อการจับถือจึงไม่นามาใช้เป็ นวัตถุระเบิดทางทหาร และดินไดนาไมต์ทาง
การค้า จะไม่นามาใช้ในพื้นที่การรบ (combat area)
7. ดินดา (BLACK POWDER)
ดินดา เป็ นวัตถุระเบิดที่เก่าแก่ และรู ้จกั กันมานานว่าเป็ นดินขับ ดินดาเป็ นส่ วนผสมของโพแทสเซี ยม
หรื อโซเดียมไนเตรทกับถ่านโค้ก และกามะถัน ดินดาใช้ในชนวนฝักแคเวลาดินปะทุ และเครื่ องจุดบางชนิด
เพื่อเป็ นส่ วนถ่วงเวลา
8. อมาตอล (AMATOL)
อมาตอล เป็ นส่ วนผสมของแอมโมเนียมไนเตรท และทีเอ็นที และสามารถนาไปใช้แทน ทีเอ็นที อมา
ตอล 80 - 20 (80% แอมโมเนียมไนเตรท และ 20% ทีเอ็นที)ใช้บรรจุบงั กะโลตอร์ ปิโดรุ่ นเก่า ในระหว่าง
สงครามโลกครั้งที่ 1 ทีเอ็นทีเกิดขาดแคลน อังกฤษจึงได้คิดค้นอมาตอลขึ้น ต่อมาอมาตอล 80 - 20 มีความ
ยุง่ ยากต่อการบรรจุลงในลูกกระสุ นจึงหันมาใช้อมาตอล 50 - 50 ซึ่งสามารถหลอมบรรจุได้ ต่อมาเมื่อ
สามารถผลิตพีอีทีเอ็นได้อย่างเพียงพอแล้ว จึงได้ใช้วตั ถุระเบิดผสมอย่างอื่นที่กาลังมากกว่า เช่น คอมโป
ซิ ชนั่ บี และเพนโทไลท์แทนอมาตอล
9. คอมโปซิ ชนั่ เอ 3 (COMPOSITION A 3)
คอมโปซิ ชนั่ เอ 3 ทาจากอาร์ดีเอ็กซ์ 91% ขี้ผ้ งึ 9% มีอานาจฉีกขาดดี เหมาสาหรับการอัดบรรจุลูก
กระสุ น ต่อมาได้มีการปรับปรุ งส่ วนประกอบ โดยเพิ่มส่ วนลดความไวเข้าไปและเปลี่ยนมาเป็ น เอ 2, เอ 3
ปั จจุบนั นี้มีใช้ถึง เอ 4 และ เอ 5 คอมโปซิ ชนั่ เอ 3 ใช้เป็ นดินขยายการระเบิดในดินระเบิดแท่งแบบเซฟชาร์ จ
ชนิดใหม่ และในบังกะโลตอร์ปิโดและยังใช้เป็ นระเบิดหลักในดินระเบิดพลาสติกแรงสู ง
10. คอมโปซิ ชนั่ บี (COMPOSITION B)
เนื่องจากอาร์ ดีเอ็กซ์หาได้ง่าย และมีอานาจฉี กขาดและการระเบิดดีกว่าทีเอ็นทีเราจึงใช้อาร์ ดีเอ็กซ์
ผสมกับทีเอ็นที เรี ยกว่า คอมโปซิ ชนั่ บี ซึ่งมีอตั ราส่ วนอาร์ ดีเอ็กซ์ 60% ทีเอ็นที 39% และขี้ผ้ งึ 1% คอมโป
ซิ ชนั่ บี ใช้เป็ นดินระเบิดหลักในเชฟชาร์จ
11. คอมโปซิ ชนั่ บี 4 (COMPOSITION B 4)
คอมโปซิ ชนั่ บี 4 ประกอบด้วย อาร์ดีเอ็กซ์ 60% ทีเอ็นที 39.5% และแคลเซียมซิลิเกต 5% คอมโปซิ ชนั่
บี 4 ใช้เป็ นดินระเบิดหลักในบังกะโลตอร์ ปิโดแบบใหม่ และในเชฟชาร์จ
12. คอมโปซิ ชนั่ ซี 2 และ ซี 3 (COMPOSITION C2 AND C3)
คอมโปซิ ชนั่ ซี 2 เป็ นดินระเบิดที่มีส่วนประกอบของอาร์ ดีเอ็กซ์ 60% และดินระเบิดพลาสติก 20%
ดินระเบิดพลาสติก ประกอบด้วย ดินระเบิดทีเอ็นที และส่ วนผสมของดินระเบิดชนิดอื่น คอมโปซิ ชนั่ ซี 2
ได้ถูกแทนที่ดว้ ยคอมโปซิ ชนั่ ซี 3 ซึ่งประกอบด้วย อาร์ดีเอ็กซ์ 77% และดินระเบิดพลาสติก 23% ซึ่ง
ประกอบด้วย ทีเอ็นที เทตตริ ล ไนโตรเซลลูโลส และส่ วนผสมของดินระเบิดชนิดอื่น ดินระเบิดทั้งสอง
ชนิดนี้จะอ่อนและปั้ นได้ ณ อุณหภูมิระหว่าง -20°F ถึง + 125°F เพราะว่าเป็ นดินระเบิดที่มีอตั ราความเร็ วใน
การระเบิดสู ง จึงใช้เป็ นดินระเบิดในการทาลาย และทาเป็ นดินระเบิดแท่งเหมาะสาหรับใช้ทาลายใต้น้ า
13. คอมโปซิ ชนั่ ซี 4 (COMPOSITION C4)
คอมโปซิ ชนั่ ซี 4 ประกอบด้วย ดินระเบิดอาร์ ดีเอ็กซ์ 91% และของวัสดุที่เป็ นพลาสติกที่มิใช่ดิน
ระเบิด 9% คอมโปซิ ชนั่ ซี 4 มีอ�ำานาจเท่ากับคอมโปซิ ชนั่ ซี 3แต่สามารถรักษาสภาพได้ดีกว่า (อุณหภูมิ
ระหว่าง - 70°F ถึง + 170°F) และสามารถคงทนต่อการกัดเซาะของน้ าได้ดีเมื่อใช้ทาลายใต้น้ า
14. เทตตริ ตอล (TETRYTOL)
เทตตริ ตอลประกอบด้วยเทตตริ ล และทีเอ็นที (เทตตริ ล 75% ทีเอ็นที 25%)ใช้ทาดินระเบิดแท่ง
ส่ วนผสมของดินระเบิดชนิดอื่น และใช้การทาลาย เทตตริ ตอล มีอานาจมากกว่าทีเอ็นที และมีความไวน้อย
กว่าเทตตริ ล ดินระเบิดชนิดนี้ เปราะแตกหักง่าย การใช้ตอ้ งระมัดระวังอย่าให้ตก จะทาให้อานาจการระเบิด
น้อยลงไป
15. เพนโทไลท์ (PENTOLITE)
เพนโทไลท์ ประกอบด้วย ทีเอ็นที กับพีอีทีเอ็น ในอัตราส่ วน 50 : 50 ซึ่งไวต่อการจุดระเบิดให้
อานาจการฉีกขาดดี และเหมาะในการหลอมบรรจุ เนื่องจากมีอตั ราการจุดระเบิดและอานาจสู ง จึงใช้เป็ นดิน
ขยายการระเบิดในเชฟชาร์จ
16. ไดนาไมต์ (DYNAMITES)
เดิมใช้เรี ยกชื่อส่ วนผสมของไนโตรกลีเซอรี น กับสารที่ดูดซึ มไนโตรกลีเซอรี นต่อมาได้มีการปรับปรุ ง
เปลี่ยนแปลงส่ วนผสมบางอย่าง ทาให้เกิดเป็ นไดนาไมต์หลายชนิด ได้แก่ สเตรทไดนาไมต์ แอมโมเนีย
ไดนาไมต์ เยลาตินไดนาไมต์ และแอมโมเนียเยลาตินไดนาไมต์ ไดนาไมต์เหล่านี้ มีไนโตรกลีเซอรี น ผสม
อยูด่ ว้ ย เป็ น ไดนาไมต์ทางการค้า
17. ไดนาไมต์ทางทหาร (MILITART DYNAMITES)
ไดนาไมต์ทางทหารประกอบด้วย อารดีเอ็กซ์ 75% ทีเอ็นที 15% และอีก 10% เป็ นวัสดุที่ทาให้หมด
ความไว และวัสดุที่เป็ นพลาสติกมีอานาจเท่ากับกับไดนาไมต์ 60% ทางการค้าดินระเบิดทางทหารไม่มีไน
โตรกลีเซอรี น จึงมีความแน่นอนปลอดภัยในการเก็บรักษา และการจับถือดีกว่าไดนาไมต์ทางการค้า
ตอนที่ 2
ดินระเบิดแท่ง (Block Demolition Charge)
ดินระเบิดแท่ง เป็ นการบรรจุวตั ถุระเบิดแรงสู งใช้ในการปฏิบตั ิการทาลายทัว่ ๆ ไป เช่นระเบิดตัดระเบิด
แตกหัก และการระเบิดเป็ นหลุม ประกอบด้วย วัตถุระเบิดแรงสู ง เช่น ทีเอ็นทีเทตตริ ตอล คอมโปซิ ซนั่ ซี
ชนิดต่าง ๆ และแอมโมเนียมไนเตรท ดินระเบิดเหล่านี้ นี้ ทาไปเป็ นแท่งสี่ เหลี่ยม ยกเว้นดินระเบิดแท่ง
แอมโมเนียมไนเตรท ขนาด 40 ปอนด์ และดินระเบิดแท่งทีเอ็นที ขนาด 1/4 ปอนด์ ซึ่งทาเป็ นรู ปทรงกระบอก
1. ดินระเบิดแท่ง ทีเอ็นที (1/4,1/2 และ 1 ปอนด์)
1.1 คุณลักษณะ ดินระเบิดทรงกระบอก (ตามรู ปที่ 1) ผลิตออกมาเป็ น3 ขนาด คือ ขนาด 1/4 ปอนด์เป็ น
รู ปร่ างทรงกระบอก มีกระดาษแข็งห่อหุ ม้ ภายนอกป้ องกันน้ าขนาด 1/2 ปอนด์ และขนาด 1 ปอนด์ ผลิต
ขึ้นมารู ปร่ างคล้ายกัน ทั้ง 3 ขนาดนี้ มีโลหะปิ ดหัวท้าย ซึ่ งมีรูสาหรับเสี ยบเชื้อปะทุอยูด่ า้ นหนึ่ง
1.2 การใช้ ดินระเบิดแท่งทีเอ็นทีเป็ นระเบิดทาลายมาตรฐาน และใช้ในงานการทาลายทุกแบบ อย่างไรก็ดี
ดินระเบิดขนาด 1/4 ปอนด์ มีความมุ่งหมายใช้ในการฝึ ก เพื่อให้เกิดความคุน้ เคย
1.3 ประโยชน์ ดินระเบิดแท่งทีเอ็นที มีความเร็ วในการระเบิดสู ง มีความคงทนไม่ไวต่อการกระทบ
กระแทก หรื อการเสี ยดสี ป้ องกันน้ าได้ สามารถใช้ใต้น้ า และมีรูปร่ างขนาดการบรรจุที่เหมาะในการใช้
1.4 ข้ อจากัด ดินระเบิดแท่งทีเอ็นที ไม่สามารถปั้ นได้และมีความยากในการใช้กบั เป้ าหมายที่มีรูปร่ างไม่
ราบเรี ยบสม่าเสมอ ทีเอ็นทีไม่เหมาะสมที่จะใช้ในที่ซ่ ึ งมีอากาศอับเพราะมีควันพิษมาก (เมื่อระเบิดแล้ว)

รู ปที่ 1 ดินระเบิดแท่ ง TNT

2. ดินระเบิดแท่ง เอ็ม 1 (2 1/2 ปอนด์ 75 - 25 เทตตริ ตอล)


2.1 คุณลักษณะดินระเบิดแท่ ง เอ็ม 1 (รู ปที่ 2) เป็ นแท่งของดินระเบิดเทตตริ ตอล 75 - 25 มีดินระเบิด
เทตตริ ตอลเป็ นดินขยายการระเบิด ร้อยผ่านด้วยชนวนฝักแคระเบิดหนักแท่งละ 2 1/2 ปอนด์ จานวน 8 แท่ง
บรรจุในถุงย่าม ทุกแท่งห่อหุ ้มด้วยกระดาษสี กากีแกมเขียวเคลือบด้วยแอสฟัลต์
2.2 การใช้ เทตตริ ตอล มีอานาจมากกว่าทีเอ็นที มีประสิ ทธิภาพในการระเบิดตัดระเบิดแตกหัก สามารถ
ใช้ทดแทนทีเอ็นทีในงานการทาลายทัว่ ๆ ไป การใช้จะใช้ท้ งั พวงหรื อใช้เป็ นแท่งก็ได้
2.3 ประโยชน์ เพราะว่าบรรจุในถุงย่าม ดินระเบิดแท่งแบบ เอ็ม 1 จึงเหมาะที่
จะใช้ในการทาลาย เทตตริ ตอลไม่ค่อยละลายในน้ าจึงเหมาะที่จะใช้ในการทาลายใต้น้ า
2.4 ขีดจากัด ดินระเบิดแท่งเทตตริ ตอลมีดินระเบิดเทตตริ ลเป็ นดินขยายการระเบิดที่ทา ให้ระเบิดขึ้น โดย
แน่นอน ดินขยายการระเบิดเทตตริ ลมีความไวต่อการกระทบกระเทือนมากกว่าเทตตริ ตอล หรื อ ทีเอ็นที
และอาจถูกทาให้เกิดระเบิดได้ดว้ ยการยิงด้วยปื นหลัก นอกจากนี้ยงั แตกหักง่ายเมื่อตก หรื อถูกกระทบ
กระแทก
3. ดินระเบิดแท่ง เอ็ม 2 (2 1/2 ปอนด์, 75/25 เทตตริ ตอล)
คล้ายดินระเบิดแท่ง เอ็ม 1 (รู ปที่ 2) เว้นแต่มีรูเสี ยบเชื้อปะทุแต่ละข้างรอบ ๆรู เสี ยบเชื้อปะทุมีดินเทตตริ ล
เป็ นดินขยายการระเบิด การใช้คงเหมือนกันกับดินระเบิดแบบ เอ็ม.1 ซึ่งใช้ในการระเบิดตัด, ระเบิดแตกหัก

รู ปที่ 2 ดินระเบิดแท่ ง เอ็ม 1 และ เอ็ม 2


4.ดินระเบิดแท่ง เอ็ม 3 (2 1/2 ปอนด์, คอมโปซิ ชนั่ ซี 2 หรื อคอมโปซิ ชนั่ ซี 3)
4.1 คุณลักษณะ ดินระเบิด เอ็ม 3 (รู ปที่ 3) มีใช้ท้ งั คอมโปซิ ชนั่ ซี 2 และคอมโปซิ ชนั่ ซี 3 ดินระเบิดแท่ง
เอ็ม 3 ห่อหุ ม้ ด้วยกระดาษสี น้ าตาล ซึ่งสามารถแกะเปิ ดได้ ไม่มีรูสา หรับเสี ยบเชื้ อปะทุ คอมโปซิชนั่ ซี 2, ซี
3 สามารถปั้ นได้ในอุณหภูมิ ระหว่าง - 20°F ถึง + 125°F
4.2 การใช้ คอมโปซิ ชนั่ ซี 2 และซี 3 คล้ายคลึงกัน มีอานาจมากกว่า ทีเอ็นที และมีความไวพอกัน
เพราะว่ามีความเป็ นพลาสติกและมีอานาจสู ง จึงเหมาะในการระเบิดตัดเหล็กและเป้ าหมายที่มีรูปร่ างที่ไม่
ราบเรี ยบสม่าเสมอ สามารถปั้ นได้แบบสนิทกับเป้ าหมายได้ดีการใช้ใต้น้ า ถ้าไม่แกะสิ่ งห่อหุ ม้ ออก จะสามารถ
ทนต่อการกัดเซาะของน้ าได้
4.3 ประโยชน์ ดินระเบิดชนิดนี้สามารถทาเป็ นรู ปร่ างปั้ นได้แนบกับเป้ าหมายได้ดี
4.4 ขีดจากัด ดินระเบิดชนิดนี้ อุณหภูมิ - 20°F จะเปราะ และถ้าสู งกว่า +125°F จะไหลเยิม้ และกลิ่นของ
มันทาให้ผไู ้ ด้กลิ่นเกิดอาการวิงเวียนศีรษะ
รู ปที่ 3 ดินระเบิดแท่ ง เอ็ม 3
4.ดินระเบิดแท่ง เอ็ม 3 (2 1/2 ปอนด์, คอมโปซิ ชนั่ ซี 2 หรื อคอมโปซิ ชนั่ ซี 3)
4.1 คุณลักษณะ ดินระเบิด เอ็ม 3 (รู ปที่ 3) มีใช้ท้ งั คอมโปซิ ชนั่ ซี 2 และคอมโปซิ ชนั่ ซี 3 ดินระเบิดแท่ง
เอ็ม 3 ห่อหุ ม้ ด้วยกระดาษสี น้ าตาล ซึ่งสามารถแกะเปิ ดได้ ไม่มีรูสาหรับเสี ยบเชื้ อปะทุ คอมโปซิ ชนั่ ซี 2, ซี 3
สามารถปั้ นได้ในอุณหภูมิ ระหว่าง - 20°F ถึง + 125°F
4.2 การใช้ คอมโปซิ ชนั่ ซี 2 และซี 3 คล้ายคลึงกัน มีอานาจมากกว่าทีเอ็นที และมีความไวพอกัน เพราะว่า
มีความเป็ นพลาสติกและมีอานาจสู ง จึงเหมาะในการระเบิดตัดเหล็กและเป้ าหมายที่มีรูปร่ างที่ไม่ราบเรี ยบ
สม่าเสมอ สามารถปั้ นได้แบบสนิทกับเป้ าหมายได้ดี การใช้ใต้น้ า ถ้าไม่แกะสิ่ งห่อหุ ม้ ออก จะสามารถทน
ต่อการกัดเซาะของน้ าได้
4.3 ประโยชน์ ดินระเบิดชนิดนี้สามารถทาเป็ นรู ปร่ างปั้ นได้แนบกับเป้ าหมายได้ดี
4.4 ขีดจากัด ดินระเบิดชนิดนี้ อุณหภูมิ - 20°F จะเปราะ และถ้าสู งกว่า +125°F จะไหลเยิม้ และกลิ่นของ
มันทาให้ผไู ้ ด้กลิ่นเกิดอาการวิงเวียนศีรษะ
5. ดินระเบิดแท่ ง เอ็ม 5 เอ 1 (2 1/2 ปอนด์ , คอมโปซิชั่น ซี 4)
5.1 คุณลักษณะ ดินระเบิดแท่ง เอ็ม 5 เอ 1 (รู ปที่ 4) คอมโปซิ ชนั่ ซี 4 ห่อหุ ม้ ด้วยพลาสติกสี ขาว มีรูเสี ยบเชื้ อ
ปะทุที่ปลายด้านหนึ่ง ดินระเบิดทั้งแท่งสามารถแบ่งใช้ได้ โดยแกะเปลือกพลาสติกออก คอมโปซิ ชนั่ ซี 4
สามารถรักษาคุณภาพในอุณหภูมิระหว่าง - 70°F ถึง+ 170°F
5.2 การใช้ เอ็ม 5 เอ 1 สามารถใช้ในงานทาลายได้ทุกแบบ โดยเฉพาะในการระเบิดตัดและระเบิดแตกหัก
เพราะสามารถปั้ นได้และมีอานาจสู ง คอมโปซิ ชนั่ ซี 4 จึงเหมาะในการระเบิดตัดเหล็ก และเป้าหมายที่มี
รู ปร่ างไม่เรี ยบสม่าเสมอ คอมโปซิ ชนั่ ซี 4 ไม่ละลายน้ าและสามารถใช้ใต้น้ าได้
5.3 ประโยชน์ คอมโปซิ ชนั่ ซี 4 มีอานาจมากกว่า ซี 3 สามารถรักษารู ปร่ างในอุณหภูมิที่เหนื อกว่า คงทน
กว่า มีความเหนียวน้อยกว่า (Is Iess sticky) ทนต่อการกัดเซาะของน้ า ได้นอ้ ยกว่า เพราะความเป็ นพลาสติก
จึงสามารถตัดและปั้ นได้แนบกับเป้าหมายได้ดี
5.4 ขีดจากัด จากการที่คอมโปซิชนั่ ซี 4 ในดินระเบิดแท่ง เอ็ม 5 เอ 1 จึงยากต่อการพราง
การไหลของน้ าจะกัดกร่ อนคอมโปซิ ชนั่ ซี 4 ถ้าไม่มีสิ่งห่อหุ ม้ ป้ องกัน

รู ปที่ 4 ดินระเบิดแท่ ง เอ็ม 5 เอ 1


6. ดินระเบิดแท่ง เอ็ม 112 (คอมโปซิชนั่ ซี 4, 1 1/2 ปอนด์)
6.1 คุณลักษณะ ดินระเบิดแท่ง เอ็ม 112 (รู ปที่ 5) เป็ นการปรับปรุ งรู ปแบบของคอมโปซิ ชนั่ ซี 4 ในดิน
ระเบิดแท่ง เอ็ม 5 เอ 1 โดยการแบ่งดินระเบิดออกเป็ น 2 ส่ วน แต่ละแท่งหนัก 1 1/4 ปอนด์ ห่อหุ ม้ ด้วยไมลา
ฟิ ลม์ บนด้านหนึ่งจะมีเทปกาวแบบพิเศษ ซึ่งปิ ดด้วยกระดาษ
6.2 การใช้ เอ็ม 112 ใช้ในงานเช่นเดียวกับ เอ็ม 5 เอ 1 ดินระเบิดนี้เหมาะอย่างยิง่ สาหรับใช้เป็ นดินระเบิด
ตัด ดินระเบิดชนิดนี้มีเทปกาวพิเศษ สามารถติดกับผิวของเป้ าหมายที่ราบเรี ยบได้ดี
6.3 ประโยชน์ เอ็ม 112 มีรูปร่ างและขนาดที่เหมาะสมในการจับถือง่าย ในการที่จะแนบเข้ากับเป้ าหมาย
สามารถตัดและปั้ นได้และแนบเข้ากับเป้ าหมายที่มีรูปร่ างไม่ราบเรี ยบ สี ของกระดาษที่ห่อหุ ม้ เป็ นการพราง
ได้เป็ นอย่างดี
6.4 ขีดจากัด เศษของน้ าหนักดินระเบิดทาให้ยากในการคานวณ เทปกาวจะไม่ยดึ แน่น ถ้าหน้าพื้นผิวของ
เป้ าหมายเปี ยกหรื อชื้น
รู ปที่ 5 ดินระเบิดแท่ ง เอ็ม 112
7. ดินระเบิดแท่ง เอ็ม 118 (พีอีทีเอ็น, 2 ปอนด์)
7.1 คุณลักษณะ เอ็ม 118 หรื อดินระเบิดแผ่น (รู ปที่ 6) ใน 1 แท่ง ประกอบด้วย ดินระเบิดแผ่นขนาด 1/4 ปอนด์
4 แผ่น ห่อหุ ม้ ด้วยกระดาษพลาสติกข้างหนึ่งของดินระเบิดจะมีเทปกาวแบบกาวพิเศษ
7.2 การใช้ ดินระเบิดแท่ง เอ็ม 118 ออกแบบสาหรับใช้เป็ นดินระเบิดตัด และโดยเฉพาะอย่างยิง่ ต่อเป้ าหมาย
ที่เป็ นเหล็ก ความอ่อนตัวของดินระเบิดทาให้แนบกับเป้ าหมายที่ผวิ ไม่เรี ยบหรื อโค้ง และง่ายต่อการตัดตาม
ขนาดที่ตอ้ งการ เอ็ม 118 ควรใช้กบั การระเบิดแตกหักขนาดเล็ก ไม่ควรจะใช้กบั งานที่ตอ้ งใช้ดินระเบิดเป็ น
จานวนมาก ๆ เนื่องจากเป็ นดินระเบิดที่มีราคาแพง
7.3 ประโยชน์ ความอ่อนตัว และกาวแบบพิเศษ ทาให้มีความรวดเร็ วในการประกอบดินระเบิดเข้ากับ
เป้ าหมายต่าง ๆ ได้ดี ดินระเบิดสามารถแบ่งออกใช้ตามขนาดต่าง ๆ ของเป้าหมาย และสามารถเพิ่มความ
หนาของดินระเบิด โดยเอาดินระเบิดวางซ้อนกันได้ไม่ละลายในน้ า และสามารถใช้ใต้น้ าได้
7.4 ขีดจากัด เทปกาวจะไม่เกาะติดยึดแน่นบนผิวหน้าที่เปี ยกชื้น
รู ปที่ 6 ดินระเบิดแท่ ง เอ็ม 118
8. ดินระเบิด (แบบม้วน) เอ็ม 186
8.1 คุณลักษณะ เอ็ม 186 (รู ปที่ 7) เหมือนกับดินระเบิด เอ็ม 118 เว้นแต่ขนาด,ความกว้าง, หนา ของดิน
ระเบิด เอ็ม 186 จะน้อยกว่า และเอ็ม 186 จะอยูใ่ นรู ปของม้วนบนหลอดพลาสติกมีความยาว 50 ฟุต ในความ
ยาวแต่ละฟุตของดินระเบิดม้วน จะมีดินระเบิดหนักประมาณ 1/2 ปอนด์ ในแต่ละม้วนของ เอ็ม 186 จะประกอบ
ด้วยเชื้อปะทุชนวน เอ็ม 186 จานวน 15 อัน และถุงผ้าพร้อมสายหิ้ว
หมายเหตุ ส่ วนประกอบของดินระเบิดในเอ็ม 186 นั้น ขึ้นอยูก่ บั บริ ษทั ผูผ้ ลิตใน ปั จจุบนั นี้บางบริ ษทั ใช้พีอี
ทีเอ็นเป็ นหลักในดินระเบิด ในขณะที่บางบริ ษทั ใช้อาร์ดีเอ็กซ์ในอนาคตบริ ษทั ผูผ้ ลิตอาจจะเปลี่ยนดินระเบิด
เป็ นชนิดอื่น
8.2 การใช้ เอ็ม 186 นั้นใช้เช่นเดียวกับ เอ็ม 118, เอ็ม 186 นั้นมีลกั ษณะพิเศษที่สามารถปรับดินระเบิด ให้เข้า
กับเป้ าหมายที่จะวางได้ ซึ่งเป้ าหมายเหล่านี้ ต้องการดินระเบิดที่มีความอ่อนตัว ซึ่ งมีความยาวมากกว่า 12 นิ้ว
8.3 ประโยชน์ เอ็ม 186 เหมือนกับ เอ็ม 118, เอ็ม 186 สามารถตัดในความยาวที่เราต้องการได้
8.4 ขีดจากัด แถบกาวทางด้านหลังไม่สามารถใช้ติดกับพื้นผิวที่เปี ยก หรื อพื้นผิวที่มีน้ าแข็งเกาะได้
ข้ อควรระวัง การตัด เอ็ม 186 ควรจะตัดด้วยมีดที่มีคมบนผิวพื้น (ที่รอง) ต้องไม่มีประกายไฟ และห้ามฉีก

รู ปที่ 7 ดินระเบิด(แบบม้ วน เอ็ม 186

9. ดินระเบิดแท่งแอมโมเนียมไนเตรท 40 ปอนด์
9.1 คุณลักษณะ แอมโมเนียมไนเตรท 40 ปอนด์ (รู ปที่ 8) เปลือกเป็ นโลหะทรงกระบอกบรรจุดินระเบิด
แอมโมเนียมไนเตรท 30 ปอนด์ เป็ นดินระเบิดหลัก และมีดินระเบิดทีเอ็นที 10 ปอนด์ เป็ นดินขยายการระเบิด
อยูต่ รงกลางบริ เวณที่เสี ยบเชื้อปะทุ มีรูสาหรับเสี ยบเชื้อปะทุ 2 รู รู หนึ่งสาหรับเสี ยบเชื้อปะทุชนวน เอ็ม 7
หรื อเชื้ อปะทุไฟฟ้า เอ็ม 6 อีกรู หนึ่งสาหรับร้อยชนวนฝักแคระเบิดผ่าน และผูกเงื่อนที่ปลายชนวนฝักแคระเบิด
หมุดระหว่างรู เสี ยบเชื้ อปะทุท้ งั สองสาหรับผูกชนวนฝักแคเวลา สายไฟเชื้ อปะทุไฟฟ้า หรื อชนวนฝักแคระเบิด
ให้ติดแน่น ห่วงโลหะที่อยูด่ า้ นบนดินระเบิดใช้สาหรับร้อยเชือกหย่อนดินระเบิดลงไปในหลุม
9.2 การใช้ แอมโมเนียมไนเตรท มีอตั ราความเร็ วในการระเบิดต่า ดังนั้น จึงไม่เหมาะต่อการใช้ในการ
ระเบิดตัดและระเบิดแตกหัก อย่างไรก็ตาม ผลของการระเบิดก่อให้เกิดแรงดันของแก๊สทาให้เกิดการผลักดัน
หรื อการอุม้ ยก ซึ่งทาให้เหมาสาหรับงานทาหลุมและคูดิน ระเบิดแท่ง แอมโมเนีย มไนเตรท 40 ปอนด์ ได้
ออกแบบเพื่อเป็ นดินระเบิด มาตรฐานในการทาหลุมเนื่องจากปริ มาณของดินระเบิดมีเป็ นจานวนมาก จึงอาจ
นาไปใช้ในการทาลายอาคารและป้ อมค่าย และการระเบิดทาลายตอม่อสะพาน
9.3 ประโยชน์ ขนาดและรู ปร่ างของดินระเบิดนี้ เหมาะในการทาหลุมระเบิด และราคาก็ไม่แพงกว่าดิน
ระเบิดชนิดอื่น ๆ
9.4 ขีดจากัด แอมโมเนียมไนเตรท ดูดความเปี ยกชื้นได้ง่าย ทาให้ยากในการจุดระเบิด ต้องตรวจตราให้
แน่นอนว่าไม่มีน้ าเข้าไปในดินระเบิดและรู เสี ยบเชื้อปะทุ มิฉะนั้น แล้วจะทาให้ดินระเบิดไม่ระเบิด
แอมโมเนียมไนเตรทจะต้องจุดระเบิดด้วยการจุดระเบิดคู่

รู ปที่ 8 ดินระเบิดแอมโมเนี่ยมไนเตรท
10. ไดนาไมต์ทางทหาร เอ็ม 1 (1/2 ปอนด์)
10.1 คุณลักษณะ ไดนาไมต์ทางทหาร เอ็ม 1 (รู ปที่ 9) มีอาร์ ดีเอ็กซ์เป็ นดินระเบิดหลักและไม่มีไนโทร
กลีเซอรี นบรรจุอยู่ ทาให้ปลอดภัยในการเก็บรักษา จับถือ และการขนส่ งดีกว่าดิน ไดนาไมต์ทางการค้า
ไดนาไมต์ทางทหาร เอ็ม 1 มีขนาดหนัก 1/2 ปอนด์ ห่อหุ ม้ ด้วยกระดาษฉาบพาราฟิ น มีขนาเส้นผ่าศูนย์กลาง
1 1/4 นิ้ว มีความยาว 8 นิ้ว
10.2 การใช้ ไดนาไมต์ทางทหาร เอ็ม 1 ใช้ในงานช่างทัว่ ไป ในงานแหล่งดินแหล่งหิ นและสามารถใช้
ทาลายใต้น้ าได้
10.3 ประโยชน์ ไดนาไมต์ทางทหาร เอ็ม 1 ไม่แข็งตัวถ้าเก็บในที่เย็นไม่ไหลเยิม้ ถ้าเก็บในที่ร้อน
ส่ วนผสมไม่ดูดหรื อเก็บความชื้น มีความปลอดภัยในการขนส่ ง การเก็บรักษาการจับถือ จึงสามารถใช้ใน
พื้นที่การรบได้
10. 4 ขีดจากัด ไดนาไมต์ทางทหาร เอ็ม 1 เชื่อถือได้ในการวางใต้น้ าเพียง 24ชัว่ โมงเท่านั้น ดินชนิดนี้
มีความไวในการใช้จะต้องอัดลงไปในรู ให้แน่นไม่ให้มีช่องว่าง เพื่อ ผลในการทาลาย

รู ปที่ 9 ดินระเบิดไดนาไมต์ ทางทหาร เอ็ม 1


11. ดินระเบิดเชฟชาร์จ (SHAPED CHARGES)
ดินระเบิดเชฟชาร์ จ (รู ปที่ 10) ใช้ในการปฏิบตั ิการทางทหาร บรรจุดว้ ยดินระเบิดแรงสู งในรู ปทรงกระบอก
ปลายด้านหนึ่งเป็ นรู ปกรวยครึ่ งซี กใช้วางเข้ากับวัสดุ เพื่อเจาะทะลุทะลวงโลหะ คอนกรี ต ดิน หรื อวัสดุชนิด
อื่น ๆ ไม่สามารถใช้ใต้น้ าได้ ในการทาลายจะให้ได้ผลสู งสุ ดจะต้องตั้งบนขาตั้งมาตรฐาน ซึ่ งมีระยะแน่นอน
จากเป้ าหมายในการจุดระเบิดไม่จาเป็ นจะต้องใช้จุดด้วยการจุดระเบิดคู่
11.1 ดินระเบิดเชฟชาร์จ 15 ปอนด์ เอ็ม 2 เอ 3 ดินระเบิดชนิดนี้บรรจุดว้ ยดินระเบิดคอมโปซิ ชนั่ บี 9 1/2
ปอนด์ และมีดินระเบิดเพ็นโทไลท์ 50 - 50 หนัก 2 ปอนด์ เป็ นดินขยายการระเบิดบรรจุในไฟเบอร์ ซึ่ง
ป้ องกันการเปี ยกชื้นได้ มีขาตั้งเป็ นรู ปทรงกระบอกทาด้วยไฟเบอร์
11.2 ดินระเบิดเชฟชาร์จ 15 ปอนด์ เอ็ม 2 เอ 4 ดินระเบิดชนิดนี้ได้พฒั นาใช้ดินระเบิดที่มีความไวในการ
ระเบิดจากการยิงด้วยปื นน้อยกว่าแบบ เอ็ม 2 เอ 3, เอ็ม 2 เอ 4เหมือนกับ เอ็ม 2 เอ 3 ในการประกอบและการ
ทา แต่ผดิ กันในขนาดของดินขยายการระเบิด และวัสดุดงั ต่อไปนี้ ดินขยายการระเบิดเพ็นโทไลท์ 50 - 50
เป็ นดินระเบิดคอมโปซิ ชนั่ เอ 3 หนัก 50 กรัม ดินระเบิดหลักคอมโปซิ ชนั่ บี ได้บรรจุเพิ่มมากขึ้น ซึ่ งน้ าหนัก
รวมทั้งหมดแล้วก็จะเท่ากับแบบ เอ็ม 2 เอ 3
11.3 ดินระเบิดเชฟชาร์จ 40 ปอนด์ เอ็ม 3 ดินระเบิดชนิ ดนี้บรรจุดว้ ยดินระเบิดคอมโปซิ ชนั่ บี ประมาณ
27 1/2 ปอนด์ และมีดินระเบิดเพ็นโทไลท์ 50 - 50 เป็ นดินขยายการระเบิดมีเปลือกเป็ นโลหะ มีขาตั้งที่กาหนด
ระยะทาด้วยโลหะเช่นเดียวกัน
11.4 ดินระเบิดเชฟชาร์จ 40 ปอนด์ เอ็ม 3 เอ 1 ดินระเบิดนี้ได้พฒั นาใช้ดิน
ระเบิดที่มีความไวในการระเบิด จากการยิงด้วยปื นน้อยกว่า แบบเอ็ม 3, เอ็ม 3 เอ 1 เหมือนกับ เอ็ม 3 การ
ประกอบและการทา แต่ผดิ กันในขนาดของดินขยายการระเบิดและวัสดุดงั นี้ ดินขยายการระเบิด เพ็นโทไลท์
50 - 50 เปลี่ยนเป็ นดินระเบิดคอมโปซิ ชนั่ เอ 3 หนัก 50 กรัม ดินระเบิดหลักคอมโปซิ ชนั่ บี ได้บรรจุเพิ่มขึ้น
ซึ่ งน้ าหนักรวมแล้วเท่ากับแบบ เอ็ม 3
11.5 การใช้ดินระเบิดเชฟชาร์ จในการเจาะทะลุทะลวงพื้นดิน แผ่นโลหะกาแพงอิฐก่อคอนกรี ต พื้นผิว
ถนนทุกชนิด ผลการทาลายทะลุข้ ึนอยูก่ บั ขนาดชนิดของวัสดุน้ นั ๆ
11.6 ข้อระมัดระวังพิเศษ การที่จะใช้ดินระเบิดชนิ ดนี้ให้ได้ผลต้องปฏิบตั ิดงั นี้
11.6.1 จุดกึ่งกลางของดินระเบิดต้องอยูเ่ หนื อเป้ าหมาย
11.6.2 ให้แกนของดินระเบิดอยูใ่ นแนวเดียวกับรู ที่ตอ้ งการเจาะ
11.6.3 จะต้องใช้ขาตั้งมาตรฐาน เพราะระยะของขาตั้งเป็ นระยะที่ได้ผลในการทะลุทะลวงดีที่สุด
11.6.4 ต้องแน่ใจว่าไม่มีสิ่งหนึ่งสิ่ งใดมาขวางกั้นระหว่างดินระเบิดกับเป้ าหมาย

รู ปที่ 10 ดินระเบิดเซฟชาร์ จ
12. ดินระเบิดบังกะโลตอร์ปิโด เอ็ม 1 เอ 1 และเอ็ม 1 เอ 2
12.1 คุณลักษณะดินระเบิดชนิดนี้ประกอบด้วยบังกะโลตอร์ ปิโด 10 ท่อน (รู ปที่ 11) แต่ละท่อนห่อหุ ม้
ด้วยโลหะยาว 5 ฟุต และมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 1/8 นิ้ว และมีรูเสี ยบเชื้อปะทุท้ งั สองข้างแบบ เอ็ม 1 เอ 1 บรรจุ
ด้วยดินระเบิดอมาตอล และมีดินระเบิดทีเอ็นที 4 นิ้ว เป็ นดินขยายการระเบิดที่ปลายทั้งสองด้านแบบ เอ็ม 1
เอ 2 เหมือนกับ เอ็ม 1 เอ 1 แต่ผดิ กันที่ดินระเบิดหลักใช้ดินระเบิดคอมโปซิ ชนั่ บี และดินขยายการระเบิดใช้
ดินระเบิดคอมโปซิ ชนั่ เอ 3 รู เสี ยบเชื้อปะทุท้ งั สองด้านสามารถใช้จุกเกลียวมาตรฐานแต่ละชุดจะมีปลอก
ข้อต่อและมีหวั ครอบ
12.2 การใช้บงั กะโลตอร์ ปิโด ใช้ในการกวาดล้างเครื่ องกีดขวางประเภทลวดหนาม และสนามทุ่นระเบิด

บังกะโลตอร์ ปิโดสามารถกวาดล้างเครื่ องกีดขวางประเภทลวดหนาม เป็ นเส้นทางเดินได้กว้าง 3 ถึง 4 เมตร


ถ้าเป็ นสนามทุ่นระเบิดสามารถระเบิด ทุ่นระเบิดสังหารบุคคลและทุ่นระเบิดดักรถถังที่อยูใ่ กล้ให้ระเบิดขึ้น
ได้ง่าย และยังสามารถกวาดล้างป่ าทึบ หรื อป่ าไผ่ได้ (สาหรับทุ่นระเบิดดักรถถัง และสังหารบุคคล จะได้
ช่องทางกว้างประมาณ 1 เมตร จาก FM 5-25,1986)
รู ปที่ 11 บังกะโลตอร์ ปิโด
12.3 การประกอบ ทุกท่อนของบังกะโลตอร์ ปิโดที่ปลายทั้งสองด้านจะมีรูสาหรับเสี ยบเชื้อปะทุ การต่อ
แต่ละท่อนให้ใช้ต่อด้วยปลอกข้อต่อ หัวครอบ ใช้สวมเข้ากับท่อนแรกเพื่อป้ องกันมิให้ไปสะดุดเข้ากับสิ่ งกีด
ขวางต่าง ๆ เมื่อเราเตรี ยมท่อนแรกไปแล้วก็ใช้ปลอกข้อต่อต่อเข้ากับท่อนต่อมาเรื่ อย ๆ จนกว่าจะได้ความ
ยาวตามต้องการ
12.4 การจุดระเบิดบังกะโลตอร์ปิโด สามารถจุดด้วยเชื้ อปะทุไฟฟ้าทางทหารในการกวาดล้างเครื่ องกีด
ขวาง จะจุดบังกะโลตอร์ปิโดเมื่อได้วางเรี ยบร้อยแล้ว นอกจากนี้อาจจะใช้เครื่ องจุดชนวนถ่วงเวลาแบบ 8
วินาที หรื อ 15 วินาที ก็ได้
ข้ อระมัดระวังความปลอดภัย
เกีย่ วกับการใช้ วตั ถุระเบิด
กฎปลอดภัยทัว่ ไป
กฎปลอดภัยที่เกี่ยวกับวัตถุระเบิดเชื้ อปะทุ และเครื่ องมือทาลายที่กาหนดขึ้นนั้นจะต้องปฏิบตั ิโดยเคร่ งครัด
ในระหว่างการฝึ กในสถานการณ์นอกเหนื อจากการฝึ ก จะต้องพยายามปฏิบตั ิเท่าที่มีเวลามีอยู่ 2 ข้อ คือ
1. อย่าจับถือวัตถุระเบิดด้วยความสะเพร่ า
2. ไม่แบ่งความรับผิดชอบในการเตรี ยมการวางระเบิด และการจุดระเบิดต้องมอบความรับผิดชอบให้ผู ้
หนึ่งผูใ้ ดเป็ นผูก้ าหนดตรวจตราทุกขั้นตอน และกาหนดผูส้ ารองไว้แทนในเมื่อจะมีความจาเป็ นเกิดขึ้น

ตอนที่ 3
อุปกรณ์ในการจุดระเบิด
ชนวนฝักแคเวลา
ชนวนฝักแคเวลาสามารถจุดด้วยไม้ขีด หรื อเครื่ องจุดชนวนเป็ นตัวถ่วงเวลา เพื่อให้เกิดความปลอดภัยใน
การจุดระเบิดมีอยู่ 2 ชนิด คือ ชนวนปลอดภัย และชนวนฝักแคเวลาเอ็ม 700 ซี่งสามารถสับเปลี่ยนกันใช้ได้
1. ชนวนฝักแคเวลาปลอดภัย (Safety fuse) ใช้ในการทาลายทัว่ ๆ ไป ประกอบด้วย ดินหุ ม้ ห่ อด้วยวัสดุ
ป้ องกันน้ าซึ มมีหลายสี แต่ส่วนมากแล้วจะเป็ นสี ส้ม อัตราการลุกไหม้ 30 - 45 วินาที/ฟุต จึงต้องทดสอบ
การลุกไหม้จะเหมือนกันหรื อแตกต่างกันอยูท่ ี่สภาพอากาศและก่อนที่จะนาไปใช้ทุกม้วนจะต้องทดสอบการ
ลุกไหม้ก่อนเพื่อความปลอดภัย โดยเฉพาะในการใช้ใต้น้ าการลุกไหม้อาจจะเร็ วขึ้น จึงต้องมีการทดสอบการ
ลุกไหม้ในน้ าด้วย

รู ปที่ 12 ชนวนฝักแคเวลาแบบปลอดภัย
2. ชนวนฝักแคเวลา เอ็ม 700 (รู ปที่ 13)
ชนวนชนิ ดนี้เหมือนกับชนวนฝักแคเวลาแบบปลอดภัย และการใช้ก็ใช้เหมือนแต่สามารถกาหนดเวลา
การลุกไหม้ได้แน่นอนกว่าชนวนฝักแคเวลาแบบธรรมดา สี เป็ นสี เขียวเข้ม มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.2 นิ้ว ห่อหุ ม้
ด้วยพลาสติกผิวเรี ยบ ในระยะ 1 ฟุต จะมีแถบสี เหลืองคาด 1 แถบ ในระยะ 5 ฟุต มีแถบคาด 2 แถบ แถบคาด
นี้เพื่อให้ง่ายในการวัดระยะชนวนฝักแคเวลามีอตั ราการลุกไหม้ 40 วินาที/ฟุต แต่อย่างไรก็ตามก่อนที่จะ
นาไปใช้ตอ้ งมีการทดสอบอัตราการลุกไหม้เหมือนกับชนวนฝักแคเวลาปลอดภัยเสมอ (ชนวนฝักแคเวลานี้
ความยาว 1 ฟุต จะมีระยะเผือ่ ไว้อีก 6 นิ้ว ในระยะ 5 ฟุต จึงมีความยาว 90 นิ้ว)

รู ปที่ 13 ชนวนฝักแคเวลา
3. การบรรจุหีบห่อ
3.1 ชนวนฝักแคเวลาแบบปลอดภัย
3.1.1 ชนวนฝักแคเวลา 1 ม้วน ยาว 50 ฟุต บรรจุ 2 ม้วนต่อ 1 กล่อง และ30 กล่อง (3,000 ฟุต) บรรจุใน
ลังไม้ ขนาด 24 พ × 15 พ × 12 ฝ นิ้ว น้ าหนักรวมทั้งลัง หนัก71.8 ปอนด์
3.1.2 1 ม้วน 50 ฟุต 2 ม้วนต่อ 1 กล่อง 5 กล่อง บรรจุในกระป๋ องโลหะ และ 8 กระป๋ อง (4,000 ฟุต)
บรรจุในลังไม้ ขนาด 30 1/8 × 15 1/8 × 14 7/8 นิ้ว น้ าหนักรวมทั้งลัง 94 ปอนด์
ชนวนฝักแคระเบิด
1. คุณลักษณะชนวนฝักแคระเบิดมีวตั ถุระเบิดพีอีทีเอ็น หรื ออาร์ดีเอ็กซ์ บรรจุอยูต่ รง แกนกลาง หุม้ ด้วย
ชั้นบาง ๆ ของแอสฟัลต์ เปลือกนอกเป็ นพลาสติก ชนวนฝักแคระเบิดเป็ นสื่ อในการส่ งผ่านคลื่นระเบิด ณ
จุดหนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง อัตราความเร็ ว ระหว่าง 20,000 - 24,000 ฟุตต่อวินาที (FM 1968)
2. การใช้ชนวนฝักแคระเบิดใช้ในการระเบิด และเป็ นตัวจุดระเบิดดินระเบิดอื่น เมื่อวัตถุระเบิดที่บรรจุ
อยูใ่ นแกนกลางถูกจุดระเบิดด้วยเชื้อปะทุหรื อเครื่ องจุดอื่น มันจะส่ งผ่านคลื่นระเบิดไปยังดินระเบิด โดยไม่
จากัดจานวน
3. ข้อควรระวังในการใช้ ปลายของชนวนฝักแคระเบิดจะต้องมีเครื่ องป้ องกันน้ าซึ มเข้าไป เพื่อป้ องกัน
ความชื้นเข้าไป เมื่อใช้ชนวนฝักแคระเบิดในน้ าหรื อทิ้งไว้หลาย ๆ ชัว่ โมงก่อนทาการจุดระเบิด จะต้องตัด
ชนวนฝักแคระเบิดทิ้งก่อน 6 นิ้ว เพื่อป้ องกันความชื้ นที่หลงเหลืออยูท่ ี่ปลายสายชนวนฝักแคระเบิดให้หมด
ไป เพื่อการป้ องกันความผิดพลาด(ล้มเหลว) ในการระเบิด

รู ปที่ 14 ชนวนฝักแคระเบิด
เชื้ อปะทุ
เชื้อปะทุใช้สาหรับจุดวัตถุระเบิดแรงสู ง ได้ออกแบบขึ้นมาสาหรับเสี ยบใส่ เข้าไปในรู เสี ยบเชื้ อปะทุ และ
สามารถใช้กบั เครื่ องจุดระเบิดได้ ใช้ในกิจการทหารมี 2 ชนิด คือ เชื้อปะทุชนวนและเชื้อปะทุไฟฟ้า
1. เชื้ อปะทุไฟฟ้ า (รู ปที่ 15) ใช้ในการจุดระเบิดด้วยระบบไฟฟ้าระเบิดขึ้นด้วยเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าชนิ ดต่าง ๆ
เช่น เครื่ องจุดระเบิดแบตเตอรี่ ที่สามารถหาได้ ที่ใช้อยู่ 2 ชนิด คือ ที่ใช้ในกิจการทหารและทางการค้า ทาง
ทหารเป็ นแบบทันทีทนั ใด ทางการค้าทั้งแบบทันทีทนั ใด และถ่วงเวลา แบบถ่วงเวลาของการค้า สามารถ
ถ่วงเวลาตั้งแต่ 0.025 วินาที ถึง 12 วินาที สาหรับแบบถ่วงเวลาที่ใช้ทางทหารสามารถถ่วงเวลาได้ต้ งั แต่ 1.00
วินาที ถึง 1.53วินาที เชื้อปะทุไฟฟ้ามีสายไฟความยาวขนาดต่าง ๆ สาหรับต่อกับวงจรไฟฟ้า โดยมากตาม
ปกติสายคู่ยาว 12 ฟุต เพื่อป้ องกันอุบตั ิเหตุจุดระเบิดก่อนเวลา ปลายสายจะทาการลัดวงจรไว้ ซึ่ งจะต้องไม่
แยกออกจากกันก่อนทาการจุดระเบิด เชื้อปะทุไฟฟ้าทางทหารที่มาตรฐาน คือ เชื้อปะทุไฟฟ้าแบบ M 6
รู ปที่ 15 เชื้อปะทุไฟฟ้ า
2. เชื้ อปะทุชนวน (รู ปที่ 16) เชื้อปะทุชนวนจะถูกทาให้ระเบิดขึ้นด้วยชนวนฝักแคเวลาเครื่ องจุดระเบิดและ
ชนวนฝักแคระเบิด เชื้อปะทุชนวนไม่สามารถจุดระเบิดใต้น้ า
หรื อที่เปี ยกชื้นได้ เพราะว่ายากในการป้ องกันน้ าซึ มเข้าได้ แต่ถา้ มีความจาเป็ นจริ ง ๆ แล้ว ก็
ต้องหาเครื่ องป้ องกันน้ าซึ มปิ ดทับให้ดี เชื้อปะทุชนวนทางการค้ามีแบบ J 1, แบบ 6 และเบอร์ 8
ส่ วนทางทหารก็มีเชื้ อปะทุชนวนแบบ M 7

รู ปที่ 16 เชื้อปะทุชนวนทางทหาร
คีมบีบเชื้อปะทุ เอ็ม 2
คีมบีบเชื้อปะทุ เอ็ม 2 (รู ปที่ 17) ใช้ในการบีบเชื้ อปะทุชนวนให้ติดกับชนวนฝักแคเวลา ฐานเครื่ องจุด
ระเบิด มาตรฐานหรื อ ชนวนฝักแคระเบิด เพื่อให้ติดแน่นไม่สามารถที่จะดึงให้หลุดออกมาได้จะมีปุ่มเพื่อ
ป้ องกันไม่ให้คีมบีบเชื้ อปะทุ บีบเชื้อปะทุมากเกินไปอยูท่ ี่ดา้ มคีมด้านหนึ่ง ช่องว่างของปากคีม ด้านนอกใช้
สาหรับบีบ เชื้อปะทุให้ติด ช่องว่างด้านในใช้สาหรับตัดชนวนฝักแคเวลา หรื อชนวนฝักแคระเบิด ปลายด้าน
หนึ่งของคีมมีปลายแหลมใช้สาหรับเจาะดินระเบิดให้เป็ นรู สาหรับเสี ยบเชื้อปะทุเข้าไป ปลายอีกด้านหนึ่ง
แบนสาหรับใช้เป็ นไขควง คีมบีบเชื้อปะทุทาด้วยวัสดุอโลหะที่บอบบาง จึงต้องไม่ใช้ในความมุ่งหมายอื่น
ซึ่งอาจจะทาให้คีมนี้เสี ยหายได้ ปากของคีมจะต้องระวังรักษาให้สะอาด และใช้สาหรับตัดชนวนฝักแค
ระเบิดหรื อฝักแคเวลาเท่านั้น

รู ปที่ 17 คีมบีบเชื้ปะทุ เอ็ม 2


เครื่ องตรวจวงจรกัลวานอมิเตอร์
เครื่ องตรวจวงจรกัลวานอมิเตอร์ (รู ปที่ 18) เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการทดสอบระบบการจุดระเบิดด้วย
ไฟฟ้า ซึ่งใช้ตรวจวงจร (เชื้อปะทุไฟฟ้า สายไฟจุดระเบิด สายต่อ)เมื่อปลายสองปลายติดกัน ใช้เครื่ องตรวจ
วงจรกัลวานอมิเตอร์ ตรวจเข็มบนหน้าปั ดจะชี้ไปทางขวา เครื่ องตรวจวงจรกัลป์ วานอมิเตอร์ เวลาจะใช้ตอ้ ง
ระมัดระวังรักษาให้ดี สามารถทดสอบก่อนนาไปใช้ได้ โดยใช้วสั ดุที่เป็ นโลหะวางพาดลงไปที่ปุ่มสองปุ่ ม
ถ้าเข็มไม่กระดิกแสดงว่า ถ่านอ่อนต้องเปลี่ยนถ่านใหม่ (ถ่านที่ใช้ถ่านซิ ลเวอร์ คลอไรด์ มีแรงเคลื่อนไฟฟ้า
เพียง 0.9 โวลต์)
ที่ 18 เครื่ องตรวจสอบวงจร(กัลป์ วานมิเตอร์

รู ปที่ 19 เครื่ องจุดระเบิด M 57 และเครื่ องตรวจสายวงจรไฟฟ้ า M 40


รู ปที่ 20 เครื่ องจุดระเบิด

เครื่ องจุดระเบิด (BLASTING MACHINES) (รู ปที่ 20)


1. เครื่ องจุดระเบิดชนิด 10 ดอก เป็ นเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงขนาดเล็กซึ่ งผลิตขึ้นมามีกระแส 15
แอมแปร์ เพียงพอที่จะจุดเชื้ อปะทุไฟฟ้าได้ 10 ดอก ต่อแบบเรี ยงลาดับ มีน้ าหนักประมาณ 50 ปอนด์
วิธีการใช้ดงั ต่อไปนี้
1.1 ลองเครื่ องจุดระเบิดเพื่อดูวา่ ใช้งานได้หรื อไม่ดว้ ยกระบวนการทดสอบตามข้อ 1.3 ถึง 1.5 ลองทา
หลาย ๆ ครั้ง จนกระทัง่ ทางานได้อย่างดี ก่อนที่จะนาสายไฟจุดระเบิดต่อเข้ากับเครื่ อง
1.2 ต้องนาเครื่ องจุดระเบิดติดตัวตลอดเวลา ในขณะที่ต่อวงจรการจุดระเบิด
1.3 ต่อสายไฟฟ้าเข้าในเครื่ องจุดระเบิดให้แน่น
1.4 สอดมือเข้าไปในห่ วงนิ้ว
1.5 มือซ้ายสอดเข้าไปในห่วงนิ้ว และถือเครื่ องจุดระเบิดให้อยูก่ ่ ึงกลางให้แน่น
1.6 จับมือถือด้วยมือขวา และหมุนอย่างแรงตามเข็มนาฬิกาอย่างเร็ ว
2. เครื่ องจุดระเบิดขนาด 30 ดอก เครื่ องจุดระเบิดชนิดนี้สามารถจุดเชื้ อปะทุไฟฟ้าให้ได้ 30 ดอก เมื่อต่อ
แบบวงจรเรี ยงอันดับ น้ าหนัก 20 ปอนด์ การใช้
2.1 ดึงมือถือให้สูง
2.2 กดมือถือลงอย่างรวดเร็ วให้สุด
3. เครื่ องจุดระเบิดแบบ 50 ดอก และ 100 ดอก
3.1 เครื่ องจุดระเบิดแบบ 50 ดอก สามารถจุดเชื้อปะทุไฟฟ้าได้ จานวน 50 ดอก ต่อแบบวงจรเรี ยง
อันดับ มีน้ าหนัก 20 ปอนด์ การใช้เช่นเดียวกับเครื่ องจุดระเบิดชนิด 30 ดอก
3.2 เครื่ องจุระเบิด 100 ดอก คล้ายคลึงกับแบบ 50 ดอก เว้นแต่ขนาดและน้ าหนักต่างกัน ส่ วนการใช้
งานเหมือนกัน
เครื่ องจุดระเบิดถ่วงเวลา
1. M1 A1 ถ่วงเวลา 15 วินาที (รู ปที่ 21) ทางานแบบเสี ยดสี เมื่อถอดสลักนิ รภัยแล้วดึงที่ห่วงกลมด้านท้าย
จึงเกิดประกายไฟไปจุดชนวนถ่วงเวลา ชนวนถ่วงเวลาจะถ่วงเวลา 15 วินาที จึงจะจุดดินปะทุที่อยูใ่ นหลอด
เชื้อปะทุชนวน ตัวหลอดเชื้ อปะทุชนวนจะมีครอบป้ องกัน เมื่อจะประกอบเครื่ องจุดระเบิดนี้เข้ากับดินระเบิด
จะต้องถอดครอบป้ องกันออกก่อน

รู ปที่ 21 เชื้อปะทุชนวนถ่ วงเวลา M1A1


รู ปที่ 22 เชื้อปะทุชนวนถ่ วงเวลา M1A2
2. M1 A2 ถ่วงเวลา 15 วินาที ทางานแบบจอกกระทบแตก เมื่อถอดสลักนิรภัยแล้วดึงห่ วงกลมด้านท้าย
จนกระทัง่ สลักแทงชนวนหลดุ ออกมา เข็มแทงชนวนจะพุ่งไปกระแทกจอกกระทบแตก เกิดประกายไฟไป
จุดดินถ่วงเวลาซึ่ งจะถ่วงเวลา 15 วินาที จึงจะจุดเชื้ อปะทุชนวน ตัวหลอดเชื้อปะทุมีครอบป้ องกัน เมื่อ จะ
ประกอบเครื่ องจุดระเบิดชนิ ดนี้ เข้ากับดินระเบิด จะต้องถอดครอบป้ องกันออกก่อน เครื่ องจุดระเบิดถ่วง
เวลาชนิด M1 A1 สามารถใช้แทนกันได้
รู ปที่ 23 เชื้อปะทุชนวนถ่ วงเวลา M23. M2
3.ถ่วงเวลา 8 วินาที ทางานแบบเสี ยดสี เมื่อถอดสลักนิรภัยแล้วดึงห่วงรู ปตัว T ท้ายชนวนจะเกิดประกายไฟ
ไปจุดชนวนถ่วงเวลา ซึ่ งถ่วงเวลา 8 วินาที จะจุดดินปะทุในหลอดเชื้อปะทุชนวน ตัวหลอดเชื้อปะทุชนวนมี
ครอบป้ องกัน การประกอบเข้ากับดินระเบิดจะต้องถอดครอบป้ องกันออกก่อน

รู ปที่ 24 เชื้อปะทุชนวนถ่ วงเวลา M2A1


4. M2 A1 ถ่วงเวลา 8 วินาที ทางานแบบจอกกระทบแตก เมื่อถอดสลักนิรภัยแล้วจึงดึงห่วงรู ปตัว T ท้าย
ชนวนกระทัง่ สลักเข็มแทงชนวนหลดุออกมา เข็มแทงชนวนจะพุง่ ไปกระแทกจอกกระทบแตก เกิดประกาย
ไฟไปจุดดินถ่วงเวลา ซึ่ งจะถ่วงเวลา 8 วินาที จึงจะจุดเชื้ อปะทุชนวน ตัวหลอดเชื้ อปะทุชนวนจะมีครอบ
ป้ องกัน การประกอบเข้ากับดินระเบิด จะต้องถอดครอบป้ องกันออกก่อน เครื่ องจุดระเบิดถ่วงเวลาชนิดนี้
และชนิด M2 สามารถใช้แทนกันได้
เครื่ องจุดชนวน
1. M2 เป็ นเครื่ องจุดชนวน ทุกสภาพอากาศ ใช้จุดชนวนฝักแคเวลา การประกอบชนวนฝักแคเวลาเข้ากับ
เครื่ องจุดชนวน กระทาได้โดยดึงครอบกระดาษออก ดึงจุกยางออกจาก
เครื่ องจุดชนวน พยายามอย่าให้สารเหนียวที่ติดอยูร่ ะหว่างจุกยางกับเครื่ องจุดชนวนหลดุออกจากเครื่ อง
จุดชนวน สอดชนวนฝักแคเวลาเข้าไปตรงช่องที่ดึงจุกยางออกจนแน่น ใช้สารเหนียวปิ ดรอบรอยต่อระหว่าง
ชนวนฝักแคเวลา และเครื่ องจุดชนวน เพื่อป้ องกันน้ าการจุดใช้มือหนึ่งจับเครื่ องจุด อีกมือหนึ่งดึงที่ห่วง
สลักขัดเข็มแทงชนวน จนกระทัง่ หลุดออกมา เข็มแทงชนวนจะไปกระแทกจอกกระทบแตกเกิดประกายไฟ
ไปจุดชนวนฝักแคเวลา

รู ปที่ 25 เครื่ องจุดชนวน M 2


2. M 60 (รู ปที่ 26) เป็ นเครื่ องจุดชนวนทุกสภาพอากาศ ใช้จุดชนวนฝักแคประกอบชนวนฝักแคเวลาเข้ากับ
เครื่ องจุดชนวน กระทาโดยหมุนครอบปลายเครื่ องจุดชนวนให้หลวม จนสามารถดึงจุกอุดเครื่ องจุดชนวน
ออกมาได้สะดวก แล้วสอดปลายชนวนฝั กแคเวลาเข้าแทนจุกชนกับปลายจอกกระทบแตกที่อยู่ดา้ นใน
(ดันต่อไปไม่ได้)หลังจากนั้นหมุนครอบปลายเครื่ องจุดชนวนเข้าที่ให้แน่น ชนวนฝักแคเวลาติดกับเครื่ อง
จุดชนวน ทาการจุดชนวนโดยถอดสลักนิรภัยออกแล้วดึงที่ห่วงรับแรงดึง เข็มแทงชนวนจะหลุดออกพุง่ ไป
กระแทกจอกกระทบแตก ทาให้เกิดประกายไฟไปจุดชนวนฝักแคเวลา การดึงจะต้องดึงช้า ๆ ก่อนแล้วดึง
แรง ๆ ในตอนสุ ดท้าย ในกรณี ที่จุดไม่ติดเครื่ องจุดชนวนชนิดนี้สามารถทาให้จุดใหม่ได้ โดยการดันแกนยึด
เข็มแทงชนวนเข้าไปอย่างรวดเร็ ว แล้วดึงออก และกระทาซ้ า ๆ จนกว่าจะจุดติด การจุดใหม่น้ ีไม่สามารถกระทา
ใต้น้ าได้เพราะน้ าจะซึ มเข้าไปภายในตัวเครื่ องจุดชนวน เครื่ องจุดชนวนนี้สามารถนากลับมาใช้ได้อีก
โดยเปลี่ยนจอกกระทบ

รู ปที่ 26 เครื่ องจุดชนวน M 60


สายไฟฟ้ าและล้อม้ วนสายไฟ
1. ชนิดของสายไฟฟ้ า สายไฟฟ้าที่ใช้สาหรับจุดระเบิดด้วยระบบเชื้ อปะทุไฟฟ้าในล้อม้วนสายยาว
ประมาณ 500 ฟตุ เป็ นสายไฟฟ้าสองสายเบอร์ 18 ห่อหุ ม้ ด้วยฉนวนบรรจุอยูใ่ นล้อม้วนสาย แบบอาร์แอล
39 เอ (รู ปที่ 27)
2. ล้อม้ วนสายแบบ อาร์ แอล 39 เอ ประกอบด้วย ล้อม้วนสายซึ่ง
สามารถเก็บสายไฟฟ้าได้ยาว 500 ฟุต มือถือ ข้อเหวีย่ ง แกนเพลา และสายรัดบ่าสองสายปลายสายด้านในสุ ด
ร้อยออกมาจากรู ซึ่ งอยูด่ า้ นหนึ่งของล้อม้วนมือถือทาด้วยเหล็กรู ปตัวยูสองอัน (รู ปที่ 27)
รู ปที่ 27 สายไฟฟ้ าและล้อม้ วนสายไฟ

ชุดล้อม้วนสาย เทปคานวณ
พลัว่ เหล็ก สว่านขุดดิน
รู ปที่ 28 เครื่ องมือขุดหลุม รู ปที่ 29 เครื่ องมือชุดทาลาย
รู ปที่ 29 เครื่ องมือชุดทาลายระบบเชื้อปะทุชนวน

You might also like