You are on page 1of 66

1

การฝกอบรมการใชอาวุธ

ผูอํานวยการฝกอบรม : พลเอก หมอมหลวงทศนวอมร เทวกุล

กล า วนํ า กรมราชองครั ก ษ เ ป น หน ว ยงานที่ มี ภ ารกิ จ สํ า คั ญ ในการถวายความปลอดภั ย


แดองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ
ผูแทนพระองค และพระราชอาคันตุกะ เนื่องจากการถวายความปลอดภัยตอพระองคทานมีความสําคัญ
อย า งยิ่ ง ยวด และจํ า เป น ต อ งพั ฒ นาการฝ ก บุ ค ลากรให มี ค วามชํ า นาญ และเชี่ ย วชาญในการใช อ าวุ ธ
และยุ ท โธปกรณ ทุ ก ประเภท เพื่ อ ใช ใ นภารกิ จ ถวายความปลอดภั ย ตลอดจนมี ค วามรู ใ นการรั ก ษา
ความปลอดภั ย โดยเฉพาะ ราชองครั ก ษ ป ระจํ า ,ราชองครั ก ษ เ วร และเจ า หน า ที่ รั ก ษาความปลอดภั ย
ประจํากรมราชองครักษ ซึ่งมีหนาที่ในการถวายความปลอดภัยโดยตรง จึงจําเปนตองมีอาวุธยุทโธปกรณ
ที่ทันสมัยไวใชงาน และตองไดรับการฝก และศึกษาเพื่อใหมีความเขาใจในขีดความสามารถของอาวุธ
และยุทโธปกรณอยางแทจริง และมีความชํานาญในการใชอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด
2
วัตถุประสงคของการฝกอบรม

๑. ใหทุกทานสามารถใชอาวุธไดอยางปลอดภัยและรูขีดความสามารถของตนเอง
๒. เพื่อใหเกิดความคุนเคยกับอาวุธ
๓. มีความเขาใจขั้นตอนและวิธีการ
๔. เพื่อใหมีความพรอมในการใชอาวุธ เมื่อมีความจําเปน
๕. เพื่อให กําลังพลเปนผูที่มีคุณภาพ มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติภารกิจถวายความปลอดภัย
และรักษาความปลอดภัย

รายละเอียดในการฝก

- กฎแหงความปลอดภัย
- อาวุธที่ใชในการฝกไดแก ปนลูกโม, ปนพกกึ่งอัตโนมัติ, ปนลูกซอง, ปนกลมือ,และปนเล็กยาว
- คุณลักษณะ และความสามารถของอาวุธแตละชนิด
- คุณลักษณะ และความสามารถของกระสุนแตละชนิด
- การบรรจุ และเลิกบรรจุของอาวุธแตละชนิด
- การสง การรับ และการนําพาอาวุธอยางปลอดภัย
- ทายิง และการยิงที่ถูกตอง
- ตรวจสอบขีดความสามารถของผูเขารับการฝกแตละคน
3
กฎแหงความปลอดภัย (ตอผูอื่น)

กฎขอที่ ๑ : ตั้งสมมติฐานวาปนทุกกระบอกมีกระสุนบรรจุอยู และทําการตรวจปนทันทีที่สัมผัส


กฎขอที่ ๒ : อยาหันปากกระบอกปนไปในทิศทางที่ยังไมพรอมจะยิง (คน - สัตว)
กฎขอที่ ๓ : ไมนํานิ้วเขาโกรงไกปน จนกวาจะพรอมที่จะทําการยิง
กฎขอที่ ๔ : ตองมั่นใจในเปาหมายและสิ่งที่อยูรอบ ๆ เปาหมาย

กฎแหงความปลอดภัย (ตอตนเอง) ไดแก เครื่องปองกันตาง ๆ

อุปกรณที่ใชในการฝกยิงปน
๑ . เครื่องปองกันดวงตา
๑.๑ แวนยิงปน
๑.๒ แวนสายตา
๑.๓ แวนกันแดด

๒. เครื่องปองกันหู
๒.๑ ที่ครอบหู
๒.๒ สําลี/ที่อุดหู
๒.๓ ปลอกกระสุนปน
4
ระบบของอาวุธ

เหตุผลในการจัดระบบของอาวุธ เนื่องจากระยะการยิงของอาวุธแตละชนิดแตกตางกัน นั่นคือ การ


ใชระบบของอาวุธเพื่อตอระยะการยิง และใหสอดคลองกับรูปแบบของการปฏิบัติงาน ดังนั้น การเลือกใช
อาวุธในการตอสูปองกันตัว จึงตองคํานึงถึงระยะหางระหวางตัวเรากับคูตอสู หรือเปาหมายดวย เชน ขณะที่
ตัวเราอยูในระยะประชิด (Within arm length) กับคูตอสู อาวุธที่เหมาะสมที่สุดในการตอสูปองกันตัว คือ มีด
แตถาหากคูตอสู หรือเปาหมายอยูหางออกไป อาวุธที่เลือกใชควรเปนปนขึ้นอยูกับระยะการยิงของอาวุธปน
แตละชนิด

ระบบอาวุธ ๔ ระบบ ประกอบดวยอาวุธ 4 ประเภท คือ

๑. ปนพก (ระยะใชงาน ๐-๑๐ หลา) ๒. ปนลูกซอง (ระยะใชงาน ๐-๕๐ หลา)


๓. ปนกลมือ (ระยะใชงาน ๐-๑๐๐ หลา) ๔. ปนเล็กยาว (ระยะใชงาน ๐-๑๐๐ หลาขึ้นไป)

ปนพก ปนลูกซอง

ปนกลมือ ปนเล็กยาว
5
ระบบที่ ๑
ปนพก
ปนพก (Pistol) มี ๒ ประเภท ดังนี้.-

๑. ปนพกลูกโม หมายถึง ปนพกที่มีสวนบรรจุกระสุนหมุนไดเอง เมือ่ เหนี่ยวไกยิงแลวลูกโมจะหมุน


ลูกกระสุนที่อยูในชองถัดไปจะตรงกับลํากลองปน พรอมยิงตอไปได

ปนพกลูกโมชนิดตางๆ

๒. ปนพกกึ่งอัตโนมัติ หมายถึง ปนพกทีบ่ รรจุกระสุนไดหลายนัดดวยซองกระสุน เมื่อจะทําการยิง


ตองดึงลูกเลื่อนถอยหลังกอนเพื่อบรรจุกระสุนในรังเพลิง เมื่อเหนีย่ วไกยิงแลวลูกเลือ่ นจะถอยหลัง คัดปลอก
กระสุนนัดเกาออก และนํากระสุนนัดใหมบรรจุเขารังเพลิงพรอมที่จะยิงตอไป

ปนพกกึง่ อัตโนมัติชนิดตางๆ
ระยะยิงหวังผล อยูที่ประมาณ ๒๕ หลา แตในการใชงานจริงจะใชยงิ ที่ระยะ ๐ - ๑๐ หลา
6

S&W Model 60 ขนาด .357


ขอเปรียบเทียบลักษณะเดน และลักษณะดอยของปนพกลูกโม

ลักษณะเดนของปนพกลูกโม
๑. งายตอการฝกหัดใชงาน
๒. ระบบการทํางานไมยุงยาก
๓. ปญหาเหตุติดขัดจากอาวุธมีนอย
๔. ความปลอดภัยสูงยากตอการทําปนลั่น
๕. ไมเลือกชนิดของกระสุน(หัวกระสุน)ในการใชงาน
๖. สามารถเลือกใชชนิดกระสุนไดตามตองการเมื่อตองการยิงเฉพาะลักษณะ
๗. มีความแมนยําสูงเนื่องจากไมมีชิ้นสวนเคลื่อนไหวมาดานหนาและดานหลัง

ลักษณะดอยของปนพกลูกโม
๑. จํานวนกระสุนที่บรรจุในโมปนมีนอย
๒. ทําการยิงซ้าํ ตอเปาหมายไดชากวาแบบกึ่งอัตโนมัติ ชวงลากไกยาว
๓. ยากตอการพกพา
๔. อํานาจการยิงไมรุนแรง
๕. การบรรจุกระสุนชุดใหมทําไดชากวาแบบกึ่งอัตโนมัติ
7

Glock-19

ขอเปรียบเทียบลักษณะเดนและลักษณะดอยของปนพกกึ่งอัตโนมัติ

ลักษณะเดนของปนพกกึ่งอัตโนมัติ
๑.บรรจุกระสุนไดมากกวาปนพกลูกโม
๒.อํานาจการยิงสูงกวา
๓.การยิงซ้ําตอเปาหมายสามารถควบคุมไดดีกวาและใชเวลานอยกวาปนพกลูกโม
๔.มีขนาดบางสามารถพกซุกซอนไดงาย
๕.การบรรจุกระสุนชุดใหมทําไดเร็วกวา

ลักษณะดอยของปนพกกึ่งอัตโนมัติ
๑.อันตรายจากการทําปนลั่นสูง
๒.มีลักษณะกลไกทํางานซับซอน
๓.มีโอกาสขัดของสูงกวาปนลูกโม
๔.เลือกชนิดของกระสุนในการยิง
๕.การแกไขเหตุติดขัดใชเวลานานกวาปนพกลูกโม
๖.ตองไดรับการฝกเปนอยางดี จึงสามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
8
สวนประกอบของปนพกลูกโม

โมปน กานคัดปลอกกระสุน นกปน

ลํากลอง
สลักลอกโมปน

โกรงไกปน ไกปน

ดามปน

การถอดประกอบชิ้นสวนตางๆของปนพกลูกโม
9
สวนประกอบของอาวุธปนพกกึ่งอัตโนมัติ

โกรงไกปน
ไกปน ปุมปลดซองกระสุน

ศูนยหนา สลักหยุดเลื่อนปน ศูนยหลัง

นกปน

ปากลํากลอง
แผนหามไก

หามไกชวย

ดามปน

ไกปน
โกรงไกปน ปุมยึดซองกระสุน
ชองคัดปลอกกระสุน
ซองกระสุน

ชิ้นสวนประกอบตางๆของปนพก 86 M1911 A1
10
ระบบการลั่นไกของปนพก มี ๒ แบบ
- แบบ Single Action เปนระบบการลั่นไกที่ตองทําการขึ้นนกกอน หลังจากนั้นจึงลั่นไก
- แบบ Double Action เปนระบบการลั่นไกโดยไมจําเปนตองขึ้นนกกอน ซึ่งใชไดงายและ
สามารถทําการยิงไดรวดเร็วกวาแบบ Single Action

ลักษณะตางๆของปนพกกึ่งอัตโนมัติ

ปนพกกึ่งอัตโนมัติ Glock-19
11

ลักษณะของปนที่ยังไมไดบรรจุกระสุนเขาสูรังเพลิง ลักษณะของปนที่อยูในสภาพที่ปลอดภัย
ถอดซองกระสุนออก ปนอยูในลักษณะคางเลื่อนปน

ลักษณะของปนที่อยูในสภาพที่อันตราย
ปนมีซองกระสุนบรรจุอยูและขึ้นนกไว

ปนพกกึ่งอัตโนมัติ แบบ 86 M1911 A1


12
ขั้นตอนในการตรวจปน การบรรจุกระสุน และการเลิกบรรจุกระสุน (ปนชนิดลูกโม และปนกึ่งอัตโนมัติ)
๑. การตรวจปน
- ชนิดลูกโม
วางกระบอกปนดานขวาทาบลงบนฝามือซาย ใชนิ้วหัวแมมือขวาดันสลักล็อกโมปน แลวใช
นิ้วกลางและนิ้วนางมือซายผลักโมปนออก โดยมีนิ้วชี้และนิ้วกอยรองกระบอกปนไว แลวใชนิ้วหัวแมมือยึด
โมปนไว

มองดูในโมปน และหงายปากกระบอกปนขึ้นแลวมองดูในลํากลองปน โดยใชนิ้วหัวแมมือขวา


สอดรองเขาที่ปลายอีกดานของลํากลองเพื่อใหเห็นไดชัดเจนขึ้น และแนใจวาไมมีกระสุนคางอยูในลํากลอง
เนื่องจากวัตถุที่คางอยูอาจสงผลใหจอกกระทบแตกเสียดสีและเปนเหตุใหกระสุนเกิดการระเบิดในลํากลอง
จนปนแตกและเปนอันตรายได
- ชนิดกึ่งอัตโนมัติ
ขั้นที่ ๑ จับปนดวยมือขางที่ถนัด
ขั้นที่ ๒ ปลดซองกระสุน
1 2

ขั้นที่ ๓ ดันลําเลื่อนปนไปทางดานหลัง พรอมล็อคเลื่อนปน


ขั้นที่ ๔ ดูในรังเพลิงวามีกระสุนหรือไม
3 4
13
๒. การหิ้วปนดวยมือซาย หรือขวา

- ตําแหนงของปนขณะทีร่ ับการฝกในสนามยิงปน
๑. ปนอยูใ นซองเสมอ
๒. ปนอยูในมือซาย หรือขวา ของผูที่ไดรับการฝก ในลักษณะของการเตรียมบรรจุกระสุน หรือ
การตรวจอาวุธ
๓. การบรรจุกระสุน
๓.๑ ชนิดลูกโม
- การบรรจุกระสุนควรบรรจุตอเนื่องไมเวนชองวางระหวางรังกระสุน
- กระสุนนัดที่บรรจุอยูตรงกับตําแหนงของลํากลอง (รังเพลิง) จะเปนตําแหนงที่กระสุนไม
ลั่น เนื่องจากเวลาที่นกงางออก ลูกโมจะเลื่อนไปหนึ่งตําแหนง (ลักษณะการหมุนของลูกโมเปนแบบทวนเข็ม
นาฬิ ก า) ดั ง นั้ น เพื่ อ ให ป น ที่ บ รรจุ ก ระสุ น ไม เ ต็ ม โม พ ร อ มใช ง าน จึ ง ควรบรรจุ ก ระสุ น ไว ที่ ตํ า แหน ง
กอนถึงรังเพลิง และตองคํานึงถึงทิศทางวาลูกโม วาหมุนทวนเข็มหรือตามเข็มนาฬิกา เปนสําคัญ

- วิธีหยิบกระสุนเพื่อความไวในการบรรจุ
วิธีที่ ๑ : กรณีใสกระสุนไวในกระเปากางเกง ใหกํากระสุนไวในอุงมือใหไดมากที่สุด
แทนการหยิบกระสุนที่ละนัดซึ่งจะใชเวลามาก
วิธีที่ ๒ : กรณีกระสุนวางอยูบนโตะ หยิบกระสุนบรรจุไดเลยทีละนัดโดยไมตองนํามา
กําไว
14

๓.๒ ชนิดกึ่งอัตโนมัติ
ขั้นที่ ๑ ปนคางสไลด
ขั้นที่ ๒ ใสซองกระสุน (คางสไลด)
ขั้นที่ ๓ ปลดลําเลื่อนปนไปดานหนา
ขั้นที่ ๔ จับปนอยูใ นทาเตรียมใชอาวุธ
1 2

3 4

๔. ลักษณะการจับปนแบบสองมือ : การจับปนแบบสองมือเปนทาที่สามารถยิงไดแมนยํากวา
การจับปนแบบมือเดียว โดยมีลักษณะดังนี้
15
- มือขวากําดามปนใหกระชับ โดยใชนวิ้ ชีพ้ าดไปตามลํากลองปน
- มือซายทาบตรงสวนที่เปนชวงวางระหวางอุงมือกับนิว้ มือดานขวาทีก่ ําปนอยู
- นิ้วหัวแมมือซายทาบขนานหรือทาบทับนิ้วหัวแมมือขวา
- ทุกครั้งกอนการยิง หรือหลังจากยิงเสร็จ ตองนํานิ้วออกจากโกรงไกมาไวที่ตําแหนงนี้
ทุกครั้ง เพื่อความปลอดภัย
๕. การงางนก/ขึ้นนก : ขณะทีจ่ ับปนสองมือ ใหใชนวิ้ หัวแมมือซายเปนนิว้ ที่งางนก หากใช
นิ้วหัวแมมือขวางาง อาจตองปรับความกระชับของอุงมือใหม ซึ่งจะทําใหเสียเวลา

๖. การลดนก : ใชนิ้วหัวแมมือซายงางนกออกแลวยั้งไว จากนั้นคอย ๆผอนนิ้วชี้มือขวาที่ทาบ


อยูบนไกสงออกชาๆ จนนกสับกลับไปอยูในตําแหนงเดิมกอนงาง
๗. การเลิกบรรจุ
๗.๑ ชนิดลูกโม
ใชนิ้วหัวแมมือขวาดันสลักล็อคโมปนออก แลวใชนิ้วหัวแมมือซายดันกานคัด
ปลอกกระสุนลงจนสุด จากนั้นหงายปนขึ้น แลวเทกระสุน (หรือปลอกกระสุน) ออกจากลูกโม
๗.๒ ชนิดกึ่งอัตโนมัติ
ขั้นที่ ๑ ใชนิ้วโปงขวากดปุมปลดซองกระสุน
ขั้นที่ ๒ ใชอุงมือซายรองรับซองกระสุน
ขั้นที่ ๓ ดึงซองกระสุนออกจากดามปน
ขั้นที่ ๔ ดันเลื่อนปนมาทางดานหลัง พรอมล็อคเลื่อนปน

1 2
16

3 4

๘. วิธีถือปน (ทาเตรียมอาวุธ)
วิธีที่ ๑ : หันปากกระบอกปนชี้ขึ้นฟาระดับตั้งฉากกับพืน้ ดิน
วิธีที่ ๒ : หันปากกระบอกปนชี้ลงดินทํามุม ๔๕ องศากับพื้นดิน
- ลักษณะของการถือปน ควรงอขอศอกทั้งสองแขนแนบชิดลําตัวใหกระชับ

- ไมควรเหยียดแขนหางจากลําตัวมาก เนื่องจากอาจเปดโอกาสใหผูอ่นื กระทําการแยงปนไปได


- ลดเวลาในการยิงตอเปาหมายได
17
- วิธีสงปน : มือผูสง จับบนกระบอกปนโดยหันดามปนออกนอกตัว และปากกระบอกปน
ชี้ลงพื้นดิน มี ๒ ลักษณะ คือ มีกระสุนบรรจุในลูกโม และไมมีกระสุนบรรจุในลูกโม

ขั้นตอนการเตรียมยิง
๑. ทาเตรียมใชอาวุธ : จับปนใหกระชับ ศอกแนบชิดลําตัว ปากกระบอกปนชี้ลง ๔๕ องศาจาก
พื้นดิน
๒. ลักษณะทาพรอมยิง : ยืนแขนออกจากทาถือปนแนบลําตัวออกไปจนแขนเหยียดตรง ตามองที่
ศูนยหนาของปนแลวเล็งไปยังตําแหนงที่ตองการยิง เมื่อเสร็จสิ้นการยิงทุกครั้งตองหดแขนกลับไปทาเตรียม
ยิง และนํานิ้วชี้ออกจากโกรงไกพาดที่ลํากลองเสมอ

สาเหตุ ที่ ป น มี ห ลายแบบ เนื่ อ งจากขี ด ความสามารถด า นความเปน ตอ ของระยะการยิ ง


นั่นคือการใชตอระยะการยิง และแตละรูปแบบของการใชงาน ดังนั้น การเลือกใชอาวุธในการตอสูปองกัน
ตัว จึงตองคํานึงถึงระยะหางของคูตอสู หรือเปาหมาย เชน ขณะอยูในระยะประชิด (Within arm length) อาวุธที่
เหมาะสมที่สุดคือมีด หากเปาหมายอยูในระยะหางออกไป จึงใชอาวุธปนตามระยะตอของการยิงดังขางตน
- การควบคุมปนพก : ปนพกที่มีความยาวของลํากลองและมีน้ําหนักมากกวา จะควบคุม
ไดงายกวาปนที่มีลํากลองสั้นและน้ําหนักเบา เนื่องจากแรงสะทอนของปนจะสมดุลกับน้ําหนักและความยาว
ของปน
- น้ําหนักที่กระทําตอไกปนพก : ปนจังหวะเดียวที่ทําการงางนกแลว จะใชน้ําหนักที่กระทํา
ตอไกปนประมาณ ๓ – ๕ ปอนด ปนจึงจะลั่นไก สวนปนสองจังหวะที่ยังไมงางนก จะตองใชน้ําหนักที่
กระทําตอไกปนประมาณ ๑๒ – ๑๕ ปอนด ปนจึงจะลั่นไก
18
ระบบที่ ๒ ปนลูกซอง

ปนลูกซอง เปนปนอเนกประสงคซึ่งใชกันอยางแพรหลายทั่วทุกประเทศ ไมมีเกลียวลํากลอง (ลํากลอง


เรียบ) โดยปกติอาวุธปนจะวัดขนาดเปนมิลลิเมตร หรือ นิ้ว แตสําหรับปนลูกซอง หนวยวัดของปากลํากลองเปนเกจ
(Gauge) หรือ บอร (Bore) ซึ่งมาจากการใชตะกั่วหนัก ๑ ปอนด นํามาแบงเทา ๆ กัน ขนาดที่นิยมใชทั่วไป
คือ ขนาดเกจ ๑๒ (๑๒ Gauge) เปนอาวุธที่ใชในการยิงระยะประชิดไดดี ทําลายเปาหมายไดอยางรวดเร็วและแมนยํา
และมีระยะใชงาน ๐ – ๕๐ หลา ปจจุบันประเภทของปนลูกซองที่ใชกันอยูมีดังนี้

แบบของปนลูกซอง
ปนลูกซองมีผลิตขึ้นมาใชในแบบตาง ๆ เชนเดียวกับอาวุธปนเล็กยาวทั่ว ๆ ไป คือ
๑) Single Shot Shotgun แบงออกเปน
๑.๑ Single Barrel (ปนลูกซองลํากลองเดี่ยว)
๑.๒ Double Barrel มี ๒ ลักษณะ คือ
๑.๒.๑ Side By Side (ปนลูกซองลํากลองแฝดขนาน)
๑.๒.๒ Over-Under (ปนลูกซองลํากลองแฝดซอน)
๑.๓ Combination Gun
๒) Repeating Shotgun แบงออกเปน
๒.๑ Lever Action
๒.๒ Slide.Pump or Trombone Action
๒.๓ Bolt Action
๓) Semi-Automatic Shotgun (ปนลูกซองระบบกึ่งอัตโนมัติ)
๔) Full- Automatic Shotgun (ปนลูกซองระบบอัตโนมัติ) ใชในทางการทหาร
๕) Miscellaneous Shotgun เชน
- ปนลูกซองไฮบริด (สามารถยิงไดทั้งระบบ Pump Action และระบบ Semi-Automatic)
- ปนลูกซองที่มี ๔ ลํากลอง
- ปนพก (ซึ่งปจจุบันเปนของตองหาม) เปนตน
19
ขอดีของปนลูกซอง
- เปนอาวุธปนที่ไมตองใชความประณีตในการเล็ง (การเล็งแบบคราว ๆ)
- สามารถเลือกใชกระสุนไดหลากหลายชนิดขึ้นอยูก ับจุดประสงคในการใช
- ในการยิง ๑ นัด จะมีกระสุนออกไปเปนจํานวนมาก (กระสุนลูกปลาย, กระสุนลูก ๙ หรือ oo
Buck)
- อานุภาพในการทําลายเปาหมายสูง
- เปนอาวุธปนที่ใชกนั อยางแพรหลายและสามารถหาซื้อไดทั่วไป

ขอเสียของปนลูกซอง
- ระยะในการยิงคอนขางจํากัด
- การยิงซ้ําตอเปาหมายเดิมทําไดยากเนื่องจากเปนอาวุธปนที่มีแรงสะทอนถอยหลังมาก
- สามารถบรรจุกระสุนไดเปนจํานวนนอย
- ไมสะดวกตอการพกพา

ขอเปรียบเทียบระหวางลักษณะเดนและลักษณะดอยของปนลูกซอง

ลักษณะเดนของปนลูกซอง
๑. เปนอาวุธอเนกประสงคทมี่ ีประสิทธิภาพมากและงายตอการใชงาน
๒. ใชในภารกิจการลาดตระเวนที่มีพนื้ ที่กวางหรืออาคารที่มีขนาดใหญ
๓. เปนอาวุธทีม่ ีอานุภาพในการทําลายเปาหมายสูงเมื่อทําการยิงในระยะใกล
๔. การยิงตอเปาหมายในเวลากลางคืนทําไดงาย
๕. เปนอาวุธทีม่ ีราคาไมแพง
๖. สามารถเลือกใชกระสุนไดหลากหลายชนิด

ลักษณะดอยของปนลูกซอง
๑. การบรรจุกระสุนทําไดจํานวนจํากัด ประมาณ ๔-๘ นัด
๒. ไมสามารถนําไปใชในภารกิจที่ตองการความแมนยําได
๓. เปนอาวุธทีม่ ีขนาดยาว ซึ่งยากตอการปกปดซอนเรน
๔. แรงสะทอนถอยหลังรุนแรง ซึ่งสงผลใหผูใชทําการยิงในนัดตอไปไดชา
20

ชนิดศูนย ปนลูกซอง

ศูนยลูกปด Bead ศู น ย แ บ บ ป น พ ก Pistol Ghost-ring Express


เหมาะกับยิงลูกโดด
( นอกจากขางตนแลวยังมีศูนยแบบเสนใยนําแสง , ศูนยแบบHolo sight )

กระสุนของปนลูกซอง

ภาพแสดง สวนประกอบของกระสุน
21
กระสุนหลัก 3 ชนิด

shot ลูกปราย Buckshot ลูก 9 Slug ลูกโดด 7.29 นิ้ว


( Bird Shot )

นอกจากนี้ยังมีกระสุนแบบพิเศษ เชน กระสุนยาง กระสุนแกสCS เปนตน

กระสุนยางลูกปราย กระสุนยางลูกโดด กระสุนยางลูกโดด


แบบมีถุง แบบมีครีบ

๑. กระสุนลูกปราย (Bird Shot) ใชสําหรับยิงสัตวที่มีขนาดเล็ก เชน นก, หนู, และงู เปนตน


เทคนิคในการยิงคนควรใชยงิ ในระยะทีไ่ มไกลมากนัก เพราะกระสุนมีขนาดเล็กและน้ําหนักเบา ทั้งนี้ควรทํา
การยิงที่บริเวณ ศีรษะหรือใบหนาจะเหมาะสมกวา
๒. กระสุนลูก ๙ (Buck Shot) ใชสําหรับยิงสัตวขนาดกลาง รวมถึงคน เทคนิคในการยิงคน ควร
เลือกยิงบริเวณของเปาหมายที่มีขนาดใหญ เชน บริเวณทองนอย เปนตน
๓. กระสุนลูกโดด (Slug Shot) คือ กระสุนนัดเดียว มีขนาดเสนผาศูนยกลาง ๐.๗๒๙ นิ้ว ใชสําหรับ
ยิงสัตวที่มีขนาดใหญ
๔. กระสุนที่ใชเพื่อความมุงหมายพิเศษ เชน กระสุนยาง, กระสุนลูกดอก, กระสุนควัน และ
ถุงถั่ว (Pea Bag) เปนตน
22
ขนาดเสนผานศูนยกลาง ของกระสุน

ภาพแสดงมานกระสุนในระยะตางๆกัน

ประเภทของปนลูกซอง

๑) ปนลูกซองเดี่ยว
๒) ปนลูกซองแฝด
๒.๑ ปนลูกซองแฝดขาง
๒.๒ ปนลูกซองแฝดบน - ลาง (นิยมใชแขงขันยิงปนเปาบิน)
๓) ปนลูกซองระบบ Pump Action หรือ Slide Action
๔) ปนลูกซองระบบกึ่งอัตโนมัติ
๕) ปนลูกซองไฮบริด สามารถยิงไดทั้งระบบ Pump Action และระบบ Semi-Automatic
๖) ปนลูกซองระบบอัตโนมัติ
23

ปนลูกซองเดี่ยว ไบคาล
24

ปนลูกซองแฝดขาง
25

ปนลูกซองแฝดบน - ลาง
26

ปนลูกซองแฝดบน-ลาง, ปนลูกซองแฝดขาง, ปนลูกซองเดี่ยว


27

ปนลูกซอง Remington 870


ขนาด 18 นิ้ว

ปนลูกซอง Remington
870 ขนาด 14 นิ้ว

ปนลูกซอง Mosberg
ขนาด 18 นิ้ว

ปนลูกซอง Remington
870 ขนาด 14 นิ้ว

ปนลูกซอง Ithaca

ปนลูกซอง Pump Action


28

Benelli M1

Benelli M1 Super 90
ปนลูกซองกึ่งอัตโนมัติ
29

ปนลูกซอง Hybrid (ระบบ Pump Action และระบบ Semi-Automatic)


30

ปนลูกซอง AA – 12 Shotgun

ภาพ นย.สหรัฐ ยิง ปนลูกซอง AA12

ปนลูกซองอัตโนมัติ
31
มานกระสุนของปนลูกซอง

ลูกปราย ระยะ ๕ หลา และ ๑๒ หลา

ลูกโดด ระยะ ๕ หลา และ ๑๒ หลา


32
มานกระสุนปนลูกซอง OO บัค

เปากระสุนลูก ๙ เม็ด ระยะ ๑๐ หลา

ยิงจากปนลูกซองเรมิงตัน ๘๗๐ ระยะ ๑๕ หลา


33
เปากระสุนลูกโดด

กระสุนประเภทลูกโดด ระยะ ๕๐ หลา


34
ระบบที่ ๓
ปนกลมือ

ปนกลมือ MP5 K

ปนกลมือ MP5 A5

ปนกลมือ MP5 SD6

ปนกลมือ UZI

ปนกลมือ MINI UZI

ปนกลมือ MICRO UZI

ปนกลมือ หมายถึง อาวุธปนที่สามารถยิงไดอยางรวดเร็วและยิงไดหลายนัดติดตอกัน โดยการเหนี่ยวไกเพียง


ครั้งเดียว ใชกระสุนปนพก มีน้ําหนักเบาพอที่จะใชมือทั้งสองขางประคองได บรรจุกระสุนดวยซองกระสุน
ครั้งละหลายๆนัด โดยมีสมรรถนะในการยิงระยะใกลไดดี มีระยะใชงาน ๐-๑๐๐ หลา
35
ขอเปรียบเทียบลักษณะเดน และลักษณะดอยของปนกลมือ

ลักษณะเดนของปนกลมือ
๑. สามารถบรรจุกระสุนไดมากกวาอาวุธปนชนิดอื่นๆ
๒. มีอํานาจการยิงที่รุนแรง
๓. สามารถติดตั้งอุปกรณเสริมไดหลายชนิดเมื่อเปรียบเทียบกับอาวุธปนชนิดอื่นๆ
๔. ทําการยิงตอเปาหมายที่เจาะจงไดอยางแมนยํา
๕. สรางอํานาจในการขมขวัญตอสภาพจิตใจของคูตอสูมาก

ลักษณะดอยของปนกลมือ
๑. ผูใชตองมีการฝกฝนอยางมาก จึงจะสามารถใชอาวุธปนชนิดนีไ้ ดอยางมีประสิทธิภาพ
๒. เนื่องจากมีขนาดใหญและน้ําหนักมากทําใหยากตอการพกพา
๓. ราคาแพงกวาอาวุธชนิดอืน่ ๆ
๔. เมื่อทํายิงตอเนื่องจะควบคุมอาการสะบัดของปนไดยาก
36
ระบบที่ ๔
ปนเล็กยาว

ปนเล็กยาว หมายถึง ปนยาวประทับไหลยงิ มีลํากลองยาว ๒๒ นิว้ ขึ้นไป เปนชนิดทีท่ หารและตํารวจใชงาน


กันอยู และสามารถยิงเปาหมายที่มีระยะไกลไดดี มีระยะใชงาน ๐-๑๐๐ หลาขึ้นไป

ขอเปรียบเทียบระหวางลักษณะเดนและลักษณะดอยของปนเล็กยาว

ลักษณะเดนของปนเล็กยาว
๑. มีความแมนยําสูงมากกวาอาวุธปนพกและอาวุธปนกลมือ เนื่องจากขนาดความยาวปากลํากลองที่ยาวกวา
๒. สามารถประกอบอุปกรณเสริมเพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการยิงไดหลายแบบ
๓. สามารถเลือกกระสุนเพื่อใชงานไดหลายแบบตามภารกิจ

ลักษณะดอยของปนเล็กยาว
๑.มีขนาดใหญและยาวทําใหยากตอการปกปดหรือซอนพราง
๒.ผูใชตองไดรับการฝกมาเฉพาะจึงจะสามารถใชอาวุธปนชนิดนีไ้ ดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด
๓.ถาจะใหเกิดความแมนยํามากขึ้น ตองทําการฝกเฉพาะบุคคลเทานั้น
37

ปนเล็กยาว M16 A1

ปนเล็กยาว M16 A2

ปนเล็กยาว M16 A1, M16 A2 ขนาด 5.56 นิ้ว

ปนไรเฟลซุมยิง Remington Model 700 Police ขนาดกระสุน .308 นิ้ว (7.62 x 51 mm. NATO)
38

ปนไรเฟลซุมยิง Accuracy Internation ขนาด .50 นิ้ว

ปนเล็กยาว HK PSG 1 ขนาด .308 นิ้ว


39
ปนเล็กยาวจูโจม (Assault Rifle)

เปนอาวุธปนเล็กยาวที่ถูกปรับปรุงใหมีขนาดกระทัดรัดเพื่อความคลองตัวในการใชงานเหมาะกับ
การปฏิบัติงานในยุคปจจุบัน ทั้งนี้เพราะแนวทางในการตอสูในปจจุบันจะทําการใชอาวุธในระยะใกล และ
ทหารสวนใหญจะถูกบรรทุกในยานยนต ดังนั้นอาวุธในอดีตที่ตองการการยิงระยะไกลดวยความยาวของ
ลํากลองจึงถูกเปลี่ยนขนาดลดลง ใหเขากับสถานการณในปจจุบัน

STEYR AUG A1 M1

COLT M4

Heckler & Koch


G36
40
หลักของการเล็ง

“หลับตาซายเล็งดวยสายตาขางขวา ใหยอดศูนยหนาอยูก ึ่งกลางชองบากศูนยหลัง เสมอสันบากศูนย


หลัง วางไวสวนลางของเปาหมาย”

๑) ใหใชสายตาขางเดียวในการเล็งปน โดยใชสายตาขางเดียวกันกับมือที่ถือปน ในกรณีนี้เปนการจับ


ถือปนดวยมือขวา
๒) ใหยอดศูนยหนาอยูกึ่งกลางชองบากศูนยหลัง จัดศูนยหนาไวในชองกลางของศูนยหลัง โดย
ชองวางระหวางขอบศูนยหนาและศูนยหลัง ใหมีความหนาของชองพอๆกัน หมายความวาศูนยหนาไดอยู
กึ่งกลางชองของศูนยหลังแลว ซึ่งเรามักจะเรียกวาเปนการจัด “ศูนยพอดี”
๓) เสมอสันบากศูนยหลัง จัดใหยอดใบศูนยหนาเสมอกับระดับสันบากของศูนยหลัง
๔) วางไวสวนลางของเปาหมาย วางภาพศูนยพอดีไปไวที่สวนลางของเปาหมาย (วงกลมสีดาํ )
สิ้นสุดการจัดศูนยเล็ง

การจัดศูนยพอดี แบบ ๓ จุด


(ปนพกลูกโม)
41

การจัดศูนยพอดี แบบ ๓ จุด


(ปนพกกึ่งอัตโนมัต)ิ

การจัดศูนยพอดี แบบ ๓ จุด


(ปนเล็กยาว)

การเล็งลักษณะนี้ เปนการจัดภาพศูนยเล็งเพื่อการฝกสําหรับการฝกยิงเปาวงกลมดําเทานั้น โดยการ


ฝกในลักษณะนี้มีขอบเขตจํากัดอยูทวี่ า วงกลมดําจะตองมีขนาดเดิมเสมอ ถาวงกลมดํามีขนาดเปลีย่ นไป วิถี
กระสุนก็จะเปลี่ยนไปดวย การแกไขแนวการเล็งก็จะตองแกไขโดยการตั้งศูนยใหมหรือนําเอาเปาเดิมที่เคย
เล็งอยูไปทับกับเปาใหมแลวเล็งดวยเปาเดิม
การเล็งลักษณะนี้ เรียกวาการเล็งแบบ “การเล็งนั่งแทน” คือเอาเปาไปวางไวบนแทนของศูนยปน
นั่นเอง การเล็งอีกลักษณะหนึ่ง ที่เรียกวา “การเล็งจี้” เปนการเอาศูนยปนเล็งจี้ที่กึ่งกลางของเปาไมวาเปาจะมี
42
ขนาดใดก็ตาม การเล็งทั้งสองแบบนี้ ขอแนะนําใหใชวิธี “การเล็งแบบนั่งแทน” เพราะเปนแบบที่ปฏิบัติได
งายกวา ทั้งนี้เนื่องจากภาพของศูนยที่มองเห็นจะเปนสีดาํ ทับตัดกันกับสวนที่เปนสีขาวของเปาทําใหงายตอ
การจัด สวนการเล็งแบบเล็งจี้นั้น ภาพสีดําของศูนยปนจะไปทับกับวงกลมดําบนเปาซึ่งทําใหการจัดภาพการ
เล็งยากมาก ทัง้ นี้เพราะขณะที่ทําการเล็งนัน้ ภาพของศูนยปนจะมีขนาดเทากับกานไมขีดไฟเทานัน้

หลักการเล็ง
1. จี้
2. ศูนยเล็งพอดีใหเห็นชัดเจน
3. ภาพของเปาหมายจะเห็นไมคอยชัด
4. นําศูนยพอดี เขาในตําแหนงที่ตองการยิงในเปาหมาย
43
หลักการเล็งโดยใชศูนยหนาอยางเดียว

การจัดศูนยแบบเรงดวนโดยใชศูนยหนาอยางเดียว
(ปนพกลูกโม)

การจัดศูนยแบบเรงดวนโดยใชศูนยหนาอยางเดียว
(ปนพกกึ่งอัตโนมัต)ิ
44

การจัดศูนยแบบเรงดวนโดยใชศูนยหนาอยางเดียว
(ปนเล็กยาว)

ความมุงหมาย
เพื่อใหผูเขารับการฝกสามารถยิงตอเปาหมายไดอยางรวดเร็ว โดยจะทําใหกระสุนตกบนเปาหมายใน
ตําแหนงทีย่ อมรับได (Acceptable Impact Area) (สวน อก-ทอง)

หลักการ
ผูยิงมองผานศูนยหนาโดยใชตาทั้งสองขาง (ไมตองคํานึงถึงศูนยหลัง) ใบศูนยหนาจะอยูระหวาง
เปาหมายกับลูกตาของผูยิง ทั้งนี้ใบศูนยหนาตองมองเห็นชัดเจน ในขณะที่เห็นเปาหมายลางๆ

ตําแหนงกระสุน
๑. สูง
๒. ต่ํา
๓. ซาย
๔. ขวา

วิธีนี้ จะชวยทําใหลดเวลาในการทําลายเปาหมายไดเปนอยางดี

ขอแนะนําในการยิง ควรใชสองตา
45
จุดรวมของการเล็ง
จะเนนที่ศูนยหนา เปาที่เห็นจะเบลอ เพราะตาของเราไมสามารถจับจุดทั้งสองพรอมกันไดการเนน
จุดที่ศูนยหนาตองระวังความผิดพลาดที่อาจเกิดขึน้ ไดอยางงายดาย และตองรีบแกไขอยางทันที
ตาทั้ง 2 ขางตองเปดชวงระหวางการเล็ง โดยอาจจะมีการปดตาขางหนึ่งบนแวนทีใ่ ชยิง แตควรจะให
แสงเขาตาที่ไมไดใชเล็งไดบาง แวนตาตองเลือกใหเหมาะกับตัวเรา ถาเรามีปญหาเรื่องสายตา ตองปรึกษากับ
จักษุแพทย
วิธีการเล็งโดยเปดตาทั้ง 2 ขางโดยไมมีการปดตาเปนที่นยิ มมากกวา
การเล็งที่เหมาะสม
เปดตาทั้งสองขาง ถามีปญหาเกี่ยวกับการหาจุดที่ชดั เจน ใหตัดสินใจวาตาขางไหนชัดเจนและใหปด
ตาอีกขาง
เลนซของแวนตาที่ใชยิงปน ตองแนใจวาจะไมปด ตาอยางสมบูรณขณะที่ตาทั้งสองขางตองการแสง
เพื่อที่จะเล็งไดอยางมีประสิทธิภาพ
โฟกัสครึ่งหนึง่ ของศูนยหนาขอบศูนยหลังจะเบลอเล็กนอยและเปาหมายจะอยูนอกโฟกัส
ความสนใจจะอยูแนวเสนตรงของการเล็งขณะเดียวกันจะตองรักษาพื้นที่ใหการเคลื่อนไหวนอยที่สุด
(Wobble Area) การกดไกปนจะเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติขณะที่ความสนใจจะอยูทแี่ นวเล็งตลอด

หมายเหตุ ในการเล็ ง เพื่ อ ใช ใ นการต อ สู มี เ ทคนิ ค เพื่ อ ลดเวลาในการหาเป า หมายก็ คื อ การเล็ ง โดยใช
ศูนยหนาจี้เขาไปยังกึ่งกลางของเปาหมาย โดยจะไมคํานึงถึงศูนยหลังแตอยางใด แตจะตองมีความประณีตใน
การลั่นไก เพื่อใหกระสุนที่ยิงออกไป ตกอยูรอบๆ ตําบลที่เล็งเรียกวา การเล็งแบบยิงเร็ว นิยมใชในระยะไม
เกิน ๗หลาถาระยะไกลกวานั้นนิยมเล็งแบบประณีตหรือจัดศูนย สามจุด
ระบบการยิงปนในปจจุบัน มี ๒ แบบ ดังนี้.-
๑. ยิงเพื่อการแขงขัน รางวัลคือ เครื่องหมาย สิง่ ของ ตอบแทน
๒. ยิงเพื่อการตอสู รางวัลคือ ความอยูรอดของชีวิต ซึ่งเปนอัตราสวนสัมพันธระหวาง ความเร็ว
และความแมนยํา(โดยทัว่ ไป ความเร็วกับความแมนยํามักจะเปนสัดสวนที่ผกผันกัน)
46
การฝก
ลักษณะการฝกใชอาวุธ
- ลักษณะการฝกใชอาวุธปนที่จัดใหกับกําลังพล ไมเนนที่ความแมนยําตามลักษณะของ Target
shooting แบบที่ใชในการแขงขันยิงปนทั่วไป แตจะวัดที่เวลาของการนํากระสุนเขาเปา คือแบบ Combat Shooting
คือ “ยิงเร็ว + ถูกเปา” นับตั้งแตเวลา การเตรียมใชอาวุธ และสั่งเริ่มยิง

การฝกภาคสนาม
๑. ฝกยิงปนพก ดวยกระสุน ๒๐ นัด แบงเปน ๒ รอบ
- รอบแรก : ยิงทีละนัดดวยวิธีงางนกที่อก จํานวน ๕ นัด
: ยิงตอเนื่องทีอ่ ก (งางนก/ไมงางนก) จํานวน ๕ นัด
- รอบที่ ๒ : ยิงที่อกดวยการจับเวลา จํานวน ๑ นัด (๕ ครั้ง)
: ยิงที่อกดวยการจับเวลา จํานวน ๒ นัด
: ยิงดวยการจับเวลา ที่อก ๒ นัด/ทีห่ ัว ๑ นัด
๒. การสาธิตการยิงดวยปนลูกซอง
- กระสุนประเภทตาง ๆของปนลูกซอง
๒.๑ แบบลูกโดด มีความแรงมาก กระสุนเปนแบบนัดเดียว (ใชยิงสัตวขนาดใหญ)
๒.๒ แบบลู ก ชนิ ด ๙ เม็ ด ขึ้ น ไป กระสุ น ชนิ ด นี้ จ ะมี รั ศ มี ก ารกระจายเพิ่ ม ขึ้ น ๑ นิ้ ว
ที่ระยะหางทุก ๑ หลา
๒.๓ แบบลูกปลาย ใชยิงสัตวขนาดเล็กและใชในการแขงขันกีฬายิงเปาบิน
๓. การสาธิตการยิงดวยปนกลแบบ HK
- ปุมควบคุมการยิงของปนกล มี ๔ แบบ
๓.๑ หามไก
๓.๒ ยิงทีละนัด
๓.๓ ยิงชุดละ ๓ นัด
๓.๔ ยิงชุดอัตโนมัติ
47
ภาพการฝกอาวุธปนลูกซอง

การถืออาวุธ
การจับถืออาวุธปนลูกซองในทาเฉียงอาวุธ (ปนลูกซอง เปดรังเพลิง)

การตรวจอาวุธ
ตรวจดูภายในรังเพลิง วามีลูกกระสุนบรรจุอยูหรือไม ?
48

ตรวจดูปุมหามไกปน

การเตรียมบรรจุลูกกระสุน
1. ดันกระโจมปนไปขางหนาจนสุด 2. ปลดปุมหามไก
3. ลั่นไก 4. หามไก
5. เฉียงอาวุธ
49
การบรรจุลูกกระสุนในหลอดกระสุน

กอนบรรจุกระสุนตองตรวจดู
อยา! ใหกระโจมปนตก

ถากระโจมปนตก
ดันกระโจมปนใหสนิท
50
วิธีการบรรจุลูกกระสุนในหลอดบรรจุลูกกระสุน

นิ้วหัวแมซายกดแหนบ เพือ่ ชวยในการบรรจุกระสุน

ใชมือขวาดันจานทายปลอกกระสุนเขาหลอดบรรจุกระสุน
51

เมื่อบรรจุแลวจะเห็นจานทายปลอกกระสุน

การบรรจุลูกกระสุนเขารังเพลิง

กระชากสไลดเพื่อนําลูกกระสุนเขารังเพลิง
เพื่อเตรียมบรรจุกระสุนนัดที่ ๕ ในหลอดบรรจุกระสุน
52
การบรรจุกระสุนเขารังเพลิง/การเลิกบรรจุ

ใชมือซายจับที่กระโจมปน สไลดถอยหลัง

ดันสไลดกลับไปขางหนา เพือ่ นําลูกกระสุนเขารังเพลิง


53
ทาเตรียมใชอาวุธ
กางขาหลังไปขางหลังมากๆ โนมน้ําหนักตัวไปดานหนา ปากกระบอกปนชี้ลงพื้น 45 องศา

ทายืนยิง
โนมน้ําหนักตัวไปดานหนา
54
ทายิงภายหลังยิงจบ
การจับถืออาวุธปนลูกซองในทาเฉียงอาวุธ(ปนลูกซอง เปดรังเพลิง)

อํานาจในการหยุดยั้ง
๑. ตําแหนงที่ถกู ยิง
๒. จํานวนกระสุนที่เขาสูเปาหมาย
๓. เปาหมาย (คูตอ สู)มีจิตใจฮึกเหิม
จากสถิติการเกิดเหตุ ในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต ที่ผานมา ฝายตรงขามจะโจมตีในระยะประมาณ
๑๕ หลา(อยูใ นระยะใชงานของปนลูกซอง)

หลักแหงการตรียมพรอมเพือ่ ทําการตอสู
๑. มีสภาพรางกายที่แข็งแรง มีสติปญญา และมีสภาพจิตใจที่สมบูรณ พรอมเผชิญกับสถานการณตางๆ
๒. รูหลักยุทธวิธี ประกอบดวย
๒.๑ ใชประสาทสัมผัสทั้ง ๕
๒.๒ ไมสรางจุดเดนหรือจุดสังเกต
๒.๓ อยาแนใจในสิ่งที่ไมไดตรวจสอบ
๒.๔ เมื่อมีการตอสู ใหเพิ่มระยะและลดขนาดของตนเอง(การกําบัง / ซอนพลาง)
๒.๕ เมื่อมีการเคลื่อนไหว ตองรักษาสมดุล และอยูในทาพรอมใชอาวุธตลอดเวลา
๒.๖ เมื่อใชอาวุธ พึงพินจิ พิจารณาหลักพืน้ ฐาน(Back to basic)
๓. ตองมีทักษะในการใชอาวุธเปนอยางดี
55
ภาพการฝกอาวุธปนกลมือ

- ขั้นตอนแรก “รับอาวุธ” เมื่อรับอาวุธแลวใหอยูใ นทา “เฉียงอาวุธ”(ปนกลมือ แขวนลูกเลื่อนคางไว)

- ขั้นตอนตอไป “การตรวจอาวุธ” เมื่อรับอาวุธแลว ใหตรวจดูภายในรังเพลิงวามีลูกกระสุนบรรจุอยู


หรือไม ?
56
- ตรวจดูคันบังคับการยิงอยูใ นตําแหนง “หามไก”

- คันบังคับการยิงอยูในตําแหนง “หามไก” ภายหลังตรวจอาวุธ


57
- ขั้นตอนตอไป “เตรียมใชกระสุน” และ “บรรจุซองกระสุน”
58
- ขั้นตอนตอไป “เตรียมใชอาวุธ” และ “เริ่มทําการยิง” โดยกางขาเล็กนอย น้ําหนักตัวอยูบนเทาทั้ง 2
ขางโนมน้ําหนักตัวไปดานหนาปากกระบอกปนชี้ลงพื้น 45 องศา

ทายืนยิง

ใชตาขางที่ถนัดมองผานศูนยชวยยิงเร็ว
ไปยังเปาหมาย
59
ศูนยชวยยิงเร็ว (Red Dot)
60
การปฏิบตั ิภายหลังยิงจบ

1.หามไก 2.ปลดซองกระสุน 3.แขวนลูกเลื่อนคางไว 4.ตรวจดูรังเพลิง 5.การจับถืออาวุธปนในทาเฉียงอาวุธ


อํานาจในการหยุดยั้ง
๑. ตําแหนงที่ถกู ยิง
๒. จํานวนกระสุนที่เขาสูเปาหมาย
๓. เปาหมาย (คูตอ สู)มีจิตใจฮึกเหิม
จากสถิติการเกิดเหตุ ในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต ที่ผานมา ฝายตรงขามจะโจมตีในระยะประมาณ
๑๕ หลา(อยูใ นระยะใชงานของปนลูกซอง)
หลักแหงการตรียมพรอมเพือ่ ทําการตอสู
๑. มีสภาพรางกายที่แข็งแรง มีสติปญญา และมีสภาพจิตใจที่สมบูรณ พรอมเผชิญกับสถานการณตางๆ
๒. รูหลักยุทธวิธี ประกอบดวย
๒.๑ ใชประสาทสัมผัสทั้ง ๕
๒.๒ ไมสรางจุดเดนหรือจุดสังเกต
๒.๓ อยาแนใจในสิ่งที่ไมไดตรวจสอบ
๒.๔ เมื่อมีการตอสู ใหเพิ่มระยะและลดขนาดของตนเอง(การกําบัง / ซอนพลาง)
๒.๕ เมื่อมีการเคลื่อนไหว ตองรักษาสมดุล และอยูในทาพรอมใชอาวุธตลอดเวลา
****** ๒.๖ เมื่อใชอาวุธ พึงพินิจพิจารณาหลักพืน้ ฐาน (Back to basic)
๓. ตองมีทักษะในการใชอาวุธเปนอยางดี
61
อาการบาดเจ็บจากอาวุธปน
ระบบที่สําคัญของรางกาย
1. สมอง
2. เสนเลือดใหญ
3. ระบบทางเดินหายใจ
4. ระบบทางเดินอาหาร
5. ระบบทางเดินปสสาวะ

สมอง 5 สวน
ƒ สมองสวนขาง
ƒ สมองสวนหนา
ƒ กานสมอง สามเหลี่ยมมรณะ
ƒ สมองสวนทายทอย Occipital Lobe
ƒ สวนขมับ
กานสมองเปนสวนที่ทําใหเสียชีวิตทันทีและไมสามารถสั่งการตออวัยวะใดๆได

ภาพของผูที่ถูกยิงบริเวณใบหนาทะลุไปยังกานสมอง
62

ภาพแสดงตําแหนงของกานสมอง
คอ
หากถูกยิงบริเวณลําคอ อวัยวะที่อาจจะไดรับอันตรายไดแก หลอดลม, เสนเลือด , กระดูก
คอสันหลัง , หลอดอาหาร , ไทรอยด
หัวใจ หากยิงถูกหัวใจ 15- 17 วินาที จะเสียชีวิต
ปอด
Anatomy of the Thorax Performing a Needle Chest
Decompression
• Trachea • Locate the insertion site: The second intercostal
• Lungs space just above the third rib at the mid-
clavicular line (injury side).
• Bronchi
• Mediastinum

ปอด หากถูกยิง บริเวณ ทรวงอก และโดนปอด อาการที่มีโอกาสเกิดขึ้นสูงคือ อาการภาวะลม


รั่วในปอดซึ่ง จะตองไดรับการรักษาอยางเรงดวน ซึ่งในกองทัพสหรัฐ ไดมี รปจ.ในการแจกเข็ม
สําหรับระบายลมในชองอก ใหกับกําลังพลทุกนาย ซึ่งจะตองเจาะใหถูกตําแหนงดังภาพ
63

ภาพเข็มที่ กองทัพสหรัฐแจกใหกับกําลังพลทุกนาย
ปจจุบัน กรมราชองครักษมีชุดอุปกรณดังกลาวแลว

ระบบทางเดินอาหาร
64
ระบบทางเดินปสสาวะ

ไขสันหลัง
การยิงใหพิการ ตองยิงกระดูกสันหลังไมต่ํากวาระดับเอว การยับยั้ง ยิงบริเวณอุงเชิงกราน

การยิงหากตองการทําใหพิการใหยิงที่แนวกระดูกสันหลัง ,
หากตองการยิงเพื่อหยุดยั้งใหยิงบริเวณอุงเชิงกราน
65
เสนเลือดใหญ โดยเฉพาะบริเวณตนขา

ภาพแสดงตําแหนงเสนเลือดใหญ

การห า มเลื อ ดจากเส น เลื อ ดใหญ ส ามารถห า มได ด ว ยการกด แต ใ นสถานการณ ก ารรบ
บางครั้งไมสามารถที่จะกดไดเนื่องจากอาจจะตองทําการตอสูดังนั้น ควรมีทูนีเกที่มีคุณภาพ ปจจุบัน
ทูนีเกที่ กองทัพบกไทยใชเปนแบบ สายยางรัด ซึ่งกองทัพสหรัฐไดทําการวิจัยพบวาไมสามารถหาม
เลือดได โดยไดกําหนดมาตรฐานทูนีเกใหมโดยจะตองเปนแถบแบบกวางไมต่ํากวา 1 นิ้ว

ภาพทูนิเกมาตรฐานกองทัพสหรัฐ ซึ่งปจจุบัน กรมราชองครักษมีสิ่งอุปกรณดังกลาวแลว


66
อาการบาดเจ็บจากกระสุน
1. หัวกระสุน ทําใหเกิดโพรงบาดแผลถาวร
2. ถายทอดพลังงานจลนสูเนื้อเยื่อเกิดโพรงบาดแผลชั่วคราว
3. คลื่นช็อค เกิดจากการเคลื่อนที่ระดับความเร็วของเสียง
4. สะเก็ด เชน เศษกระดูกที่เกิดจากหัวกระสุน
5. แกสจากปากลํากลองปน พบในกรณี ุ จอยิงระยะใกล

12 cm
6 cm
30 cm
5-6 cm
.22 LR40 grains สรางบาดแผล 6 x 30 cm
.22 LR 33 grains Hollow point

15 cm
กระสุน .22 แมกนั่ม 40 grains สรางบาดแผล 15 cm

ภาพแสดงอํานาจการทําลายของกระสุนขนาด .22

กระสุนขนาด.38 กระสุนขนาด.357 แมกนั่ม

ภาพการเปรียบเทียบอํานาจการทําลายของกระสุน. 38 และ .357 แมกนั่ม

You might also like