You are on page 1of 28

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ชั้น มัธยมศึกษาปีที่
---------------> 1.
รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
two-dimensional and three-dimensional geometry

โรงเรียนบ้านมอเจริญ อาเภอปางศิลาทอง จังหวัดกาแพงเพชร


สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชร เขต 2
กระทรวงศึกษาธิการ
1

รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
บทรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติประกอบด้วยหัวข้อย่อย ดังต่อไปนี้

1. หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ 3 ชั่วโมง
2. ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ 3 ชั่วโมง

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระ การวัดและเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง
รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้

ตัวชี้วัด
เข้าใจและใช้ความรู้ทางเรขาคณิตในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสอง
มิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ

จุดประสงค์ของบทเรียน
นักเรียนสามารถ
1. อธิบายลักษณะของหน้าตัดที่ได้จากการตัดรูปเรขาคณิตสามมิติด้วยระนาบในทิศทางที่
กำหนดให้
2. ระบุภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ
3. เขียนภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติที่
ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์
2

หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ ( 3 ชั่วโมง )
สาระสำคัญ
 หน้าตัด ( section ) หรือ ภาพตัดบนระนาบ เกิดจากการใช้ระนาบตัดรูปเรขาคณิตสาม
มิติ โดยรูปที่ได้จากการตัดจะเป็นรูปเรขาคณิตชนิดใด ขึ้นอยู่กับแนวการตัดและชนิดของรูปเรขาคณิต
สามมิตินั้น

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของหน้าตัดที่ได้จากการตัดรูปเรขาคณิตสามมิติด้วยระนาบ
ในทิศทางที่กำหนดให้

แหล่งสืบค้น / สื่อ
https://www.youtube.com/watch?v=nJMLICWfAM8
https://www.youtube.com/watch?v=lh89xjpHmtg
https://www.youtube.com/watch?v=1YJ43z2VyDc
https://www.scimath.org/e-books/8302/flippingbook/index.html#268
https://www.youtube.com/watch?v=KYN93AUyiWE
https://www.facebook.com/watch/?v=133828248962084
3

หน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ
หน้าตัด ( section ) หรือ ภาพตัดบนระนาบ เกิดจากการใช้ระนาบตัดรูปเรขาคณิตสามมิติ
โดยรูปที่ได้จากการตัดจะเป็นรูปเรขาคณิตชนิดใด ขึ้นอยู่กับแนวการตัดและชนิดของรูปเรขาคณิตสาม
มิตินั้น

ถ้าใช้ระนาบตัดทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากตามแนวเส้นทแยงมุม
จะได้หน้าตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก

ถ้าใช้ระนาบตัดมุมของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก จะได้หน้าตัดเป็นรูปสามเหลี่ยม

ถ้าใช้ระนาบตัดกรวยในแนวเฉียงซี่งไม่ขนานและไม่ตั้งฉากกับฐาน จะได้หน้าตัดเป็นรูปวงรี

ถ้าใช้ระนาบตัดพีระมิดในแนวตั้งฉากกับฐานและตัดผ่านจุดยอด จะได้หน้าตัดเป็นรูปสามเหลี่ยม
4

ถ้าใช้ระนาบตัดทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากตามแนวเฉียงที่ไม่ตั้งฉากกับฐาน โดยตัดด้านกว้างที่จุด A ตัดด้าน


ยาวที่สุดที่จุด B และตัดฐานของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากตามแนวเส้นทแยงมุม CD จะได้หน้าตัดเป็น
รูปสี่เหลี่ยมคางหมู

ถ้าใช้ระนาบตัดรูปเรขาคณิตสามมิติตามแนวขนานกับพื้นราบ
จะได้หน้าตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ABCD

ถ้าใช้ระนาบตัดรูปเรขาคณิตสามมิติตามแนวตั้งฉากพื้นราบ
จะได้หน้าตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู
5

กิจกรรมฝึกทักษะ
ภาพของรูปเรขาคณิตสองมิติที่เกิดจากการตัดรูปเรขาคณิตสามมิติ

1. จงบอกชื่อหน้าตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติที่กำหนดให้ต่อไปนี้
1.) .
ตัดแนวตั้งฉาก .................................................
ตัดแนวนอน .................................................
ตัดแนวเอียง / แนวเฉียง ……………………………….

2.) .
ตัดแนวตั้งฉาก .................................................
ตัดแนวนอน .................................................
ตัดแนวเอียง / แนวเฉียง ……………………………….

3.) .
ตัดแนวตั้งฉาก .................................................
ตัดแนวนอน .................................................
ตัดแนวเอียง / แนวเฉียง ……………………………….

4.) .
ตัดแนวตั้งฉาก .................................................
ตัดแนวนอน .................................................
ตัดแนวเอียง / แนวเฉียง ……………………………….

5.) .
ตัดแนวตั้งฉาก .................................................
ตัดแนวนอน .................................................
ตัดแนวเอียง / แนวเฉียง ……………………………….
6

6.) .
ตัดแนวตั้งฉาก .................................................
ตัดแนวนอน .................................................
ตัดแนวเอียง / แนวเฉียง ……………………………….

7.) .
ตัดแนวตั้งฉาก .................................................
ตัดแนวนอน .................................................
ตัดแนวเอียง / แนวเฉียง ……………………………….

2. แบบบันทึกผลการตัดรูปเรขาคณิตทรงสามมิติ

รูปเรขาคณิตทรงสาม รูปเรขาคณิตสองมิติที่เกิดจากการตัดทรงสามมิติ
มิติ แนวตั้งฉาก แนวนอน แนวเอียง / แนวเฉียง
พีระมิด
กรวย
ทรงกลม
ปริซึมฐานสามเหลี่ยม
ปริซึมฐานสี่เหลี่ยม
ปริซึมฐานห้าเหลี่ยม
ปริซึมฐานหกเหลี่ยม
ปริซึมฐานแปดเหลี่ยม
7

3. จงบอกรูปหน้าตัดในแนวระนาบในแต่ละข้อต่อไปนี้

จะได้หน้าตัดเป็นรูป ………………………………………………….

จะได้หน้าตัดเป็นรูป ………………………………………………….

จะได้หน้าตัดเป็นรูป ………………………………………………….

จะได้หน้าตัดเป็นรูป ………………………………………………….

จะได้หน้าตัดเป็นรูป ………………………………………………….

จะได้หน้าตัดเป็นรูป ………………………………………………….

จะได้หน้าตัดเป็นรูป ………………………………………………….

จะได้หน้าตัดเป็นรูป ………………………………………………….

จะได้หน้าตัดเป็นรูป ………………………………………………….
8

จะได้หน้าตัดเป็นรูป ………………………………………………….

จะได้หน้าตัดเป็นรูป ………………………………………………….

จะได้หน้าตัดเป็นรูป ………………………………………………….

จะได้หน้าตัดเป็นรูป ………………………………………………….

จะได้หน้าตัดเป็นรูป ………………………………………………….

4. ให้เนักเรียนโยงเส้นจับคู่ภาพหน้าตัดที่เกิดจากการนำระนาบมาตัดรูปเรขาคณิตสามมิติ
9

5. ให้นักเรียนจัดกลุ่มภาพหน้าตัดที่เกิดจากการนำระนาบมาตัดรูปเรขาคณิตสามมิติที่กำหนดให้
ต่อไปนี้

รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม
………………………………………………………. ……………………………………………………….
………………………………………………………. ……………………………………………………….
………………………………………………………. ……………………………………………………….
………………………………………………………. ……………………………………………………….

รูปวงกลม รูปวงรี
………………………………………………………. ……………………………………………………….
………………………………………………………. ……………………………………………………….
………………………………………………………. ……………………………………………………….
………………………………………………………. ……………………………………………………….
10

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ


( 3 ชั่วโมง )
สาระสำคัญ
 ในการเขียนภาพ เพื่อแสดงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติ ที่ได้จากการมองวัตถุทาง
ด้านหน้า ด้านข้างและ ด้านบน ถ้าเป็นวัตถุที่สามารถหยิบจับได้ ให้ยกมองดู จะมีวิธีมองในแต่ละด้าน
ตามแนวสายตาที่ตั้งฉากกับด้านที่มอง
ภาพด้านหน้า ให้เลื่อนด้านหน้าของวัตถุเข้าหาตัวผู้มอง แล้วเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติแสดง
ภาพด้านหน้า
ภาพด้านข้าง จากวัตถุที่หันด้านหน้าเข้าหาตัว หมุนวัตถุให้ด้านข้างหันเข้าหาตัวผู้มองแล้ว
เขียนรูปเรขาคณิตสองมิติแสดงภาพด้านข้าง
ภาพด้านบน ให้พลิกวัตถุให้ด้านบนหันเข้าหาตัวผู้มองแล้วเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติแสดง
ภาพด้านบน
ในการเขียนภาพ เพื่อแสดงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติ ที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ เรา
จะเขียนเป็นตารางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ปรากฏในด้านที่มอง และเขียนจำนวนลูกบาศก์กำกับไว้ใน
ตารางเพื่อให้ทราบจำนวนลูกบาศก์ที่เรียงซ้อนกันอยู่ด้านในด้วย

จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถ

แหล่งสืบค้น / สื่อ
https://www.youtube.com/watch?v=X_0wvoQ2z60
https://www.youtube.com/watch?v=1tvFaWxxBl8
https://www.youtube.com/watch?v=KvXDypojuL0
11

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ

ภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ( front view ) ด้านข้าง ( side view ) และด้านบน


( top view )
พิจารณาการมองรูปเรขาคณิตสามมิติในทิศทางหรือแนวตั้งฉากกับด้านหน้า ด้านข้าง และ
ด้านบน

ในการเขียนภาพ เพื่อแสดงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ไม่ซับซ้อน นิยมเขียนภาพที่ได้


จากการมองทางด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบน และเขียนภาพทั้งสี่ไว้ภายในกรอบรูปสี่เหลี่ยมดัง
ตัวอย่าง

ตัวอย่าง

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง
12

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง
13

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง
14

กิจกรรมฝึกทักษะ
ภาพที่ได้จากการมองทางด้านหน้า ด้านข้างและด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ
จงพิจารณาภาพที่กำหนดให้ แล้วใส่ตัวอักษรที่เกิดจากการมองด้านต่าง ๆ
1. )
15

2.)
16

กิจกรรมฝึกทักษะ
ภาพที่ได้จากการมองทางด้านหน้า ด้านข้างและด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ 2
จงเขียนภาพที่ได้จากการมอง ทางด้านหน้า ด้านข้างและด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติที่
กำหนดให้ต่อไปนี้

1.

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง

2.

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง
17

3.

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง

4.

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง

5.

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง
18

6.

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง

7.

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง

8.

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง
19

9.

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง

10.

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง

11.

ภาพด้านบน

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง
20

รูปเรขาคณิตที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์

ลูกบาศก์ที่มีความยาวด้านแต่ละด้าน 1 หน่วย สามารถนำมาประกอบกันให้ได้รูปเรขาคณิต


สามมิติลักษณะต่าง ๆ ให้พิจารณาการมองรูปเรขาคณิตที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ ต่อไปนี้

มุมมองด้านหน้า
เลื่อนด้านหน้าของวัตถุเข้าหาตัวผู้มอง ดังรูป

มุมมองด้านข้าง
จากวัตถุที่หันด้านหน้าเข้าหาตัว หมุนวัตถุให้ด้านข้างทางขวาหันเข้าหาตัวเข้าหาตัว ดังรูป

มุมมองด้านบน
จากวัตถุที่หันด้านหน้าเข้าหาตัว พลิกวัตถุนั้นให้ด้านบนหันเข้าหาตัว ดังรูป
21

ในการเขียนรูปเรขาคณิตสองมิติ เพื่อแสดงลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ไม่ซับซ้อน
นิยมเขียนรูปเรขาคณิตสองมิตินั้นกับรูปเรขาคณิตสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และ
ด้านบน และเขียนภาพทั้งสี่ไว้ในกรอบสี่เหลี่ยม ดังรูป

มุมมองด้านบน รูปเรขาคณิตสามมิติ

มุมมอง มุมมองด้านข้าง
ด้านหน้า

ตัวอย่าง
22
23

กิจกรรมฝึกทักษะ
ภาพที่ได้จากการมองทางด้านหน้า ด้านข้างและด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ 2

จงเขียนภาพที่เกิดจากการมองด้านหน้า ด้านข้างและด้านบน ของรูปเรขาคณิตสามมิติต่อไปนี้


ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง ภาพด้านบน
24

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง ภาพด้านบน


25

กิจกรรมฝึกทักษะ
ภาพที่ได้จากการมองทางด้านหน้า ด้านข้างและด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ 3

จงเขียนภาพที่เกิดจากการมองด้านหน้า ด้านข้างและด้านบน ของรูปเรขาคณิตสามมิติต่อไปนี้


พร้อมทั้งใส่จำนวนลูกบาศก์
ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง ภาพด้านบน
26

กำหนดภาพที่ได้จากการมอนด้านหน้า ด้านข้างและด้านบน ของรูปเรขาคณิตสามมิติ จงจัด


ลูกบาศก์ให้ได้รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีภาพตามที่กำหนดให้

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง ภาพด้านบน

2 1 1 3 2 2
3 3 2 2 3 3 3 2 2
3 3 2 2 3 3 2 2

2 1 1 3
3 2 2 2 1 3 2 1
3 2 2 3 3 1 2 2 1

2 1 1 3 1
3 2 2 2 1 3 2
3 3 2 2 2 2 2

1 1 1
1 1 1 3 2 2 2
3 3 3 3 3 3 1 1 1

2 1
3 1 2 1 1 2 1 1
3 3 2 3 3 2 2 2 1
โรงเรียนบ้านมอเจริญ
สำนักงำนเขตพื้ นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำแพงเพชร เขต 2

You might also like