You are on page 1of 25

1

1. กานพลู

ภาพที่ 1.1 สมุนไพรกานพลู

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Syzygium aromaticum

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ดอกตูม ความยาว 1-2 เซนติเมตร สีน้าตาลแดงถึงน้าตาลด้า ส่วนล่าง


ของดอก (hypantium) มีลักษณะแข็ง ทรงกระบอก ที่มีความแบนทัง
4 ด้าน มีกลีบเลียงติดอยู่ 4 อัน รูปสามเหลี่ยม อยู่สลับหว่างกับกลีบ
ดอก 4 กลี บ ลั ก ษณะเป็ น แผ่ น บางรวมอยู่ ต รงกลาง ข้ า งในดอก
ประกอบด้วยเกสรตัวผู้จ้า นวนมาก และเกสรตัวเมีย 1 อัน ผงยามีสี
น้าตาลเข้ม กลิ่นเฉพาะ หอมแรง เป็นยาร้อน มีรสเผ็ดร้อน ฝาด ท้าให้
ลินชา

สรรพคุณ : ต้ารายาไทย ดอก รสเผ็ด กระจายเสมหะ แก้เสมหะเหนียว แก้เลือดออกตามไรฟัน แก้ปวดฟัน


ดับกลิ่นปาก แก้หืด เป็นยาท้าให้ร้อนเมื่อถูกผิวหนังท้าให้ชา เป็นยาฆ่าเชือ แก้ปวดฟัน แก้
ร้ามะนาด แก้ปวดท้อง มวนในล้า ไส้ แก้ล ม แก้เหน็บชา แก้พิษโลหิต พิษน้า เหลือง ขับ
น้าคาวปลา ท้าอุจจาระให้ปกติ แก้ธาตุทัง 4 พิการ แก้ปวดท้อง แก้ท้องอืด อาหารไม่ย่อย
คลื่นไส้อาเจียน แก้จุกเสียด แก้ท้องเสีย ขับผายลม กดลมให้ลงสู่เบืองต่้า แก้สะอึก แก้ซาง
ต่างๆ ขับระดู น้ามันกานพลู (Clove oil) เป็นยาชาเฉพาะที่ แก้ปวดฟัน โดยใช้ส้าสีชุบน้ามา
อุดที่ฟัน ระงับการกระตุก ตะคริว ขับผายลม แก้ปวดท้อง แก้ท้องอืด ผสมยากลัวคอ แต่งกลิ่น
อาหาร แต่กลิ่นสบู่ ยาสีฟัน ดับกลิ่นปาก ดับกลิ่นเหล้า ไล่ยุง

ประโยชน์ในก้านความงามเเละสุขภาพ :
1. ช่วยลดน้าหนักมีสรรพคุณ ช่วยในการเผาผลาญ และ ช่วยลดความอยาก อาหารหวาน จึงช่วยลด
การทาน ขนมหวานจุกจิกได้
2. ช่วยชะลอวัยมีส่วนช่วย ในการต่อต้านอนุมูลอิสระ จึงสามารถช่วย ชะลอวัย ท้าให้อ่อนเยาว์ได้
2

3. ช่วยระบบทางเดินอาหารส่วนของดอกกานพลู มีฤทธิ์ช่วยย่อยอาหาร ลดอาการจุกเสียด ท้องอืด


ท้องเฟ้อ ช่วยขับลม ช่วยให้ล้าไส้ และกระเพาะอาหาร ท้างานได้อย่าง มีประสิทธิภาพ โดยการน้า
ส่วนของดอกกานพลู ประมาณ 3–6 ดอก ทุบแล้วน้าไปต้ม แล้วดื่ม
3

2. ขมิ้น

ภาพที่ 2.1 สมุนไพรขมิน

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Curcuma longa L.

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุกอายุหลายปีสูง 30-90 ซม. เหง้าใต้ดินรูปไข่มีแขนงรูปทรงกระบอก


แตกออก ด้านข้าง 2 ด้านตรงกันข้ามเนือในเหง้าสีเหลืองส้มมีกลิ่นเฉพาะ
ใบเดี่ยวแทงออกมาเหง้าเรียงเป็นวงซ้อนทับกันรูปใบหอกกว้าง 12-15 ซม.
ยาว 30-40 ซม. ตอกช่อแทงออกจากเหง้าแทรกขึนมา ระหว่างก้านใบ
รูปทรงกระบอกกลีบดอกสีเหลืองอ่อน ใบประดับสีเขียวอ่อนหรือสีนวล
บานครังละ 3-4 ดอกผลรูปกลมมี 3 พู

สรรพคุณ : ขมินชันนอกจากที่จะมีคุณค่าทางอาหารแล้ว ก็ยังถือเป็นพืชที่มีคุณค่า ทางยาอีกด้วย ซึ่ง


ชาวไทยนิยมน้าส่วนต่างๆ มาใช้เป็นยาเพื่อบรรเทาอาการที่เกิดขึนรับร่างกาย โดยสามารถดู
รายละเอียดได้ดังนี
เหง้า : เหง้ารสฝาดหวานเอียด ใช้ส้าหรับแก้อาการไข้เรือรัง ผอมเหลือง แก้โรคผิวหนัง แก้เสมหะและ
โลหิต แก้ท้องร่วง สมานแผล แก้ธาตุพิการ ขับผายลม แก้ผื่นคัน ขับกลิ่นและสิ่งสกปรกใน
ร่างกาย คุมธาตุ หยอดตาแก้ตาบวม ตาแดง น้้าคั้นจากเหง้าสดทาแก้แผลถลอก แก้โรคผิวหนัง
ผื่นคัน ลดอาการอักเสบ ท้าให้ผิวพรรณผุดผ่อ ง น้ า มาอั ด เม็ ด ท้า เป็นยารักษาอากาท้อ งอื ด
ท้องเฟ้อ ธาตุพิการ อาหารไม่ย่อย กระเพาะอาหารอ่อนแอ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร แก้
ท้องร่วง แก้บิด
ผงขมิ้น : (น้าเหง้าแห้งมาบดเป็นผง) น้ามาเคี่ยวกับน้ามันพืช ท้าน้ามันใส่แผลสด
4

ขมิ้นสด : (ใช้เหง้าสดล้างให้สะอาด) ต้ากับดินประสิวเล็กน้อย ผสมน้าปูนใสพอกบาดแผลและแก้เคล็ด


ขัดยอก เผาไฟ ต้ากับน้าปูนใส รับประทานแก้ท้องร่วง แก้บิด
ประโยชน์ด้านความงามและสุขภาพ : คนไทยนิยมน้าขมินชันมาขัดผิว เพื่อให้ผิวขาวผ่องและสวยเนียน
อย่างเป็นธรรมชาติ ซึ่งสูตรที่ว่านีก็ยังสามารถน้ามาใช้ได้จ นถึ ง
ปัจจุบัน เพียงแค่น้าผงขมินชันที่บดละเอียดแล้ว น้ามาผสมกับ
น้า สะอาดและดินสอพอง ช่วยให้ผิวหน้า ดูดี สิวอักเสบยุบลง
และช่วยท้า ให้รอยด้า รอยแดงจากสิวจางลงได้ ช่วยท้าให้หน้า
สะอาด กระชับรูขุมขนให้เล็กลง แถมยังช่วยให้หน้าเนียมนุ่มขึน
สามารถช่วยลดริวรอยบนใบหน้า ได้ดี และยังจะช่วยลดปัญ หา
หน้ามันได้อีกด้วย
5

3. ขิง

ภาพที่ 3.1 สมุนไพรขิง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zingiber officinale Roscoe

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เหง้ามีลักษณะเป็นข้อๆ แบนในแนวนอน แตกแขนง รูปร่างเหมือนฝ่ามือ


ประกอบด้วยแง่งเล็กๆ เปรียบเสมือนนิว ขนาดยาว 3-16 เซนติเมตร กว้าง
3-4 เซนติเมตร และหนา มากกว่า 2 เซนติเมตร ผิวนอกสีเหลือง หรือ
น้าตาลอ่อน มีแนวย่นตามยาว ภายในมีสีเหลืองอ่อนถึงสีน้าตาล เป็นเสียน
มีเส้นใย (fiber) มาก กลิ่นหอมเฉพาะ ผงสีเหลืองอ่อน รสหวาน เผ็ดจัด
ร้อน

สรรพคุณ : ใช้เหง้า รักษาอาการท้องอืด เฟ้อ เสียดท้อง อาหารไม่ย่อย ปวดเกร็งช่องท้อง แก้คลื่นไส้


อาเจียน ท้องเสีย ช่วยกระตุ้นความอยากอาหาร รักษาอาการหวัด รักษาอาการปวดศีรษะ
เนื่องจากไมเกรน และรักษาอาการปวดข้อ ปวดกล้ามเนือ บ้ารุงธาตุไฟ ฆ่าพยาธิ สรรพคุณ
โบราณ ขิงแห้ง แก้ไข้ แก้ไอ ขับเสมหะ ขับเหงื่อ แก้หอบ แก้ลม แก้จุกเสียด แก้เสมหะ บ้ารุง
ธาตุ แก้คลื่นเหียน อาเจียน ส่วนขิงสด ใช้แก้ปวดท้อง บ้ารุงธาตุ ขับลมในล้าไส้ให้ผายลมและ
เรอ แก้อาเจียน ยาขมเจริญอาหาร ขับน้าดีช่วยย่อยอาหาร แก้ปากคอเปื่อย แก้ท้องผูก ลด
ความดัน

ประโยชน์ในด้านความงามเเละสุขภาพ :
1. ฟื้นบ้ารุงผมแห้งเสียแตกปลาย
น้าขิงสดหั่นฝอยพร้อมเนือแตงกวา เนือมะพร้าวจากนันน้ามาผสมรวมกันกับน้ามันโหระพาแล้วใส่ใน
ขวดสเปรย์เพื่อน้ามาฉีดผมบริเวณที่มีปัญหาแห้งเสียและแตกปลาย แล้วจะค่อยๆ ช่วยบ้ารุงผมที่แห้ง
เสียให้กลับมานุ่มสลวย มีน้าหนัก จัดทรงง่ายและแก้ปัญหาผมแตกปลาย
6

2. ลดเลือนรอยสิว
น้าผงขิงมาผสมกับน้ามะนาวและน้าผึง จากนันน้ามาพอกหน้าพร้อมนวดวนประมาณ 5 นาที แล้วล้าง
หน้าให้สะอาด หมั่นพอกหน้าเป็นประจ้าสัปดาห์ละ 2 ครัง ผิวหน้าที่มีรอยสิวจะค่อยๆ จางลงอย่าง
เป็นธรรมชาติและผิวยังเรียบเนียนสุขภาพดีอีกด้วย
3. แช่เท้าดีท็อกซ์สารพิษ
น้าใช้ผงมัสตาร์ดซึ่งมีวิตามินอี เอ ซีและเคในปริมาณ 1 1/2 ช้อนโต๊ะ และขิงสด 1 ช้อนชา น้ามาผสม
รวมกันในอ่างน้าส้าหรับแช่เท้า โดยใช้น้าอุ่นเท่านัน เพื่อช่วยกระตุ้นการไหลเวียนเลือดให้ท้างานดีขึน
แช่เท้าประมาณ 20 นาที ซึ่งขิงก็จะท้าหน้าที่กระตุ้นการขับสารพิษออกจากปลายเท้า เพื่อให้มีสุขภาพ
ที่ดียิ่งขึน
7

4. ตะไคร้

ภาพที่ 4.1 สมุนไพรตะไคร้

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cymbopogon citratus

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นพืชล้มลุกมีอายุหลายปี สูง 0.75-1.2 เมตร เหง้าใต้ดินมีกลิ่นเฉพาะ ข้อ


และปล้องสันมาก แตกเป็นกอ กาบใบสีขาวนวลอมม่วงยาวและหนาหุ้มข้อ
และปล้องไว้ ใบเป็นใบเดี่ยว ยาว เรียวปลายแหลม แผ่นใบสากและค ดอก
เป็นช่อยาว มีดอกเล็ก

สรรพคุณ : - มีส่วนช่วยในการขับเหงื่อ
- เป็นยาบ้ารุงธาตุไฟให้เจริญ (ต้นตะไคร้)
- มีสรรพคุณเป็นยาบ้ารุงธาตุ ช่วยในการเจริญอาหาร
- ช่วยแก้อาการเบื่ออาหาร (ต้น)
- สารสกัดจากตะไคร้มีส่วนช่วยในการป้องกันโรคมะเร็งล้าไส้ใหญ่

ประโยชน์ด้านความงามและ สุขภาพ :
1. บ้ารุงผิวพรรณให้เปล่งปลั่ง
ด้วยสารต้านอนุมูลอิสระที่อุดมอยู่ในตะไคร้เป็นจ้านวนมาก จึงสามารถบ้ารุงผิวพรรณให้มีความสวยใส
เปล่งปลั่งได้เป็นอย่างดี แถมยังช่วยให้ผิวดูอ่อนเยาว์ลงและป้องกันการเกิดสิวได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อีกด้วย ซึ่งอาจให้ผลลัพธ์ที่ดีเยี่ยมมากกว่าครีมบ้ารุงผิวหลายชนิดเลยทีเดีย ว เพราะฉะนันใครอยากมี
ผิวสวยดูอ่อนกว่าวัย อย่ามองข้ามตะไคร้เป็นอันขาด
2. กระชับรูขุมขนไร้ความมัน
ปัญหารูขุมขนกว้าง จนหน้ามันย่องระหว่างวันตลอด ให้ลองมากระชับรูขุมขนด้วยการน้าเจลว่านหาง
จระเข้สด มาผสมกับสารสกัดจากวิตช์ ฮาเซล (Witch Hazel) 1 ช้อนชา จากนันก็ใส่น้ามันตะไคร้ลง
ไป 2 หยดแล้วคนให้เข้ากัน น้ามาทาให้ทั่วใบหน้าหลังล้างสะอาดแล้ว รอให้ซึมลงในผิว จากนันก็ทา
มอยส์เจอไรเซอร์หรือครีมกันแดดได้ตามปกติเลย
8

5. ทานาคา (กระแจะ)

ภาพที่ 5.1 สมุนไพรทานาคา (กระแจะ)

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Hesperethusacrenulata (Roxb.) M. Roem.

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : จัดเป็นไม้พุ่มกึ่งไม้ต้น หรือเป็นไม้ยืนต้นไม้ผลัดใบขนาดเล็กถึงขนาดกลาง มี


ความสูงของต้นประมาณ 8-15 เมตรมีเขตการกระจายพันธุ์อยู่ในประเทศ
พม่า และทางภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศไทย ซึ่งเนือ
ไม้หากทิงไว้นาน ๆ จะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาลปนสีเหลืองอ่อนๆ ชาวพม่าจะ
นิ ย ม น้ า ม า ใ ช้ ท้ า เ ป็ น เ ค รื่ อ ง ป ร ะ ทิ น ผิ ว ที่ เ รี ย ก ว่ า “ ก ร ะ แ จ ะ
ตะนาว” หรือ “ทานาคา” (Thanaka)

สรรพคุณ : ทานาคามีสารต่อต้านอนุมูลอิสระอยู่สูงมาก และมีสาร OPC และ Curcuminoid ทาให้ทา


นาคามี คุณสมบัติครบถ้วนที่จะต่อต้า นความเสื่อมของเซลล์และยังช่วยป้องกันการเกิดสิว
ด้วยคุณสมบัติฆ่าเชือ แบคทีเรีย และช่วยลดผดผื่นคัน ลดการเกิดจุดด่างดาและฝ้า มีฤทธิ์ลด
การสร้างเม็ดสีเมลานิน และยังช่วย ป้องกันการทาลายผิวจากรังสียูวีอีกด้วย สารสกัดทา
นาคา 100% ให้สารออกฤทธิ์ความเข้มข้นสูง ซึ่งได้ผล ดีกว่าการใช้ผงทานาคาพอกผิวถึง100
เท่า ผงทานาคา ที่ดีจะต้องมาจากไม้ทานาคาที่ตากแห้งตามธรรมชาติ และนามาบดเป็นผง
ให้ล ะเอียด โดยจะมีส รรพคุณในการชลอความชราของผิวได้ดีมาก ด้วยฤทธิ์ในการต้า น
อนุมูลอิสระของทานาคา ที่มีประสิทธิภาพสูง และคงตัวได้ดี ไม่สลายไปเมื่อโดนออกซิเจน
เหมือน วิตามิน C หรือ E โดยที่เปลือกทานาคาบดละเอียดจะมีลักษณะเป็นผงสีเหลืองนวล
ใช้ผสมน้าขัดหน้าและพอกไว้ สักครู่จนแห้ง เป็นสมุนไพรรักษาสิวและความมันของใบหน้าได้
เป็นอย่างด

ประโยชน์ด้านความงามและสุขภาพ : ช่วยบ้ารุงผิวให้ขาวเนียนสวย ลดริวรอย ช่วยให้ผิวหน้าไม่มันหรือ


แห้งจนเกินไป ตลอดจนรักษาสิวและป้องกันฝ้า นอกจากนีทานาคา
9

ยังมีสารส้าคัญที่ชื่อว่าสารมาร์เมซิน (Marmesin) มีฤทธิ์ปกป้อง


ผิวหนังจากรังสีอัล ตราไวโอเลต สารอาร์บูติน (Arbutin) ช่วย
ยับยังการสร้างเม็ดสีเมลานิน ป้องกันการเกิดฝ้า กระ และสาร
ซูเบอโรซิน (Suberosin) ซึ่งมีคุณสมบัติต้านเชือแบคทีเรีย ช่วย
ป้องกันและรักษาสิว แต่สรรพคุณบ้ารุงผิวพรรณของทานาคานัน
เชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด มีข้อมูลทางวิทยาศาตร์กล่าวไว้
10

6. บัวบก

ภาพที่ 6.1 สมุนไพรบัวบก

ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Centella asiatica

ลัก ษณะทางพฤกษศาสตร์ : บัวบกเป็นพืชล้มลุกอายุหลายปี มีล้า ต้นเป็นไหล(stolen) เลือยไปตาม


พืนดินหรืออยู่ด้านล่างหน้าผิวดิน ไหลมีลักษณะทรงกลม ไหลอ่อนมีสีขาว
ไหลแก่มีสีน้าตาล ขนาดประมาณ 0.2-0.4 มิลลิเมตร ยาวได้มากกว่า 1
เมตร ไหลมีลักษณะเป็นข้อปล้อง บริเวณข้อเป็นจุดแทงออกของก้านใบ
ส่วนด้านล่างของข้อมีรากแขนงแทงลึกลงดิน และแต่ละข้อแตกแขนงแยก
ไหลไป

สรรพคุณ : - แก้อาการช้าใน ลดอาการอักเสบ


- เสริมสร้าง และกระตุ้นการสร้างคอลาเจน และอิลาสติกให้ผิวหนังเปล่งปลั่ง
- บ้ารุง และรักษาดวงตา และสายตา เพราะใบบัวบกมีวิตามินเอสูง
- บ้ารุงประสาท และสมอง เพิ่มความสามารถในการจ้า ลดความเสี่ยงอัลไซเมอร์ หรือ
สมองเสื่อม
- ลดความเครียด และคลายความกังวลได้
- แก้อาการปวด เวียนศีรษะ

ประโยชน์ด้านความงานเเละสุขภาพ
1. ต้านริวรอย
อุดมไปด้วยกรดอะมิโน, เบต้าแคโรทีน, กรดไขมันและไฟโตเคมิคอลเพิ่มการไหลเวียนของเลือ ด
เช่นเดียวกับการสังเคราะห์คอลลาเจนและเนือเยื่อผิวที่ช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นให้ผิวของสาวๆ
11

2. ลดการท้าร้ายจากแสงแดด
ช่วยในการต่อสู้กับความเสียหายจากอนุมูลอิสระ เช่น ผิวคล้าด้าและจุดด่างด้า โดยช่วยกระตุ้นการ
ซ่อมแซมผิวและเสริมสร้างชันบนของผิว และปกป้องเซลล์ต่างๆ จากการท้าลายของแสงแดดเพิ่ม
ความชุ่มชืนให้แก่ผิว
3. จัดการกลากเกลือนและรอยแตกลาย
ช่วยการรักษารอยแผลเป็นหลังผ่าตัด ท้าให้ผิวตึง อีกทังช่วยลดรอยแตกลายแผลหายเร็ วขึน ดังนัน
ส้าหรับหญิงตังครรภ์ แนะน้าให้ใช้ครีมที่มีสารเซนเทลล่า เอเชียติกาเป็นส่วนผสมหลัก ซึ่งจะช่วยลด
รอยแตกลายที่เกิดจากการตังครรภ์หลังคลอดได้
12

7. มะกรูด

ภาพที่ 7.1 สมุนไพรมะกรูด

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus hystrix DC. จัดอยู่ในวงศ์ส้ม

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เป็นไม้เนือแข็ง ล้าต้นและกิ่งมีหนามยาวเล็กน้อย


ใบเป็นใบประกอบชนิดลดรูป มีใบย่อย 1 ใบ เรียงสลับ รูปไข่ คือมีลักษณะ
คล้ายกับใบไม้ 2 ใบ ต่อกันอยู่ คอดกิ่วที่กลางใบเป็นตอนๆ มีก้านแผ่ออก
ใหญ่เท่า กับแผ่นใบ ท้า ให้เห็นใบเป็น 2 ตอน กว้า ง 2.5 - 4 เซนติเมตร
ยาว 4 - 7 เซนติเมตร ใบสีเขียวแก่พืนผิวใบเรียบเกลียง เป็นมัน ค่อนข้าง
หนา มีกลิ่นหอมมากเพราะมีต่อมน้ามันอยู่ โดยใบด้านบนสีเข้ม ใต้ใบสี
อ่อน ดอกออกเป็นกระจุก 3 – 5 ดอก กลีบดอกสีขาว เกสรสีเหลือง ร่วง
ง่าย มีกลิ่นหอม มีผลสีเขียวเข้มคล้ายมะนาวผิวเปลือกนอกขรุขระ ขัวหัว
ท้ายของผลเป็นจุก ผลมีต่อมน้ามันกระจายอยู่ที่ผิว (hesperidium) ผล
อ่อนมีเป็นสีเขียวแก่ เมื่อผลสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองสด พันธุ์ที่มีผลเล็ก
ผิวจะขรุขระน้อยกว่าและไม่มีจุกที่ขัว ภายในมีเมล็ดจ้านวนมาก

สรรพคุณ : มะกรูด ราก มีรสจืดเย็น ช่วยแก้อาการไข้ ถอนพิษส้าแดง แก้ลมจุกเสียด กระทุ้งพิษไข้ แก้


พิษฝีภายใน และช่วยอาการเสมหะเป็นพิษ, ผิวมะกรูด ช่วยแก้อาการนอนไม่หลับ โดยน้าผิว
ของมะกรูดบดรวมกับรากชะเอม ไพล เฉียงพร้า ขมินอ้อย แล้วน้ามาต้มน้าดื่ม เป็นยาบ้ารุง
หัวใจ โดยน้าผิวมะกรูดฝานสดประมาณ 1 ช้อนโต๊ะ มาผสมกับพิมเสนหรือการบูร ชงในน้า
เดือดแล้วแช่ทิงไว้ จากนันน้า มาดื่ม ช่วยแก้อาการเป็นลม หน้า มืด วิงเวียนศีรษะ โดยน้า
เปลือกมะกรูดฝานบางๆ ชงกับน้าเดือดแล้วเติมการบูรเล็กน้อย น้ามาดื่มเพื่อแก้อาการ ช่วย
ขับลมในล้าไส้ แก้อาการจุกเสียด ท้องอืด แน่นท้องได้
13

ประโยชน์ในด้านความงามและสุขภาพ
1. สกัดเป็นน้ามันหอมระเหยประกอบผลิตภัณฑ์บ้ารุงเส้นผมและหนังศีรษะ
ท้าให้ผมนุ่มลื่นเงางาม ลดอาการผมแห้งแตกปลาย ลดผมเสีย
2. น้ามาท้าเป็นยาสีฟัน
เนื่องจากมะกรูดมีสารซิโทรเนลาล (Citronellal) ที่อาจมีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียเป็นส่วนประกอบส้าคัญ
จึงมีงานวิจัยมากมายที่พิสูจน์สรรพคุณของมะกรูดในการต้านเชือแบคทีเรียในช่องปาก
3. ท้าเป็นสครับขัดผิว
มะกรูดเป็นสมุนไพรที่สามารถน้ามาขัดผิวช่วยให้ผิวพรรณขาวกระจ่างใสได้ วิธีท้า ผ่ามะกรูด 1 ลูก
ออกครึ่งซีก คันเอาน้ามาผสมกับนมสด 1 ถ้วยและน้าผึง 2 ช้อนโต๊ะ คนส่วนผสมให้เข้ากันแล้วน้ามา
ขัดผิวพรรณจนทั่วเรือนร่าง จากนันพอกตัวทิงไว้ประมาณ 20-30 นาที แล้วล้างผิวให้สะอาด
14

8. มะขามป้อม

ภาพที่ 8.1 สมุนไพรมะขามป้อม

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Phyllanthus emblica

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก-กลาง สูง 8-12 เมตร ล้าต้นมักคดงอ เปลือกนอกสี


น้าตาลอบเทา ผิวเรียบหรือค่อนข้างเรียบ เปลือกในสีชมพูสด ใบเดี่ยว มี
ลักษณะคล้ายใบประกอบคล้ายใบมะขาม รูปขอบขนานติดเรียงสลับ กว้าง
0.25-0.5 ซม.ยาว 0.8-12 ซม. สีเขียวอ่อนเรียงชิดกัน ใบสันมาก เส้นแขนง
ใบไม่ชัดเจน ดอกขนาดเล็กแยกเพศ แต่อยู่บนกิ่งหรือต้นเดียวกัน ออกตาม
ง่ามใบ 3-5 ดอกแน่น ตามปลายกิ่ง กลีบเลียง 6 กลีบ ดอกสีขาวหรือขาว
นวล ผลทรงกลมมีเนือหนา 1.2-2 ซม. ผลอ่อนมีสีเขียวอ่อน ผลแก่มีเขียว
อ่อนค่อนข้างใส มีเส้นริว ๆ ตามยาว สังเกตได้ 6 เส้น เนือผลรับประทานได้
มีรสฝาดเปรียว ขมและอมหวาน เปลือกหุ้มเมล็ดแข็งมี 6 เส้น เมล็ดมี 6
เมล็ด

สรรพคุณ : ด้วยสรรพคุณของมะขามป้อมที่อุดมไปด้วยสารต้า นอนุมูลอิสระ จึงเชื่อกันว่า มีฤทธิ์ช่วย


เสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกัน ต้านการอักเสบ ช่วยรักษาโรคหลากหลาย เช่น ลดคอเลสเตอรอล
ในเลือด ลดการแข็งตัวของหลอดเลือดแดง โรคเบาหวาน ตับอ่อนอักเสบ โรคมะเร็ง ท้องเสีย
โรคทางสายตา ปวดข้ อ ถ่ า ยเป็ น เลื อ ด โรคอ้ ว น โรคข้ อ เข่ า เสื่ อ ม หรื อ ฆ่ า เชื อ
แบคทีเรีย อย่างไรก็ตาม หลักฐานงานวิจัยของมะขามป้อมต่อการรักษาโรคหรือภาวะใดๆ ยัง
มีอยู่จ้ากัด ตามข้อมูลที่ครอบคลุมเกี่ยวกับการแพทย์ทางธรรมชาติ (Natural Medicines
Comprehensive Database)
15

ประโยชน์ด้านความงามและสุขภาพ : มีประสิทธิภาพในการบ้ารุงผิวพรรณ ลดริวรอย ท้าให้ผิวกระจ่าง


ใส เพิ่มความยืดหยุ่นและกระชับผิว มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและ
คุณสมบัติท้าให้ผิวขาวขึน ท้าให้ปัจจุบันผลิตภัณฑ์เครื่องส้าอาง
ผสมสมุ น ไพร มี แ นวโน้ ม การใช้ ที่ ม ากขึ นและมี มู ล ค่ า ทาง
เศรษฐกิ จ ในตลาดโลกสู ง การพั ฒ นาสมุ น ไพรไทยให้ เ ป็ น
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งส้ า อางที่ มี คุ ณ ภาพและความปลอดภั ย จะ
สามารถสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม และสร้ า งความมั่ น คงให้ กั บ ประเทศ
รวมทังน้าพาเศรษฐกิจไทยไปสู่ความยั่งยืน
16

9. มะเฟือง

ภาพที่ 9.1 สมุนไพรมะเฟือง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Averrhoa carambola

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : มะเฟืองเป็น ไม้ผลยืนต้นขนาดกลาง ลักษณะเป็นทรงพุ่ม ซึ่งมีทังลักษณะ


ตังตรง และกึ่งเลือย ล้า ต้นและกิ่งเป็นไม้เ นืออ่อ น แกนกลางมีไส้ค ล้ า ย
ฟองน้ามีสีแดงอ่อน ใบประกอบสีเขียว ประกอบด้วยใบย่อย 5-11 ใบ ออก
ดอกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง และตาข้างตามกิ่งและล้า ต้น มีดอกสีชมพูอ่อนไป
จนถึงเกือบแดง ผลมีก้นแหลมเป็นเหลี่ยมมีร่อง

สรรพคุณ : - ช่วยเสริมสร้างกระดูกและฟันให้แข็งแรง
- ช่วยในการขับพิษและพยาธิในร่างกาย เมื่อน้าดอกมะเฟืองมาต้มเป็นน้าดื่ม
- มีคุณสมบัติในการช่วยผ่อนคลายความเครียด บรรเทาอาการฟุ้งซ่าน
- มะเฟืองมีฤทธิ์ในการกล่อมประสาท ช่วยให้นอนหลับได้สบายขึน
- มะเฟืองมีส่วนช่วยควบคุมการเต้นของหัวใจให้เป็นไปอย่างปกติสม่้าเสมอ
- ป้องกันการเกิดโรคเลือดออกตามไรฟัน

ประโยชน์ด้านความงานเเละสุขภาพ :
1. ช่วยลดน้าหนัก นอกจากใยอาหารที่ช่วยให้อิ่มท้องเร็ว ไม่หิวง่ายแล้ว ยังมีแคลอรีต่้าและเป็นแหล่ง
ของโฟเลต,ไรโบฟลาวิน,ไพริด็อกซิน ที่ช่วยกระตุ้นการท้างานของระบบเผาผลาญ จึงช่วยลดน้าหนัก
ได้เป็นอย่างดี
2. บ้ารุงผิว การรับประทานผลสดๆ สามารถบ้ารุงผิวพรรณได้ เพราะวิตามินซีในมะเฟืองจะช่วยลดความ
หมองคล้า ท้าให้ผิวดูขาวกระจ่างใส และยังช่วยชะลอการเกิดริวรอยได้เป็นอย่างดี
17

10. ว่านหางจระเข้

ภาพที่ 10.1 สมุนไพรว่านหางจระเข้

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aloe vera (L.) Burm.f.

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุกอายุหลายปี ล้าต้นสัน ใบเรียงซ้อนเป็นกอ ข้อและปล้องสัน สูง


ประมาณ 0.5-1 เมตร ต้นแก่จะมีหน่อเล็กๆของต้นอ่อนแตกออกมา ใบ
เดี่ยว เรียงเวียนถี่รอบต้น กว้าง 5-12 เซนติเมตร ยาว 30-80 เซนติเมตร
ใบรูปขอบขนาน ปลายใบเรียวแหลม โคนใบกว้าง สีเขียวอ่อนหรือเขียว
เข้ม ด้านหน้าแบน ด้านหลังโค้งนูน ใบอ่อนมีประสีขาว ขอบใบมีหนาม
แหลมเล็กขึนห่างๆกัน ผิวใบหนา เนือใบหนาอวบน้ามาก ภายในเนือใบมี
วุ้นใสเป็นเมือก เมื่อกรีดลงไปบริเวณโคนใบจะมีน้า ยางใสสีเหลืองไหล
ออกมา ดอก ออกเป็นช่อตังยาว 60-90 เซนติเมตร แทงช่อออกจากกลาง
ต้น ก้านชูช่อดอกยาว ดอกย่อยเป็นหลอดห้อยลง รูปแตร กลีบดอกโคน
เชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 6 กลีบ เรียงเป็น 2 ชัน ดอกสีส้มไม้ล้มลุกอ่อน
บานจากล่างขึนบน แต่ละดอก กว้าง 7 มิลลิเมตร ยาว 2-3 เซนติเมตร ผล
เป็นผลแห้ง แตกได้ รูปกระสวย ว่านหางจระเข้เดิมเป็นพืชพืนเมืองของ
ทวีปแอฟริกา แต่มีการน้ามาปลูกในประเทศเขตร้อนทั่วไป

สรรพคุณ : วุ้นในใบว่านหางจระเข้มีสารเคมีอยู่หลายชนิด เช่น Aloe-emodin, Aloesin, Aloin, สาร


ประเภท Glycoprotein และอื่นๆ ยางที่อยู่ในว่า นหางจระเข้มีสาร Anthraquinone ทีมี
ฤทธิ์ขับถ่ายด้วย ใช้ท้าเป็นยาด้า มีการศึกษาวิจัยรายงานว่า วุ้นหรือน้าเมือกของว่า นหาง
จระเข้รักษาแผลไฟไหม้ น้าร้อนลวก แผลเรือรัง และแผลในกระเพาะอาหารได้ดี เพราะใน
วุ้นใบว่านหางจระเข้นอกจากจะมีสรรพคุณรักษาแผลต่อต้านเชือแบคทีเรียแล้วยังช่วยสมาน
แผลได้อีกด้วย
18

การใช้ประโยชน์ด้านความงามและสุขภาพ : ว่านหางจระเข้ ช่วยรักษาผิวหนังไหม้ที่เกิดจากแดดโดย


ให้น้าวุ้นจากว่านหางจระเข้มาล้างให้สะอาดแล้วน้ามาทา
บริเวณที่เกิดรอยไหม้ ซึ่งเจลของว่านหางจระเข้าสามารถ
ช่วยบรรเทาอาการอาการแสบไหม้จากแดดได้ อีกทังยัง
ช่วยลดความมันบนใบหน้าลงได้ เพียงน้าวุ้นหางจระเข้ที่
ล้างสะอาดแล้วมาทาบริเวณใบหน้าช่วยลดความมันบน
ใบหน้ า และถ้ า ใช้ ว่ า นหางจระเข้ เ ป็ น ประจ้ า จะช่ ว ย
ป้องกันการเกิดฝ้าได้เป็นอย่างดีอีกทังยังช่วยรักษาสิวได้
แต่ไม่ควรใช้กับสิวอักเสบ เพราะจะท้าให้เกิดการติดเชือ
ได้ง่าย
19

11. หญ้าฝรั่น

ภาพที่ 11.1 สมุนไพรหญ้าฝรั่น

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Crocus sativus L.

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ต้นหญ้าฝรั่น จัดเป็นพืชล้มลุก ล้าต้นมีความสูงประมาณ 10-30 เซนติเมตร


และมีความสูงเฉลี่ยน้อยกว่า 30 เซนติเมตร มีล้าต้นอยู่ใต้ดินลักษณะคล้าย
หัวเผือกหรือหัวหอม มีอายุหลายปี ในประเทศไทยยังไม่มีการเพาะปลูก
หญ้าฝรั่น หัวหญ้าฝรั่น ลักษณะคล้ายกับหัวหอม เป็นที่สะสมกักตุนแป้ง หัว
เป็นเมล็ดกลมสีน้าตาล มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4.5 เซนติเมตร และ
ห่อหุม้ ด้วยเส้นใยขนานกันหนา ใบหญ้าฝรั่น ลักษณะยาวเรียวแหลมแคบ มี
สีเขียว แต่ละใบมีความยาวถึง 40 เซนติเมตร ดอกหญ้าฝรั่น ก้านดอกจะ
แทงออกมาจากหัวใต้ดิน ลักษณะของดอกมีรูปร่างคล้ายดอกบัว ดอกมีสี
ม่วง มีกลีบดอก 5-6 กลีบ กลีบดอกลักษณะเรียวยาวคล้า ยรูปไข่ มีเกสร
ขนาดยาวโผล่ พ้ น เหนื อ ดอก เกสรตั ว เมี ย มี สี แ ดงเข้ ม ดอกอยู่ ไ ด้ น าน
ประมาณ 2-3 สัปดาห์ มักออกดอกในช่วงฤดูใบไม้ร่วง เกสรหญ้าฝรั่น หรือ
ที่เรียกว่า หญ้า ฝรั่น คือยอดเกสรเพศเมียสีแดงสดยื่นยาวออกมาโผล่พ้น
เหนือดอก มีลักษณะเป็นง่า ม 3 ง่า ม แต่ล ะง่า มมีความประมาณ 25-30
มิลลิเมตร มักเก็บดอกเมื่อตอนดอกเริ่มบาน

สรรพคุณ : ใช้เป็นยาบ้าบัดรักษาโรคมะเร็ง ช่วยต่อต้านมะเร็ง และต่อต้านสารก่อกลายพันธุ์


มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย
ช่วยลดระดับไขมันและคอเลสเตอรอลในหลอดเลือด ช่วยบ้ารุงธาตุในร่า งกาย ช่วยท้าให้
เจริญอาหาร
การรับประทานหญ้าฝรั่นทุกวันจะช่วยถนอมสายตาไม่ให้มืดมนเมื่ออายุมาก ถนอมเซลล์อัน
ซับซ้อนในดวงตาให้สามารถใช้งานนานและทนทานกับโรคได้ดี ป้องกันเซลล์ไม่ให้ตายเพราะ
20

มีคุณสมบัติเป็นสารต่อต้านอนุมูลอิสระที่เข้มแข็งอยู่ ช่วยป้องกันดวงตาจากแสงแดด และ


ช่ ว ยขั ด ขวางไม่ ใ ห้ เ ป็ น โรคจอตาเสื่ อ ม มี ส ารสี ขึ นหรื อ โรคจอประสาทตาเสื่ อ มได้
(ศาสตราจารย์ซิลเวีย พิสติ มหาวิทยาลัยอกิลาในอิตาลี )นอกจากนียังช่วยลดความเครียดที่
จอตานอกเหนือจากจุดรับภาพเสื่อม และช่วยป้องกันโรคตาบอดกลางคืนได้ ช่วยบ้ารุงโลหิต
ในร่างกาย

ประโยชน์ในด้านความงามเเละสุขภาพ :
1. ในการลดระดับไขมันและโคเลสเตอรอลในเส้นเลือด และเพิ่มระดับออกซิเจนในพลาสม่า
2. ลดอาการกล้ามเนือกระตุก ผ่อนคลายความเครียดของระบบประสาท
3. สามารถช่วยเพิ่มความชุ่มชื่นให้กับผิวใช้ฟอกช้า ระล้างผิว ช่วยแลดูกระชับ กระจ่างใส ผลัดเปลี่ยน
เซลล์ผิวท้าให้ผิวดูเปล่งปลั่งลดความมันของผิวได้ดี ยับยังกลิ่นกาย ลดกระ ฝ้า อุดมไปด้วยวิตามิน A
B1 B2 B3 C
21

12. อัญชัน

ภาพที่ 12.1 สมุนไพรอัญชัน

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Clitoria ternatea L.

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : อัญชันเป็นไม้เลือยเนืออ่อน อายุสัน ใช้ยอดเลือยพัน ล้าต้นมีขนปกคลุม ใบ


ประกอบแบบขนนก เรียงตรงข้ามยาว 6-12 เซนติเมตร มีใบย่อยรูปไข่ 5-7
ใบ กว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 3-5 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบมน ผิว
ใบด้านล่างมีขนหนาปกคลุม ดอกสีขาว ฟ้า และม่วง ดอกออกเดี่ยวๆ รูปทรง
คล้ายฝาหอยเชลล์ออกเป็นคู่ตามซอกใบ กลีบดอก 5 กลีบ ดอกบานเต็มที่
ยาว 2.5-3.5 เซนติเมตรกลีบคลุมรูปกลม ปลายเว้าเป็นแอ่ง ตรงกลางมีสี
เหลือง มีทังดอกซ้อนและดอกลา ดอกชันเดียวกลีบขันนอกมีขนาดใหญ่กลาง
กลีบสีเหลือง ส่วนกลีบชันในขนาดเล็กแต่ดอกซ้อนกลีบดอกมีขนาดเท่ากัน
ซ้อนเวียนเป็นเกลียวออกดอกเกือบตลอดปี ผลแห้งแตก เป็นฝักแบน กว้าง
1-1.5 เซนติเมตร ยาว 5-8 เซนติเมตร เมล็ดรูปไต สีด้า มี 5-10 เมล็ด

สรรพคุณ : - ดอก น้ามาคันน้าใช้หุงข้าวได้ด้วย ช่วยให้ข้าวที่หุงมีสีสันที่สวยงาม


- เมล็ด เป็นยาระบาย
- ราก บ้ารุงตาแก้ตาฟาง ถูฟันแก้ปวดฟัน ตาแฉะ และปรุงเป็นยาขับปัสสาวะ น้ารากมาถูกับ
น้าฝนใช้หยอดหูและหยอดตา

ประโยชน์ด้านความงามและสุขภาพ : มีสารที่ชื่อว่า "แอนโทไซยานิน" (Anthocyanin) ซึ่งมีหน้าที่ไป


ช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตท้าให้เลือดไปเลียงส่วนต่างๆ
ได้ดีมากขึน เช่น ไปเลียงบริเวณรากผม ซึ่งช่วยท้า ให้ผมดกด้า
เงางาม หรือไปเลียงบริเวณดวงตาจึงช่วยบ้ารุงสายตาไปด้วยใน
ตัว หรือไปเลียงบริเวณปลายนิวมือ ซึ่งก็จะช่วยแก้อาการเหน็บ
22

ชาได้ด้วย และที่ส้า คัญสารนียังช่วยลดความเสี่ยงของการเกิด


เส้นเลือดอุดตันได้
23

บรรณานุกรม
ขวัญหทัย ค้าฝาเชือ. (2564). มะขามป้อม สรรพคุณและประโยชน์ของมะขามป้อม 47 ข้อ.
สืบค้นวันที่ 19 มีนาคม 2564, จาก https://medthai.com/มะขามป้อม

ณรงค์ฤทธิ์ มัศยาอานนท์. (2561). ประโยชน์ของว่านหางจระเข้ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล


รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. สืบค้นวันที่ 19 มีนาคม 2564, จาก
https://med.mahidol.ac.th/patient_care/th/health_issue

พรรณี อ้านวยสิทธิ์. (2544). การใช้สมุนไพรในการผลิตสัตว์ - ตะไคร้. สืบค้นวันที่


19 มีนาคม 2564, จาก https://vet.kku.ac.th/journal/

พาณี ศิริสะอาด. (2558). คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สืบค้นวันที่


19 มีนาคม 2564, จาก https://www.pharmacy.cmu.ac.th/

ระวิวรรณ แก้วอมตวงศ์. (2553). ขิง – ฐานข้อมูลเครื่องยาสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย


อุบลราชธานี. สืบค้นวันที่ 19 มีนาคม 2564, จาก http://www.thaicrudedrug.com/

สุดารัตน์ หอมหวล. (2553). มะเฟือง – ฐานข้อมูลเครื่องยาสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย


อุบลราชธานี. สืบค้นวันที่ 19 มีนาคม 2564, จาก https://www.pharmacy.cmu.ac.th/

สุธิตา ทองสวรรค์. (2559). ขมินกับสรรพคุณทางยา – พบแพทย์. สืบค้นวันที่ 19 มีนาคม 2564, จาก


https://www.pobpad.com/ขมินกับสรรพคุณทางยา

สุบัณฑิต นิ่มรัตน์. (2560). ทานาคา ประโยชน์ดี ๆ สรรพคุณเด่น ๆ และข้อมูลงานวิจัย.


สืบค้นวันที่ 19 มีนาคม 2564, จาก https://www.disthai.com/17217259/

อดุลย์ศักดิ์ ไชยราช. (2564). มะกรูด พืชสวนครัวที่ทุกบ้านควรมี – เทคโนโลยีชาวบ้าน.


สืบค้นวันที่ 19 มีนาคม 2564, จาก https://www.technologychaoban.com/

อรุณพร อิฐรัตน์. (2558). ดอกไม้หญ้าฝรั่น สมุนไพรแห่งความงาม. สืบค้นวันที่ 19 มีนาคม 2564,


จาก https://storylog.co/story/

อโนชา ธัญญปกร์พันธ์. (2564). ดอกอัญชัน สมุนไพรริมรัว ประโยชน์เลอค่า มากสรรพคุณ.


สืบค้นวันที่ 19 มีนาคม 2564, จาก https://acuisineth.com/food-story/butterfly-pea
24

ประวัติผู้ท้ารายงาน
1. เด็กชายปฏิพล สมวงศ์
เกิดเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2549 เขต - จังหวัดนนทบุรี
ส้าเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจาก
โรงเรียนสารสาสน์วิเทศราชพฤกษ์ในปีการศึกษา 2561
ปัจจุบันศึกษาอยู่ในระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนโยธินบูรณะ

2. เด็กชายพรภวิษย์ นนทการ
เกิดเมื่อวันที่ 16 พฤษจิกายน 2549 เขต - จังหวัด นนทบุรี
ส้าเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนชลประทานวิทยา
ในปีการศึกษา 2561
ปัจจุบันศึกษาอยู่ในระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนโยธินบูรณะ

3. เด็กหญิงสกลสุภา พรหมจ้าปา
เกิดเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2550 เขต - จังหวัด นนทบุรี
ส้าเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนชลประทานวิทยา
ในปีการศึกษา 2561
ปัจจุบันศึกษาอยู่ในระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน โยธินบูรณะ

4. เด็กหญิงปภาดา อ่องจันทร์
เกิดวันที่ 1 มิถุนายน 2550 เขตบางกอกน้อย จังหวัดกรุงเทพมหานคร
ส้าเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจาก
โรงเรียนสารสาสน์วิเทศราชพฤกษ์ ในปีการศึกษา 2561
ปัจจุบันศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนโยธินบูรณะ

5. เด็กหญิงนภัสวรรณ สุขอ้าไพจิตร
เกิดเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2549 เขต - จังหวัด นนทบุรี
ส้าเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนประถมสาธิต
มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา ในปีการศึกษา 2561
ปัจจุบันศึกษาอยู่ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนโยธินบูรณะ
25

6. เด็กหญิงญาณิศา สีขาว
เกิดเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2549 เขตจตุจักร จังหวัดกรุงเทพมหานคร
ส้าเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนประชานิเวศน์
ในปีการศึกษา 2561
ปัจจุบันศึกษาอยู่ในระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนโยธินบูรณะ

You might also like