You are on page 1of 9

น้ำหมักกรดอินทรีย์จากผลมะนาวและมะเขือเทศชีวภาพ

จัดทำโดย

1. เด็กหญิงบิสมี ขนานใต้ เลขที่ 24


2. เด็กหญิงปุณญาพร สุขช่วย เลขที่ 27
3. เด็กหญิงภูริชญา เสนกุล เลขที่ 32
ชื่อเรื่องงานวิจัย : น้ำหมักผลไม้ชีวภาพ จาก มหาวิทยาลัยสยาม เมื่อ พ.ศ 2562

วัตถุประสงค์
เพื่อแก้ไขปัญหากลิ่นไม่พึงประสงค์ตามท่อระบายน้ำภายในโรงแรม
เพื่อลดต้นทุนในการซื้อผลิตภัณฑ์ชนิดอื่นมาใช้ในการดับกลิ่น
วิธีการทดลอง
1.เตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์ในการทำน้ำหมัก

2.ใส่น้ำลงไปในถังจำนวน 4 ลิตรถ้ำหำกใช้น ้ำประปำควรใส่ถังเปิดฝาทิ้งไว้2วัน เพื่อให้คลอรีนระเหย


3.นำกากน้ำตาล125 ซีซี. หรือน้ำตาลทรายแดง 150 กรัม เทใส่ลงไปคนให้ละลาย

4.นำน้ำหัวเชื้อจุลินทรีย์125 ซีซี. ผสมลงไปคนให้เข้ากัน


5.เมื่อคนส่วนผสมต่ำงๆเข้ากันดีแล้วให้นำเศษผลไม้สับเป็นชิ้นเล็กๆ ใส่ลงไปในผ้ำขำวบำงแล้วนำผ้าขาว
บางนั้นใส่ลงในถังหมัก

6.กดให้น ้ำท่วมผ้ำหรือหาวัตถุที่มีน้ำหนักวางทับลงไปอีกทีหนึ่ง หลังจำกนั้นก็ปิดฝาให้สนิท


7.หลังหมักเสร็จแล้วนำน้ำหมักมากรอกใส่ภาชนะเพื่อความสะดวกในการใช้งาน

ตัวอย่างการทดลอง
ผลการทดลอง

ผลการทดลองพบว่าการเทน้ำหมักชีวภาพลงไปตามท่อระบำยน้ำที่มีกลิ่นไม่พึงประสงค์สามารถลดกลิ่นไม่พึง
ประสงค์ได้ค่อนข้างดีเพราะน้ำที่ได้จากการหมักจะมีฤทธิ์เป็นกรดจัด กรดที่ได้มีคุณสมบัติขจัดคราบสกปรก
ต่างๆ เช่นเดียวกับจุลินทรีย์ที่อยู่ในน้ำหมักชีวภาพก็มีคุณสมบัติในการกำจัดสิ่งสกปรกเช่นกันจากผลการ
วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานด้านเพศของผู้ตอบแบบสอบถามพบว่าพนักงานที่ตอบแบบสอบถามในการวิจัยครั้งนี้
เป็น เพศชายคิดเป็นร้อยละ 84.21 และเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 15.79
อภิปรายผลการทดลอง

จากการทดลองผู้วิจัยพบว่าน้ำหมักชีวภาพที่หมักจากผลไม้รสเปรี้ยว(ส้ม,สับปะรด) มีคุณสมบัติเด่นคือมี
ความเป็นกรดสูงใช้สำหรับการทำความสะอาดในรูปแบบต่างๆได้ดี ซึ่งน้ำที่ได้จากการหมักผลไม้รสเปรี้ยว
นี้จะมีฤทธิ์เป็นกรดจัด มีค่าpHประมาณ 3 -3.5 กรดที่ได้มีคุณสมบัติช่วยสลายไขมันหรือขจัดคราบ
สกปรกต่างๆได้ดีและมีกลิ่นหอมของผลไม้ นอกจากความเป็นกรดแล้วจุลินทรีย์ที่อยูในน้ำหมักชีวภาพก็มี
คุณสมบัติในการกาจัดสิ่งสกปรกเช่นกัน
เอกสารอ้างอิง
กรมควบคุมมลพิษ. (2546). ปัญหาสิ่งแวดล้อมจากขยะมูลฝอย. เข้าถึงได้จาก
http://www.pcd.go.th/info_serv/waste_ rubbish.htm

การจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน. (2561). น้ำหมักชีวภาพ. เข้าถึงได้จาก https://www.cem-onep.com/

เกลียวพันธุ์ สุวรรณรักษ์. (2551). การกำจัดศัตรูพืชเพื่อผลิตสับปะรดคุณภาพ. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการเกษตร.

You might also like