You are on page 1of 14

ใบงานที่ 3

ชื่อบทเรียน การทดลองวงจรเปรียบเทียบ วงจรแปลงรหัส โดยใช้


MSI
จุดประสงค์การสอน ปฏิบัติการทดลองวงจรเปรียบเทียบ วงจร
แปลงรหัส โดยใช้ MSI
ออกแบบและทดสอบวงจรแปลงรหัส
ออกแบบและทดสอบวงจรเปรียบเทียบ

1. ทฤษฎี
วิธีออกแบบวงจรด้วย Variable-Entering Map
วิธีการออกแบบวงจร โดยใช้ 4 : 16 Decoder และ 4 : 1
Multiplexer

2. จงออกแบบวงจรต่อไปนี้
1. ออกแบบวงจรเปรียบเทียบ 2 บิทโดยใช้ 4 : 16
Decoder
2. ออกแบบวงจรแปลงรหัสเกรย์เป็ นรหัสไบนารี โดยใช้
4 : 1 Multiplexer

3. ผลการทดลอง
4. สรุปผลการทดลอง
5. คำาถามหลังการทดลอง
1. บอกข้อดีและข้อเสียการใช้ MSI ออกแบบวงจร

2. บอกหลักการใช้ MSI ออกแบบวงจร

3. แสดงวิธีการใช้งาน 4 : 1 Multiplexer เป็ น 32 : 1

Multiplexer

ทฤษฎี

วิธี Variable entering map


F(A,B,x,y,z) = Ax’y’z’ + x’y’z + x’yz + xyz + Bxyz’
การเขียนสมการจาก Variable entering map

ถ้าเป็ นเลขเดียวกัน fi ก็เท่ากับตัวเลขนั้ น


ถ้ามีค่าตรงกับ xj ก็จะได้ fi = xj
แต่ถ้ามีค่าตรงข้ามกับ xj ก็จะได้ Fi= Xj

วิธีการวงฟั งก์ชันใน Variable-entering map มีดังนี้


1. ช่องที่วงได้ จะเป็ นไปตามหลักการของ K-map
2. วงเฉพาะ 1 ให้ครบทุกตัว โดยสามารถวงร่วมกับ don’t
care ได้
3. วงช่องที่มีตัวแปร โดยสามารถวงได้ทีละ 1 ตัวแปร
(หรือ 1 expression) โดยสามารถวงร่วมกับตัวแปรเดียวกัน
และวงร่วมกับ 1 และ don’t care ได้
วิธีการเขียนนิ พจน์ของฟั งก์ชัน
1. ในวงของลอจิก 1 นั้ น เขียนตามวิธีการเดิมของ K-map
ฟั งก์ชันที่ได้จะเป็ น Product term ของตัวแปรควบคุมตาราง
2. ในวงของตัวแปรนั้ น ให้ถือว่าลอจิก 1 ที่อย่่ในวง เป็ น
don't care
ฟั งก์ชันที่ได้จะเป็ น Product term ของตัวแปรที่อย่่ในวง
และตัวแปรที่ใช้ควบคุมตาราง
จงออกแบบวงจรต่อไปนี้

Step 1 : Specification

วงจรเปรียบเทียบ
เป็ นวงจรทีท
่ ำำหน้ำทีเ่ ปรียบเทียบอินพุต 2 ชุด ว่ำมีค่ำ
แตกต่ำงกันอย่ำงไร

วงจรแปลงรหัส
เป็ นวงจรแปลงรหัสตัวเลข Gray 4 บิท (G3,G2,G1,G0)
เป็ นรหัส Binary ขนำด 4 บิท
(B1,B2,B3,B4)
Step 2 : Conceptualization

วงจรเปรียบเทียบ
วงจรแปลงรหัส
Step 3: Solution/Simplification

วงจรเปรียบเทียบ

A > B = (4,8,912,13,14)
A < B = (1,2,3,6,7,11)
A = B = (0,5,10,15)

วงจรแปลงรหัส

B3 = G3
B2 = G3 G2
Step 4 : Realization
วงจรเปรียบเทียบ
วงจรแปลงรหัส

3. ผลการทดลอง
4. สรุปผลการทดลอง

วงจรเปรียบเทียบสัญญาณ (Comparator) เป็ นวงจรที่มีบท


บาทสำ าคัญในการควบคุมการทำ างานของระบบในงานวิจัยนี้ ดัง
นั้ นในบทนี้ จึงได้นำ าวงจรเปรียบเทียบสัญญาณมาอธิบายหลักการ
ทำ างานด้วยพอสังเขปในการเปรียบเทียบสัญญาณแรงดันนี้ โดย
มากจะใช้ออปแอมป์ (Op-Amp) มาเป็ นตัวแสดงผลซึ่งสภาวะ
เอาต์พุตของวงจรเปรียบเทียบสัญญาณจะสามารถบอกได้ว่า
สัญญาณอินพุตสองสัญญาณ สัญญาณใดมีค่ามากหรือน้อยกว่ากัน
ดังนั้ นวงจรเปรียบเทียบสัญญาณจึงเป็ นวงจรที่มีอินพุตเป็ น
สัญญาณอนาลอก(Analog) และมีเอาต์พุตเป็ นสัญญาณดิจิตอล
(Digital) ลักษณะของวงจรเปรียบเทียบสัญญาณอย่างง่าย

5. คำาถามหลังการทดลอง
5.1 บอกข้อดีและข้อเสียการใช้ MSI ออกแบบวงจร

ตอบ จะทำาให้ได้วงจร logic ที่ประหยัดและไม่ยุ่งยากและยัง


สามารถแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงฟั งก์ชัน
่ การทำางานได้ง่าย เรา
มักจะได้เห็นวงจรประเภทนี้ ในอุปกรณ์ไฟฟ้ ายุคใหม่ เช่นใน
คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ วิทยุโทรทัศน์ เครื่องเสียง

5.2 บอกหลักการใช้ MSI ออกแบบวงจร


ตอบ การออกแบบวงจร logic โดยการนำาเอา MSI(Medium
Scale IC)มาใช้แทนพวกเกท ต่าง ๆเช่น Multiplexers
(MUX) Decoders (DX), Read Only
Memmory(ROM),และ Programable Logic Device
( PLD) ซึ่งโครงสร้างภายในมีส่วนประกอบของ เกทAND,
OR,และ NOT เป็ นต้น การออกแบบวงจร Combinational
logic ด้วย MSI จะทำาให้ได้วงจร logic ที่ประหยัดและไม่ยุ่ง
ยากและยังสามารถแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงฟั งก์ชัน
่ การ
ทำางานได้ง่าย

5.3 แสดงวิธีการใช้งาน 4 : 1 Multiplexer เป็ น 32 : 1


Multiplexer
ตอบ 32 : 1 จะต้องใช้ MUX ขนาด 16 : 1 , 2 ตัว และ
MUX ขนาด 2 : 1 , 1 ตัว หรือใช้ MUX ขนาด 16 : 1, 2
ตัว ร่วมกับ OR เกท และใช้ขา
EN ของ MUX เข้าช่วย

You might also like