You are on page 1of 10

คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 1 ………………………………………….

ทศนิยม

 ทศนิยม
เป็ นการเขียนแทนจํานวนประเภทหนึงทีไม่สมั พันธ์กบั การเขียนแทนด้ วยเศษส่วน แบ่งเป็ น
ทศนิยมรู้จบ เป็ นทศนิยมทีสามารถบอกจํานวนตําแหน่งได้
ทศนิยมไม่ ร้ ูจบ เป็ นทศนิยมทีไม่สามารถบอกจํานวนตําแหน่งได้ แบ่งเป็ น
ทศนิยมไม่ ร้ ูจบแบบไม่ ซาํ เช่น 3.12112111211112111112…
ทศนิยมไม่ ร้ ูจบแบบซํา เป็ นทศนิยมทีตัวเลขหลังจุดทศนิยมซํากันเป็ นรอบๆ เช่น

0.444444 … เขียนแทนด้ วย 0. 4 หรือ
 
8.12121212 … เขียนแทนด้ วย 8.12

 ค่ าประจําตําแหน่ งของทศนิยม
ทศนิยมเป็ นการเขียนสัญลักษณ์ตวั เลขแทนจํานวน โดยทิศนิยมค่าประจําตําแหน่งดังนี

ค่าประจําตําแหน่ง
ทศนิยมตําแหน่งที เป็ นเศษส่วน เป็ นทศนิยม ชือเรียก
1 1
1  1 0.1 ส่วนสิบ
10 10
1 1
2  2 0.01 ส่วนร้ อย
100 10
1 1
3  3
1, 000 10
0.001 ส่วนพัน
1 1
4  4
10, 000 10
0.0001 ส่วนหมืน
1 1
5  5
100, 000 10
0.00001 ส่วนแสน

  

ค่ าของตัวเลขในจํานวนทศนิยม เท่ากับ ตัวเลขในตําแหน่ง  ค่าประจําหลักของตําแหน่งนัน

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 2 ………………………………………….

ตัวอย่ างที 1 ในแต่ละข้ อจงเติมตารางให้ สมบูรณ์


ตําแหน่งที
จํานวน ตัวเลข ค่าประจําตําแหน่ง ค่าของตัวเลข
(หลัก)

8.1024 8
1
0
2
4
–45.0297 4
5
0
2
9
7

ตัวอย่ างที 2 จงตอบคําถามต่อไปนี


(1) จากจํานวน 12.4572 ตัวเลข 2 ทังสองตัวมีคา่ ต่างกันเท่าใด

ตอบ ……………………………………………………………………………………
(2) จากจํานวน 108.4507 ตัวเลข 0 ทังสองตัวมีคา่ ต่างกันเท่าใด
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(3) จากจํานวน 4.789 ตัวเลข 7 มีคา่ ประจําหลักเป็ นกีเท่าของค่าประจําลักของตัวเลข 9
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(4) จากจํานวน 71.47 ตัวเลข 7 ทังสองมีคา่ ประจําหลักต่างกันเท่าใด
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(5) จากจํานวน 24.452 ตัวเลข 2 ตัวหน้ าสุดมีคา่ เป็ นกีเท่าของเลขสองตัวหลังสุด
ตอบ ……………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 3 ………………………………………….

 การเปรียบเทียบทศนิยม
หลักการเปรียบเทียบทศนิยมให้ เปรียบจํานวนทีอยู่หน้ าจุดทศนิยมก่อน ถ้ าจํานวนใดมีจํานวน
หน้ าจุดทศนิยมมากกว่า จํานวนนันก็จะมากกว่าอีกจํานวน (เหมือนบทที 1 จํานวนและตัวเลข) แต่ถ้า
หน้ าจุดทศนิยมเท่ากันให้ เปรียบเทียบจํานวนทีอยู่หลังจุดทศนิยมโดยเริมจากตําแหน่งทีหนึง เช่น
12.004 > 9.999 เพราะ 12 > 9
45.478 < 45.512 เพราะ 4 < 5

ตัวอย่ างที 3 จงเติมเครืองหมาย >,< = ลงในช่องว่างในแต่ละข้ อต่อไปนี


(1) 10.2 ……….. 9.99 (2) -7.3 ………… -7.189
(3) 45.18 ……….. –45.9 (4) -85 ………… -85.00
(5) 6.09 ……….. 6.1 (6) -12.457 ……….. -12.453
(7) –7.1457 ……….. 7.1475 (8) -60.91………... -60.905
(9) 111.99 .………. 112.07 (10) -12.400 ………... -12.40000
(11) 107.18 ……….. 107.21 (12) -8.6371 ………... -8.638

 ความสัมพันธ์ ของทศนิยมและเศษส่ วน
ทศนิยมทุกจํานวนทีเป็ นทศนิยมแบบรู้จบหรือทีบอกจํานวนตําแหน่งได้ และทศนิยมซําทังหลาย
เราสามารถเปลียนให้ อยู่ในรูปเศษส่วนได้ และทํานองเดียวกันเราสามารถเปลียนจากเศษส่วนให้ เป้นท
ศนิยมได้ เช่นกัน ดังตัวอย่างต่อไปนี

ตัวอย่ างที 4 จงเขียนทศนิยมต่อไปนีให้ อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างตํา


(1) 0.8 = ………………….. (2) -0.12 = …………………….

(3) -0.5 = ………………….. (4) -0.34 = …………………….

(5) 0.005 = ………………….. (6) -0.125= …………………….

(7) -0.2414= ………………….. (8) -0.102= …………………….

(9) 8.4 = ………………….. (10) 14.528= …………………….

ตัวอย่ างที 5 จงเขียนทศนิยมซําต่อไปนีให้ อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างตํา


(1) 0.8 = ………………….. (2) 0.7 = …………………….

(3) 0.5 = ………………….. (4)  =


0.27 …………………….

(5)  =
0.45 ………………….. (6)  =
0.125 …………………….

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 4 ………………………………………….

(7)  =
0.704 ………………….. (8) 5.6 = …………………….

(9) 8.4 = …………………..  =


(10) 9.42 …………………….

(11) 0.28 = ………………….. (12) 0.127 = …………………….

(13) 2.435 = …………………..  =


(14) 13.427 …………………….

 การหาค่ าประมาณใกล้ เคียงของทศนิยม


หลักการประมาณค่าทศนิยมทําเช่นเดียวกับการประมาณคาจํานวนเต็มให้ ใกล้ เคียงจํานวนเต็ม
สิบ เต็มร้ อย เต็มพัน อย่างทีเคยทําในเรืองจํานวนและการบวก ลบ คูณ หาร

ตัวอย่ างที 6 จงหาค่าโดยประมาณตามเงือนไขต่อไปนี


(1) จงประมาณจํานวนต่อไปนีให้ เป็ นจํานวนเต็ม
12.4  ………………. -3.745  ………………
0.12  ………………. -74.52  ………………
25.494  ………………. -0.87  ………………
0.72  ………………. -10.607  ………………
(2) จงประมาณจํานวนต่อไปนีให้ เป็ นทศนิยมหนึงตําแหน่ง
12.12  ………………. -3.745  ………………
0.17  ………………. -74.541  ………………
25.494  ………………. -0.8499  ………………
9.9578  ………………. -19.97012  ………………
(3) จงประมาณจํานวนต่อไปนีให้ เป็ นทศนิยมสามตําแหน่ง
12.1427  ………………. -3.74547  ………………
0.17076  ………………. -74.5412  ………………
25.494014  ………………. -0.849953  ………………
9.957481  ………………. -19.97012  ………………
(4) จงประมาณจํานวนต่อไปนีให้ เป็ นทศนิยมสีตําแหน่ง
12.1427  ………………. -3.74547  ………………
0.17076  ………………. -74.5412  ………………
25.494014  ………………. -0.849953  ………………
9.957481  ………………. -19.97012  ………………

 การบวกและการลบทศนิยม
การบวกและลบทศนิยมทําเช่นเดียวกับการบวกลบจํานวนเต็ม เพียงแต่ต้องตังจุดทศนิยมให้
ตรงกันระหว่างตัวตังและตัวบวกหรือตัวลบ ดังนี

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 5 ………………………………………….

ตัวอย่ างที 7 จงหาผลลัพธ์ตอ่ ไปนี


(1) 12.45 – 23.47 = …………… (2) 21.45 – 18.45 = ……………...
(3) 71.6 + 78.475 = …………… (4) –5.45 – 12.9 = ……………...
(5) –100.76 + 1.789 = …………… (6) 12.1 – 9.9 = ……………...
(7) –451.45 – 12.4014= …………… (8) –97.47 – 47.1247 = ……………...
(9) –124.12 + 1.12144 = …………… (10) –541.7 – 124.7894= ……………...

 การคูณทศนิยม

ตัวอย่ างที 8 จงหาผลลัพธ์ตอ่ ไปนี


(1) –0.75  3 = ……………… (2) -2.78  (–4)= ………………..
(3) 12.4  0.2 = ……………… (4) –1.4  2.5 = ………………..
(5) –2.45  (–4)= ……………… (6) 8.47  4.21 = ………………..
(7) 0.478  (–0.2)= ……………… (8) 0.007  0.0005 = ………………..
(9) 1.002  0.0014 = ……………… (10) (–47)  (–0.041) =………………..

 การหารทศนิยม
(1) การหารทศนิยมด้ วยจํานวนเต็ม ทําเช่นคล้ ายๆกับจํานวนเต็มแต่ต้องเติมจุดทีผลลัพธ์ให้
ตรงกับจุดของตัวตัง
(2) การหารทศนิยมด้ วยจํานวนทีเป็ นทศนิยม ให้ ทําตัวหารเป็ นจํานวนเต็มโดยการเอา 10
หรือ 100 หรือ 1,000 เป็ นต้ น มาคูณกับตัวหารนันก่อนซึงขึนอยู่กบั จํานวนตําแหน่งของตัวหารนัน
ถ้ าหารแล้ วยังเหลือเศษทีไม่ใช่ศนู ย์สามารถหารต่อได้ โดยการเติมศูนย์ทีเศษนันแล้ วหารตามปกติ

ตัวอย่ างที 9 จงหาผลลัพธ์ตอ่ ไปนี


(1) 0.45  5 = …………….. (2) 12.48  4 = ………………
(3) –0.128  4 = .................... (4) -7.2  9 = .....................
(5) -1.024  8 = .................... (6) 14.4  (–16)= ………………
(7) 12.78  5 = …………….. (8) -0.007 3 = ………………
(9) -0.0014  0.2 = …………….. (10) 12.45  0.5 = ………………

ตัวอย่ างที 10 จงหาผลลัพธ์ตอ่ ไปนี


(1) (–0.003  0.4)  2.5 = …………………………………….
(2) (0.9  0.02) (–0.05) = …………………………………….
(3) (0.234 + 0.504)  0.4 = …………………………………….
(4) (1.524 – 3.224)  3.2 = …………………………………….

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 6 ………………………………………….

(5) (70  1.6) – (–0.05  0.16) = …………………………………….


(6) (1.3  0.25) – (1.1  0.25) = …………………………………….
(7) (1.3 + 1.1)  0.25 = …………………………………….
(8) (–170  3.2) – (–700  32) = …………………………………….
(9) (170 – 700)  3.2 = …………………………………….
(10) (0.7  0.08)  (1.3  (–0.25)) = …………………………………….

 ทบทวนความสัมพันธ์ ระหว่ างหน่ วยการวัดต่ างๆ


1. หน่ วยการวัดระยะทาง(การความยาว)
10 มิลลิเมตร = 1 เซนติเมตร 100 เซนติเมตร = 1 เมตร
1,000 เมตร = 1 กิโลเมตร
2. หน่ วยการวัดนําหนัก(การชัง)
100 กรัม = 1 ขีด 10 ขีด = 1 กิโลกรัม
1,000 กรัม = 1 กิโลกรัม 1,000 กิโลกรัม = 1 เมตริกตัน
3. หน่ วยการวัดปริมาตร(การตวง)
1 มิลลิลิตร = 1 ลบ.ซม. 1,000 ลบ.ซม. = 1 ลิตร
1,000 ลิตร = 1 ลบ.เมตร
4. หน่ วยการวัดพืนที
1 ตารางวา = 4 ตารางเมตร 100 ตารางวา = 1 งาน
4 งาน = 1 ไร่ 400 ตารางวา = 1 ไร่
5. หน่ วยเวลา
60 วินาที = 1 นาที 60 นาที = 1 ชัวโมง
24 ชัวโมง = 1 วัน 7 วัน = 1 สัปดาห์
30 วัน = 1 เดือน 365/366 วัน = 1 ปี
12 เดือน = 1 ปี 10 ปี = 1 ทศวรรษ
100 ปี = 1 ศตวรรษ
6. เงิน
100 สตางค์ = 1 บาท

หลักการเปลียนหน่ วย : จากหน่วยเล็กไปยังหน่วยใหญ่กว่าใช้ หลักการหาร


จากหน่วยใหญ่ไปยังหน่วยเล็กกว่าใช้ หลักการคูณ

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 7 ………………………………………….

ตัวอย่ างที 11 จงเติมคําตอบลงในช่องว่างให้ ถกู ต้ อง


ข้ อที กําหนดให้ เขียนเป็ นเศษส่วน เขียนเป็ นทศนิยม
(1) 7 มิลลิเมตร ………………. เซนติเมตร ……………… เซนติเมตร
(2) 48 เซนติเมตร ……………….. เมตร ……………… เมตร
(3) 748 เมตร ……………….. กิโลเมตร ……………… กิโลเมตร
(4) 78 กรัม ……………….. กิโลกรัม ……………….. กิโลกรัม
(5) 45 ขีด ……………….. กิโลกรัม ……………….. กิโลกรัม
(6) 475 มิลลิลิตร ……………….. ลิตร ……………….. ลิตร
(7) 45 ลบ.เซนติเมตร ……………….. ลิตร ……………….. ลิตร
(8) 24 ลิตร ……………….. ลบ.เมตร ……………….. ลบ.เมตร
(9) 3 ตารางเมตร ……………….. ตารางวา ……………….. ตารางวา
(10) 262 ตารางวา ……………….. งาน ……………….. งาน
(11) 11 งาน ……………….. ไร่ ……………….. ไร่
(12) 25 ปี ……………….. ทศวรรษ ……………….. ทศวรรษ
(13) 47 ปี ……………….. ศตวรรษ ……………….. ศตวรรษ
(14) 9 สตางค์ ……………….. บาท ……………….. บาท
(15) 472 สตางค์ ……………….. บาท ……………….. บาท

ตัวอย่ างที 12 เติมตัวเลขในช่องว่างเพือทําให้ ประโยคเป็ นจริง


(1) 14.24 เมตร = ………… เมตร ………….. เซนติเมตร
(2) 5.478 กิโลเมตร = ………… กิโลเมตร ………….. เมตร
(3) 7.8 กิโลกรัม = ………… กิโลกรัม ………….. กรัม
(4) 8.2 บาท = ………… บาท ………….. สตางค์
(5) 20.04 กิโลกรัม = ………… กิโลกรัม ………….. ขีด
(6) 9.4 เซนติเมตร = ………… เซนติเมตร ………….. มิลลิเมตร
(7) 2.3 เมตร = ………… เมตร ………….. เซนติเมตร
(8) 5.5 กิโลเมตร = ………… กิโลเมตร ………….. เมตร
(9) 12.14 กิโลกรัม = ………… กิโลกรัม ………….. กรัม
(10) 7.5 บาท = ………… บาท ………….. สตางค์
(11) 5.3 ศตวรรษ = ………… ศตวรรษ ………….. ปี
(12) 9.47 งาน = ………… งาน ………….. ตารางวา

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 8 ………………………………………….

ตัวอย่ างที 13 จงเติมคําเติมตอบลงในช่องว่าง


(1) 1.25 นาที = ………………… วินาที
(2) 3.16 ชัวโมง = ………………… นาที

(3) 2.45 วัน = ………………… ชัวโมง

(4) 45 นาที = ………………… ชัวโมง

(5) 15 วินาที = ………………… นาที

(6) 6 ชัวโมง = ………………… วัน

 โจทย์ ปัญหาทศนิยม
(1) เดือนกันยายน โรงเรียนบ้ านวิชากรใช้ นําประปาไป 30.75 หน่วย ในเดือนตุลาคมใช้ ไป
27.80 หน่วย โรงเรียนบ้ านวิชากรใช้ นําประปาน้ อยลงไปกีหน่วย

ตอบ ……………………………………………………………………………………
(2) น้ องเก็บเงินค่าขนมวันละ 42.25 บาท เป็ นเวลา 6 วัน น้ องเก็บเงินได้ ทงหมดกี
ั บาท
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(3) ภูกระดึงสูง 2.14 กิโลเมตร เขาใหญ่สงู 1.759 กิโลเมตร ภูกระดึงสูงกว่าเขาใหญ่เท่ใด
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(4) สุพจน์มเี งิน 302.25 บาท คุณพ่อให้ มาอีก 28.50 บาท ใช้ ไป 130.75 บาท เขาเหลือ
เงินอยูเ่ ท่าไร
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(5) มีเชือกยาวเส้ นละ 5.45 เมตร จํานวน 8 เส้ น นํามาวางต่อกันจะได้ ความยาวเท่าไร
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(6) ซือยาสีฟัน 2 กล่องๆละ 16.25 บาท ซือสบู่ 6 ก้ อนๆ ละ 8.50 บาท ให้ ธนบัตรฉบับ
ละ 500 บาท จะได้ เงินทอนกีบาท
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(7) ขนมราคาชินละ 6.25 บาท แดงมีเงิน 75 บาท จะซือขนมได้ กีชิน
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(8) ไข่ไก่ 12 ฟอง ราคา 39 บาท ไข่เป็ ด 6 ฟอง ราคา 21 บาท ถ้ าซืออย่างละ 10
ฟอง จะต้ องจ่ายเงินกีบาท
ตอบ ……………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 9 ………………………………………….

(9) มีนําปลา 16.5 ลิตร แบ่งใส่ขวดๆละ 1.5 ลิตร และขายไปขวดละ 20.50 บาท จะได้
เงินทังหมดกีบาท
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(9) สมพล วิงได้ ไกลชัวโมงละ 1.24 กิโลเมตร ถ้ าเขาวิงนาน 1 ชัวโมงครึง จะได้ ระยะทาง
เท่าไร
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(10) วินยั ซือสมุด 4 เล่ม ราคาเล่มละ 11.25 บาท และซือปากกา 3 ด้ าม ราคาด้ ามละ
8.75 บาท ให้ ธนบัตรฉบับละร้ อยบาท 1 ฉบับ จะได้ รับเงินทอนกีบาท

ตอบ ……………………………………………………………………………………
(11) คุณพ่อขับรถจากกรุงเทพฯไปโคราชเป็ นระยะทาง 350 กิโลเมตร และคุณพ่อเคย
คํานวณดูวา่ นํามัน 1 ลิตร จะแล่นไปได้ ไกล 12.5 กิโลเมตร คุณพ่อจะต้ องเสียค่านํามัน
กีบาท ถ้ านํามันราคาลิจรละ 26.15 บาท
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(12) กระดาษรูปสีเหลียมผืนผ้ า กว้ าง 45.5 เซนติเมตร และ ยาว 60.75 เซนติเมตร ถ้ าตัด
กระดาษทีมุมทังสีออกเป็ นรูปสีเหลียมจัตรุ ัส ยาว 5.25 เซนติเมตร จงหาพืนทีของ
กระดาษทีเหลือจากการตัดมุม
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(13) นายแก้ ว ขับรถเดินทางเป็ นระยะทาง 1390 กิโลเมตร ในการเดินทางครังนีต้ องเติม
นํามัน 3 ครัง จํานวน 35.5 ลิตร 41.7 ลิตร และ 30.3 ลิตร เมือถึงทีหมาย นํามัน
หมดพอดี จงหาว่าโดยเฉลียแล้ วนํามัน 1 ลิตร จะเดินทางได้ กีกิโลเมตร
(คิดเป็ นทศนิยม 2 ตําแหน่ง)
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(14) แจ็บ ขับรถได้ ระยะทาง 320 กิโลเมตร ในเวลา 3 ชัวโมง 30 นาที
(1) ถ้ า แจ็บ ขับได้ ระยะทาง 450 กิโลเมตร เขาจะต้ องใช้ เวลาขับนานเท่าไร
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(2) ถ้ านาย แจ็บ ขับนาน 2 ชัวโมง 18 นาที เขาขับได้ ระยะทางกีกิโลเมตร

ตอบ ……………………………………………………………………………………
(3) จงหาความเร็วเฉลียของการขับรถของนาย แจ็บ

ตอบ ……………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 10 ………………………………………….

(15) ถ้ านําหนักบนดาวพฤหัสบดีเป็ น 0.05 เท่าของนําหนักบนดวงจันทร์ และนําหนักบนดวง


จันทร์เป็ น 0.155 เท่าของนําหนักบนโลก
(1) วัตถุชินหนึงชังบนดาวพฤหัสบดีหนัก 25 กิโลกรัม 800 กรัม
จงหาวัตถุนีมีนําหนักเท่าไรบนพืนโลก (ตอบเป็ นจํานวนเต็มกิโลกรัม)
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(2) วัตถุชินหนึงชังบนดวงจันทร์ หนัก 100 กิโลกรัม

จงหาวัตถุนีมีนําหนักเท่าไรดาวพฤหัสบดีและบนโลกต่างกันกีกิโลกรัม
(ตอบเป็ นจํานวนเต็มกิโลกรัม)
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(3) นําหนักบนดาวพฤหัสบดีหนักเป็ นกีเท่าของนําหนักบนพืนโลก

ตอบ ……………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)

You might also like