You are on page 1of 44

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

รายวิชาคณิตศาสตร์ 2 รหัสวิชา ค31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4


หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนและการจัดหมู่ จำนวน 10 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีทสี่ ิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด(1) จำนวน 2 ชั่วโมง

วันที่/เดือน/ปี................................................ ผู้สอน นางสาวอุษา ภิรมย์รักษ์

สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 3 : สถิติและความน่าจะเป็น
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด ม.4/1 เข้าใจและใช้ หลักการบวกและการคู ณ การเรียงสับเปลี ่ยน และการจัดหมู่ ในการ
แก้ปัญหา
สาระสำคัญ
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น หมายถึง การจัดเรียงสิ่งของโดยมีลักษณะเป็นแถว โดยสามารถ กำหนด
ตำแหน่งหัวแถวและท้ายแถวได้
การเรียงสับเปลี่ยนแบบเชิงเส้นของสิ่ง ของที่แตกต่างกั นทั้งหมด ถ้ามีสิ่งของ n สิ่งที่แตกต่าง กัน
ทั้งหมด จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น เท่ากับ n! วิธี
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ผู้เรียนสามารถอธิบายการเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทัง้ หมดได้ (K)
2. ผู้เรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาการเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมดได้ (P)
3. ผู้เรียนสามารถบอกประโยชน์ของการเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมดได้ (A)
สาระการเรียนรู้
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น หมายถึง การจัดเรียงสิ่ง ของโดยมีลักษณะเป็นแถว โดยสามารถกำหนด
ตำแหน่งหัวแถวและท้ายแถวได้
สูตรที่ 1 การเรียงสับเปลี่ยนแบบเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด
ถ้ามีสิ่งของ n สิ่งที่แตกต่ างกันทั ้ง หมด ตำแหน่งที่จะจั ดเรียงอัน ดั บของสิ่ง ของเหล่ านี้ มี
ทั้งหมด n ตำแหน่ง
ตำแหน่งที่ 1 จัดได้ n วิธี
ตำแหน่งที่ 2 จัดได้ n-1 วิธี
ตำแหน่งที่ 3 จัดได้ n-2 วิธี
.
.
.
ตำแหน่งที่ n จัดได้ 1 วิธี
โดยหลักการคูณ จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของต่างกัน n สิ่ง เท่ากับ
n x (n-1) x (n-2) x ... x 3 x 2 x 1 = n! วิธี
ดังนั้น จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของต่างกัน n สิ่ง เท่ากับ n! วิธี
ซึ ่ ง มี 2 วิธี คือ 1) การเรียงสิ่ง ของแบบไม่ มี เ งื่ อ นไข และ 2) การเรี ย งสิ ่ ง ของที ่ ต้ องการติ ด กัน มี
รายละเอียด ดังนี้
1) การเรียงสิ่งของแบบไม่มีเงื่อนไข
สถานการณ์ปัญหาที่ 1 เด็กชาย 3 คน ยืนลังเลอยู่ที่เก้าอี้ 3 ตัว จะมีวิธีที่จะจัดเด็กเข้านั่ง ประจำเก้าอี้
ได้กี่วิธี
วิธีทำ การเรียงสับเปลี่ยนแบบเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมดคือ 3! วิธี
ตอบ การเรียงสับเปลี่ยนแบบเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมดคือ 6 วิธี
2) การเรียงสิ่งของที่ต้องการติดกัน
การเรียงสิ่งของที่ต้องการติดกัน มีหลักการดังนี้
ขั้นที่ 1 จัดกลุ่มสิ่งของที่ต้องการอยู่ด้วยกันให้ถือเป็นของ 1 สิ่งแล้วนำไปรวมกับสิ่งของอื่น ๆ แล้ว
นำไปจัดเรียง
ขั้นที่ 2 ทำการจัดเรียงภายในสิ่งของที่จัดกลุ่มไว้ (ที่ติดกัน)
สถานการณ์ปัญหาที่ 2 สามีภรรยาคู่หนึ่ง พร้อมด้วยลูก 4 คนมายืนเรียงแถวยาวเพื่อถ่ายรู ป จะมีวิธี
จัดให้ยืนทั้งหมดกี่วิธีเมื่อพ่อและแม่ยืนติดกัน
วิธีทำ พ่อและแม่ต้องการติดกัน นำพ่อและแม่มาจัดกลุ่มรวมกันแล้วนับเป็น 1
พ่อ แม่ ลูก1 ลูก2 ลูก3 ลูก4
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกับสิ่งของ 5 ชิ้น จะได้ 5! วิธี
สลับเปลี่ยนในมัดของพ่อและแม่ได้ 2! วิธี
ดังนั้น พ่อและแม่ยืนติดกัน 2! 5! วิธี
ตอบ จะมีวิธีจัดให้พ่อและแม่ยืนติดกัน 240 วิธี
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการแก้ปัญหา
2. ความสามารถในการสื่อสาร
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการทำงาน
ชิ้นงาน/ภาระงาน
1. ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทัง้ หมด(1)
2. แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด(1)
การวัดและประเมินผล
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการประเมิน เครื่องมือการประเมิน
เกณฑ์การประเมิน
1. ผู้เรียนสามารถ การใช้คำถามของ คำถามที่ผู้สอนใช้
ผู้เรียนร้อยละ 70
อธิบายการเรียง ผู้สอน สามารถอธิบายการเรียง
สับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่ สับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่
สิ่งของแตกต่างกัน สิ่งของแตกต่างกัน
ทั้งหมดได้ (K) ทั้งหมดได้
2. ผู้เรียนสามารถแก้ ตรวจใบกิจกรรมที่ 1 1. ใบกิจกรรมที่ 1 ผู้เรียนสามารถแก้โจทย์
โจทย์ปัญหาการเรียง และแบบฝึกหัดที่ 1 2. แบบฝึกหัดที่ 1 ปัญหาการเรียง
สับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่ สับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่
สิ่งของแตกต่างกัน สิ่งของแตกต่างกัน
ทั้งหมดได้ (P) ทั้งหมดได้รอ้ ยละ 70 ขึ้น
ไป
3. ผู้เรียนสามารถบอก การใช้คำถามของผู้สอน คำถามที่ผู้สอนใช้ ผู้เรียนร้อยละ 70
ประโยชน์ของการเรียง สามารถบอกประโยชน์
สับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่ ของการเรียงสับเปลี่ยน
สิ่งของแตกต่างกัน เชิงเส้นกรณีที่สิ่งของ
ทั้งหมดได้ (A) แตกต่างกันทั้งหมดได้
4. ผู้เรียนมีความสามารถ ประเมินความสามารถใน แบบประเมิน ผู้เรียนมีความสามารถใน
ในการสื่อสาร การสื่อสารของผู้เรียน ความสามารถใน การสื ่ อ สารผ่ า นเกณฑ์
การสื่อสาร ระดับพอใช้ขึ้นไป
5. ผู้เรียนมีคุณลักษณะ ประเมิน คุณลั กษณะอัน แบบประเมินคุณลักษณะ ผู้เรียนมีคุณ ลักษณะอั น
อันพึงประสงค์ พึงประสงค์ของผู้เรียน อันพึง ประสงค์ พึ ง ประสงค์ ผ ่ า นเกณฑ์
ระดับพอใช้ขึ้นไป
กิจกรรมการเรียนรู้ (การจัดการเรียนรู้แบบการสอนแนะให้รู้คิดร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิด)
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นที่ 1 ขั้นนำเสนอปัญหา
1. ผู้สอนทบทวน เรื่อง แฟกเทอเรียล โดยใช้การถาม-ตอบประกอบการยกตัวอย่าง จากนั้น ผู้สอนให้
ผู้เรียนเล่นเกม เรียงตัวอักษร โดยแบ่งผู้เรียนออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ผู้สอนแบ่งกระดานเป็น สองฝั่งพร้อมทั้ง
เขียนโจทย์ที่ต่างกันให้ทั้ง 2 กลุ่ม เช่น คำว่า “LEARN” และ คำว่า “TEACH” สมาชิก แต่ละกลุ่มช่วยกันเรียง
ตัวอักษรโดยไม่ต้องคำนึงถึงความหมาย จากนั้นส่งตัวแทนออกมาเขียนบน กระดานทีละคน ให้ได้จำนวนมาก
ที่สุด และให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอว่ามีวิธีการคิดอย่างไร และ ร่วมกันอภิปรายทั้งชั้นเรียน จนได้คำตอบ
ทั้งหมดที่ถูกต้อง
2. ผู้สอนนำเสนอปัญหาการเรียงสับเปลี่ยนแบบเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมดซึ่ง เป็นปัญหา
หรือสถานการณ์ในชีวิตจริงกับผู้เรียน 2 สถานการณ์ ดังนี้
สถานการณ์ปัญหาที่ 1 เด็กชาย 3 คน ยืนลังเลอยู่ที่เก้าอี้ 3 ตัว จะมีวิธีที่จะจัดเด็กเข้านั่ง ประจำเก้าอี้
ได้กี่วิธี
สถานการณ์ปัญหาที่ 2 สามีภรรยาคู่หนึ่ง พร้อมด้วยลูก 4 คนมายืนเรียงแถวยาวเพื่อถ่ายรูป จะมีวิธี
จัดให้ยืนทั้งหมดกี่วิธี เมื่อพ่อและแม่ยืนติดกัน
ขั้นที่ 2 ขั้นวิเคราะห์ข้อมูลและแก้ปัญหา
3. ผู้สอนให้ผู้เรียนทั้งชั้นเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้คำตอบที่ถูกต้อง โดยผู้สอนใช้การถามตอบกับ
ผู้เรียนดังนี้
สถานการณ์ปัญหาที่ 1 เด็กชาย 3 คน ยืนลังเลอยู่ที่เก้าอี้ 3 ตัว จะมีวิธีที่จะจัดเด็กเข้านั่ง ประจำเก้าอี้
ได้กี่วิธี
- โจทย์ต้องการถามอะไร (จะมีวิธีที่จะจัดเด็กเข้านั่งประจำเก้าอี้ได้กี่วิธี)
- โจทย์ให้อะไรมาบ้าง (เด็กชาย 3 คน ยืนลังเลอยู่ที่เก้าอี้ 3 ตัว)
- นักเรียนมีวิธีที่จะจัดเด็กเข้านั่งประจำเก้าอี้อย่างไร (เขียนแผนภาพต้นไม้)
- นักเรียนมีวิธีในการหาคำตอบ วิธีอื่นอีกหรือไม่ (ใช้วิธีการวาดภาพกำหนดตำแหน่ง , การ สร้างตาราง,
การเดาคำตอบ)
จากนั้นผู้สอนนำเสนอสถานการณ์ปัญหาที่ 2 ซึ่งเป็นการเรียงสิ่งของที่ต้องการให้ติดกัน ดังนี้
สถานการณ์ปัญหาที่ 2 สามีภรรยาคู่หนึ่ง พร้อมด้วยลูก 4 คนมายืนเรียงแถวยาวเพื่อถ่ายรู ป จะมีวิธี
จัดให้ยืนทั้งหมดกี่วิธีเมื่อพ่อและแม่ยืนติดกัน
ให้ผู้เรียนทั้งชั้นเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้คำตอบที่ถูกต้อง โดยผู้สอนใช้การถาม-ตอบกับ ผู้เรียนดังนี้
- โจทย์ต้องการถามอะไร (จะมีวิธีจัดแถวให้ยืนเพื่อถ่ายรูปทั้งหมดกี่วิธี)
- โจทย์ให้อะไรมาบ้าง (สามีภรรยาคู่หนึ่ง พร้อมด้วยลูก 4 คน)
- จากโจทย์รวมมีคนทั้งหมดกี่คน (6 คน)
- แล้วโจทย์กำหนดเงื่อนไขอะไรเพิ่มเติม (พ่อและแม่ยืนติดกัน)
- นักเรียนจะมีวิธีจัดแถวให้ยืนเพื่อถ่ายรูปอย่างไร (เขียนแผนภาพต้นไม้)
- นักเรียนมีวิธีในการหาคำตอบ วิธีอื่นอีกหรือไม่ (ใช้วิธีการวาดภาพกำหนดตำแหน่ง , การ สร้างตาราง,
การเดาคำตอบ)
4. ผู้สอนนำเสนอปัญหาเพิ่มเติมโดยให้ผู้เรียนทำใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิง เส้นกรณี
ที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด (1) โดยผู้เรียนที่นั่งติดกันจะได้โจทย์ที่แตกต่างกันคนละ 2 ข้อ ซึ่งมีโจทย์ทั้งหมด
ประมาณ 4-5 ชุด
5. เมื่อผู้เรียนแต่ละคนได้โจทย์ปัญหาจากใบกิจกรรมที่1 แล้วผู้สอนให้เวลาผู้เรียนเพื่อทำ ความเข้าใจ
ในปัญหาจากใบกิจกรรมด้วยตนเอง โดยพิจารณาจากสิ่งที่โจทย์ถามและสิ่งที่โจทย์ กำหนดให้ รวมถึงวางแผน
และดำเนินการแก้ปัญหา ซึ่งในขั้นตอนนี้ผู้สอนจะเป็นผู้ตั้งคำถามหรือให้การ ชี้แนะในกรณีที่ผู้เรียนทำกิจกรรม
แล้วไม่สามารถแก้ปัญหาได้และให้คำแนะนำจนมีความแน่ใจว่าผู้เรียน เกิดความเข้าใจและสามารถแก้ปัญหา
นั้น ๆ ได้แล้ว (Think)
6. เมื่อผู้เรียนแต่ละคนได้แนวทางและคำตอบแล้ว ให้ผู้เรียนนำผลที่ได้ไปอภิปรายกับเพื่อ น โดยจับคู่
กันกับเพื่อนที่ได้โจทย์ปัญหาชุดเดียวกัน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดผลัดกันเล่าความคิดหรือ คำตอบของตนให้
เพื่อนฟังจนได้ข้อสรุปที่เห็นพ้องกัน และเตรียมนำเสนอบนกระดานให้เพื่อนในชั้น เรียนฟังเพื่ออภิปรายร่วมกัน
อีกครั้งในชั่วโมงต่อไป (Pair)
ชั่วโมงที่ 2
ขั้นที่ 3 ขั้นรายงานคำตอบและวิธีการแก้ปัญหา
7. ผู้สอนสุ่มผู้เรียน 4-5 คู่ ที่ได้โจทย์ชุดที่แตกต่างกัน ให้นำเสนอคำตอบ วิธีการแก้ปัญหา และความรู้
ที่ได้ของคู่ตนเองให้เพื่อนในชั้นเรียนฟัง ซึ่งในขั้นตอนนี้ผู้สอนจะเป็นผู้เปิดโอกาสให้ผู้เรียน ได้สื่อสารแนวคิดและ
เหตุผลได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการพูด การเขียน หรือการวาดภาพ ซึ่งเป็น แนวทางที่ให้ผู้เรียนเข้าใจตนเอง
ว่ากำลังคิดอะไรและทำอะไร หลังจากนั้นผู้สอนประเมินความคิดและ เหตุผลของผู้เรียน โดยการใช้คำถามถาม
เหตุผลเพื่อให้ผู้เรียนแสดงแนวคิดออกมา (Share)
ขั้นที่ 4 ขั้นอภิปรายคำตอบและวิธีการที่ใช้
8. ผู้เรียนทั้งชั้นช่วยกันอภิปรายถึงคำตอบและวิธีการที่แตกต่าง โดยผู้สอนจะเป็นผู้นำให้เกิด การ
อภิปรายโดยใช้การถาม-ตอบกับผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนทั้งชั้นร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ดังนี้
- วิธีที่เพื่อนนำเสนอถูกต้องหรือไม่ และนักเรียนมีวิธีในการหาคำตอบ วิธีอื่นอีกหรือไม่ (การวาดภาพ
กำหนดตำแหน่ง, การสร้างตาราง, การเดาคำตอบ)
- สรุปว่ามีวิธีคิดกี่วิธี ใช้วิธีอะไรบ้าง (4 วิธี ได้แก่ เขียนแผนภาพต้นไม้, การวาดภาพ กำหนดตำแหน่ง,
การสร้างตาราง, การเดาคำตอบ)
- นักเรียนคิดว่าใช้วิธีอะไรง่ายและสะดวกที่สุด (การวาดภาพกำหนดตำแหน่ง)
9. ผู้สอนให้ผู้เรียนช่วยกันสรุปวิธีแก้โจทย์ปัญหาที่ใช้การเรียงสับเปลี่ยนแบบเชิงเส้นในการ แก้ปัญหา
โดยผู้สอนใช้การถาม-ตอบกับผู้เรียน ดังนี้
- จากการแก้ปัญหาโดยใช้การวาดภาพกำหนดตำแหน่ ง นั ก เรี ยนคิ ดว่ ามี ความสั มพัน ธ์ กั บ เรื่อง
แฟกเทอเรียล อย่างไร (ถ้ามีสิ่งของ n สิ่งที่แตกต่างกันทั้งหมด ตำแหน่งที่จะจัดเรียงอันดับของสิ่งของเหล่านี้ มี
ทั้งหมด n ตำแหน่ง
ตำแหน่งที่ 1 จัดได้ n วิธี
ตำแหน่งที่ 2 จัดได้ n-1 วิธี
ตำแหน่งที่ 3 จัดได้ n-2 วิธี
.
.
.
ตำแหน่งที่ n จัดได้ 1 วิธี
โดยหลักการคูณจำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของต่างกัน n สิ่ง เท่ากับ n x (n-1) x (n-2) x
... x 3 x 2 x 1 = n! วิธี
ดังนั้น สูตร จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของต่างกัน n สิ่ง เท่ากับ n! วิธี)
และให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกัน ทั้งหมด(1)
โดยใช้สูตร จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของต่างกัน n สิ่ง เท่ากับ n! วิธี
สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
1. ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด(1)
2. แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด(1)
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรค
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ………………………………………….. ผู้สอน
( นางสาวอุษา ภิรมย์รักษ์ )
ใบกิจกรรมที่ 1
เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด (1)
คำชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาสถานการณ์ปัญหาที่กำหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทัง้ เขียนแสดงแนวคิดในการหา
คำตอบ

สถานการณ์ปัญหาที่ 1
จะจัดเรียงตัวอักษรในคำว่า “PICTURE” ได้กี่วิธี โดยไม่ต้องคำนึงถึงความหมาย

ขั้นทำความเข้าใจปัญหา
สิ่งที่โจทย์ถาม .......................................................................................................................
สิ่งที่โจทย์กำหนดให้ .......................................................................................................................
ขั้นวางแผนแก้ปัญหา
วิธีการแก้ปัญหา ...................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ขั้นดำเนินการแก้ปัญหา
แสดงวิธีการแก้ปัญหา ........................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ขั้นตรวจสอบผล
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
สถานการณ์ปัญหาที่ 2
มีหนังสือ 10 เล่ม ที่แตกต่างกัน เป็นหนังสือคณิตศาสตร์ 4 เล่ม เคมี 3 เล่ม ประวัติศาสตร์ 2
เล่ม และภาษาอังกฤษอีก 1 เล่ม ถ้าต้องการจัดเรียงหนังสือบนชั้น โดยให้หนังสือประเภทเดียวกันอยู่ ติดกัน
เสมอจะจัดได้กี่วิธี

ขั้นทำความเข้าใจปัญหา
สิ่งที่โจทย์ถาม .......................................................................................................................
สิ่งที่โจทย์กำหนดให้ .......................................................................................................................
ขั้นวางแผนแก้ปัญหา
วิธีการแก้ปัญหา ...................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ขั้นดำเนินการแก้ปัญหา
แสดงวิธีการแก้ปัญหา ........................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ขั้นตรวจสอบผล
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
แบบฝึกหัดที่ 1
เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด(1)
คำชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาสถานการณ์ปัญหาที่กำหนดให้ต่อไปนี้ พร้อมทัง้ เขียนแสดงแนวคิดในการหา
คำตอบ

1. นำอักษรจากคำว่า “KNIGHT” มาเรียงเป็นคำใหม่ โดยไม่ต้องคำนึงถึงความหมายได้กี่วิธี

ขั้นทำความเข้าใจปัญหา
สิ่งที่โจทย์ถาม .......................................................................................................................................
สิ่งที่โจทย์กำหนดให้ ...............................................................................................................................
ขั้นวางแผนแก้ปัญหา
สูตรที่ใช้ .................................................................................................................................................
เหตุผลที่เลือกใช้ ...................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ขั้นดำเนินการแก้ปัญหา
แสดงวิธีการแก้ปัญหา ........................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ขั้นตรวจสอบผล
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
2. รถโดยสารประจำทางคันหนึ ่ง มีท ี่ นั ่งว่ างอยู ่ 5 ที ่ น ั ่ ง ถ้ ามี ผู ้ โดยสารขึ้ นมา 5 คน อยากทราบว่า
ผู้โดยสารทั้ง 5 คน จะมีวิธีเลือกที่นั่งเหล่านั้นได้กี่วิธี

ขั้นทำความเข้าใจปัญหา
สิ่งที่โจทย์ถาม .......................................................................................................................................
สิ่งที่โจทย์กำหนดให้ ...............................................................................................................................
ขั้นวางแผนแก้ปัญหา
สูตรที่ใช้ .................................................................................................................................................
เหตุผลที่เลือกใช้ ...................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ขั้นดำเนินการแก้ปัญหา
แสดงวิธีการแก้ปัญหา ........................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ขั้นตรวจสอบผล
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
3. มีหนังสือคณิตศาสตร์ต่างกัน 2 เล่ม หนังสือภาษาไทยต่างกัน 3 เล่ม และหนังสือภาษาอัง กฤษ
ต่างกัน 4 เล่ม ถ้าต้องการนำหนังสือทั้งหมดมาวางเรียงบนชั้นวางหนังสือชั้นโดยให้หนังสือภาษาไทยอยู่ติด กัน
จะทำได้ทั้งหมดกี่วิธี

ขั้นทำความเข้าใจปัญหา
สิ่งที่โจทย์ถาม .......................................................................................................................................
สิ่งที่โจทย์กำหนดให้ ...............................................................................................................................
ขั้นวางแผนแก้ปัญหา
สูตรที่ใช้ .................................................................................................................................................
เหตุผลที่เลือกใช้ ...................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ขั้นดำเนินการแก้ปัญหา
แสดงวิธีการแก้ปัญหา ........................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ขั้นตรวจสอบผล
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
4. มีนักเรียนชาย 3 คนและมีนักเรียนหญิง 2 คน รวมกับครู 1 คน ยืนถ่ายรูปหมู่เป็นแถวตรงหนึ่งแถว
จงหาจำนวนวิธีในการยืนถ่ายรูป เมื่อนักเรียนหญิงยืนติดกัน

ขั้นทำความเข้าใจปัญหา
สิ่งที่โจทย์ถาม .......................................................................................................................................
สิ่งที่โจทย์กำหนดให้ ...............................................................................................................................
ขั้นวางแผนแก้ปัญหา
สูตรที่ใช้ .................................................................................................................................................
เหตุผลที่เลือกใช้ ...................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ขั้นดำเนินการแก้ปัญหา
แสดงวิธีการแก้ปัญหา ........................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ขั้นตรวจสอบผล
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
แบบประเมินความสามารถในการสื่อสาร
รายวิชา............................................................... รหัสวิชา........................................ชั้น............................
คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ความเข้าใจของ ตนเอง โดยใช้


มีความสามารถในการรับ – ส่ง

ถ่ายทอด ความรู้ ความคิด


มีความสามารถในการ

ภาษาอย่างเหมาะสม
ผลการ
รวม
เลขที่ ชื่อ-สกุล ประเมิน

สาร
4 4 8
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
37
36
35
34
33
32
31
30
29
28
27
26
25
24
23
เลขที่

รวม
ร้อยละ
ชื่อ-สกุล

มีความสามารถในการรับ – ส่ง
4

สาร
มีความสามารถในการ
ถ่ายทอด ความรู้ ความคิด
4

ความเข้าใจของ ตนเอง โดยใช้


คุณลักษณะอันพึงประสงค์

ภาษาอย่างเหมาะสม
8
รวม
ผลการ
ประเมิน
เกณฑ์การประเมินคุณภาพ (Rubric)
ความสามารถ ระดับคุณภาพ
ในการสื่อสาร ดีมาก (4) ดี(3) พอใช้(2) ควรปรับปรุง (1)
1. มีความสามารถ อธิบายแนวคิด อธิบายแนวคิดของ อธิบายแนวคิดของ อธิบายแนวคิด
ในการรับ – ส่งสาร ของตนเอง อย่าง ตนเองอย่างชัดเจน ตนเองอย่าง ของตนเองไม่
ชัดเจนและ และยอมรับฟัง ชัดเจนและ ชัดเจนและไม่
ยอมรับฟังความ ความคิดเห็นของ ยอมรับฟังความ ยอมรับฟังความ
คิดเห็น ของผู้อื่น ผู้อื่นบ่อยครั้ง คิดเห็นของผู้อื่น คิดเห็นของผู้อื่น
เสมอ บางครั้ง
2. มีความสามารถ สามารถถ่ายทอด สามารถถ่ายทอด สามารถถ่ายทอด ไม่สามารถ
ในการถ่ายทอด ความรู้ ความคิด ความรู้ ความคิด ความรู้ ความคิด ถ่ายทอดความรู้
ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ โดย ความเข้าใจ โดยใช้ ความเข้าใจ โดยใช้ ความคิด ความ
ความเข้าใจของ ใช้การพูดและการ การพูดและการ การพูดและการ เข้าใจ โดยใช้การ
ตนเอง โดยใช้การ เขียนสัญลักษณ์ เขียนสัญลักษณ์ เขียนสัญลักษณ์ พูดและการเขียน
พูดและการเขียน อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง สัญลักษณ์ได้
สัญลักษณ์อย่าง เหมาะสมทั้งหมด เหมาะสมบ่อยครั้ง เหมาะสมบางครั้ง
ถูกต้องเหมาะสม

การแปลผล ใช้เกณฑ์ดังนี้
คะแนน 8 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 6-7 หมายถึง ดี
คะแนน 4-5 หมายถึง พอใช้
คะแนน 2-3 หมายถึง ควรปรับปรุง
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รายวิชา............................................................... รหัสวิชา........................................ชั้น...........................
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการ
รวม
เลขที่ ชื่อ-สกุล ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน ประเมิน
4 4 8
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการ
รวม
เลขที่ ชื่อ-สกุล ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน ประเมิน
4 4 8
29
30
31
32
33
34
35
36
37
รวม
ร้อยละ
เกณฑ์การประเมินคุณภาพ (Rubric)
ความสามารถ ระดับคุณภาพ
ในการสื่อสาร ดีมาก (4) ดี(3) พอใช้(2) ควรปรับปรุง (1)
1. ใฝ่เรียนรู้ เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียนและ
ตั้งใจเรียน เอาใจ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ไม่มีส่วนร่วมในการ
ใส่ในการเรียน ในการเรียน และมี ในการเรียน และมี เรียนรู้
และมีส่วนร่วมใน ส่วนร่วมในการ ส่วนร่วมในการ
การเรียนรู้เป็น เรียนรู้บ่อยครั้ง เรียนรู้บางครั้ง
ประจำ
2. มุ่งมั่นในการ ตั้งใจและ ตั้งใจและ ตั้งใจและ ไม่ตั้งใจและไม่
ทำงาน รับผิดชอบในการ รับผิดชอบในการ รับผิดชอบในการ รับผิดชอบในการ
ปฏิบัติหน้าที่ที่ ปฏิบัติหน้าที่ที่ ปฏิบัติหน้าที่ที่ ปฏิบัติหน้าที่ที่
ได้รับมอบหมาย ได้รับมอบหมายให้ ได้รับมอบหมายให้ ได้รับมอบหมาย
ให้ สำเร็จมีการ สำเร็จมีการ สำเร็จมีการ
ปรับปรุงและ ปรับปรุงและ ปรับปรุงและ
พัฒนาการทำงาน พัฒนาการทำงาน พัฒนาการทำงาน
ให้ดีขึ้นภายใน ให้ดบี ่อยครั้ง ให้ดบี างครั้ง
เวลาที่กำหนด

การแปลผล ใช้เกณฑ์ดังนี้
คะแนน 8 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 6-7 หมายถึง ดี
คะแนน 4-5 หมายถึง พอใช้
คะแนน 2-3 หมายถึง ควรปรับปรุง
แผนการจัดการเรียนรู้
รหัสวิชา ค 31102 รายวิชาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยน และการจัดหมู่ จำนวน 10 ชั่วโมง
หน่วยย่อยที่ 2.1 เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด (1) จำนวน 1 ชั่วโมง
ผู้สอน นางสาวศิรภัสสร ชมภู วันที่ .......... เดือน ....................... พ.ศ. ................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 3 สถิติ และความน่าจะเป็น
มาตรฐานการเรียนรู้ ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัด ค 3.1 ม.4/2 เข้าใจ และใช้หลักการบวก และการคูณ การเรียงสับเปลี่ยน และการจัดหมู่ใน
การแก้ปัญหา
2. สาระสำคัญ
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น หมายถึง การจัดเรียงสิ่งของโดยมีลักษณะเป็นแถว โดยสามารถกำหนด
ตำแหน่งหัวแถว และท้ายแถวได้ การเรียงสับเปลี่ยนแบบเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด ถ้ามีสิ่งของ n
สิ่งที่แตกต่างกันทั้งหมด จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น เท่ากับ n! วิธี
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายการเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมดได้ (K)
2. นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหาการเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมดได้ (P)
3. นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และทำงานที่ได้รับมอบหมายสำเร็จ (A)
4. สาระการเรียนรู้
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น หมายถึง การจัดเรียงสิ่งของโดยมีลักษณะเป็นแถว โดยสามารถกำหนด
ตำแหน่งหัวแถว และท้ายแถวได้
สูตรที่ 1 การเรียงสับเปลี่ยนแบบเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด
ถ้ามีสิ่งของ n สิ่งที่แตกต่ างกันทั ้ง หมด ตำแหน่งที่จะจั ดเรียงอัน ดั บของสิ่ง ของเหล่ านี้ มี
ทั้งหมด n ตำแหน่ง
ตำแหน่งที่ 1 จัดได้ n วิธี
ตำแหน่งที่ 2 จัดได้ n-1 วิธี
ตำแหน่งที่ 3 จัดได้ n-2 วิธี
.
.
.
ตำแหน่งที่ n จัดได้ 1 วิธี
โดยหลักการคูณ จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของต่างกัน n สิ่ง เท่ากับ
n x (n-1) x (n-2) x ... x 3 x 2 x 1 = n! วิธี
ดังนั้น จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของต่างกัน n สิ่ง เท่ากับ n! วิธี
ซึ ่ ง มี 2 วิธี คือ 1) การเรียงสิ่ง ของแบบไม่ มี เ งื่ อ นไข และ 2) การเรี ย งสิ ่ ง ของที ่ ต้ องการติ ด กัน มี
รายละเอียด ดังนี้
1) การเรียงสิ่งของแบบไม่มีเงื่อนไข
สถานการณ์ปัญหาที่ 1 เด็กชาย 3 คน ยืนลังเลอยู่ที่เก้าอี้ 3 ตัว จะมีวิธีที่จะจัดเด็กเข้านั่ง ประจำเก้าอี้
ได้กี่วิธี
วิธีทำ การเรียงสับเปลี่ยนแบบเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมดคือ 3! วิธี
ตอบ การเรียงสับเปลี่ยนแบบเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมดคือ 6 วิธี
2) การเรียงสิ่งของที่ต้องการติดกัน
การเรียงสิ่งของที่ต้องการติดกัน มีหลักการดังนี้
ขั้นที่ 1 จัดกลุ่มสิ่งของที่ต้องการอยู่ด้วยกันให้ถือเป็นของ 1 สิ่งแล้วนำไปรวมกับสิ่งของอื่น ๆ แล้วนำไป
จัดเรียง
ขั้นที่ 2 ทำการจัดเรียงภายในสิ่งของที่จัดกลุ่มไว้ (ที่ติดกัน)
สถานการณ์ปัญหาที่ 2 สามีภรรยาคู่หนึ่ง พร้อมด้วยลูก 4 คนมายืนเรียงแถวยาวเพื่อถ่ายรูป จะมีวิธีจัด
ให้ยืนทั้งหมดกี่วิธีเมื่อพ่อ และแม่ยืนติดกัน
วิธีทำ พ่อ และแม่ต้องการติดกัน นำพ่อ และแม่มาจัดกลุ่มรวมกันแล้วนับเป็น 1
พ่อ แม่ ลูก1 ลูก2 ลูก3 ลูก4
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกับสิ่งของ 5 ชิ้น จะได้ 5! วิธี
สลับเปลี่ยนในมัดของพ่อ และแม่ได้ 2! วิธี
ดังนั้น พ่อ และแม่ยืนติดกัน 2! 5! วิธี
ตอบ จะมีวิธีจัดให้พ่อ และแม่ยืนติดกัน 240 วิธี
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน
6. สมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (โดยการจัดการเรียนรู้แบบการสอนแนะให้รู้คิดร่วมกับเทคนิคเพื่อนคู่คิด)
ขั้นที่ 1 ขั้นนำเสนอปัญหา
1. ผู้สอนทำการเช็คชื่อโดยการเช็คสลับระหว่างเลขที่หน้าสุด และหลังสุด ไปจนครบทุกคน จากนั้น
ผู้สอนให้ผู้เรียนเล่นเกม เรียงตัวอักษร โดยแบ่งผู้เรียนออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ผู้สอนแบ่งกระดานเป็นสองฝั่ง
พร้อมทั้งเขียนโจทย์ที่ต่างกันให้ทั้ง 2 กลุ่ม เช่น คำว่า “LEARN” และ คำว่า “TEACH” สมาชิกแต่ละกลุ่ ม
ช่วยกันเรียงตัวอักษรโดยไม่ต้องคำนึงถึงความหมาย จากนั้นส่งตัวแทนออกมาเขียนบนกระดานที ละคน ให้ได้
จำนวนมากที่สุด โดยผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอว่ามีวิธีการคิดอย่างไร และร่วมกันอภิปรายทั้งชั้นเรียนจนได้
คำตอบทั้งหมดที่ถูกต้อง
2. ผู้สอนนำเสนอปัญหาการเรียงสับเปลี่ยนแบบเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมดซึ่ง เป็ นปั ญหา
หรือสถานการณ์ในชีวิตจริงกับผู้เรียน 2 สถานการณ์ ดังนี้
สถานการณ์ปัญหาที่ 1 เด็กชาย 3 คน ยืนลังเลอยู่ที่เก้าอี้ 3 ตัว จะมีวิธีที่จะจัดเด็กเข้านั่ง ประจำเก้ าอี้
ได้กี่วิธี
สถานการณ์ปัญหาที่ 2 สามีภรรยาคู่หนึ่ง พร้อมด้วยลูก 4 คนมายืนเรียงแถวยาวเพื่อถ่ายรูป จะมีวิธีจัด
ให้ยืนทั้งหมดกี่วิธี เมื่อพ่อและแม่ยืนติดกัน
ขั้นที่ 2 ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล และแก้ปัญหา
3. ผู้สอนให้ผู้เรียนทั้งชั้นเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้คำตอบที่ถูกต้อง โดยผู้สอนใช้การถามตอบกับ
ผู้เรียนดังนี้
สถานการณ์ปัญหาที่ 1 เด็กชาย 3 คน ยืนลังเลอยู่ที่เก้าอี้ 3 ตัว จะมีวิธีที่จะจัดเด็กเข้านั่ง ประจำเก้ าอี้
ได้กี่วิธี
- โจทย์ต้องการถามอะไร (จะมีวิธีที่จะจัดเด็กเข้านั่งประจำเก้าอี้ได้กี่วิธี)
- โจทย์ให้อะไรมาบ้าง (เด็กชาย 3 คน ยืนลังเลอยู่ที่เก้าอี้ 3 ตัว)
- นักเรียนมีวิธีที่จะจัดเด็กเข้านั่งประจำเก้าอี้อย่างไร (เขียนแผนภาพต้นไม้)
- นักเรียนมีวิธีในการหาคำตอบวิธีอื่นอีกหรือไม่ (ใช้วิธีการวาดภาพกำหนดตำแหน่ง, การ สร้างตาราง,
การเดาคำตอบ)
จากนั้นผู้สอนนำเสนอสถานการณ์ปัญหาที่ 2 ซึ่งเป็นการเรียงสิ่งของที่ต้องการให้ติดกัน ดังนี้
สถานการณ์ปัญหาที่ 2 สามีภรรยาคู่หนึ่ง พร้อมด้วยลูก 4 คนมายืนเรียงแถวยาวเพื่อถ่ายรูปจะมีวิธีจัด
ให้ยืนทั้งหมดกี่วิธีเมื่อพ่อ และแม่ยืนติดกัน
ให้ผู้เรียนทั้งชั้นเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้คำตอบที่ถูกต้อง โดยผู้สอนใช้การถาม – ตอบ กับผู้เรียน
ดังนี้
- โจทย์ต้องการถามอะไร (จะมีวิธีจัดแถวให้ยืนเพื่อถ่ายรูปทั้งหมดกี่วิธี)
- โจทย์ให้อะไรมาบ้าง (สามีภรรยาคู่หนึ่ง พร้อมด้วยลูก 4 คน)
- จากโจทย์รวมมีคนทั้งหมดกี่คน (6 คน)
- แล้วโจทย์กำหนดเงื่อนไขอะไรเพิ่มเติม (พ่อ และแม่ยืนติดกัน)
- นักเรียนจะมีวิธีจัดแถวให้ยืนเพื่อถ่ายรูปอย่างไร (เขียนแผนภาพต้นไม้)
- นักเรียนมีวิธีในการหาคำตอบวิธีอื่นอีกหรือไม่ (ใช้วิธีการวาดภาพกำหนดตำแหน่ง , การสร้างตาราง,
การเดาคำตอบ)
4. ผู้สอนนำเสนอปัญหาเพิ่มเติมโดยให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณี
ที่สิ่งของแตกต่างกันทัง้ หมด (1)
5. เมื่อผู้เรียนแต่ละคนได้โจทย์ปัญหาจากแบบฝึกหัดที่ 1 ผู้สอนให้เวลาผู้เรียนเพื่อทำความเข้าใจใน
ปั ญหาจากแบบฝึ ก หั ด ด้วยตนเอง โดยพิ จารณาจากสิ ่ง ที ่ โจทย์ถาม สิ ่ ง ที ่ โจทย์ ก ำหนดให้ รวมถึ ง วางแผน
ดำเนินการแก้ปัญหา ซึ่งในขั้นตอนนี้ผู้สอนจะเป็นผู้ตั้งคำถามหรือให้การชี้แนะในกรณีที่ผู้เรียนทำกิ จกรรมแล้ ว
ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ และให้คำแนะนำจนมีความแน่ใจว่าผู้เรียนเกิดความเข้าใจ สามารถแก้ไขปัญหานั้น ๆ
ได้แล้ว (Think)
6. เมื่อผู้เรียนแต่ละคนได้แนวทาง และคำตอบแล้ว ให้ผู้เรียนนำผลที่ได้ไปอภิปรายกับเพื่อน โดยจับคู่
กันกับเพื่อนที่นั่งข้างกัน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดผลัดกันเล่าความคิด หรือคำตอบของตนให้ เพื่อนฟังจนได้
ข้อสรุปที่เห็นพ้องกัน และเตรียมนำเสนอบนกระดานให้เพื่อนในชั้นเรียนฟังเพื่ออภิปรายร่วมกัน (Pair)
ขั้นที่ 3 ขั้นรายงานคำตอบ และวิธีการแก้ปัญหา
7. ผู้สอนสุ่มผู้เรียน 4 - 5 คู่ ให้นำเสนอคำตอบ วิธีการแก้ปัญหา และความรู้ที่ได้ของคู่ตนเองให้เพื่อน
ในชั้นเรียนฟัง ซึ่งในขั้นตอนนี้ผู้สอนจะเป็นผู้เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สื่อสารแนวคิด และเหตุผลได้หลากหลาย ไม่
ว่าจะเป็นการพูด การเขียน หรือการวาดภาพ ซึ่งเป็นแนวทางที่ให้ผู้เรียนเข้าใจตนเองว่ากำลังคิดอะไร และทำ
อะไร หลังจากนั้นผู้สอนประเมินความคิด และเหตุผลของผู้เรียน โดยการใช้คำถามถามเหตุผลเพื่อให้ผู้เรียน
แสดงแนวคิดออกมา (Share)
ขั้นที่ 4 ขั้นอภิปรายคำตอบ และวิธีการที่ใช้
8. ผู้เรียนทั้งชั้นช่วยกันอภิปรายถึงคำตอบ และวิธีการที่แตกต่าง โดยผู้สอนจะเป็นผู้นำให้เกิดการ
อภิปรายโดยใช้การถาม - ตอบกับผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนทั้งชั้นร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ดังนี้
- วิธีที่เพื่อนนำเสนอถูกต้องหรือไม่ และนักเรียนมีวิธีในการหาคำตอบ วิธีอื่ นอีกหรือไม่ (การวาดภาพ
กำหนดตำแหน่ง, การสร้างตาราง, การเดาคำตอบ)
- สรุปว่ามีวิธีคิดกี่วิธี ใช้วิธีอะไรบ้าง (4 วิธี ได้แก่ เขียนแผนภาพต้นไม้, การวาดภาพ กำหนดตำแหน่ง,
การสร้างตาราง, การเดาคำตอบ)
- นักเรียนคิดว่าใช้วิธีอะไรง่าย และสะดวกที่สุด (การวาดภาพกำหนดตำแหน่ง)
9. ผู้สอนให้ผู้เรียนช่วยกันสรุปวิธีแก้โจทย์ปัญหาที่ใช้การเรียงสับเปลี่ยนแบบเชิงเส้นในการแก้ปญ
ั หา
โดยผู้สอนใช้การถาม - ตอบกับผู้เรียน ดังนี้
- จากการแก้ปัญหาโดยใช้การวาดภาพกำหนดตำแหน่ง นักเรียนคิดว่ามีความสัมพันธ์กับเรื่อง แฟก
เทอเรียล อย่างไร (ถ้ามีสิ่งของ n สิ่งที่แตกต่างกันทั้งหมด ตำแหน่งที่จะจัดเรียงอันดับของสิ่งของเหล่านี้ มี
ทั้งหมด n ตำแหน่ง
ตำแหน่งที่ 1 จัดได้ n วิธี
ตำแหน่งที่ 2 จัดได้ n-1 วิธี
ตำแหน่งที่ 3 จัดได้ n-2 วิธี
.
.
.
ตำแหน่งที่ n จัดได้ 1 วิธี
โดยหลักการคูณจำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของต่างกัน n สิ่ง เท่ากับ n x (n-1) x (n-2)
x ... x 3 x 2 x 1 = n! วิธี
ดังนั้น สูตรจำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของต่างกัน n สิ่ง เท่ากับ n! วิธี)
และให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกัน
ทั้งหมด (1) โดยใช้สูตร จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของต่างกัน n สิ่ง เท่ากับ n! วิธี
8. สื่ออุปกรณ์ และแหล่งการเรียนรู้
1. แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทัง้ หมด (1)
2. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด (1)
3. เฉลยแบบฝึกหัด 1 เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทัง้ หมด (1)
4. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด (1)
9. การวัด และประเมินผล

เครื่องมือที่ใช้วัด
ด้านการวัด และการประเมินผล วิธีการวัด เกณฑ์การประเมินผล
และประเมินผล
ด้านความรู้ (K)
นักเรียนสามารถอธิบายถึงการ ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบหลัง
เรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่ หลังเรียน เรื่อง การ
เรียน เรื่อง การ
สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมดได้ เรียงสับเปลี่ยนเชิงเรียงสับเปลี่ยนเชิง
เส้นกรณีที่สิ่งของ เส้นกรณีที่สิ่งของ
แตกต่างกันทั้งหมด แตกต่างกันทั้งหมด
(1) (1) นักเรียนได้คะแนนไม่
ด้านทักษะพิสัย (P) น้อยกว่าร้อยละ 70
นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปัญหา ตรวจแบบฝึกหัดที่ 1 แบบฝึกหัดที่ 1 ของคะแนนเต็ม จึงจะ
การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่ เรื่อง การเรียง เรื่อง การเรียง ถือว่าผ่าน
สิ่งของแตกต่างกันทั้งหมดได้ (P) สับเปลี่ยนเชิงเส้น สับเปลี่ยนเชิงเส้น
กรณีที่สิ่งของ กรณีที่สิ่งของ
แตกต่างกันทั้งหมด แตกต่างกันทั้งหมด
(1) (1)
ด้านจิตพิสัย (A)
นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัด สังเกตพฤติกรรม แบบประเมินด้าน
กิจกรรมการเรียนการสอน และ จิตพิสัย (A)
ทำงานที่ได้รับมอบหมายสำเร็จ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน นักเรียนมีผลประเมินอยู่
2. ใฝ่เรียนรู้ คุณลักษณะอันพึง ในคุณภาพระดับ ดี
3. มุ่งมั่นในการทำงาน ประสงค์ ขึ้นไปจึงจะถือว่าผ่าน

สมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. สังเกตพฤติกรรม 1. แบบประเมิน
2. ความสามารถในการคิด 2. ตรวจใบงาน คุณลักษณะอันพึง
3. ความสามารถในการแก้ไข ประสงค์
ปัญหา 2. ใบงาน
10. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรค
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ………………………………………….. ผู้สอน/ผู้บันทึก
( นางสาวศิรภัสสร ชมภู )
ครูผู้สอน
วันที่..........เดือน.....................พ.ศ.............
แบบบันทึกคะแนนใบงาน
คำชี้แจง : ให้ครูผู้สอนตรวจสอบงานของนักเรียนจากใบงานฝึกทักษะ แล้วบันทึกคะแนนลงในช่องรายการ
ประเมิน และใส่เครื่องหมาย (✓) ลงในช่องรายการประเมินและผลการประเมิน
รายการประเมิน ผลการประเมิน
ข้อสอบหลัง แบบฝึกหัดที่ ผ่าน ไม่ผ่าน
เลขที่ ชื่อ - สกุล

ร้อยละ

ร้อยละ
เรียน 1 (K) 1 (P)
(10 คะแนน) (16 คะแนน) K P K P
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
รายการประเมิน ผลการประเมิน
ข้อสอบหลัง แบบฝึกหัดที่ ผ่าน ไม่ผ่าน
เลขที่ ชื่อ - สกุล

ร้อยละ

ร้อยละ
เรียน 1 (K) 1 (P)
(10 คะแนน) (16 คะแนน) K P K P
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37

เกณฑ์การตัดสิน นักเรียนมีผลการประเมิน ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 จึงจะถือว่าผ่าน

ลงชื่อ………………………………………ผู้สอน/ผู้ประเมิน
(นางสาวศิรภัสสร ชมภู)
ครูผู้สอน
วันที่...........เดือน......................พ.ศ...............
แบบประเมินด้านจิตพิสยั (A)
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนระหว่างเรียน โดยใช้เครื่องหมายถูก (✓) ลงในช่องรายการ
ประเมิน ให้คะแนน 3 = ดีมาก , 2 = ดี , 1 = พอใช้ และ 0 = ปรับปรุง ตามความเป็นจริง
รายการประเมิน ผลการประเมิน
นักเรียนมีส่วนร่วมในการ
เลขที่ ชื่อ-สกุล จัดกิจกรรมการเรียนการ รวม ระดับ
สอน และทำงานที่ได้รับ คะแนน คุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน
มอบหมายสำเร็จ
3 2 1 0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
รายการประเมิน ผลการประเมิน
นักเรียนมีส่วนร่วมในการ
เลขที่ ชื่อ-สกุล จัดกิจกรรมการเรียนการ รวม ระดับ
สอน และทำงานที่ได้รับ คะแนน คุณภาพ ผ่าน ไม่ผ่าน
มอบหมายสำเร็จ
3 2 1 0
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ด้านจิตพิสัย
ระดับ คุณลักษณะที่ปรากฏ
ประเด็นการประเมิน
คุณภาพ
นักเรียนไม่ถามคำถาม ไม่ตอบคำถาม ไม่มีส่วนร่วมในชั้น
0
เรียน และไม่ทำงานที่ได้รับมอบหมาย
นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการ
1 นักเรียนถามคำถาม ตอบคำถาม หรือมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
เรียนการสอน และทำงานที่ได้รับ
2 นักเรียนถามคำถาม ตอบคำถาม และมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
มอบหมายสำเร็จ
นักเรียนถามคำถาม ตอบคำถาม มีส่วนร่วมในชั้นเรียน และ
3
ทำงานที่ได้รับมอบหมายจนสำเร็จ

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ด้านจิตพิสัย
คะแนน 3 คะแนน หมายถึง ระดับ ดีมาก
คะแนน 2 คะแนน หมายถึง ระดับ ดี
คะแนน 1 คะแนน หมายถึง ระดับ พอใช้
คะแนน 0 คะแนน หมายถึง ระดับ ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่านไม่ต่ำกว่าระดับ ดี จึงจะถือว่าผ่าน

ลงชื่อ………………………………………ผู้สอน/ผู้ประเมิน
(นางสาวศิรภัสสร ชมภู)
ครูผู้สอน
วันที่.........เดือน.................…… พ.ศ..........…
แบบประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนระหว่างเรียน โดยใช้เครื่องหมายถูก (✓)
ลงในช่องรายการประเมิน ให้คะแนน 3 = ดีมาก , 2 = ดี , 1 = พอใช้และ 0 = ปรับปรุง ตามความเป็นจริง
รายการประเมิน

รวม 9 คะแนน
ระดับคุณภาพ
เลข มุ่งมั่นในการ
ชื่อ-สกุล มีวินัย ใฝ่เรียนรู้
ที่ ทำงาน
3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
รายการประเมิน

รวม 9 คะแนน
ระดับคุณภาพ
เลข มุ่งมั่นในการ
ชื่อ-สกุล มีวินัย ใฝ่เรียนรู้
ที่ ทำงาน
3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ระดับคะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1 0
มีวินัย ปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ ไม่สามารถ
1. ส่งงานตรงเวลาตามที่กําหนด ครบทุกข้อ 2 ข้อ 1 ข้อ ปฏิบัติได้
2. งานเป็นระเบียบเรียบร้อย
3. ปฏิบัติตามข้อตกลงของห้องเรียน
ใฝ่เรียนรู้ ปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ ไม่สามารถ
1. มีความกระตือรือร้นในการเรียน ครบทุกข้อ 2 ข้อ 1 ข้อ ปฏิบัติได้
2. ตั้งใจเรียน
3. มีส่วนร่วมทํากิจกรรมในชั้นเรียน
มุ่งมั่นในการทำงาน ปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ ไม่สามารถ
1. รับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ครบทุกข้อ 2 ข้อ 1 ข้อ ปฏิบัติได้
2. มีการปรับปรุง และพัฒนาการทำงานให้ดีขึ้น
3. ตั้งใจทํางานที่ได้รับมอบหมายให้สําเร็จ

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
คะแนน 7 – 9 คะแนน หมายถึง ระดับ ดี
คะแนน 4 – 6 คะแนน หมายถึง ระดับ พอใช้
คะแนน 0 – 3 คะแนน หมายถึง ระดับ ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่านไม่ต่ำกว่าระดับ ดี จึงจะถือว่าผ่าน

ลงชื่อ………………………………………ผู้สอน/ผู้ประเมิน
(นางสาวศิรภัสสร ชมภู)
ครูผู้สอน
วันที่.........เดือน.................…… พ.ศ..........……
แบบประเมินด้านสมรรถนะสำคัญ
คำชี้แจง : ให้ผู้ประเมินแบบประเมินด้านสมรรถนะสำคัญ โดยใช้เครื่องมายถูก (✓) ตามลำดับของคะแนน
นักเรียน ให้คะแนน 3 = ดีมาก , 2 = ดี , 1 = พอใช้ และ 0 = ปรับปรุง ตามความเป็นจริง
รายการประเมิน

รวม 9 คะแนน
ระดับคุณภาพ
ความสามารถ
ความสามารถ ความสามารถ
เลขที่ ชื่อ-สกุล ในการแก้ไข
ในการสื่อสาร ในการคิด
ปัญหา
3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
รายการประเมิน

รวม 9 คะแนน
ระดับคุณภาพ
ความสามารถ
ความสามารถ ความสามารถ
เลขที่ ชื่อ-สกุล ในการแก้ไข
ในการสื่อสาร ในการคิด
ปัญหา
3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
เกณฑ์การประเมินด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ระดับคะแนน
ประเด็นการประเมิน
3 2 1 0
มีความสามารถในการสื่อสาร ปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ ไม่สามารถ
1. ตอบคำถามครูสม่ำเสมอ ครบทุกข้อ 2 ข้อ 1 ข้อ ปฏิบัติได้
2. บอกวิธีการหาคำตอบได้ถูกต้อง
3. สามารถอธิบายให้เพื่อนเข้าใจได้
มีความสามารถในการคิด ปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ ไม่สามารถ
1. รู้เทคนิค และวิธีหาคำตอบ ครบทุกข้อ 2 ข้อ 1 ข้อ ปฏิบัติได้
2. สามารถอธิบายวิธีหาคำตอบได้
3. วางคำตอบในช่องได้ถูกต้องตามที่
หนดได้
ความสามารถในการแก้ไขปัญหา ปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ ไม่สามารถ
1. เขียนแสดงขั้นตอนการทำได้ถูกต้อง ครบทุกข้อ 2 ข้อ 1 ข้อ ปฏิบัติได้
2. สามารถนำความรู้ที่ได้เรียนไปใช้ใน
การทำใบงานได้ถูกต้อง
3. สามารถคิดหาคำตอบได้เป็น
ขั้นตอน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ด้านสมรรถนะสำคัญ
คะแนน 7 – 9 คะแนน หมายถึง ระดับ ดี
คะแนน 4 – 6 คะแนน หมายถึง ระดับ พอใช้
คะแนน 0 – 3 คะแนน หมายถึง ระดับ ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่านไม่ต่ำกว่าระดับ ดี จึงจะถือว่าผ่าน

ลงชื่อ……………………………………..ผู้สอน/ผู้ประเมิน
(นางสาวศิรภัสสร ชมภู)
ครูผู้สอน
วันที่.........เดือน.................…… พ.ศ..........……
าฒ26

แบบทดสอบหลังเรียน
รายวิชาคณิตศาสตร์ omonmppptttsstthtn
เพิแบบทดสอบหลังเรียน
่มเติม 7 รหัสวิชา ค32203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เล่มที่ 3 เรื่อง วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด

คําชี้แจง เลือกคําตอบที่ถูกต้องเพียงคําตอบเดียวเท่านั้นแล้วทําเครื่องหมาย × ลงในกระดาษคําตอบ

ใช้ข้อมูลนี้ตอบคําถามข้อ 1 – 3
6. มีหมวก 4 ใบแตกต่างกัน กระเป๋า 4 ใบ
ตัวอักษรคําว่า ORIENTAL นําอักษรทั้งหมด
แตกต่างกัน กระเป๋า 4 ใบแตกต่างกัน และ
มาจัดเป็นคําใหม่โดยไม่คํานึงถึงความหมาย
เข็มขัด 4 เส้นแตกต่างกัน นํามาจัดเรียง
1. ถ้าไม่มีเงื่อนไขเพิ่มเติม จะมีวิธีในการ บนชั้นได้กี่วิธี เมื่อสลับทีละ 4
จัดตัวอักษรได้กี่วิธี ก. 2! (4!)2 ข. 3! (4!)2
ก. 8 ข. 24 ค. 2! (4!)3 ง. 3! (4!)3
ค. 5,040 ง. 40,320
7. มีลูกบอลสีขาว สีเขียว สีฟ้า และสีชมพู
2. ถ้าพยัญชนะต้องอยู่ติดกัน จะมีวิธีในการ อย่างละ 6 ลูกที่แตกต่างกัน จะจัดวางเรียง
จัดตัวอักษรได้กี่วิธี เป็นแนวตรงได้กี่วิธี โดยสลับทีละ 2 ลูก
ก. 4! 5! ข. 4! P(5, 4) ก. 4! (6!)4 ข. 6! (6!)4
ค. 4! 4! ง. 5! P(5, 4) ค. 4! (6!)3 ง. 6! (6!)3
3. ถ้า O และ A ต้องอยู่ในตําแหน่งคู่ จะมีวิธี 8. จัดนักเรียนชาย 4 คน นักเรียนหญิง 4 คน
ในการจัดตัวอักษรได้กี่วิธี นั่งเป็นแถวตรงได้กี่วิธี โดยสลับทีละ 2 คน
ก. 60,480 ข. 8,640 ก. 2! (4!)4 ข. 4! (2!)4
ค. 1,440 ง. 288 ค. 2! (4!)2 ง. 4! (2!)2
4. ต้องการสร้างคําซึ่งประกอบไปด้วยอักษร 9. ถ้า P(n+3, 6) = 14 P(n+2, 4) แล้ว n
5 ตัวที่ไม่ซ้ํากัน จากตัวอักษรในคําว่า มีค่าตรงกับข้อใด
FRACTION ได้ทั้งหมดกี่คํา โดยคําที่สร้าง ก. 2 ข. 3
ไม่จําเป็นต้องมีความหมาย ค. 4 ง. 5
ก. 120 ข. 336
ค. 6,720 ง. 40,320 10. ถ้ามีธง 5 ผืน ๆ ละ 1 สี นําธงมาผูกเป็น
แถวยาวเพื่อทําเป็นสัญญาณธง แต่ละ
5. จากข้อ 4 ถ้าอักษรตัวแรกต้องเป็น สัญญาณใช้ธงอย่างน้อย 1 ผืน จะทํา
พยัญชนะ จะสร้างได้ทั้งหมดกี่คํา สัญญาณได้ทั้งหมดกี่สัญญาณ
ก. 5 P(8, 4) ข. 5 P(7, 4) ก. 120 ข. 205
ค. 3 P(8, 4) ง. 3 P(7, 4) ค. 320 ง. 325
คล 27

คาราวานคนจน
กระดาษคำตอบหลังเรียน
โรงเรียนตราษตระการคุณ อําเภอเมือง จังหวัดตราด
กระดาษคําตอบก่อนเรียนและหลังเรียน

ชื่อ - สกุล.........………………………………………………........ ชั้น ม. ……/…… เลขที่ ………

คําสั่ง จงเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคําตอบเดียว โดยเขียนเครื่องหมายกากบาท (X)


ลงในกระดาษคำตอบ (จำนวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน

ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10

เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.2
B
34
ม •

คําชี้แจง ให้นักเรียนแสดงแนวคิดการหาคําตอบจากโจทย์ต่อไปนี้
(ข้อย่อยละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 16 คะแนน)

1. จะสร้างคําโดยสลับตัวอักษร MONDAY ได้กี่คํา โดยคําที่สร้างไม่จําเป็นต้องมีความหมาย และ


1) ไม่มีเงื่อนไขใด 2) ลงท้ายด้วยสระ
3) ลงท้ายด้วยพยัญชนะ 4) ขึ้นต้นด้วยสระและลงท้ายด้วยพยัญชนะ

mamammmm
1) 6! = 720 วิธี
2) 5! ×!2 = 120 × 2 = 240 วิธี
3) 5! × 4 = 120 × 4 = 480 วิธี
4) 2 × 4! × 4 = 2 × 24 × 4 = 192 วิธี

2. มีนักเรียน 7 คน ในจํานวนนี้มี ด.ญ.บัว และ ด.ช. เกม รวมอยู่ด้วย ถ้าจัดนักเรียนทั้งหมดนั่งบน


เก้าอี้ที่วางเรียงเป็นแถวยาว 7 ตัว จะมีวิธีการนั่งได้ทั้งหมดกี่วิธี เมื่อ
1) ด.ญ.บัว นั่งตรงกลางเสมอ 2) ด.ช. เกม นั่งหัวแถวเสมอ
3) ด.ญ. บัว และ ด.ช. เกม นั่งติดกัน 4) ด.ญ. บัว และ ด.ช. เกม นั่งแยกกัน

1) 1 × 6! = 720 วิธี
2) 1 × 6! = 720 วิธี
3) 6! × 2! = 720 × 2 = 1,440 วิธี
4) 5! × 6 × 5 = 120 × 30 = 3,600 วิธี

3. ต้องการจัดนักเรียนหญิง 4 คน นักเรียนชาย 5 คน ให้นั่งบนเก้าอี้ที่วางเรียงเป็นแถวยาว 9 ตัว เมื่อ


1) ไม่มีนักเรียนหญิง 2 คนใดเลยนั่งติดกัน 2) ไม่มีนักเรียนชาย 2 คนใดเลยนั่งติดกัน

1) 5! × 6 × 5 × 4 × 3 = 120 × 360 = 43,200 วิธี


2) 4! × 5 × 4 × 3 × 2 × 1 = 4! × 5! = 24 ×!120 =2,880 วิธี

35

4. ต้องการจัดหญิง 3 คน และชาย 4 คน นั่งเป็นแถวตรงได้กี่วิธี เมื่อ


1) ไม่มีเงื่อนไขเพิ่มเติม 2) หญิงนั่งติดกันและชายนั่งติดกัน
3) สุดาและกําพลอยู่ในกลุ่มนี้ด้วย แต่ไม่ต้องการนั่งติดกัน 4) หญิงนั่งแยกกัน
5) ชายนั่งแยกกัน 6) หญิงนั่งติดกัน

1) 7! = 5,040 วิธี
2) 3! 4! 2! = 6 × 24 × 2 = 288 วิธี
3) 5! × 6 × 5 = 120 × 30 = 3600 วิธี
4) 4! × 5 × 4d × 3 = 24 × 60 = 1,440 วิธี
5) 3! × 4 × 3 × 2 × 1 = 6 × 24 = 144 วิธี
6) 5! 3! = 120 × 6 = 720 วิธี

34
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 1.2
.

คําชี้แจง ให้นักเรียนแสดงแนวคิดการหาคําตอบจากโจทย์ต่อไปนี้
(ข้อย่อยละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 16 คะแนน)

1. จะสร้างคําโดยสลับตัวอักษร MONDAY ได้กี่คํา โดยคําที่สร้างไม่จําเป็นต้องมีความหมาย และ


1) ไม่มีเงื่อนไขใด 2) ลงท้ายด้วยสระ
3) ลงท้ายด้วยพยัญชนะ 4) ขึ้นต้นด้วยสระและลงท้ายด้วยพยัญชนะ

1) 6! = 720 วิธี
2) 5! ×!2 = 120 × 2 = 240 วิธี
3) 5! × 4 = 120 × 4 = 480 วิธี
4) 2 × 4! × 4 = 2 × 24 × 4 = 192 วิธี

2. มีนักเรียน 7 คน ในจํานวนนี้มี ด.ญ.บัว และ ด.ช. เกม รวมอยู่ด้วย ถ้าจัดนักเรียนทั้งหมดนั่งบน


เก้าอี้ที่วางเรียงเป็นแถวยาว 7 ตัว จะมีวิธีการนั่งได้ทั้งหมดกี่วิธี เมื่อ
1) ด.ญ.บัว นั่งตรงกลางเสมอ 2) ด.ช. เกม นั่งหัวแถวเสมอ
3) ด.ญ. บัว และ ด.ช. เกม นั่งติดกัน 4) ด.ญ. บัว และ ด.ช. เกม นั่งแยกกัน

1) 1 × 6! = 720 วิธี
2) 1 × 6! = 720 วิธี
3) 6! × 2! = 720 × 2 = 1,440 วิธี
4) 5! × 6 × 5 = 120 × 30 = 3,600 วิธี

3. ต้องการจัดนักเรียนหญิง 4 คน นักเรียนชาย 5 คน ให้นั่งบนเก้าอี้ที่วางเรียงเป็นแถวยาว 9 ตัว เมื่อ


1) ไม่มีนักเรียนหญิง 2 คนใดเลยนั่งติดกัน 2) ไม่มีนักเรียนชาย 2 คนใดเลยนั่งติดกัน

1) 5! × 6 × 5 × 4 × 3 = 120 × 360 = 43,200 วิธี


2) 4! × 5 × 4 × 3 × 2 × 1 = 4! × 5! = 24 ×!120 =2,880 วิธี

35

4. ต้องการจัดหญิง 3 คน และชาย 4 คน นั่งเป็นแถวตรงได้กี่วิธี เมื่อ


1) ไม่มีเงื่อนไขเพิ่มเติม 2) หญิงนั่งติดกันและชายนั่งติดกัน
3) สุดาและกําพลอยู่ในกลุ่มนี้ด้วย แต่ไม่ต้องการนั่งติดกัน 4) หญิงนั่งแยกกัน
5) ชายนั่งแยกกัน 6) หญิงนั่งติดกัน

1) 7! = 5,040 วิธี
2) 3! 4! 2! = 6 × 24 × 2 = 288 วิธี
3) 5! × 6 × 5 = 120 × 30 = 3600 วิธี
4) 4! × 5 × 4 × 3 = 24 × 60 = 1,440 วิธี
5) 3! × 4 × 3 × 2 × 1 = 6 × 24 = 144 วิธี
6) 5! 3! = 120 × 6 = 720 วิธี
⑦ 40

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

mtsermgsspmtmprmmtmmsmm
รายวิชาคณิตศาสตร์เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
เพิ่มเติม 7 รหัสวิชา ค32203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เล่มที่ 3 เรื่อง วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด

1. ง
2. ก
3. ข
4. ค
5. ข
6. ง
7. ก
8. ค
9. ค
10. ง
ดึ่

You might also like