You are on page 1of 59

รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

แบบรายงานการจัดทำสื่อการสอนและการใช้สื่อการสอน
โรงเรียนบ้านห้วยเฮี่ยน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566

ชื่อผู้สอน นางสาวฐิติภา โอบอ้อม ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย


ใช้สอนวิชา ภาษาไทยเพิ่มเติม รหัสวิชา ท 15101 ระดับชั้น ประถม
ศึกษาปี ที่ 5

ชื่อสื่อการสอน เซียมซีสำนวนไทย
ประเภทสื่อ
 สื่อเทคโนโลยี (IT)
 สื่อสิ่งประดิษฐ์
 สื่อสิ่งพิมพ์
 หนังสือ  เอกสาร  แผ่นพับ  โปสเตอร์
 อื่นๆ ระบุ......
หลักการและเหตุผล
เนื่องจากการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยในปั จจุบันยังประสบกับปั ญหา
ไม่สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนโดยเฉพาะวิชาภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 เรื่อง “สำนวน สุภาษิต คำพังเพย” ซึ่งนักเรียน
ส่วนใหญ่ยังเรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ดังนั้น จึงต้องมีการสอน

1
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

เสริมทักษะ แต่วิธีการสอนเสริมทักษะ โดยครูเป็ นผู้บรรยายให้นักเรียนฟั งที่


เป็ นอยู่ในปั จจุบันเป็ นวิธีการที่ทำให้ผู้สอนและผู้เรียน เกิดความเบื่อหน่าย
ครูที่จะสอนเสริมทักษะก็มีไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้เรียน จึงทำให้
การสอนเสริมทักษะไม่ประสบผลสำเร็จ
ดังนั้น ครูผู้สอนจึงได้แก้ปั ญหาโดยสร้างสื่อการสอน เรื่อง “สำนวน
สุภาษิต คำพังเพย” ขึ้นเพื่อนำไปสอนเสริมทักษะเป็ นการแก้ปั ญหาดังกล่าว
เพื่อส่งผลให้การสอนเสริมทักษะมีผลสัมฤทธิ์มากยิ่งขึ้น และนักเรียน
สามารถทบทวนบทเรียนได้ด้วยตนเอง ตามความเหมาะสมและความ
ต้องการของผู้เรียนในโอกาสต่อไป โดยหวังว่าสื่อการสอนเสริมทักษะวิชา
ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 นี้ จะสามารถทำหน้าที่เสริมความรู้ และ
เสริมทักษะได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วัตถุประสงค์ของสื่อการเรียนการสอนที่จัดทำ
1. นักเรียนสามารถบอกความหมายของสำนวน สุภาษิต คำพังเพยได้
2. นักเรียนสามารถยกตัวอย่างสำนวน สุภาษิต คำพังเพยได้
3. นักเรียนเห็นคุณค่าของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย

วัสดุ/อุปกรณ์/เครื่องมือที่ใช้ในการจัดทำ

2
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

1. ไม้ไอติม
2. แผ่นเคลือบใส
3. กรรไกร
4. กาวสองหน้า
5. รูปภาพสำนวน สุภาษิต คำพังเพย

ขั้นตอนการจัดทำสื่อการสอน
1. ทำบัตรภาพสำนวน สุภาษิต คำพังเพย ไม่ต้องมีชื่อและความหมาย
ของสำนวนสุภาษิตคำพังเพยนั้น

3
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

2. พิมพ์ชื่อของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย และความหมายของสำนวน


สุภาษิต คำพังเพยนั้นเพื่อใช้เป็ นเฉลยติดกับด้านหลังของภาพสำนวน
สุภาษิต คำพังเพย

4
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

3. พิมพ์หมายเลขไม้เซียมซี ขนาดประมาณไม้ไอติมใหญ่

5
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

4. ปริ้นทั้งหมดออกมาและทำการตัดด้วยกรรไกร
5. นำหมายเลขเซียมซีมาติดไม้ไอติมใหญ่

6. เคลือบบัตรภาพสำนวน สุภาษิต คำพังเพยด้วยแผ่นเคลือบใส

6
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

วิธีการใช้สื่อ
1. ครูให้นักเรียนออกมาเขย่าเซียมซีสำนวนไทยทีละคน
2. คนที่ได้เซียมซีหมายเลขอะไร ให้ครูนำใบเซียมซีหมายเลขนั้นออกมา
ให้นักเรียนทายว่า บัตรภาพเซียมซีหมายเลขที่ตนได้นั้น ตรงกับสำนวน
สุภาษิต คำพังเพยอะไรและมีความหมายอย่างไร
3. คนไหนตอบได้ให้ 1 คะแนน หากคนไหนตอบไม่ได้ให้เพื่อนๆที่นั่งดู
ช่วยกันตอบ

7
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

4. เมื่อคนแรกตอบเสร็จให้คนต่อไปลุกออกมาสุ่ม

แนวทางในการผลิตสื่อการสอนของครูผู้สอน
1. สื่อที่ผลิตขึ้นประกอบการเรียนการสอนในสาระการเรียนรู้ในปี การ
ศึกษาปั จจุบัน
2. สื่อต้องผลิตจากวัสดุที่หาง่าย ประหยัดไม่ฟุ่มเฟื อย มีความคุ้มค่าใน
การผลิตสื่อเพื่อการเรียนการสอน
3. สื่อต้องส่งเสริมทักษะกระบวนการคิดและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
4. สื่อการสอนช่วยสร้างรากฐานที่เป็ นรูปธรรมขึ้นในความคิดของผู้เรียน
ช่วยเร้าความสนใจของผู้เรียน
เป็ นรากฐานในการพัฒนาการเรียนรู้และช่วยความทรงจำอย่างถาวร
ช่วยให้ผู้เรียนได้มีพัฒนาการทาง
ความคิด เกิดความคิดรวบยอดตรงตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
5. การใช้สื่อต้องเหมาะสมกับเนื้อหา เวลาและวัยของผู้เรียน
6. จัดเก็บและดูแลรักษาง่าย คงทนถาวร เคลื่อนย้ายสะดวก
7. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการใช้สื่อ
8. มีคู่มือการใช้สื่ออย่างชัดเจน

8
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

คู่มือครู

๑. ครูควรศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้และจุดประสงค์การ
เรียนรู้ของหลักสูตรสถานศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ให้ละเอียดครบ
ถ้วน
๒. ครูควรชี้แจงให้นักเรียนทราบถึงขั้นตอนและวิธีการสอนเสริมทักษะ
โดยใช้สื่อการสอนเซียมซีสำนวนไทย
อย่างชัดเจน และประโยชน์ที่ได้รับจากการสอน โดยใช้สื่อการสอน
เซียมซีสำนวนไทย
๓. ครูต้องชี้แจงให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์โดยไม่แอบดูคําตอบหลังบัตร
ภาพสำนวนไทย

9
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

๔. ครูต้องอธิบายเกี่ยวกับความหมายและที่มาของสำนวน สุภาษิต คำ
พังเพยให้นักเรียนก่อน แล้วจึงใช้สื่อการ
สอนเซียมซีสำนวนไทยในการประกอบกิจกรรมเซียมซีสำนวนไทย
5. ครูจะต้องเก็บผลงานของนักเรียนไว้ในแฟ้ มประวัติการเรียนของแต่ละ
คนเพื่อดูการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
และความกาวหน้าของนักเรียน

คู่มือนักเรียน

1. ต้องมีกรรมการ 1 คนต่อการเล่น 1 ครั้ง


2. ให้คนแรกเขย่าเซียมซีสำนวนไทย
3. หากได้เซียมซีหมายเลขอะไร ให้กรรมการนำใบเซียมซีหมายเลขนั้น
ออกมา และให้คนแรกทายว่า บัตรภาพเซียมซีหมายเลขที่ตนได้นั้น
ตรงกับสำนวน สุภาษิต คำพังเพยอะไรและมีความหมายอย่างไร
4. หากตอบได้ให้ 1 คะแนน
5. เมื่อคนแรกตอบเสร็จให้คนต่อไปสามารถเขย่าเซียมซีได้
6. ทำเหมือนขั้นตอนที่ 2 - 5

10
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ผลการนำสื่อการสอนไปใช้
1. เด็กมีความสนใจในสื่อที่ใช้ประกอบการสอนแล้วเกิดความเข้าใจใน
เนื้อหามากยิ่งขึ้น
2. สามารถนำสื่อกลับมาสอนได้อีกครั้งเพื่อทบทวนเนื้อหา
3. เด็กมีความตื่นเต้นและสนุกสนานในเวลาเรียน
จากการจัดทำและใช้สื่อนวัตกรรม เซียมซีสำนวนไทย วิชาภาษาไทย
ท 15101 ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 พบว่า นักเรียนให้ความสนใจในการ
เรียนและทำกิจกรรมตามที่ครูผู้สอนกำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเห็นได้จาก
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผ่านมา ในเรื่อง สุภาษิตไทย สำนวนไทยและคำ
พังเพย ก่อนและหลังใช้นวัตกรรมปรากฏผลดังนี้

คะแนนเฉลี่ยน (ร้อยละ)
แผนการจัดการเรียนรู้ ก่อนใช้นวัตกรรม หลังใช้นวัตกรรม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
เรื่อง 75.19 87.92
สำนวนไทย ใช้ถูกต้อง (1)

11
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ปั จจัยเกื้อหนุนหรือเงื่อนไขที่นำไปสู่ผลงานความสำเร็จ
1. นักเรียนมีความกระตือรือร้น สนใจเรียน
2. ครูผู้สอนเอาใจใส่ ทำให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นสนใจเรียนมากขึ้น

ประโยชน์ที่ได้รับ
1. นักเรียนเห็นคุณค่าของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย
2. นักเรียนเข้าใจความหมายของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย
3. นักเรียนสามารถเล่นทบทวนบทเรียนในเวลาว่างได้

12
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ภาคผนวก

13
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง สำนวนไทย ใช้ถูกต้อง (1)


กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทยเพิ่มเติม ท
15101 ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง ราชาธิราช ตอน กำเนิดมะกะ
โท เวลา 1 ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท 4.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา
ภูมิปั ญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติ
ของชาติ
ตัวชี้วัด ท 1.1 ป.๕/๗ ใช้สำนวนได้ถูกต้อง

สาระสำคัญ

14
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

สำนวนมีความหมายกว้างครอบคลุมถึงคำพังเพยและสุภาษิต คำ
พังเพยเป็ นการเปรียบเทียบกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง สุภาษิตเป็ นคติสอนใจให้
ประพฤติดีการเข้าใจความหมายของสำนวน คำพังเพย และสุภาษิต จะ
ทำให้นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

จุดประสงค์การเรียนรู้
๑ ด้านพุทธิพิสัย (K)
๑.1 นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของสำนวนไทย สุภาษิตไทยและ
คำพังเพยได้
๒ ด้านทักษะพิสัย (P)
2.1 นักเรียนสามารถเขียนความหมายของสำนวนไทย สุภาษิตไทย
และคำพังเพยที่ใช้ในชีวิตประจำวันได้
๓ ด้านจิตพิสัย (A)
3.1 นักเรียนเห็นคุณค่าของสำนวนไทย สุภาษิตไทยและคำพังเพย (รัก
ความเป็ นไทย)

สาระการเรียนรู้
- ความหมายของสำนวน
- ความหมายของสุภาษิตไทย
- ความหมายของคำพังเพย

15
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

สมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรียนรู้
2. อยู่อย่างพอเพียง

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (50 นาที)


เทคนิควิธีการโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ขั้น 1 ขั้นสร้างความสนใจ Engagement (10 นาที)
สื่อการเรียนรู้ : เกมสำนวนไทย อะไรเอ่ย
1. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยการให้เล่มเกมเปิ ดแผ่นป้ ายเกม
สำนวนไทย อะไรเอ่ย เพื่อกระตุ้น
ความสนใจของนักเรียน
2. ครูเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน โดยถามทบทวนว่า จากคลิปวีดิโอดังกล่าว
ได้ยินสำนวนไทยอะไรบ้าง และเชื่อม
โยงเข้าสู่บทเรียนว่า ซึ่งวันนี้เราจะมาเรียนในบทเรียนเรื่อง สำนวน
ไทย สุภาษิตไทยและคำพังเพย

16
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ขั้น 2 ขั้นสำรวจและค้นคว้า Exploration (5 นาที)


สื่อการเรียนรู้ : ภาพสำนวนไทย สุภาษิตไทยและคำพังเพย
1. ครูให้นักเรียนดูภาพสำนวนไทย สุภาษิตไทยและคำพังเพยที่เตรียม
มา และให้นักเรียนตอบว่าภาพที่เห็น
ตรงกับสำนวนไทย สุภาษิตไทยและคำพังเพยอะไร ใครตอบได้ให้ 1
คะแนน

ขั้น 3 ขั้นอธิบาย Explanation (5 นาที)


สื่อการเรียนรู้ : สื่อประกอบการสอนสำนวนไทย สุภาษิตไทยและคำ
พังเพย

17
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

1. ครูอธิบายถึงความหมายและที่มาของสำนวนไทย สุภาษิตไทยและ
คำพังเพยให้นักเรียนพร้อมยกตัวอย่าง
สำนวนไทย สุภาษิตไทยและคำพังเพยในแต่ละที่มา

ขั้น 4 ขั้นขยายความรู้ Elaboration (10 นาที)


สื่อการเรียนรู้ : เซียมซีสำนวนไทย
1. นักเรียนแต่ละคนออกมาเขย่าเซียมซีสำนวนไทย โดยเขย่าได้
เซียมซีหมายเลขอะไร ให้ครูนำภาพของ
สำนวนไทยที่ตรงกับเซียมซีหมายเลขนั้นให้นักเรียนตอบว่า จาก
ภาพเป็ นสำนวน สุภาษิตคำพังเพยใด
และมีความหมายอะไร ใครตอบได้ 1 คะแนน ใครตอบไม่ได้ให้
เพื่อนๆที่นั่งดูช่วยตอบ

18
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ขั้น 5 ขั้นลงข้อสรุปและประเมินผล Evaluation (20 นาที)


1. ครูและนักเรียนทบทวนความเข้าใจเรื่องสำนวนไทย สุภาษิตไทย
และคำพังเพย โดยครูถามว่า สำนวน
ไทย สุภาษิตไทยและคำพังเพยนั้นมีลักษณะอย่างไร (จุดประสงค์
การเรียนรู้ K) และถามถึงกิจกรรมวันนี้
นักเรียนได้รับประโยชน์และคุณค่าอย่างไร (จุดประสงค์การเรียน
รู้ A)
2. นักเรียนทำชิ้นงานวาดภาพระบายสีสำนวน สุภาษิต คำพังเพย
พร้อมเขียนความหมาย
(จุดประสงค์การเรียนรู้ P)

สื่อการเรียนรู้
1. สื่อประกอบการสอนสำนวนไทย สุภาษิตไทยและคำพังเพย
2. เกมสำนวนไทย อะไรเอ่ย
3. เซียมซีสำนวนไทย

19
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ชิ้นงาน/ภาระงาน
1. วาดรูประบายสีสำนวน สุภาษิตไทย คำพังเพยที่ตนรู้จักพร้อมบอกความ
หมาย

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

สิ่งที่ต้องการวัด วิธีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การ


ประเมิน

ด้านพุทธิพิสัย (K) สังเกตพฤติกรรม แบบประเมินการ


การอธิบาย อธิบายลักษณะ
๑. นักเรียนสามารถ ผ่านเกณฑ์
ลักษณะของ ของสำนวนไทย
อธิบายลักษณะของ
ระดับพอใช้
สำนวนไทย สุภาษิตไทยและ
สำนวนไทย สุภาษิต
ขึ้นไป
สุภาษิตไทยและ คำพังเพย
ไทยและคำพังเพยได้
คำพังเพย

ด้านทักษะพิสัย (P)

1. นักเรียนสามารถ ชิ้นงานวาดภาพ แบบประเมินชิ้น ผ่านเกณฑ์


เขียนความหมายของ ระบายสีสำนวน งานวาดภาพ
ระดับพอใช้
สำนวนไทย สุภาษิต สุภาษิต คำ ระบายสีสำนวน

20
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ไทยและคำพังเพยที่ใช้ พังเพย สุภาษิต คำ ขึ้นไป


ในชีวิตประจำวันได้ พังเพย

ด้านจิตพิสัย (A) สังเกตพฤติกรรม แบบประเมินการ


การบอก บอกประโยชน์
๑. นักเรียนเห็นคุณค่า ผ่านเกณฑ์
ประโยชน์และ และคุณค่าของ
ของสำนวนไทย
ระดับพอใช้
คุณค่าของ สำนวนไทย
สุภาษิตไทยและคำ
ขึ้นไป
สำนวนไทย สุภาษิตไทยและ
พังเพย (รักความเป็ น
สุภาษิตไทยและ คำพังเพย
ไทย)
คำพังเพย

แนวทางการประเมินการอธิบายลักษณะของสำนวนไทย สุภาษิตไทยและ
คำพังเพย และ การบอกประโยชน์และคุณค่าของสำนวนไทย สุภาษิตไทย
และคำพังเพย

ระดับคุณภาพ
ประเด็นประเมิน 3 (ดี) 2 (พอใช้) 1 (ควรปรับปรุง)
๑. นักเรียนสามารถ นักเรียนสามารถ นักเรียนสามารถ นักเรียนไม่
อธิบายลักษณะของ อธิบายลักษณะ อธิบายลักษณะของ สามารถอธิบาย

21
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

สำนวนไทย สุภาษิต ของสำนวนไทย สำนวนไทย สุภาษิต ลักษณะของ


ไทยและคำพังเพยได้ สุภาษิตไทยและ ไทยและคำพังเพยได้ สำนวนไทย
(K) คำพังเพยได้ถูก ถูกต้อง ชัดเจนบาง สุภาษิตไทยและ
ต้อง ชัดเจน ส่วน คำพังเพยได้
2. นักเรียนเห็น นักเรียนบอก นักเรียนบอก นักเรียนไม่
คุณค่าของสำนวน ประโยชน์และ ประโยชน์และคุณค่า สามารถบอก
ไทย สุภาษิตไทยและ คุณค่าของ ของสำนวนไทย ประโยชน์และ
คำพังเพย (รักความ สำนวนไทย สุภาษิตไทยและคำ คุณค่าของ
เป็ นไทย) (A) สุภาษิตไทยและ พังเพยได้ถูกต้อง สำนวนไทย
คำพังเพยได้ถูก ชัดเจนบางส่วน สุภาษิตไทยและ
ต้อง ชัดเจน คำพังเพยได้

แนวทางการประเมินชิ้นงานวาดภาพระบายสีสำนวน สุภาษิต คำพังเพย

ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 10 - 8 (ดี) 7 - 5 (พอใช้) 4 - ๑ (ปรับปรุง)
1. นักเรียน นักเรียนเขียนความ นักเรียนเขียนความ นักเรียนไม่สามารถ
สามารถเขียน หมายของสำนวน หมายของสำนวน เขียนความหมาย
ความหมายของ ไทย สุภาษิตไทย ไทย สุภาษิตไทยและ ของสำนวนไทย
สำนวนไทย และคำพังเพยที่ใช้ คำพังเพยที่ใช้ในชีวิต สุภาษิตไทยและคำ

22
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

สุภาษิตไทยและ ในชีวิตประจำวันได้ ประจำวันได้ถูกต้อง พังเพยที่ใช้ในชีวิต


คำพังเพยที่ใช้ใน ถูกต้องตรงตาม ตรงตามรูปภาพที่ตน ประจำวันได้ตรง
ชีวิตประจำวันได้ รูปภาพที่ตนวาด วาดบางส่วน ตามรูปภาพที่ตน
(P) วาด

เกณฑ์การประเมิน

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
11 - 16 ดีมาก
6 – 10 พอใช้
๑-5 ปรับปรุง
ผ่านเกณฑ์ระดับพอใช้ขึ้นไป

23
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

แบบประเมินใบงานที่ 1 ชิ้นงานวาดภาพระบายสีสำนวน สุภาษิต คำ


พังเพย

ระดับคะแนน
ที่ ชื่อ - สกุล 1 9 8 7 6 5 4 3 2 1
0
1 เด็กชาย พสิษฐ์ แซ่
เจา
2 เด็กชาย อดิเทพ ลุงกุ
หม่า
3 เด็กชาย ประพันธ์ พันธุ์
ภัครินทร์
4 นาย ที ลุง
ออ
5 นาย สายเงิน -
6 นาย สายคำ -
7 เด็กชาย ชวิน บาง
น้อย
8 เด็กชาย กันตพงศ์
กัมพลกวีพร

24
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

9 เด็กชาย ณัฐพล ลุง


หลู่
1 นางสาว นาหวะ ลุงอุ
0 ข่าโจ
1 เด็กหญิง ธัญสุดา
1 สัมพันธ์จันทร์
1 เด็กหญิง จิดาภา แซ่
2 ควง
1 เด็กหญิง บุญศินี แซ่
3 ควง
1 เด็กหญิง ดลฤทัย
4 คำมา
1 นางสาว คำแดง ลุง
5 ออ
1 เด็กหญิง อริสา คำ
6 หมั้น
1 เด็กหญิง จุฬาลักษณ์ แซ่
7 ห่าง
1 เด็กหญิง ฐิติกานต์ แสง
8 คำ

25
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

1
9 เด็กหญิง แตงโม -

ลงชื่อ..................................ผู้ประเมิน
(นางสาวฐิติภา โอบอ้อม)
วัน
ที่......./........../...............

เกณฑ์การประเมินชิ้นงานวาดภาพระบายสีสำนวน สุภาษิต คำพังเพย

ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 10 - 8 (ดี) 7 - 5 (พอใช้) 4 - ๑ (ปรับปรุง)
1. นักเรียน นักเรียนเขียน นักเรียนเขียน นักเรียนไม่
สามารถเขียน ความหมายของ ความหมายของ สามารถเขียน
ความหมายของ สำนวนไทย สำนวนไทย ความหมายของ
สำนวนไทย สุภาษิตไทยและ สุภาษิตไทยและคำ สำนวนไทย
สุภาษิตไทยและ คำพังเพยที่ใช้ใน พังเพยที่ใช้ในชีวิต สุภาษิตไทยและ

26
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

คำพังเพยที่ใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ ประจำวันได้ถูก คำพังเพยที่ใช้ใน


ชีวิตประจำวันได้ ถูกต้องตรงตาม ต้องตรงตาม ชีวิตประจำวันได้
(P) รูปภาพที่ตนวาด รูปภาพที่ตนวาด ตรงตามรูปภาพที่
บางส่วน ตนวาด
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วง ระดับ
คะแนน คุณภาพ
7 - 10 ดี
4-6 พอใช้
1-3 ปรับปรุง
ผ่านเกณฑ์ระดับพอใช้ขึ้น
ไป

27
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

ชื่อ ....................................................... นามสกุล


................................................ เลขที่ ..........ชั้น ป.5 /........

ระดับคุณภาพ
สมรรถนะ รายการ ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่
ประเมิน (๓) (๒) (๑) ผ่าน
(๐)
๑. ความ ๑.๑ มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร
สามารถ ๑.๒ มีความสามารถในการถ่ายทอด
ในการ ความรู้ ความคิดความเข้าใจ
สื่อสาร ของตนเอง โดยใช้ภาษาอย่าง
เหมาะสม
๑.๓ ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มี
ประสิทธิภาพ
๑.๔ เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหา
ความขัดแย้งต่าง ๆ ได้
๑.๕ เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสาร
ด้วยเหตุผลและถูกต้อง
สรุปผลการประเมิน รวม .............
คะแนน

28
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ระดับคุณภาพ
สมรรถนะ รายการ ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่
ประเมิน (๓) (๒) (๑) ผ่าน
(๐)
ระดับ ..............
ระดับคุณภาพตามเกณฑ์การ
ประเมิน

ลงชื่อ
........................................ ผู้ประเมิน
(นางสาวฐิติภา โอบอ้อม)
วันที่
......... / ......... / ...........

29
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน
คุณภาพ
ผู้เรียนปฏิบัติตนตามสมรรถนะจนเป็ นนิสัย และนําไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันเพื่อประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดย
(๓)
พิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเยี่ยมจำนวน 2
ดีเยี่ยม
สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใดได้ผลการประเมินต่ำกว่า
ระดับดี
ผู้เรียนมีสมรรถนะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้
เป็ นการยอมรับของสังคม
(๒) พิจารณาจาก
ดี ๑. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จำนวน 1

สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใด
ได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับดี
(๑) ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่สถาน
พอใช้ ศึกษากำหนด พิจารณาจาก

30
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

๑. ได้ผลการประเมินระดับผ่าน จำนวน 1 สมรรถนะ


และไม่มีสมรรถนะใด
ได้ผลการประเมินต่ำกว่าระดับผ่าน
(๐) ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบตามเกณฑ์และเงื่อนไขที่
ปรับปรุง กำหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับต้อง
ปรับปรุง ตั้งแต่ ๑ สมรรถนะ

พฤติกรรมที่ปฏิบัติสม่ำเสมอ ให้ ๓ คะแนน


พฤติกรรมที่ปฏิบัติบ่อยครั้ง ให้ ๒ คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ ๑ คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครั้ง ให้ ๐ คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
๑๓-๑๕ ดีเยี่ยม (๓)
๙-๑๒ ดี (๒)
๕-๘ ผ่าน (๑)
ต่ำกว่า ๕ ไม่ผ่าน (๐)

31
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ชื่อ ....................................................... นามสกุล
................................................ เลขที่ ..........ชั้น ป.5 /........
ระดับคุณภาพ
คุณลักษณะ รายการประเมิน ดี ไม่
ดี ผ่าน
เยี่ยม ผ่าน
(๒) (๑)
(๓) (๐)
1. รักความ ๔.๑ เห็นคุณค่าของสำนวนไทย
เป็ นไทย สุภาษิตไทย และ
คำพังเพย
๔.๒ สามารถบอกประโยชน์ของ
สำนวนไทย
สุภาษิตไทย และคำพังเพย
ได้

ลงชื่อ
........................................ ผู้ประเมิน
(นางสาวฐิติภา โอบอ้อม)
วันที่
......... / ......... / ...........

32
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน
คุณภาพ
(๓) ผู้เรียนปฏิบัติตนตามคุณลักษณะจนเป็ นนิสัยและนําไปใช้ใน
ดีเยี่ยม ชีวิตประจำวันเพื่อประโยชน์สุข ของตนเองและสังคม
ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้เป็ นการ
(๒) ยอมรับของสังคม พิจารณาจาก
ดี ๑. ได้ผลการประเมินไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมิน
ต่ำกว่าระดับ ๒
ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ และเงื่อนไขที่สถานศึกษา
(๑) กำหนด พิจารณาจาก
ผ่าน ๑. ได้ผลการประเมินไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมิน
ต่ำกว่าระดับ ๑
(๐) ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบตามเกณฑ์และเงื่อนไขที่
ไม่ผ่าน กำหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมิน ระดับ ๐ ตั้งแต่ ๑
คุณลักษณะขึ้นไป
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
4-6 ดีเยี่ยม (๓)
3-5 ดี (๒)

33
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

1-2 ผ่าน (๑)


ต่ำกว่า 1 ไม่ผ่าน (๐)

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

ผลการจัดการเรียนรู
ผลการจัดการเรียนการสอน
........................................................................................................................
......................................................
........................................................................................................................
......................................................
........................................................................................................................
......................................................
ความสำเร็จ
........................................................................................................................
......................................................
........................................................................................................................
......................................................
........................................................................................................................
......................................................
ปั ญหาและอุปสรรค

34
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

........................................................................................................................
......................................................
........................................................................................................................
......................................................
........................................................................................................................
......................................................
ข้อจำกัดการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
ปรับปรุงแก้ไข
........................................................................................................................
......................................................
........................................................................................................................
......................................................
........................................................................................................................
......................................................

ลงชื่อ .......................................... ผูสอน

(นางสาวฐิติภา โอบอ้อม)

วันที่ .......... /........ /...................

ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย

35
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

........................................................................................................................
......................................................
........................................................................................................................
......................................................
........................................................................................................................
......................................................

ลงชื่อ ..........................................................

(.......................................................)
ตำแหน่ง .........................................................

วันที่ .......... /........ /...................


สื่อสำหรับครู รูปภาพสำนวนไทย

36
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

37
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

38
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

39
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ข้อสอบก่อนเรียน สำนวนไทย ใช้ถูกต้อง 1/2566


วิชาภาษาไทยเพิ่มเติม ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ชื่อ..................................................................................................................
ตอนที่ 1 คำชี้แจง : ให้นักเรียนใช้เครื่องหมาย ทับตัวเลข 1, 2, 3 หรือ 4 ที่เป็ น
1. "สำนวน" มีหมายความว่าอย่างไร 4. "คำพังเพย" มีหมายความว่าอย่างไร
ก. ถ้อยคำที่เรียบเรียงขึ้นมาเป็ นความ ก. ถ้อยคำที่เรียบเรียงขึ้นมาเป็ นความ
หมายกลาง ๆ คือ หมายกลาง ๆ คือ
ไม่เน้นการสั่งสอน แต่ก็แฝงคติ ไม่เน้นการสั่งสอน แต่ก็แฝงคติ
เตือนใจ เตือนใจ
ข. ถ้อยคำที่กล่าวแนะนำ สั่งสอน ข. ถ้อยคำที่กล่าวแนะนำ สั่งสอน
เตือนสติ เตือนสติ
ด้วยหลักความจริง ด้วยหลักความจริง
ค. คำพูด ทำนอง โวหารเป็ นตัวอย่าง ค. คำพูด ทำนอง โวหารเป็ นตัวอย่าง
ในการอบรมสั่งสอน ในการอบรมสั่งสอน
ลูกหลาน ลูกหลาน
ง. โวหาร ทำนองพูด ถ้อยคำที่เรียบ ง. โวหาร ทำนองพูด ถ้อยคำที่เรียบ

40
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

เรียง เป็ นลักษณะ เรียง เป็ นลักษณะ


ความหมายเชิงอุปมาเปรียบเทียบ ความหมายเชิงอุปมาเปรียบเทียบ
มักไม่ใช่ความหมาย มักไม่ใช่ความหมาย
ของตัวมันเอง ของตัวมันเอง
2. สำนวน “ตำน้ำพริกละลายม่น้ำ” 5. “ต่างฝ่ ายต่างไม่ยอมกัน ต่างฝ่ ายต่าง
หมายความว่าอย่างไร อารมณ์ร้อนพอๆกัน”
ก. ให้มีสติอย่าประมาท เป็ นความหมายของข้อใด
ข. หาความเดือดร้อนใส่ตัวเอง 1. ง่ายเหมือนปอกกล้วยเข้าปาก
ค. ลงทุนมากแต่ได้ผลตอบแทนไม่คุ้ม 2. ขิงก็รา ข่าก็แรง
ง. อย่าก่อเรื่องกับผู้มีอำนาจ 3. ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่
4. งมเข็มในมหาสมุทร
3. "สุภาษิต" มีหมายความว่าอย่างไร 6. สำนวนใดที่มาจากธรรมชาติ
ก. ถ้อยคำที่เรียบเรียงขึ้นมาเป็ นความ 1. คลื่นกระทบฝั่ ง
หมายกลาง ๆ คือ 2. นุ่งเจียมห่มเจียม
ไม่เน้นการสั่งสอน แต่ก็แฝงคติ
3. กลปื นเที่ยง
เตือนใจ
4. ปิ ดทองหลังพระ
ข. ถ้อยคำที่กล่าวแนะนำ สั่งสอน
เตือนสติ
ด้วยหลักความจริง
ค. คำพูด ทำนอง โวหารเป็ นตัวอย่าง
ในการอบรมสั่งสอน

41
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ลูกหลาน
ง. โวหาร ทำนองพูด ถ้อยคำที่เรียบ
เรียง เป็ นลักษณะ
ความหมายเชิงอุปมาเปรียบเทียบ
มักไม่ใช่ความหมาย
ของตัวมันเอง
7. สำนวนใดที่มาจากวัฒนธรรมการ 11. สำนวนใดที่มาจากวัฒนธรรมทาง
ดำรงชีวิต ภาษา วรรณคดี ตำนาน
ก. ก่อหวอด
และนิทาน
ข. กาฝาก
ก. โจ๋งครึ่ม
ค. ชุบมือเปิ บ
ข. ผีซ้ำด้ำพลอย
ง. ชักใย
ค. งอมพระราม
ง. ประสมโรง
8. สำนวนใดที่สะท้อนให้เห็นถึงความ 12. นักเรียนได้ประโยชน์จากสำนวน
เป็ นอยู่เกี่ยวกับการทำ สุภาษิต และคำพังเพย
มาหากิน ในข้อใดมากที่สุด
ก. ขี่ช้างจับตั๊กแตน 1. ทำให้เยาวชนประพฤติ ปฏิบัติตน
ข. ทำนาบนหลังคน ดีขึ้น
ค. ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่ 2. นำหลักคำสอนมาประยุกต์ใช้
ง. เกลือจิ้มเกลือ 3. ทำให้ทราบความหมายของแต่ละ

42
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

สำนวน
4. ขัดเกลานิสัยเยาวชนให้อยู่ใน
กรอบและระเบียบมากขึ้น
9. สำนวนใดเกี่ยวข้องทางศาสนาและ 13. "น้ำลดตอผุด" คือภาพใด
ความเชื่อ 1. 2.
ก. งอมพระราม
ข. ชักแม่น้ำทั้งห้า
ค. กลปื นเที่ยง
3. 4.
ง. ปิ ดทองหลังพระ

10. สำนวนใดมีที่มาจากการแสดงและ 14. "ตำข้าวสารกรอกหม้อ" คือภาพใด


ดนตรี 1. 2.
ก. โจ๋งครึ่ม
ข. ขนทรายเข้าวัด
ค. ชักแม่น้ำทั้งห้า
3. 4.
ง. ปิ ดทองหลังพระ

15. จากภาพคือสำนวนใด 18. อย่าลืมตัวว่าเคยเป็ นใครหน่อยเลย


เธออย่ามาทำตัวเป็ น

43
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

“……………………”นะ
ก. กระดี่ได้น้ำ
ข. คางคกขึ้นวอ
ก. เข็นครกขึ้นภูเขา ค. กาฝาก
ข. ยกตนข่มท่าน ง. กบในกะลาครอบ
ค. หัวล้านได้หวี
ง. หาเหาใส่หัว
1.6 จากภาพคือสำนวนใด 19. ถ้าไม่ช่วยก็อย่ามาเกะกะ อย่ามา
ทำตัว “…………..”
ก. มือไม่พายเอาเท้าราน้ำ
ข. รำไม่ดีโทษปี่ โทษกลอง
ค. ยกตนข่มท่าน

ก. ลูกไก่ในกำมือ ง. หัวล้านได้หวี

ข. เฒ่าหัวงู
ค. ดินพอกหางหมู
ง. ยกตนข่มท่าน

17. เธออย่า “………” เลย เดี๋ยวก็ไม่ 20. ข้อสอบภาษาไทยวันนี้ง่ายเหมือน


สำเร็จซักอย่างหรอก “………………..”
ก. จับปลาสองมือ
ก. จับปูใส่กระด้ง
ข. จับแพะชนแกะ ข. งมเข็มในมหาสมุทร

44
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ค. งมเข็มในมหาสมุทร ค. จับปูใส่กระด้ง
ง. จับปลาสองมือ ง. ปอกกล้วยเข้าปาก

ข้อสอบหลังเรียน สำนวนไทย ใช้ถูกต้อง 1/2566


วิชาภาษาไทยเพิ่มเติม ระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ชื่อ..................................................................................................................
ตอนที่ 1 คำชี้แจง : ให้นักเรียนใช้เครื่องหมาย ทับตัวเลข 1, 2, 3 หรือ 4 ที่เป็ น
1. "สำนวน" มีหมายความว่าอย่างไร 4. "คำพังเพย" มีหมายความว่าอย่างไร
ก. ถ้อยคำที่เรียบเรียงขึ้นมาเป็ นความ ก. ถ้อยคำที่เรียบเรียงขึ้นมาเป็ นความ
หมายกลาง ๆ คือ หมายกลาง ๆ คือ
ไม่เน้นการสั่งสอน แต่ก็แฝงคติ ไม่เน้นการสั่งสอน แต่ก็แฝงคติ
เตือนใจ เตือนใจ
ข. ถ้อยคำที่กล่าวแนะนำ สั่งสอน ข. ถ้อยคำที่กล่าวแนะนำ สั่งสอน
เตือนสติ เตือนสติ
ด้วยหลักความจริง ด้วยหลักความจริง
ค. คำพูด ทำนอง โวหารเป็ นตัวอย่าง ค. คำพูด ทำนอง โวหารเป็ นตัวอย่าง
ในการอบรมสั่งสอน ในการอบรมสั่งสอน
ลูกหลาน ลูกหลาน
ง. โวหาร ทำนองพูด ถ้อยคำที่เรียบ ง. โวหาร ทำนองพูด ถ้อยคำที่เรียบ
เรียง เป็ นลักษณะ เรียง เป็ นลักษณะ
ความหมายเชิงอุปมาเปรียบเทียบ ความหมายเชิงอุปมาเปรียบเทียบ
มักไม่ใช่ความหมาย มักไม่ใช่ความหมาย
ของตัวมันเอง

45
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ของตัวมันเอง
2. สำนวน “ตำน้ำพริกละลายม่น้ำ” 5. “ต่างฝ่ ายต่างไม่ยอมกัน ต่างฝ่ ายต่าง
หมายความว่าอย่างไร อารมณ์ร้อนพอๆกัน”
ก. ให้มีสติอย่าประมาท เป็ นความหมายของข้อใด
ข. หาความเดือดร้อนใส่ตัวเอง 1. ง่ายเหมือนปอกกล้วยเข้าปาก
ค. ลงทุนมากแต่ได้ผลตอบแทนไม่คุ้ม 2. ขิงก็รา ข่าก็แรง
ง. อย่าก่อเรื่องกับผู้มีอำนาจ 3. ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่
4. งมเข็มในมหาสมุทร
3. "สุภาษิต" มีหมายความว่าอย่างไร 6. สำนวนใดที่มาจากธรรมชาติ
ก. ถ้อยคำที่เรียบเรียงขึ้นมาเป็ นความ 1. คลื่นกระทบฝั่ ง
หมายกลาง ๆ คือ 2. นุ่งเจียมห่มเจียม
ไม่เน้นการสั่งสอน แต่ก็แฝงคติ
3. กลปื นเที่ยง
เตือนใจ
4. ปิ ดทองหลังพระ
ข. ถ้อยคำที่กล่าวแนะนำ สั่งสอน
เตือนสติ
ด้วยหลักความจริง
ค. คำพูด ทำนอง โวหารเป็ นตัวอย่าง
ในการอบรมสั่งสอน
ลูกหลาน
ง. โวหาร ทำนองพูด ถ้อยคำที่เรียบ
เรียง เป็ นลักษณะ

46
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ความหมายเชิงอุปมาเปรียบเทียบ
มักไม่ใช่ความหมาย
ของตัวมันเอง
7. สำนวนใดที่มาจากวัฒนธรรมการ 11. สำนวนใดที่มาจากวัฒนธรรมทาง
ดำรงชีวิต ภาษา วรรณคดี ตำนาน
ก. ก่อหวอด
และนิทาน
ข. กาฝาก
ก. โจ๋งครึ่ม
ค. ชุบมือเปิ บ
ข. ผีซ้ำด้ำพลอย
ง. ชักใย
ค. งอมพระราม
ง. ประสมโรง
8. สำนวนใดที่สะท้อนให้เห็นถึงความ 12. นักเรียนได้ประโยชน์จากสำนวน
เป็ นอยู่เกี่ยวกับการทำ สุภาษิต และคำพังเพย
มาหากิน ในข้อใดมากที่สุด
ก. ขี่ช้างจับตั๊กแตน 1. ทำให้เยาวชนประพฤติ ปฏิบัติตน
ข. ทำนาบนหลังคน ดีขึ้น
ค. ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่ 2. นำหลักคำสอนมาประยุกต์ใช้
ง. เกลือจิ้มเกลือ 3. ทำให้ทราบความหมายของแต่ละ
สำนวน
4. ขัดเกลานิสัยเยาวชนให้อยู่ใน
กรอบและระเบียบมากขึ้น

47
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

9. สำนวนใดเกี่ยวข้องทางศาสนาและ 13. "น้ำลดตอผุด" คือภาพใด


ความเชื่อ 1. 2.
ก. งอมพระราม
ข. ชักแม่น้ำทั้งห้า
ค. กลปื นเที่ยง
3. 4.
ง. ปิ ดทองหลังพระ

10. สำนวนใดมีที่มาจากการแสดงและ 14. "ตำข้าวสารกรอกหม้อ" คือภาพใด


ดนตรี 1. 2.
ก. โจ๋งครึ่ม
ข. ขนทรายเข้าวัด
ค. ชักแม่น้ำทั้งห้า
3. 4.
ง. ปิ ดทองหลังพระ

15. จากภาพคือสำนวนใด 18. อย่าลืมตัวว่าเคยเป็ นใครหน่อยเลย


เธออย่ามาทำตัวเป็ น
“……………………”นะ
ก. กระดี่ได้น้ำ
ข. คางคกขึ้นวอ
ค. กาฝาก

48
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ก. เข็นครกขึ้นภูเขา ง. กบในกะลาครอบ
ข. ยกตนข่มท่าน
ค. หัวล้านได้หวี
ง. หาเหาใส่หัว
1.6 จากภาพคือสำนวนใด 19. ถ้าไม่ช่วยก็อย่ามาเกะกะ อย่ามา
ทำตัว “…………..”
ก. มือไม่พายเอาเท้าราน้ำ
ข. รำไม่ดีโทษปี่ โทษกลอง
ค. ยกตนข่มท่าน

ก. ลูกไก่ในกำมือ ง. หัวล้านได้หวี

ข. เฒ่าหัวงู
ค. ดินพอกหางหมู
ง. ยกตนข่มท่าน

17. เธออย่า “………” เลย เดี๋ยวก็ไม่ 20. ข้อสอบภาษาไทยวันนี้ง่ายเหมือน


สำเร็จซักอย่างหรอก “………………..”
ก. จับปลาสองมือ
ก. จับปูใส่กระด้ง
ข. จับแพะชนแกะ ข. งมเข็มในมหาสมุทร

ค. งมเข็มในมหาสมุทร ค. จับปูใส่กระด้ง
ง. จับปลาสองมือ ง. ปอกกล้วยเข้าปาก

49
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ตัวอย่างชิ้นงานวาดภาพระบายสีสำนวน สุภาษิต คำพังเพย

50
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

51
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

52
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ภาพประกอบการใช้สื่อ

53
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

54
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

55
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

แบบประเมินความพึงพอใจการจัดทำสื่อและการใช้สื่อ
นวัตกรรม
สื่อ เซียมซีสำนวนไทย

คำชี้แจง แบบสอบถามชุดนี้จัดทำขึ้นเพื่อประเมินความพึงพอใจการจัดทำ
สื่อและการใช้สื่อนวัตกรรม
สื่อ เซียมซีสำนวนไทย ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็ นประโยชน์อย่างยิ่งต่อ
การพัฒนาและปรับปรุงการให้บริการ
ให้มีความเหมาะสมต่อไป
กรุณาทำเครื่องหมาย  ในช่องที่ท่านเลือก

ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
1. เพศ  ชาย  หญิง

56
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

2. ประเภทผู้ใช้บริการ  นักเรียน  ครู 


อื่น..........................

ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการ โดยมีเกณฑ์วัดระดับ


ดังนี้
5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = น้อย
ที่สุด 0 = ไม่พึงพอใจ

ระดับความพึงพอใจ
ประเด็นวัดความพึงพอใจ
5 4 3 2 1
1. ด้านข้อมูล/เนื้อหา
1.1 มีเนื้อหาสอดคล้องกับผลการเรียนรู้
1.2 มีความครบถ้วนของเนื้อหา
1.3 ความเหมาะสมในการเข้าสู่บทเรียน
1.4 เนื้อหามีความชัดเจนและครอบคลุม
เข้าใจง่าย
2. ด้านรูปแบบ
2.1 สีและขนาดตัวอักษรตัวอักษร อ่านง่าย
ชัดเจน เหมาะสม และถูกต้อง
2.2 ภาพ สี และการออกแบบมีความ
เหมาะสม

57
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

ระดับความพึงพอใจ
ประเด็นวัดความพึงพอใจ
5 4 3 2 1
2.3 มีความน่าสนใจ เหมาะสม กลมกลืน
ดึงดูดใจ
2.4 การออกแบบสื่อมีรูปแบบเหมาะสม
และมีความสวยงาม
2.5 ความสวยงามของรูปภาพที่ใช้
2.6 รูปภาพที่ใช้เหมาะสมกับเนื้อหาและสื่อ
การเรียนรู้ได้ดี
3 ด้านการใช้งาน
3.1 การใช้งานง่ายและสะดวกในการค้นหา
ข้อมูล
3.2 ความคงทน แข็งแรง
4. ด้านการนำไปใช้ประโยชน์
4.1 เนื้อหาและข้อมูลสามารถนำไปใช้
ประโยชน์ได้

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอื่นๆ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

58
รายงานการจัดทำสื่อการสอนและการ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................

ลงชื่อ......................................ผู้ประเมินสื่อและนวัตกรรม
(...........................................................
..........)
ตำแหน่ง .................................................
..............
วันที่
................ / ....................... / ...................

59

You might also like