You are on page 1of 5

ผังภาพการออกแบบการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ลักษณนาม ระดับชัน
้ ประถม
ศึกษาปี ที่ 6 เวลา 1 ชั่วโมง
2. หลักฐานการเรียนรู้ เข้าใจ
ภาระงาน / ชิน
้ งาน ด้าน P มีทักษะ แบบ ผ่าน
1. แบบจำลองการเกิดลมบกลมทะเล ในการใช้ ประเมิน เกณฑ์
การวัดและการประเมินผล ลักษณ ร้อยละ
ประเด็น วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ นามแต่ง ๖๐ ขึน
้ ไป
การ ประโยค
ประเมินด้าน A สังเกตุ แบบ ผ่าน
ด้าน K ถาม – ใบงาน ผ่าน พฤติกรร ประเมิน เกณฑ์
ตอบ เพื่อ เกณฑ์ ม ร้อยละ
สำรวจ ร้อยละ ๖๐ ขึน
้ ไป
ความรู้ ๖๐ ขึน
้ ไป
ความ

ลักษณนาม

กิจกรรมการเรียนรู้
1. 5E 2. กระบวนการคิดวิเคราะห์
สื่อการเรียนรู้
1. แผนภูมิภาษาอังกฤษ
2. แถบประโยค
3. หนังสือพิมพ์
แหล่งเรียนรู้ / ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องลักษณลักษณนาม ระดับชัน

ประถมศึกษาปี ที่ 6 เวลา 1 ชั่วโมง

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบ บันได 5 ขัน


ขัน
้ นำเข้าสู่บทเรียน (ใช้เวลา ๑๐ นาที)
๑. แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้แก่ผู้เรียน (หลักความมีภูมิคุ้มกันในตัว
ที่ดี : ครู : เป็ นแนวทางให้แก่นักเรียนเข้าใจวัตถุประสงค์ของการเรียน)
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายทบทวนเรื่อง คำนาม สามานย
นาม และวิสามานยนาม
(หลักความมีเหตุผล : นักเรียน : ยกตัวอย่างแสดงความคิดเห็นได้อย่าง
สอดคล้องสมเหตุสมผล เงื่อนไขความรู้ : ยกตัวอย่างความรู้พ้น
ื ฐานเดิมใน
เรื่องคำนาม สามานยนาม และวิสามานยนาม)
ขัน
้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ใช้เวลา ๔๐ นาที)
๑. ครูติดแถบประโยคเป็ นภาษาอังกฤษ ดังนี ้ (มิติทางด้านวัตถุ : ครู :
เลือกใช้ส่ อ
ื การสอนได้เหมาะสมกับสภาพผูเ้ รียน)

She has three cats. There are six eggs in the box.
Ten students sing a song today. I bought two flutes from my sister.
He is very rich because he has two big houses in the town.

๒. ให้นักเรียนออกมาเขียนคำแปล ใต้แถบประโยค
๓. ให้นักเรียนสังเกตว่าลักษณนามในภาษาอังกฤษแตกต่างกับลัก
ษณนามในภาษาไทยอย่างไร (Q1)
๔. นักเรียนช่วยกันสรุปความหมาย ของลักษณนาม คือ คำนามที่ใช้
บอกลักษณะของคำนามข้างหน้า
มักใช้ตามหลังคำที่บอกจำนวน เช่น ฉบับ ผล กิง่ แท่ง ฯลฯ (Q2)
๕. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ ๕ คน แจกหนังสือพิมพ์ให้กลุ่มละ
๑ ฉบับ ช่วยกันหาคำที่เป็ น
ลักษณนาม แล้วส่งตัวแทนออกมารายงานเป็ นประโยค
๖. ให้นักเรียนแข่งขันกันหาคำที่เป็ นลักษณนามจากคำที่ครูกำหนด
ให้ ดังนี ้
บ้าน (หลัง) มนุษย์ (คน) ช้าง (เชือก) ขลุ่ย (เลา) แห (ปาก)
เจดีย์ (องค์) หนังสือ (เล่ม)โทรทัศน์ (เครื่อง) กระดาน (แผ่น) เทียน
(เล่ม) พระพุทธรูป (องค์) พระภิกษุ (รูป) ดวงตา (ดวง) หัวใจ (ดว
ง ) ถนน (เส้น) แม่น้ำ (สาย) ดอกไม้ (ดอก) เกวียน (เล่ม)
พระที่นั่ง ( องค์) ยักษ์ (ตน) อวน (ปาก) เข็ม (เล่ม) กรรไกร (เล่ม)
ปี ศาจ (ตน) (Q3)

๗. ให้นักเรียนสังเกตแถบประโยค ดังนี ้
หญิงชราคนหนึ่ง เสาต้นหนึง่

๘. นักเรียนช่วยกันอภิปราย การใช้ถึงจำนวนนับเป็ นหนึ่ง และให้


ช่วยกันเติมให้เป็ นประโยค
เช่น หญิงชราคนหนึง่ มอบแหวนให้นายกรัฐมนตรี แดงเห็นเสาต้น
หนึ่งกำลังตกน้ำ (Q4)
๙. ให้นักเรียนสังเกตบัตรคำที่ครูนำมาแสดง ได้แก่ นักเรียนกลุ่ม
หนึ่ง ชายคนนี้ สุนัขตัวนัน
้ พร้อมกับช่วยกันแต่งประโยค ครูอธิบายการ
ใช้เพิ่มเติมนับเป็ นลักษณนามได้ เพราะจำนวนนับเป็ นหนึ่ง (Q5)
๑๐. ให้นักเรียนแข่งขันกันออกมาเขียนคำลักษณนามที่อยู่ในกลุ่มต่าง ๆ
ตามที่ครูกำหนดให้ ดังนี ้ (มิติทางด้านวัตถุ : ครู : เลือกใช้ส่ อ
ื การสอนได้
เหมาะสมกับสภาพผู้เรียน)

 องค์ พระอรหันต์ พระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์


พระที่นั่ง
 เล่ม เกวียน เข็ม กรรไกร สมุด หนังสือ
 ตัว สุนัข ชนิดของยา เก้าอี ้ โต๊ะ ตุ๊กตา
 ใบ ขันน้ำ ใบไม้ แก้ว
 สาย ถนน แม่น้ำ ทางด่วน
 หลัง บ้าน โรงนา ที่พักเดินทาง
 ดวง ดวงอาทิตย์ ดาว ดวงตา
จากนัน
้ ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง (Q6)
๑๑. ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำถามท้าทาย
ดังนี ้
๏ คำลักษณนามใดที่นักเรียนมักใช้ผิด (มิติทางด้านสังคม :
นักเรียน : ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน) (Q7)

ขัน
้ สรุปการเรียนรู้ (ใช้เวลา ๑๐ นาที)
๑. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี ้ การใช้ลักษณนามได้ถูกต้อง
จะทำให้ส่ อ
ื ความหมาย
ได้เหมาะสมกับข้อความ (มิติทางด้านสังคม : นักเรียน : ร่วมแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ซึ่งกันและกัน)

You might also like