You are on page 1of 30

มคอ.

4 รายละเอียดของประสบการณ์
ภาคสนาม

รหัสวิชา 09-216-301 ชื่อวิชา ฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ


(Professional Experience)
หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า
กลุ่มวิชาบังคับทางวิศวกรรม
18 pt
ผู้รับผิดชอบรายวิชา นายอภิรัญธ์ จันทร์ทอง
สาขา วิศวกรรมไฟฟ้ า

วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ
สารบัญ

หน้า
หมวดที่ ข้อมูลทั่วไป 1
1
หมวดที่ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 3
2
หมวดที่ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา 5
3
22 pt
หมวดที่ ลักษณะและการดำเนินการ 9
ตัวหนา
4
หมวดที่ การวางแผนและการเตรียมการ 12
5
หมวดที่ การประเมินนักศึกษา 14
6
หมวดที่ การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของการฝึ ก 15
7 ประสบการณ์ภาคสนาม
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
16 pt
วิทยาเขต/คณะ/สาขาวิชา วิทยาเขตนครศรีธรรมราช
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1. รหัสและชื่อรายวิชา
09-216-301 ฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ
Professional Experience

2. จำนวนหน่วยกิต หรือจำนวนชั่วโมง
1 หน่วยกิต 1(160)

3. หลักสูตรและกลุ่ม(กลุ่มความรู้/กลุ่มทักษะ/กลุ่มวิชา/วิชาเลือกเสรี)
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า
วิชาเฉพาะด้าน กลุ่มวิชาบังคับทางวิศวกรรม

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา/คณะกรรมการที่ปรึกษาการฝึ ก
ประสบการณ์ภาคสนาม
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา อาจารย์อภิรัญธ์ จันทร์ทอง
โทรศัพท์ 066-1365195 อาจารย์ผู้สอน
อาจารย์สันติ การีสันต์
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์สันติพงษ์ คงแก้ว
1
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ไพโรจน์ แสงอำไพ
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ปริญญา สุนทรวงค์
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์อาคม ลักษณะสกุล
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์อภิรัญธ์ จันทร์ทอง
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์สุพร ฤทธิภักดี

5. ภาคการศึกษา / ชั้นปี ที่กำหนดให้มีการฝึ กประสบการณ์ภาค


สนามตามแผนการศึกษาของหลักสูตร
ภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2566 / ชั้นปี ที่ 3

6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite)
-

7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisite)
ไม่มี

8. วันที่จัดทำหรือปรับปรุง มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณ์


ภาคสนามครั้งล่าสุด
วันที่ 6 พฤศจิกายน 2566

2
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของประสบการณ์ภาคสนาม
จุดมุ่งหมายของวิชาประสบการณ์ภาคสนาม เป็ นการฝึ กให้
นักศึกษาได้เรียนรู้สิ่งต่อไปนี้
1.1 การเชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎีกับการประยุกต์ให้เกิดผลทาง
ปฏิบัติ
1.2 เข้าใจกระบวนการ ขั้นตอนและวิธีการนำความรู้ด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใน
การทำงาน
1.3 การพัฒนาระบบสารสนเทศจากสภาพแวดล้อมจริง
1.4 การวางแผนการพัฒนาระบบสารสนเทศอย่างมีขั้นตอนและ
เป็ นระบบ
1.5 การใช้เครื่องมือ อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีอยู่ใน
สภาพแวดล้อมจริง
1.6 เข้าใจชีวิตการทำงานและวัฒนธรรมองค์กร เรียนรู้การปรับ
ตัวให้เข้ากับผู้อื่น และสามารถทำงานร่วมกันได้

2. วัตถุประสงค์ของการพัฒนาหรือปรับปรุงรายวิชาประสบการณ์
ภาคสนาม
เพื่อให้เป็ นวิชาที่นักศึกษาได้บูรณาการความรู้ที่ได้ศึกษามา
ทั้งหมด ประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ จะ

2
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
เป็ นการเพิ่มพูนประสบการณ์ตรง ทำงานเป็ นทีม เป็ นการเตรียมความ
พร้อมและปรับตัวให้สามารถทำงานได้จริงเมื่อสำเร็จการศึกษา ภายใต้
การดูแลของพนักงานพี่เลี้ยงจากสถานประกอบการและอาจารย์ที่
ปรึกษา

3. คำอธิบายรายวิชา
ฝึ กประสบการณ์วิชาชีพในองค์กรเอกชนหรือภาครัฐ โดยนำความ
รู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้ า การติดตั้งไฟฟ้ า ระบบควบคุม ระบบสื่อสาร
หรืองานอื่น ๆ และทักษะมาประยุกต์ใช้ในการทำงาน ภายใต้ คำ
แนะนำของผู้ควบคุมดูแลในสถานประกอบการและอาจารย์ที่ปรึกษา
เป็ นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 160 ชั่วโมง การจัดทำรายงานสรุปและ
การนำเสนอเพื่อการประเมินผล
Professional experience in either the public or private
sectors by applying electrical system, electrical installation,
control system, communication, or other related work, and
skills in working under the supervision of both an approved
internship provider and a faculty advisor for a period not
less than 160 hours; a final written report, and oral
presentation for evaluation.

4. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อสัปดาห์
การศึกษาด้วย
ทฤษฎี ปฏิบัติ สอนเสริม
ตนเอง
3
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
ไม่มี 160 ชั่วโมง ไม่มี ไม่มี

5. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้
จากหลักสูตรสู่รายวิชา
(Curriculum Mapping)

5. ทักษะการ
4. ทักษะความ วิเคราะห์เชิง
1. คุณธรรม 3. ทักษะทาง สัมพันธ์ระหว่าง ตัวเลข การ
2. ความรู้
จริยธรรม ปั ญญา บุคคลและความ สื่อสารและการ
รับผิดชอบ ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5
                 

ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

4
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4

หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
 1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักใน
คุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
 1.1.3 มีภาวะความเป็ นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็ น
หมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพ
สิทธิและรับฟั งความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและ
ศักดิ์ศรีของความเป็ นมนุษย์
 1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความ
รับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคม
ของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบัน

5
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
นอกจากคุณสมบัติตามข้อกำหนดของหลักสูตรแล้ว นักศึกษายัง
ต้องได้รับการพัฒนา เพิ่มเติมดังนี้
- ซื่อสัตย์ สุจริต รักษาความลับขององค์กร
- เคารพ ปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบขององค์กร
- มีความขยันหมั่นเพียร อดทน เอื้อเฟื้ อต่อสมาชิกในการ
ทำงาน
1.2 กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียน
- ปฐมนิเทศนักศึกษาถึงระเบียบ วินัย คุณธรรม ที่พึงปฏิบัติ ก่อน
การฝึ กงาน
- กำหนดตารางเวลาฝึ กงาน บันทึกเวลาฝึ กงาน กำหนดขอบเขต
ของงาน กำหนดวิธีการประเมินผลงาน
- มอบหมายงาน กำหนด ติดตามและควบคุมให้นักศึกษาปฏิบัติ
ตามกฎระเบียบของสถานประกอบการ เช่นเดียวกับพนักงานของ
องค์กร
- ประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง
1.3 วิธีการประเมินผลการเรียน
- นักศึกษาประเมินการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยใช้แบบสอบถาม
มาตรฐานที่วัดคุณธรรมจริยธรรม
- ประเมินโดยพนักงานพี่เลี้ยง หรือพนักงานควบคุมการฝึ กงาน
จากการสังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกระหว่างฝึ กงาน โดยมีการ
บันทึกผลการประเมิน และมีหลักฐานแจ้งให้นักศึกษาทราบด้วยทุกครั้ง

6
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
- ประเมินความซื่อสัตย์จากการพูดคุย สัมภาษณ์เพื่อนร่วมงาน
หัวหน้างาน และผู้เกี่ยวข้อง พร้อมมีรายงานผลการฝึ กงานประกอบ

2. ความรู้
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
 2.1.1 ความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการ
ประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้าง
นวัตกรรมทางเทคโนโลยี
 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ใน
ศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปั ญหา ด้วยวิธีที่เหมาะสม รวม
ถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม อาทิ โปรแกรมคอมพิวเตอร์
เป็ นต้น
 2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการ
ประยุกต์แก้ไขปั ญหาในงานจริงได้
นอกจากคุณสมบัติตามข้อกำหนดของหลักสูตรแล้ว นักศึกษายัง
ต้องได้รับการพัฒนา เพิ่มเติมดังนี้
- มีความรู้ด้านการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการใช้งาน
เชิงธุรกิจ เพื่อการบริหาร เพื่อการปฏิบัติงาน หรือเพื่อสนับสนุนการ
ดำเนินกิจกรรมขององค์กร
- เข้าใจและเลือกใช้เครื่องมือในการทำงานอย่างถูกต้อง เหมาะ
สม และคำนึงถึงการใช้ทรัพยากรของหน่วยงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด

7
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
- เข้าใจและปฏิบัติตามขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ ที่
สอดคล้องกับระดับคุณภาพขององค์กร
- เข้าใจในบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย และปฏิบัติหน้าที่ได้ถูก
ต้อง
2.2 กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียน
- สถานประกอบการที่ฝึ กงาน จัดพนักงานพี่เลี้ยงให้คำแนะนำ
เครื่องมือ อุปกรณ์ที่จำเป็ นในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ บอกถึงแหล่ง
ข้อมูลเพื่อให้นักศึกษาได้ค้นคว้าข้อมูลเพื่อการทำงานได้ด้วยตนเอง
- ใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ที่มีในหน่วยงานเพื่อการปฏิบัติ
งานจริงภายใต้การดูแลของพนักงานพี่เลี้ยง
- จัดประชุม แบ่งงาน ติดตามงาน ตามระยะเวลาที่กำหนด หรือ
ตามความเหมาะสม

2.3 วิธีการประเมินผลการเรียน
- ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน โดยผู้เกี่ยวข้อง เช่น ผู้ใช้งาน
ระบบสารสนเทศ พนักงานพี่เลี้ยง อาจารย์นิเทศ
- ประเมินผลจากการทำงานร่วมกับผู้อื่น
- ประเมินผลจากการตรงต่อเวลาในการส่งงาน และความสมบูรณ์
ของงานที่ได้รับมอบหมาย โดยกำหนดแบบฟอร์มบันทึกการส่งงาน

3. ทักษะทางปั ญญา
3.1 ทักษะทางปั ญญา ที่ต้องพัฒนา

8
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
 3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ สรุปประเด็นปั ญหา
และความต้องการ
 3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปั ญหาด้านวิศวกรรมได้
อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
 3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่
เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้
จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
 3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วย
ตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์
ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
นอกจากคุณสมบัติตามข้อกำหนดของหลักสูตรแล้ว นักศึกษายัง
ต้องได้รับการพัฒนา เพิ่มเติมดังนี้
- มีทักษะในการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ ในการใช้งาน
ระบบสารสนเทศ
- มีทักษะการเลือก และใช้เครื่องมือ อุปกรณ์การพัฒนาระบบ
สารสนเทศ
- สามารถนำความรู้ทางทฤษฎีมาเป็ นพื้นฐานในการทำงานจริง
- สามารถนำความรู้ทางทฤษฎีมาประยุกต์เพื่อแก้ไขปั ญหา
3.2 กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียน
- การมอบหมายโจทย์ปั ญหา ให้ฝึ กการค้นหาความต้องการ และ
วิเคราะห์ผลความต้องการ
- จัดทำรายงานผลวิเคราะห์ความต้องการ และนำเสนอ
9
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
- ประชุมร่วมกันระหว่างพนักงานพี่เลี้ยง อาจารย์ที่ปรึกษา และ
นักศึกษาฝึ กงาน
- มอบหมายโจทย์ปั ญหา ให้ฝึ กการออกแบบโปรแกรม
- จัดทำรายงานผลการออกแบบโปรแกรม และนำเสนอ
- การพัฒนาระบบสารสนเทศจริง โดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์
ซอฟต์แวร์ที่มีอยู่ในหน่วยงาน
- ทดสอบโปรแกรมที่พัฒนา
- ประชุมร่วมกันระหว่างพนักงานพี่เลี้ยง อาจารย์ที่ปรึกษา และ
นักศึกษาฝึ กงาน สม่ำเสมอและต่อเนื่อง
3.3 วิธีการประเมินผลการเรียน
- ประเมินผลจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย ตามหัวข้อที่กำหนด
โดยอ้างอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวข้องและควรนำมาเป็ นพื้นฐานในการ
ทำงาน

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่
ต้องพัฒนา
 4.1.2 สามารถเป็ นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์
เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอ

10
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
เหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่มรวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวย
ความสะดวกในการแก้ไขปั ญหาสถานการณ์ต่างๆ
 4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้
ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.4 รู้จักบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตาม
ที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วม
กับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถวางตัว
ได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
นอกจากคุณสมบัติตามข้อกำหนดของหลักสูตรแล้ว นักศึกษายัง
ต้องได้รับการพัฒนา เพิ่มเติมดังนี้
- มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทาง
วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง เรียนรู้ภาวะทางอารมณ์ของตนเอง เรียนรู้การ
ทำงานร่วมกับผู้อื่น เรียนรู้เทคนิคการขอความช่วยเหลือ หรือขอข้อมูล
เพื่อนำมาประกอบการทำงาน
- สามารถวางตัวในตำแหน่งงานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างเหมาะ
สม กล้าแสดงความคิดเห็นในขอบเขตของงานและภาระหน้าที่
- พัฒนาตนเองจากการเรียนรู้ด้วยตนเอง และจากการฝึ กอบรม
หรือการสอบถามเพื่อนร่วมงาน
- สร้างความสัมพันธ์อันดี ทำให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อเฟื้ อ
เกื้อกูลกันในหน่วยงาน
4.2 กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียน
- สร้างกิจกรรมสันทนาการ ละลายพฤติกรรม เพื่อให้เกิดความ
รู้สึก สามัคคี พร้อมทำงานเป็ นทีม

11
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
- มอบหมายงานที่ต้องทำงานร่วมกันเป็ นทีม มีการแบ่งงานกัน
อย่างชัดเจน
- มอบหมายงานที่ต้องไปพูดคุย สัมภาษณ์ เพื่อให้ได้ข้อมูลเพื่อ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
- ประชุมร่วมกัน เพื่อมอบหมายงาน ติดตามงาน ประเมินผล
4.3 วิธีการประเมินผลการเรียน
- ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม จากการสัมภาษณ์ผู้ร่วมงาน
หรือผู้เกี่ยวข้อง
- ประเมินจากข้อมูลที่ได้รับจากการที่นักศึกษาไปสัมภาษณ์
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และการได้
รับการยอมรับจากเพื่อนร่วมงาน หรือผู้เกี่ยวข้อง

5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี


สารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
 5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์
หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปั ญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่าง
สร้างสรรค์
 5.1.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน และการ
สื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์

12
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
 5.1.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทาง
วิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
นอกจากคุณสมบัติตามข้อกำหนดของหลักสูตรแล้ว นักศึกษายัง
ต้องได้รับการพัฒนา เพิ่มเติมดังนี้
- สามารถใช้ความรู้ทางสถิติ คณิตศาสตร์ เทคนิคการคำนวณ
เพื่อแก้ปั ญหาโจทย์ที่ได้รับมอบหมาย อย่างเหมาะสม
- สามารถใช้เทคโนโลยี เครื่องมือ อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ ในการ
สื่อสารเพื่อสนับสนุนการทำงาน เช่น การโต้ตอบ แสดงความคิดเห็น
ประสานการทำงาน การรับ-ส่งงาน
- สามารถใช้เทคโนโลยี หรืออินเทอร์เน็ตในการค้นคว้าหาข้อมูล
ประกอบการทำงาน
- สามารถสื่อสานโดยใช้ภาษาที่เหมาะสม และส่งผลให้เกิด
ประสิทธิภาพในการทำงาน
5.2 กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียน
- มอบหมายงานที่ต้องใช้คณิตศาสตร์ ทักษะการคำนวณ และใช้
สถิติเพื่อนำเสนอข้อมูล
- มอบหมายงานที่ต้องมีการสื่อสารโดยใช้ภาษาไทยและต่าง
ประเทศ ทั้งการพูด เขียน ในการประสานการทำงาน
- มอบหมายงานที่ต้องใช้เทคโนโลยี ในการแก้ปั ญหา หรือนำ
เสนอผลงาน
5.3 วิธีการประเมินผลการเรียน
- ประเมินจากเอกสาร ที่นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลทาง
คณิตศาสตร์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นสื่อ

13
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
- ประเมินจากเอกสารที่เขียน เช่น E-Mail ที่ใช้สื่อสารเพื่อการ
ทำงาน
- ประเมินจากผลการแก้ปั ญหา โดยเน้นความถูกต้องและเหมาะ
สม

หมวดที่ 4 ลักษณะและการดำเนินการ

1. คำอธิบายโดยทั่วไปของประสบการณ์ภาคสนามหรือคำอธิบาย
รายวิชา
การศึกษาระบบการทำงานและฝึ กปฏิบัติในสถานประกอบการ
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น บริษัทรับพัฒนาซอฟต์แวร์ พัฒนา
ระบบสารสนเทศ บริษัทที่ให้คำแนะนำในการเลือกใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศที่เหมาะสมกับลักษณะงานขององค์กร เพื่อนำความรู้ทาง
ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการพัฒนาระบบสารสนเทศมาบูรณาการ และ
ประยุกต์เพื่อแก้ปั ญหาทางธุรกิจ ในสภาวะแวดล้อมจริงขององค์กร

2. กิจกรรมของนักศึกษา

14
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
การทำงานเพื่อเพิ่มประสบการณ์ภาคสนามในช่วงระยะเวลาต่อ
เนื่องจนครบจำนวนชั่วโมงที่ระบุตามหลักสูตรและ/หรือตามเวลาการ
ทำงานของสถานประกอบการ ที่นักศึกษาฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม
โดยนักศึกษาต้องมีการเตรียมตัวก่อนการทำงานดังนี้
- เรียนรู้ ทำความเข้าใจในภารกิจ เป้ าหมาย วัฒนธรรม กฎ
ระเบียบ ขั้นตอนในการทำงานของสถานประกอบการ
- เรียนรู้ และฝึ กการทำงานร่วมกับผู้อื่นในสถานประกอบการที่ฝึ ก
ประสบการณ์ภาคสนาม
- นำความรู้ทางทฤษฎีทางเทคโนโลยีสารสนเทศและวิชาอื่นที่
เกี่ยวข้อง มาเป็ นพื้นฐานในการประยุกต์เพื่อการทำงาน
- การฝึ กแก้ไขปั ญหาในโจทย์ที่ได้รับมอบหมายโดยใช้อุปกรณ์
เครื่องมือที่มีออยู่ในสถานประกอบการ
3. รายงานหรืองานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย
รายงานหรืองานที่ได้รับมอบหมาย กำหนดส่ง

แผนการแก้ไขโจทย์ปั ญหา ระหว่างการฝึ กประสบการณ์ภาค


สนาม
ผลการวิเคราะห์ปั ญหา ระหว่างการฝึ กประสบการณ์ภาค
สนาม ตามระยะเวลาที่มอบหมาย
งาน
ผลการออกแบบ และพัฒนาระบบ ระหว่างการฝึ กประสบการณ์ภาค
เพื่อแก้ไขปั ญหา สนาม ตามระยะเวลาที่มอบหมาย
งาน
ผลประเมินการใช้งานระบบ ระหว่างการฝึ กประสบการณ์ภาค

15
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
สนาม ตามระยะเวลาที่มอบหมาย
งาน
รายงานการฝึ กปฏิบัติงาน หลังการสิ้นสุดการฝึ ก
ประสบการณ์ภาคสนาม 1 สัปดาห์

4. การติดตามผลการเรียนรู้การฝึ กประสบการณ์ภาคสนามของ
นักศึกษา
- จัดประชุมผู้เกี่ยวข้องในการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม ทั้งที่
ปรึกษาการฝึ กประสบการณ์ภาคสนามและที่ปรึกษาเฉพาะเรื่อง ให้
นักศึกษานำเสนอการเรียนรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึ ก
ประสบการณ์ภาคสนาม เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างนักศึกษาที่
ไปฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม
- อาจารย์ชี้นำให้เห็นถึงความสำคัญ และผลกระทบต่อพฤติกรรม
ด้านคุณธรรม จริยธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิด
ชอบ ที่มีต่อการทำงานในอนาคต
- การนำผลประเมินนักศึกษาฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม มานำ
เสนออภิปราย เพื่อเป็ นแนวทาง
ในการฝึ กประสบการณ์ภาคสนามต่อรุ่นต่อไป
- สนับสนุนให้นำโจทย์ที่พบในการฝึ กประสบการณ์ภาคสนามมา
เป็ นกรณีศึกษา หรือโจทย์ในการทำโครงงานระบบสารสนเทศต่อไป

16
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
5. หน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงในสถานประกอบ
การที่ดูแลกิจกรรมในภาคสนาม
- จัดโปรแกรม ตารางการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม ร่วมกับ
อาจารย์ที่ปรึกษา
- แนะนำนักศึกษาเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ ข้อปฏิบัติ วัฒนธรรมของ
หน่วยงาน
- แนะนำเครื่องมือ อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ ของหน่วยงาน ที่สามารถ
นำมาใช้เพื่อการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม
- แนะนำบุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือที่ต้องทำงานร่วมกัน
- ติดตามความก้าวหน้า ประเมินผลการทำงานของนักศึกษาฝึ ก
ประสบการณ์ภาคสนาม รายงานผลต่ออาจารย์ที่ปรึกษา
- ประสานงาน ประชุมกับอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อให้ความเห็นใน
การปรับปรุงการทำงานของนักศึกษา

6. หน้าที่และความรับผิดชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศ
- ประสานและร่วมวางแผนการฝึ กประสบการณ์ภาคสนามกับ
พนักงานพี่เลี้ยง
- สังเกตการณ์การฝึ กประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษาใน
สถานประกอบการ
- แนะนำหรือให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาให้มีทักษะการทำงานใน
องค์กร
- ประเมินผลการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม

17
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
- สอบทาน/ปรับปรุงแผนงานการฝึ กประสบการณ์ภาคสนามเป็ น
ระยะ
7. การเตรียมการในการแนะแนวและช่วยเหลือนักศึกษา
- จัดปฐมนิเทศแนะนำนักศึกษาก่อนฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม
พร้อมแจกคู่มือการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม
- จัดช่องทางและเจ้าหน้าที่ประสานงาน รับแจ้งเหตุด่วน กรณี
ต้องการความช่วยเหลือ เช่น หมายเลขโทรศัพท์ และไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์
- จัดอาจารย์ที่ปรึกษาตามความเชี่ยวชาญด้านการใช้เครื่องมือ
อุปกรณ์ หรือเทคนิคพิเศษ
เพื่อให้คำปรึกษาเฉพาะด้านการแก้ไขปั ญหา

8. สิ่งอำนวยความสะดวกและการสนับสนุนที่ต้องการจากสถานที่ที่
จัดประสบการณ์ภาคสนาม/สถาน
ประกอบการ
- ระบบคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย มีระบบรักษาความปลอดภัยของ
ข้อมูล
- สถานที่ทำงาน หมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้ ตามความจำเป็ น
- วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ซอฟต์แวร์ และคู่มือที่ใช้ประกอบการ
ทำงาน
- แหล่งข้อมูลเพื่อการค้นคว้า หรือเรียนรู้ด้วยตนเอง
- พนักงานพี่เลี้ยงที่คอยให้คำแนะนำ

18
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4

หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรียมการ

1. การกำหนดสถานที่ฝึ ก

19
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม คัดเลือกสถาน
ประกอบการที่ยินดีรับนักศึกษาฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม โดยดู
ลักษณะงานที่เหมาะสมและมีความพร้อมดังนี้
- เข้าใจ และสนับสนุนการฝึ กประสบการณ์ภาคสนามตามจุดมุ่ง
หมาย
- มีความปลอดภัยของสถานที่ตั้ง มีความสะดวกในการเดินทาง
และสภาพแวดล้อมการทำงานที่ดี
- มีอุปกรณ์ เทคโนโลยี ซอฟต์แวร์ที่ถูกกฎหมาย พร้อมในการฝึ ก
ประสบการณ์ภาคสนามเพื่อแก้ปั ญหาตามโจทย์
- สามารถจัดพนักงานพี่เลี้ยงดูแลการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม
- มีโจทย์ปั ญหาที่มีความยากง่ายเหมาะสมกับศักยภาพของ
นักศึกษาในระยะเวลาที่กำหนด
- ยินดี เต็มใจรับนักศึกษาฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม
การติดต่อประสานงาน กำหนดล่วงหน้าก่อนฝึ กประสบการณ์ภาค
สนามอย่างน้อย 4 เดือน
จัดนักศึกษาลงฝึ กประสบการณ์ภาคสนามตามความสมัครใจ หรือ
นักศึกษาอาจหาสถานที่ฝึ กประสบการณ์ภาคสนามด้วยตนเอง แต่ต้อง
ได้รับความเห็นชอบจากผู้รับผิดชอบรายวิชา
2. การเตรียมนักศึกษา
จัดปฐมนิเทศการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม มอบคู่มือการฝึ ก
ประสบการณ์ภาคสนาม ก่อนการฝึ กประสบการณ์ภาคสนามอย่างน้อย
1 สัปดาห์ ชี้แจงวัตถุประสงค์ สิ่งที่คาดหวัง จากการฝึ กประสบการณ์
ภาคสนาม วิธีการประเมินผล ช่องทางการติดต่อประสานงาน จัดฝึ ก

20
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
อบรมบุคลิกภาพ การแต่งกาย หรือเทคนิคเพิ่มเติมหากต้องการความ
สามารถเฉพาะด้าน เพื่อการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม

3. การเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศ
อาจารย์ที่ปรึกษาฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม ประสานงานกับ
สถานประกอบการเพื่อขอชื่อ ตำแหน่งของพนักงานพี่เลี้ยง ประชุม
พนักงานพี่เลี้ยง และนักศึกษาฝึ กประสบการณ์ภาคสนามเพื่อชี้แจงให้
รับทราบวัตถุประสงค์ สิ่งที่คาดหวัง จากการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม
ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ที่ต้องการเน้น อุปกรณ์ เทคโนโลยี ซอฟต์แวร์ที่จะนำมาใช้ในการฝึ ก
ประสบการณ์ภาคสนาม แนวทางการฝึ กอบรม หรือการฝึ กใช้เครื่องมือ
ช่องทางการติดต่อกรณีเหตุด่วน มอบเอกสารคู่มือการดูแล และ
ประเมินผลการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม

4. การเตรียมพนักงานพี่เลี้ยงในสถานที่ฝึ ก
จัดประชุมพนักงานพี่เลี้ยง และนักศึกษาฝึ กประสบการณ์ภาค
สนามเพื่อชี้แจงให้ทราบวัตถุประสงค์ สิ่งที่คาดหวัง จากการฝึ ก
ประสบการณ์ภาคสนาม รับทราบถึงวิธีการบันทึกผลการทำงานของ
นักศึกษา มอบเอกสารคู่มือการดูแล และประเมินผลการฝึ ก
ประสบการณ์ภาคสนาม บอกหมายเลขโทรศัพท์ หรือช่องทางการ
ติดต่ออาจารย์นิเทศ

21
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4

5. การจัดการความเสี่ยง
อาจารย์ประจำหลักสูตรประชุมร่วมกันเพื่อประเมินความเสี่ยง ที่
จะเกิดต่อนักศึกษา และก่อให้ความเสียหายต่อสถานประกอบการ เช่น
- ความเสี่ยงจากสถานที่ตั้ง สภาพแวดล้อมในการทำงาน การเดิน
ทาง ป้ องกันโดยคัดเลือกสถานประกอบการที่มีการคมนาคมสะดวก
ไม่มี หรือมีความเสี่ยงน้อยที่สุด
- ความเสี่ยงจากอุบัติภัยจากการทำงาน จากการใช้เครื่องมือ
อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ ป้ องกันโดย
จัดปฐมนิเทศ แนะนำการใช้อุปกรณ์ การป้ องกันไวรัส อันก่อให้เกิด
ความเสียหายต่อข้อมูลสถานประกอบการ เน้นจริยธรรมการไม่เปิ ดเผย
ข้อมูลสถานประกอบการอันเป็ นความลับ และกำหนดให้นักศึกษา
ปฏิบัติตามกฎระเบียบสถานประกอบการอย่างเคร่งครัด

22
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4

หมวดที่ 6 การประเมินนักศึกษา

1. หลักเกณฑ์การประเมิน
ประเมินการบรรลุผลการเรียนรู้ของนักศึกษาทั้ง 5 ด้าน โดยให้
ระดับคะแนน 1-5 ตามเกณฑ์การประเมินผลการศึกษาของวิทยาลัย
ดังนี้
1 หมายถึง ต้องปรับปรุงอย่างมาก
2 หมายถึง ต้องปรับปรุง
3 หมายถึง พอใช้
4 หมายถึง ดี
5 หมายถึง ดีมาก
นักศึกษาต้องได้รับคะแนนประเมินเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จึงจะ
ผ่านเกณฑ์การฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม

2. กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
- ประเมินโดยพนักงานพี่เลี้ยงและอาจารย์ที่ปรึกษาฝึ ก
ประสบการณ์ภาคสนาม โดยใช้เกณฑ์ตามข้อกำหนดของโครงการสห
กิจศึกษา
- อาจารย์ที่ปรึกษาฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม สรุปผลการ
ประเมิน และรายงานผลต่อคณะฯ

3. ความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงต่อการประเมินนักศึกษา

23
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
ประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาทั้งระหว่างฝึ ก
ประสบการณ์ภาคสนาม และเมื่อเสร็จสิ้นการฝึ กประสบการณ์ภาค
สนาม ตามแบบฟอร์มการประเมินของหลักสูตร

4. ความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบประสบการณ์ภาคสนาม
ต่อการประเมินนักศึกษา
ประเมินผลนักศึกษาหลังจากเสร็จสิ้นการฝึ กประสบการณ์ภาค
สนาม ตามแบบประเมิน
โดยพิจารณาจากรายงานผลการประเมินตนเองของนักศึกษา บันทึกผล
การนิเทศ และรายงานการฝึ กฯ
ของพี่เลี้ยง

5. การสรุปผลการประเมินที่แตกต่าง
ประธานหลักสูตรประสานงานกับสถานประกอบการ เพื่อ
ทำความเข้าใจในการประเมิน หากเกิดความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ มี
การประชุมร่วมกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาหาข้อสรุป

24
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของการ
ฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม

1. กระบวนการประเมินการฝึ กประสบการณ์ภาคสนามโดยผู้
เกี่ยวข้องต่อไปนี้
1.1 นักศึกษา
จัดให้นักศึกษาตอบแบบสอบถามการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม
1.2 พนักงานพี่เลี้ยงหรือผู้ประกอบการ
พนักงานพี่เลี้ยงบันทึกงานที่มอบหมาย และผลการฝึ กฯในแบบ
ฟอร์ม และสุ่มถามด้วยวาจา
1.3 อาจารย์ที่ดูแลกิจกรรมภาคสนาม
อาจารย์ที่ปรึกษาเฉพาะเรื่อง บันทึกการให้คำปรึกษา ผลการ
ดำเนินงานของนักศึกษาหลังให้คำปรึกษา ในแบบฟอร์มรายงานผลการ
ฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม การนำคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาไปใช้
ในการแก้ปั ญหาของนักศึกษา
1.4 อื่น ๆ เช่น บัณฑิตจบใหม่
ติดตามความก้าวหน้าในการทำงานของบัณฑิตที่ตรงตามสาขา
วิชา โดยการสำรวจสอบถามจากผู้ประกอบการและบัณฑิต

2. กระบวนการทบทวนผลการประเมินและการวางแผนปรับปรุง
- อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึ กประสบการณ์ภาคสนาม ประมวลผล
การฝึ กประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษาจากผลการประเมินและข้อ

25
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
มคอ.4
เสนอแนะจากนักศึกษา จากพนักงานพี่เลี้ยง และจากอาจารย์ที่ปรึกษา
เฉพาะเรื่อง รายงานต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และประธาน
หลักสูตร หรือหัวหน้าสาขาวิชาเพื่อทราบ
- ประชุมหลักสูตร หรือสาขาวิชา เพื่อร่วมพิจารณานำข้อเสนอ
แนะมาปรับปรุงสำหรับการใช้รอบปี การศึกษาถัดไป นำแสดงไว้ใน
รายงานผลการดำเนินการหลักสูตร

26

You might also like