You are on page 1of 7

มคอ.

3
รายละเอียดของรายวิชา
615 311-2560 เทคโนโลยีทดสอบวัสดุ (Materials Testing Technology) 1(0-3-0)
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา: มหาวิทยาลัยศิลปากร
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา: ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา: 615 311-2560 เทคโนโลยีทดสอบวัสดุ (Materials Testing Technology)
2. จานวนหน่วยกิต: 1(0-3-0)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา: หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมเครื่องกล หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาบังคับ
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา: อ.ดร.ณัฐ ธัชยะพงศ์
อาจารย์ผู้สอน: ผศ.ดร.วิชุดา เมตตานันท, เมฆ กลุ่ม 1 วันพุธ เวลา 09:25-12:05 น. ห้องเรียน ท.427
ผศ.ดร.วิชุดา เมตตานันท, เมฆ กลุ่ม 2 วันพุธ เวลา 15.45-18.25 น. ห้องเรียน ท.412
อ.ดร.ณัฐ ธัชยะพงศ์, เมฆ กลุ่ม 3 วันพุธ เวลา 15.45-18.25 น. ห้องเรียน ท.427
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน: ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2565 ชั้นปีที่ 3
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite): ไม่มี
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites): ไม่มี
8. สถานที่เรียน: คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด: 17 มิถุนายน 2565

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา: เพื่อเพิ่มประสบการณ์ในด้านปฏิบัติในสาขาวิศวกรรมเครื่องกลแก่ผู้เรียน
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา: เพื่อสอนรายวิชาปฏิบัติการให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
1. คาอธิบายรายวิชา
พื้นฐานของการทดสอบวัสดุแบบทาลายของวัสดุวิศวกรรม การทดสอบการดึง การทดสอบการกด การทดสอบแรงบิด การทดสอบการดัดงอ
การทดสอบความแข็ง การทดสอบการกระแทก
2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
ปฏิบัติ 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ จานวน 15 สัปดาห์ คิดเป็นชั่วโมงปฏิบัติ 45 ชั่วโมง
3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยประกาศเวลาให้คาปรึกษาผ่านทางเว็บไซต์
บริการการศึกษาของมหาวิทยาลัยหรือเว็บไซต์ของภาควิชาฯ

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษาa
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 1.2 วิธีการสอน 1.3 วิธีการประเมินผล
ภารกิจหลัก: 1.1.2 – 1.1.5 1.2.2 1.3.1
ภารกิจรอง: 1.1.1
2. ความรู้
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 2.2 วิธีการสอน 2.3 วิธีการประเมินผล
-1-
ภารกิจหลัก: 2.1.1 – 2.1.5 2.2.1, 2.2.2, 2.2.3, 2.3.3, 2.3.4, 2.3.5
ภารกิจรอง: - 2.2.6
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 3.2 วิธีการสอน 3.3 วิธีการประเมินผล
ภารกิจหลัก: 3.1.1 – 3.1.5 3.2.1, 3.2.2, 3.2.3, 3.3.3, 3.3.4, 3.3.5
ภารกิจรอง: - 3.2.6
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 4.2 วิธีการสอน 4.3 วิธีการประเมินผล
ภารกิจหลัก: 4.1.5 4.2.1, 4.2.2, 4.2.5 4.3.1, 4.3.3
ภารกิจรอง: 4.1.1 – 4.1.4
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 5.2 วิธีการสอน 5.3 วิธีการประเมินผล
ภารกิจหลัก: 5.1.1, 5.1.4, 5.1.5 5.2.1, 5.2.2, 5.2.4, 5.3.3, 5.3.4, 5.3.5
ภารกิจรอง: 5.1.2, 5.1.3 5.2.5
a
รายละเอียดในแต่ละข้อให้ดูในภาคผนวก ก

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด ชั่วโมง ผู้สอน กิจกรรม สื่อการสอนb
การสอน
1 แนะนาวิชา คาจากัดความ คุณธรรมจริยธรรม 3 S1:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การศึกษาด้วยตนเอง [1-3]
6 ก.ค. 65 และจรรยาบรรณวิชาชีพ S2:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การบรรยาย
S3:อ.ดร.ณัฐ/เมฆ การสอบเก็บคะแนน

2 ปฎิบัติการที่ 0 3 S1:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การศึกษาด้วยตนเอง [1-3]


13 ก.ค. 65* พื้นฐานของการทดสอบวัสดุแบบทาลายของวัสดุ S2:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การบรรยาย
วิศวกรรม S3:อ.ดร.ณัฐ/เมฆ การสอบเก็บคะแนน
การปฏิบัติ
3 ปฎิบัติการที่ 1 3 S1:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การศึกษาด้วยตนเอง [1-3]
20 ก.ค. 65 การทดสอบแรงดึงสถิตย์ สาหรับเหล็กเส้นกลม S2:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การบรรยาย
และเหล็กข้ออ้อย S3:อ.ดร.ณัฐ/เมฆ การสอบเก็บคะแนน
การปฏิบัติ
4 ปฎิบัติการที่ 1 (ต่อ) 3 S1:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การศึกษาด้วยตนเอง [1-3]
27 ก.ค. 65 การทดสอบแรงดึงสถิตย์ สาหรับอลูมิเนียม S2:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การบรรยาย
S3:อ.ดร.ณัฐ/เมฆ การสอบเก็บคะแนน
การปฏิบัติ
5 ปฎิบัติการที่ 2 3 S1:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การศึกษาด้วยตนเอง [1-3]
3 ส.ค. 65 การทดสอบแรงกดสถิตย์ สาหรับคอนกรีต S2:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การบรรยาย
ทรงกระบอก S3:อ.ดร.ณัฐ/เมฆ การสอบเก็บคะแนน
การปฏิบัติ
6 ปฎิบัติการที่ 3 3 S1:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การศึกษาด้วยตนเอง [1-3]

-2-
10 ส.ค. 65 การทดสอบแรงดัดสถิตย์ สาหรับเหล็กกล้าละมุน S2:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การบรรยาย
S3:อ.ดร.ณัฐ/เมฆ การสอบเก็บคะแนน
การปฏิบัติ
7 ปฎิบัติการที่ 4 3 S1:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การศึกษาด้วยตนเอง [1-3]
17 ส.ค. 65 การทดสอบแรงดัดสถิตย์ สาหรับคานไม้ประกอบ S2:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การบรรยาย
S3:อ.ดร.ณัฐ/เมฆ การสอบเก็บคะแนน
การปฏิบัติ
8 ปฎิบัติการที่ 5 3 S1:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การศึกษาด้วยตนเอง [1-3]
31 ส.ค. 65 การทดสอบแรงดัดสถิตย์ สาหรับคอนกรีต S2:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การบรรยาย
S3:อ.ดร.ณัฐ/เมฆ การสอบเก็บคะแนน
การปฏิบัติ
9 ปฎิบัติการที่ 5 (ต่อ) 3 S1:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การศึกษาด้วยตนเอง [1-3]
7 ก.ย. 65 การทดสอบแรงดัดสถิตย์ สาหรับคอนกรีตเสริม S2:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การบรรยาย
เหล็ก S3:อ.ดร.ณัฐ/เมฆ การสอบเก็บคะแนน
การปฏิบัติ
10 ปฎิบัติการที่ 6 3 S1:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การศึกษาด้วยตนเอง [1-3]
14 ก.ย. 65 การทดสอบความแข็งของเหล็กกล้าละมุน S2:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การบรรยาย
S3:อ.ดร.ณัฐ/เมฆ การสอบเก็บคะแนน
การปฏิบัติ
11 ปฎิบัติการที่ 7 3 S1:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การศึกษาด้วยตนเอง [1-3]
21 ก.ย. 65 การทดสอบแรงกระแทก S2:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การบรรยาย
S3:อ.ดร.ณัฐ/เมฆ การสอบเก็บคะแนน
การปฏิบัติ
12 ปฎิบัติการที่ 8 3 S1:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การศึกษาด้วยตนเอง [1-3]
28 ก.ย. 65 การทดสอบแรงบิดสถิตย์ S2:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การบรรยาย
S3:อ.ดร.ณัฐ/เมฆ การสอบเก็บคะแนน
การปฏิบัติ
13 บรรยายสรุปผลการทดสอบปฏิบัติการที่ 1-2 3 S1:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การศึกษาด้วยตนเอง [1-3]
5 ต.ค. 65 S2:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การบรรยาย
S3:อ.ดร.ณัฐ/เมฆ การสอบเก็บคะแนน
14 บรรยายสรุปผลการทดสอบปฏิบัติการที่ 3-4 3 S1:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การศึกษาด้วยตนเอง [1-3]
12 ต.ค. 65 S2:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การบรรยาย
S3:อ.ดร.ณัฐ/เมฆ การสอบเก็บคะแนน
15 บรรยายสรุปผลการทดสอบปฏิบัติการที่ 5-8 3 S1:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การศึกษาด้วยตนเอง [1-3]
19 ต.ค. 65 S2:ผศ.ดร.วิชุดา/เมฆ การบรรยาย
S3:อ.ดร.ณัฐ/เมฆ การสอบเก็บคะแนน
b ดูรายละเอียดในหมวด 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน * สอนชดเชยภายหลัง

-3-
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
วิธีการประเมิน ผลการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วน
การสอบปลายภาค 2.1.1, 2.1.2 15 30%
การนาเสนองานกลุ่ม 1.1.3, 2.1.5, 3.1.1-5, 4.1.1-
1-14 10%
4, 5.1.3-4
รายงานปฏิบัติการ 1.1.1-2, 1.1.4-5, 2.1.3-4,
1-14 60%
4.1.5, 5.1.1-2, 5.1.5
c
กาหนดการสอบกลางภาคและปลายภาคให้ดูรายละเอียดใน www.reg.su.ac.th, เกณฑ์การวัดผล: (A) 81–100 คะแนน, (B+) 76–80 คะแนน, (B) 68–75 คะแนน,
(C+) 61–67 คะแนน, (C) 56–60 คะแนน, (D+) 51–55 คะแนน, (D) 46–50 คะแนน, (F) 0–45 คะแนน

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. ตาราและเอกสารหลัก
[1] นิติพ งศ์ โสภณพงศ์พิพัฒน์, เทคโนโลยีการทดสอบวัสดุ : ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2555.
[2] นิติพงศ์ โสภณพงศ์พิพัฒน์, เอกสารคาสอนเทคโนโลยีการทดสอบวัสดุ : ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2559.
[3] SU E-learning System, www.suelearning.su.ac.th.
2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ
ไม่มี
3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
ไม่มี

-4-
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา: การประเมินผ่านระบบอินเตอร์เน็ตของกองบริการการศึกษา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน: ประเมินจากการผลการเรียนและงานมอบหมายในรายวิชาและในภาพรวมโดยการประชุมสายวิชาฯ และการประชุมตัด
เกรดของภาควิชาฯ เพื่อนาข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนการสอบ
3. การปรับปรุงการสอน: ทาการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน จุดมุ่งหมายของรายวิชา เทคนิคการจัดการเรียนการสอนและงานที่มอบหมายให้
สอดคล้องกับรายวิชาอื่นในหลักสูตรโดยการประชุมสายวิชาฯ และการประชุมภาควิชาฯ
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา: การประเมินความเหมาะสมของการจัดการเรียนการสอน งานมอบหมาย ข้อสอบและให้
คะแนนสอบโดยการตรวจสอบผ่านที่ประชุมสายวิชาฯ
5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา: ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลจากการทวนสอบมาตรฐานตาม
ข้อ 4 ในทุกรอบการสอนโดยปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอน งานที่มอบหมาย วิธีการประเมินผล และเกณฑ์การให้คะแนน

ลงชื่อ อาจารย์ผู้สอน/รับผิดชอบรายวิชา
(อาจารย์ ดร.ณัฐ ธัชยะพงษ์)

ลงชื่อ อาจารย์ผู้สอน
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชุดา เมตตานันท)

ลงชื่อ ผูช้ ่วยสอน


(นายเมฆ ปางงาม)

ลงชื่อ หัวหน้าภาควิชาฯ
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธิบดินทร์ แสงสว่าง)

-5-
ภาคผนวก ก แผนการประเมินผลการเรียนรู้

1. คุณธรรม จริยธรรม 2.2.4) การยกตัวอย่างกรณีศึกษา


1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2.2.5) การสัมมนา/การอภิปรายกลุ่ม
1.1.1) เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒ นธรรมไทย ตระหนั กในคุณ ค่ าของระบบคุณ ธรรม 2.2.6) การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 2.2.7) การประชุมเชิงปฏิบัติการ
1.1.2) มีวินั ย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและ 2.2.8) อื่นๆ (ระบุ) ..................................................
ข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 2.3 วิธีการประเมินผล
1.1.3) มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไข 2.3.1) การทดสอบย่อย
ข้อขัดแย้ง ตามลาดับความสาคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 2.3.2) การสอบกลางภาค
รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.3.3) การสอบปลายภาค
1.1.4) สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศ วกรรมต่อ 2.3.4) การนาเสนองานในชั้นเรียน
บุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม 2.3.5) การบ้านหรือรายงานที่มอบหมายให้นักศึกษา
1.1.5) มี จรรยาบรรณทางวิช าการและวิช าชี พ และมี ค วามรั บ ผิ ดชอบในฐานะผู้ 2.3.6) อื่นๆ (ระบุ) ..................................................
ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่
ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 3. ทักษะทางปัญญา
1.2 วิธีการสอน 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
1.2.1) สอดแทรกเนื้ อหาในมิติท างคุณ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการ 3.1.1) มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
และจรรยาบรรณทางวิชาชีพ 3.1.2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
1.2.2) ปลูกฝั งความมี วินัย ตรงต่อ เวลา ความรับผิ ดชอบ และความซื่ อสัต ย์ ผ่ าน 3.1.3) สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึง
ทางการบ้านหรืองานที่ได้มอบหมายให้กับนักศึกษา การใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.2.3) จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม 3.1.4) มี จิน ตนาการและความยืด หยุ่ นในการปรับ ใช้ องค์ ความรู้ที่ เกี่ย วข้อ งอย่า ง
1.2.4) การยกตัวอย่างกรณีศึกษา เหมาะสมในการพั ฒ นานวัต กรรมหรื อ ต่ อยอดองค์ ค วามรู้จากเดิ ม ได้อ ย่า ง
1.2.5) อื่นๆ (ระบุ) .................................................. สร้างสรรค์
1.3 วิธีการประเมินผล 3.1.5) สามารถสื บ ค้น ข้ อ มู ลและแสวงหาความรู้ เพิ่ ม เติ ม ได้ด้วยตนเอง เพื่ อ การ
1.3.1) ความตรงเวลาของนั ก ศึ ก ษาในการเข้ า ชั้ น เรี ย น การส่ งงานตามก าหนด เรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยี
ระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม ใหม่ ๆ
1.3.2) การไม่ทุจริตในการสอบ 3.2 วิธีการสอน
1.3.3) ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 3.2.1) การบรรยาย
1.3.4) ความสนใจและพัฒนาการในการเรียน 3.2.2) การฝึกปฏิบัติ
1.3.5) อื่นๆ (ระบุ) ................................................. 3.2.3) การมอบหมายให้ทาแบบฝึกหัด
3.2.4) การยกตัวอย่างกรณีศึกษา
2. ความรู้ 3.2.5) การสัมมนา/การอภิปรายกลุ่ม
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 3.2.6) การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
2.1.1) มี ค วามรู้ แ ละความเข้ า ใจทางคณิ ตศาสตร์ พื้ น ฐาน วิ ท ยาศาสตร์ พื้ น ฐาน 3.2.7) การประชุมเชิงปฏิบัติการ
วิศวกรรมพื้ น ฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่ อการประยุกต์ ใช้กั บงานทางด้า น 3.2.8) อื่นๆ (ระบุ) ..................................................
วิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 3.3 วิธีการประเมินผล
2.1.2) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สาคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ 3.3.1) การทดสอบย่อย
ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม 3.3.2) การสอบกลางภาค
2.1.3) สามารถบู รณาการความรู้ในสาขาวิช าที่ ศึ กษากับ ความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่ 3.3.3) การสอบปลายภาค
เกี่ยวข้อง 3.3.4) การนาเสนองานในชั้นเรียน
2.1.4) สามารถวิ เคราะห์ แ ละแก้ ไ ขปั ญ หาด้ ว ยวิ ธี ก ารที่ เ หมาะสม รวมถึ ง การ 3.3.5) การบ้านหรือรายงานที่มอบหมายให้นักศึกษา
ประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น 3.3.6) อื่นๆ (ระบุ) ..................................................
2.1.5) สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหา
ในงานจริงได้
2.2 วิธีการสอน
2.2.1) การบรรยาย
2.2.2) การฝึกปฏิบัติ
2.2.3) การมอบหมายให้ทาแบบฝึกหัด

-6-
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่
4.1.1) สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทย ต้องพัฒนา
และภาษาต่า งประเทศได้ อ ย่างมีป ระสิ ท ธิภ าพ สามารถใช้ ค วามรู้ในสาขา 5.1.1) มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สาหรับการทางานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็น
วิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม อย่างดี
4.1.2) สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้ง 5.1.2) มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติ
ส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและ ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
ของกลุ่ ม รวมทั้ งให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ และอ านวยความสะดวกในการแก้ ไข 5.1.3) สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ ทันสมัยได้อย่าง
ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
4.1.3) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และ 5.1.4) มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมาย
สอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง โดยใช้สัญลักษณ์
4.1.4) รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทางานตามที่มอบหมาย ทั้ง 5.1.5) สามารถใช้เครื่องมือการคานวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบ
งานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะ วิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
ผู้นาและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้ อย่างเหมาะสมกับ 5.2 วิธีการสอน
ความรับผิดชอบ 5.2.1) การบรรยาย
4.1.5) มีจิตสานึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทางาน และการรักษา 5.2.2) การฝึกปฏิบัติ
สภาพแวดล้อมต่อสังคม 5.2.3) การสัมมนา/การอภิปรายกลุ่ม
4.2 วิธีการสอน 5.2.4) การทาแบบฝึกหัด
4.2.1) การมอบหมายงานกลุ่ม 5.2.5) การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
4.2.2) การมอบหมายงานรายบุคคล 5.2.6) การประชุมเชิงปฏิบัติการ
4.2.3) การสัมมนา/การอภิปรายกลุ่ม 5.2.7) การยกตัวอย่างกรณีศึกษา
4.2.4) การประชุมเชิงปฏิบัติการ 5.2.8) อื่นๆ (ระบุ) ..................................................
4.2.5) การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 5.3 วิธีการประเมินผล
4.2.6) อื่นๆ (ระบุ) .................................................. 5.3.1) การทดสอบย่อย
4.3 วิธีการประเมินผล 5.3.2) การสอบกลางภาค
4.3.1) การนาเสนอผลงานในชั้นเรียน และการให้ความสนใจในขณะที่ผู้อื่นนาเสนอ 5.3.3) การสอบปลายภาค
ผลงาน 5.3.4) การน าเสนองานในชั้ น เรี ย นด้ วยเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารที่
4.3.2) การกล่าวแสดงความคิดเห็นต่องานของผู้อื่น หลากหลายรูปแบบและวิธีการ เช่น ..........................
4.3.3) ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย 5.3.5) การบ้านหรือรายงานที่มอบหมายให้นักศึกษา
4.3.4) อื่นๆ (ระบุ) .................................................. 5.3.6) อื่นๆ (ระบุ) ..................................................

-7-

You might also like