You are on page 1of 16

มคอ.

3 รายละเอียดรายวิชา
Course Specification

0202112 แคลคูลัส 2
(Calculus 2)

รายวิชานี้เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต
สาขาวิชาคณิตศาสตร
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562
คณะศึกษาศาสตรรวมกับคณะวิทยาศาสตร
มหาวิทยาลัยทักษิณ
รายละเอียดของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สงขลา/วิทยาศาสตร/คณิตศาสตรและสถิติ

1. รหัส ชื่อรายวิชา จำนวนหนวยกิต และคำอธิบายรายวิชา


0202112 แคลคูลัส 2 3(3–0–6)
Calculus 2

ลำดับและอนุกรม เวกเตอรและเรขาคณิตวิเคราะหสามมิติ ฟงกชันหลายตัวแปร


อนุพันธยอย ปริพันธหลายชั้น และการประยุกต
Sequences and series; vectors and analytic geometry in 3-space; functions of several
variables; partial derivatives; multiple integrals; applications

2. จุดมุงหมายของรายวิชา
เพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีสมรรถนะดังนี้
2.1 มีความรูเ นื้อหาแคลคูลัส 2
2.2 ออกแบบการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรที่เนนพัฒนาการคิดดานแคลคูลัส 2
2.3 พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรูที่เกี่ยวของกับแคลคูลัส 2
2.4 จําแนกความถูกผิดของมโนทัศนรวมถึงสรางเกณฑในการวินิจฉัยมโนทัศนที่คลาดเคลื่อนที่เกี่ยวของกั
บแคลคูลัส 2

3. วัตถุประสงคของรายวิชา
3.1 กระทรวงศึกษาธิการใหปรับปรุงหลักสูตรผลิตครูลดเวลาเรียนเหลือ 4 ป
3.2 กระทรวงศึกษาธิการใหมีการบูรณาการระหวางเนื้อหาคณิตศาสตรและการจัดการเรียนรู
3.3 โรงเรียนตองการครูคณิตศาสตรที่สามารถพัฒนาผูเรียนสูความเปนเลิศทางคณิตศาสตร
3.4 นิสิตปจจุบันตองการใหเพิ่มเติมทักษะการแกปญหาทางคณิตศาสตร
3.5 ศิษยเกาตองการใหเพิ่มเติม เรื่อง การออกขอสอบคณิตศาสตร
3.6 ศิษยเกาตองการใหมีการเชื่อมโยงเนื้อหาคณิตศาสตรในหลักสูตรไปยังคณิตศาสตรระดับโรงเรียน
4. การพัฒนาผลการเรียนของนิสิต

1. ดานคุณธรรม จริยธรรม
ELO1 มีจิตสำนึกในหนาที่ตอตนเองและสังคม รวมทั้งปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู
1.1 เคารพสิทธิ์และใหเกียรติผูอื่น มีความสามัคคีและทำงานรวมกับผูอื่นได
1.2 มีความเสียสละ ความซื่อสัตย และความอดทนอดกลั้นในการปฏิบัติงานตามหนาที่
ELO2 ปฏิบัติตนตามบทบาทและหนาที่ดวยความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม
2.1 มีคุณธรรม จริยธรรม แกปญหาโดยยึดหลักความถูกตอง และมีจิตสำนึกเพื่อสังคม
2.2 สรางความเขาใจ เขาถึง ในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม
และเสียสละเพื่อสวนรวม
2. ดานความรู
ELO3 บูรณาการความรูเนื้อหาคณิตศาสตรและวิชาชีพครูในการจัดการเรียนรู
3.1 มีความรูในเนื้อหาคณิตศาสตรและวิชาชีพครู
3.2 ออกแบบการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรที่เนนการพัฒนาการคิดของผูเรียน
3.3 พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรูใหเหมาะสมกับชุมชน
3. ดานทักษะทางปญญา
ELO4 คิดวิพากษ คิดริเริ่ม และใฝรู
4.1 จำแนกความถูกผิดของมโนทัศนทางคณิตศาสตรรวมถึงสรางเกณฑในการตัดสิน
4.2 คิดคนความรูทางคณิตศาสตรอยางเปนระบบ
4.3 แสวงหาความรูใหมไดดวยตนเอง
ELO5 พัฒนาหรือสรางความรูที่สงเสริมการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียน
5.1 มีทักษะในการวิจัยชั้นเรียนและประยุกตใชเพื่อการจัดการเรียนรู
5.2 พัฒนาหรือสรางองคความรูโดยใชกระบวนการวิจัย
5.3 สรางความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู
4. ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ
ELO6 ปฏิบัติตนตามบทบาทและหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ
6.1 มีกระบวนการในการพัฒนาตนและพัฒนางาน
6.2 มีความรับผิดชอบในหนาที่ทั้งตอตนเองตอสวนรวม
6.3 บริหารจัดการการทำงานรวมกับผูอื่นได
ELO7 มีสัมพันธภาพที่ดีในการทำงานรวมกับผูอ่นื
7.1 ทำงานรวมกับผูอื่นในฐานะผูนำและสมาชิกที่ดี
7.2 ปรับตัวเขากับสถานการณและวัฒนธรรมองคกร
5. ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
ELO8
สามารถใชภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการสื่อสารและใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางมีประสิท
ธิภาพ
8.1 มีทักษะในการใชภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการคนควาและสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภ
าพ
8.2 ใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคน เก็บรวบรวมขอมูล เพื่อการวิเคราะหประมวลผล
และนำเสนอไดอยางเหมาะสม
8.3 เลือกและใชเทคโนโลยีในการศึกษาและการจัดการเรียนรู
6. วิธีวิทยาการจัดการเรียนรูและบูรณาการอัตลักษณ
ELO9 สามารถจัดการเรียนรูคณิตศาสตรที่มีรูปแบบหลากหลาย
9.1 จัดการเรียนรูที่สงเสริมการคิดทางคณิตศาสตร
9.2 ใชเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรูไดอยางเหมาะสม
9.3 เลือกวิธีจัดการเรียนรูใหเหมาะกับบริบทของชุมชน ไมกระทบตอความเชื่อและคานิยมที่ยึดมั่น
ELO10 สามารถจัดการเรียนรูคณิตศาสตรสำหรับผูเรียนที่หลากหลาย
10.1 จัดการเรียนรูที่คำนึงถึงความรูเดิมของผูเรียน
10.2 จัดการเรียนรูแบบรวมมือ (collaborative learning)
ELO11 สามารถจัดการเรียนรูคณิตศาสตรอยางบูรณาการ
11.1 สรางแคลคูลัส 2เพื่อแกปญหาโลกจริง
11.2 จัดการเรียนรูที่เนนการแกปญหาโลกจริงโดยใชตัวแบบเชิงคณิตศาสตร
ELO12 สามารถจัดการเรียนรูคณิตศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21
12.1 จัดการเรียนรูที่พัฒนาการคิดทางคณิตศาสตร
12.2 จัดการเรียนรูที่สงเสริมใหผูเรียนตอยอดความรู
12.3 จัดการเรียนรูที่สงเสริมใหผูเรียนนำเสนอความรูที่คิดไดอยางมีประสิทธิภาพ
12.4 จัดการเรียนรูที่สงเสริมใหผูเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรูอยางสรางสรรค
แผนที่กระจายความรับผิดชอบ

TQF
รายวิชา 1.ดานคุณธรรม 2. 3.ทักษะทางปญญา 4.ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความ 5.ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลขก 6.การจัดการเรียนรูและบูรณาการอัตลักษณ
จริยธรรม ดานความรู รับผิดชอบ ารสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี

ELO 1 ELO 2 ELO 3 ELO 4 ELO 5 ELO 6 ELO 7 ELO 8 ELO 9 ELO 10 ELO 11 ELO 12
1. 1. 2. 2. 3. 3. 3. 4. 4. 4. 5. 5. 5. 9. 9. 9. 10. 10. 11. 11. 12. 12. 12.
6.1 6.2 6.3 7.1 7.2 8.1 8.2 8.3 12.4
1 2 1 2 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 1 2 3
02021 แคลคู
                         
12 ลัส 2

ผลการเรียนรู วิธีการสอน วิธีการประเมินผล


1. ดานคุณธรรม จริยธรรม
 1.1 เคารพสิทธิ์และใหเกียรติผูอื่น (1) สอนสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม
มีความสามัคคีและทำงานรวมกับผูอื่นได และอาจยกตัวอยางกรณีจรรยาบรรณทางวิชากา
 1.2 มีความเสียสละ ความซื่อสัตย รและวิชาชีพในการสอน
และความอดทนอดกลั้นในการปฏิบัติงานตา (2)
มหนาที่ สรางวัฒนธรรมองคกรเพื่อปลูกฝงใหนิสิตมีระเบี
 2.1 มีคุณธรรม จริยธรรม ยบวินัย ตรงตอเวลา แตงกายที่สุภาพ เหมาะสม
แกปญหาโดยยึดหลักความถูกตอง ถูกกาลเทศะ
และมีจิตสำนึกเพื่อสังคม (3) มอบหมายงานนิสิตเปนรายบุคคล เพื่อฝก
ผลการเรียนรู วิธีการสอน วิธีการประเมินผล
 2.2 ส ร า ง ค ว า ม เ ข า ใ จ เ ข า ถึ ง ความรับผิดชอบ
ในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม ความซือ่ สัตยโดยตองไมกระทำทุจริตคัดลอกงาน
และเสียสละเพื่อสวนรวม ของผูอ่นื หรืออางงานของผูอื่นเปนของตนเอง
(4)
มอบหมายงานที่นิสิตมีสวนรวมในกิจกรรมบำเพ็
ญประโยชนและการรวมกิจกรรมที่เปนการบริกา
รชุมชน
2. ดานความรู
 3.1 (1) (1) อาจารยประเมินดวยการทดสอบยอย ทดสอบกลางภาค
มีความรูในเนื้อหาคณิตศาสตรและวิชาชีพค การใหภาพรวมความรูกอนเขาสูเนื้อหาที่เรียน และทดสอบปลายภาคเรียน
รู การเชื่อมโยงความรูใหมกับความรูเดิมหรือความ (2)
 3.2 รูจากศาสตรที่เกี่ยวของ อาจารยประเมินความเขาใจของนิสิตจากการสะทอนความ
ออกแบบการจัดการเรียนรูคณิตศาสตรที่เน และการสรุปความรูใหมหลังจบบทเรียน คิดในรูปแบบตาง ๆ เชน การนำเสนอปากเปลา
นการพัฒนาการคิดของผูเรียน โดยเลือกใชวิธีการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหา การตรวจผลงาน การแสดงออกระหวางการทำกิจกรรมการเรียนรู
 3.3 (2) การใชวิธจี ัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ เปนตน
พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรูใหเหม เหมาะสมตามเนื้อหาสาระ (3)
าะสมกับชุมชน และจุดมุงหมายในการเรียนรู อาจารยประเมินจากการทำรายงานทั้งจากงานกลุมและรา
เพื่อการเรียนรูทั้งองคความรูและทักษะกระบวนกา ยบุคคล
รเรียนรูที่เนนหลักการทางทฤษฎี (4) อาจารยประเมินจากการนำเสนอผลงานตอที่ประชุม
และประยุกตใชทางปฏิบัติในบริบทจริง หรือในชั้นเรียน
ผลการเรียนรู วิธีการสอน วิธีการประเมินผล
(3)
การเรียนรูจากสื่อและแหลงเรียนรูที่หลากหลาย
ทั้งภายในและภายนอกหองเรียน
โดยคำนึงถึงทั้งการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
และการคงไวซึ่งภูมิปญญา
ที่ทรงคุณคา
(4)
เชิญผูทรงคุณวุฒิมาบรรยายพิเศษเฉพาะเรื่องเป
นครั้งคราว
(5)
การเรียนรูผานกระบวนการวิจัยทั้งในรายวิชาสัม
มนาและวิทยานิพนธ
3. ดานทักษะทางปญญา
 4.1 (1) (1)
จำแนกความถูกผิดของมโนทัศนทางคณิตศา สงเสริมทักษะในการคิดและการแกปญหาดวยกิ ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและจากการปฏิบัติงานของนิสิต
สตรรวมถึงสรางเกณฑในการตัดสิน จกรรมการเรียนรูที่หลากหลาย (2)
 4.2 (2) การเรียนรูผานกระบวนการวิจัย ประเมินความสามารถดานทักษะปญญาทั้งทักษะการคิดและการแ
คิดคนความรูทางคณิตศาสตรอยางเปนระบ ทั้งในรายวิชาที่ศึกษาและการทำวิจัยในภาคสนา กปญหาโดยการสอบวัดความสามารถที่ใชกรณีศึกษาและสถานการ
บ ม ณจำลอง ขอสอบหรือแบบฝกหัด
 4.3 แสวงหาความรูใหมไดดวยตนเอง (3) (3) ประเมินผลจากงานที่ใชทักษะการคิดและการแกปญหา
ผลการเรียนรู วิธีการสอน วิธีการประเมินผล
5.1 จัดใหมีรายวิชาที่เสริมสรางการพัฒนาทักษะทาง การศึกษาคนควาอยางเปนระบบ การวิเคราะหวิจารณกรณีศึกษา
มีทักษะในการวิจัยชั้นเรียนและประยุกตใชเ ปญญา ใหไดฝกการวิเคราะห การศึกษาอิสระ การเขียนรายงาน การนำเสนอผลงาน
พื่อการจัดการเรียนรู สังเคราะหองคความรูใหมจากความรูเดิม และการตอบปญหา
5.2 (4)
พัฒนาหรือสรางองคความรูโดยใชกระบวนก การเรียนรูจากประสบการณตรงโดยใหนิสิตปฏิบั
ารวิจัย ติงานจริง
5.3
สรางความเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนรู
4.
ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับ
ผิดชอบ
 6.1 (1) สอดแทรกเรื่องการมีมนุษยสัมพันธ
มีกระบวนการในการพัฒนาตนและพัฒนางา คุณคาและศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยการเขาใจ
น วัฒนธรรมองคกร ในรายวิชาตาง ๆ
 6.2 (2) ใชการสอนที่มีกิจกรรมกลุม มีกติกา
มีความรับผิดชอบในหนาที่ทั้งตอตนเองตอสว มีการทำงานเปนกลุมหรืองานที่ตองอาศัยปฏิสัม
นรวม พันธระหวางบุคคลในบางรายวิชา
 6.3 บริหารจัดการการทำงานรวมกับผูอื่นได (3)
 7.1 สงเสริมใหนำเสนอและเผยแพรผลงานทางวิชาก
ทำงานรวมกับผูอื่นในฐานะผูนำและสมาชิกที่ ารในที่ประชุมวิชาการ
ผลการเรียนรู วิธีการสอน วิธีการประเมินผล
ดี การรวมงานกับนักวิจัยตางสถาบัน
7.2 และรวมบริการวิชาการ
ปรับตัวเขากับสถานการณและวัฒนธรรมองค
กร
5. ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข
การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
 8.1 (1)
มีทักษะในการใชภาษาไทยและภาษาอังกฤ มอบหมายงานที่ตองมีการสืบคนขอมูลและนำเส
ษเพื่อการคนควาและสื่อสารไดอยางมีประสิ นอโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
ทธิภาพ รวมทั้งเทคโนโลยีสารสนเทศทางคณิตศาสตรแล
 8.2 ใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคน ะสถิติ
เก็บรวบรวมขอมูล (2)
เพื่อการวิเคราะหประมวลผล จัดการเรียนการสอนที่เนนการฝกทักษะการสื่อส
และนำเสนอไดอยางเหมาะสม ารทั้งการพูด การฟง และการเขียน
 8.3 ระหวางผูเรียนและผูเกี่ยวของอื่น ๆ
เลือกและใชเทคโนโลยีในการศึกษาและการ (3)
จัดการเรียนรู การเรียนรูจากประสบการณตรงโดยใชสื่อเทคโน
โลยี โปรแกรมคอมพิวเตอร
และการสื่อสารแบบออนไลน
ในกิจกรรมการเรียนรูรายวิชาตาง ๆ
ผลการเรียนรู วิธีการสอน วิธีการประเมินผล
(4)
การเรียนรูจากตนแบบในการใชเทคโนโลยีในการ
สืบคนและสื่อสาร เชน จากผูสอน เพื่อน
วิทยากรผูเชี่ยวชาญ
6 .
วิธีวิทยาการจัดการเรียนรูและบูรณาการอัตลัก
ษณ
 9.1 ( 1) (1)
จัดการเรียนรูที่สงเสริมการคิดทางคณิตศาส การเรียนรูจากประสบการณตรงผานการสอนขอ อาจารยสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูและพัฒนาการดานทักษะการส
ตร งอาจ ารย ด วย วิ ธี ก ารที่ ห ล าก ห ลาย เช น อน
 9.2 การศึ กษากรณี ตัว อย าง การสั งเกตการณ ส อน (2) อาจารยประเมินจากการนำเสนอผลงานและการทดลองสอน
ใชเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรูไดอยางเห การสังเกตพฤติกรรมผูเรียนการสัมภาษณผูมีประ (3) นิสิตประเมินตนเอง
มาะสม สบการณ การฝ ก เขี ย นแผนการจั ด การเรี ยนรู (4) อาจารยนิเทศ ครูพี่เลี้ยง
 9.3 ก ารผ ลิ ต สื่ อ ป ระก อ บ ก ารจั ด ก ารเรี ย น รู และผูบริหารประมวลและประเมินพฤติกรรม
เลือกวิธีจัดการเรียนรูใหเหมาะกับบริบทของ การทดลองสอน เปนตน การสอนและทักษะการจัดกิจกรรมการเรียนรู
ชุมชน (2) การเรียนรูจากตนแบบ ไดแก ผูสอน เพื่อน
ไมกระทบตอความเชื่อและคานิยมที่ยึดมั่น ครูประจำการ ผูบริหารสถานศึกษา
 10.1
จัดการเรียนรูที่คำนึงถึงความรูเดิมของผูเรีย

ผลการเรียนรู วิธีการสอน วิธีการประเมินผล
 10.2 จัดการเรียนรูแบบรวมมือ
(collaborative learning)
11.1
สรางตัวแบบเชิงคณิตศาสตรเพื่อแกปญหาโ
ลกจริง
11.2
จัดการเรียนรูที่เนนการแกปญหาโลกจริงโด
ยใชตัวแบบเชิงคณิตศาสตร
 12.1
จัดการเรียนรูที่พัฒนาการคิดทางคณิตศาสต
ร
 12.2
จัดการเรียนรูท ี่สงเสริมใหผูเรียนตอยอดควา
มรู
 12.3
จัดการเรียนรูที่สงเสริมใหผูเรียนนำเสนอคว
ามรูที่คิดไดอยางมีประสิทธิภาพ
 1 2 . 4
จัดการเรียนรูที่สงเสริมใหผูเรียนแลกเปลี่ยน
เรียนรูอยางสรางสรรค
5. แผนการสอน

การฝกปฏิบัต/ิ
บรรยาย สอนเสริม การศึกษาดวยตนเอง
การฝกงานภาคสนาม
45 ชั่วโมง – 90 ชั่วโมง

จํานวน
สัปดาหที่ หัวขอ/รายละเอียด กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช ผูสอน
(ชั่วโมง)
1–5 บทที่ 1 ลําดับและอนุกรม 15 - บรรยาย อ.อลงกรณ
- ตั้งคําถามและรวมกันอภิปราย
- ใช คํ า ถ าม อ ะ ไร ทํ าไม เมื่ อ ใด แ ล ะ อ ย าง ไร
เพื่ อ ก ระ ตุ น ให นิ สิ ต คิ ด วิ เ ค ราะ ห สั งเค ราะ ห
และประเมินคา
- ฝกแกปญหา
6–8 บทที่ 2 9 - บรรยาย อ.อลงกรณ
เวกเตอรและเรขาคณิตวิเคราะ - ตั้งคําถามและรวมกันอภิปราย
หสามมิติ - ใช คํ า ถ าม อ ะ ไร ทํ าไม เมื่ อ ใด แ ล ะ อ ย าง ไร
เพื่ อ ก ระ ตุ น ให นิ สิ ต คิ ด วิ เ ค ราะ ห สั งเค ราะ ห
และประเมินคา
- ฝกแกปญหา
9 สอบกลางภาค
10 – 13 บทที่ 3 อนุพันธยอย 12 - บรรยาย อ.อลงกรณ
- ตั้งคําถามและรวมกันอภิปราย
- ใช คํ า ถ าม อ ะ ไร ทํ าไม เมื่ อ ใด แ ล ะ อ ย าง ไร
เพื่ อ ก ระ ตุ น ให นิ สิ ต คิ ด วิ เ ค ราะ ห สั งเค ราะ ห
และประเมินคา
- ฝกแกปญหา
14 – 16 บทที่ 4 ปริพันธหลายชั้น 9 - บรรยาย อ.อลงกรณ
- ตั้งคําถามและรวมกันอภิปราย
- ใช คํ า ถ าม อ ะ ไร ทํ าไม เมื่ อ ใด แ ล ะ อ ย าง ไร
เพื่ อ ก ระ ตุ น ให นิ สิ ต คิ ด วิ เ ค ราะ ห สั งเค ราะ ห
และประเมินคา
- ฝกแกปญหา
17 – 18 สอบปลายภาค
6. แผนการประเมินผลการเรียนรู

ลําดับ ผลการเรียนรู วิธีประเมิน สัปดาหทปี่ ระเมิน สัดสวนของการประเมินผล


1 บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม สอบกลางภาค 9 35
บทที่ 2
เวกเตอรและเรขาคณิตวิเคราะหสามมิติ
2 บทที่ 3 อนุพันธยอย สอบปลายภาค 17 – 18 35
บทที่ 4 ปริพนั ธหลายชั้น
3 บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม สอบยอย 8 และ 16 30
บทที่ 2
เวกเตอรและเรขาคณิตวิเคราะหสามมิติ
บทที่ 3 อนุพันธยอย
บทที่ 4 ปริพนั ธหลายชั้น
รวม 100 %

กําหนดเกณฑการประเมินผลเปนแบบอิงเกณฑจากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ดังนี้


A (80 – 100) B+ (73 – 79)
B (66 – 72) C+ (58 – 65)
C (50 – 57) D+ (40 – 49)
D (30 – 39) F (0 – 29)
หมายเหตุ ถานิสิตคนใดเขาเรียนนอยกวา 80% หรือทุจริตในการสอบ นิสิตคนนั้นจะไดเกรด F
หมวด 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. เอกสารและตําราหลัก
Finney, Weir and Giordano. Thomas’ CALCULUS. 10th ed. New York: Addison–Wesley, 2003.

2. เอกสารและขอมูลสําคัญ
ภาษาไทย ไมมี
ภาษาอังกฤษ ไมมี

3. เอกสารและขอมูลแนะนํา
ไมมี
หมวด 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา

1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนิสิต
- ใชแบบประเมินการเรียนการสอนตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด
- การสอบถามผูเรียนเมื่อสิ้นสุดการเรียน
- ติดตามประเมินผลผูเรียนภายหลังการเรียนทุกภาคเรียน

2. กลยุทธการประเมินการสอน
- นิสิตประเมินการสอนผานอินเทอรเน็ต
- ผูสอนประเมินตนเอง

3. การปรับปรุงการสอน
- การนําผลการประเมินการสอนและประเมินประสิทธิภาพของรายวิชามาปรับปรุงการสอนหลังสิ้นสุดกา
รเรียนการสอนทุกภาคการศึกษา

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิตในรายวิชา
- คณะอนุกรรมการการประกันคุณภาพการศึกษาของสาขาวิชา และคณะกรรมการประจําคณะ
ตรวจสอบผลการเรียนรูของนิสติ

5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
- ปรับปรุงเนื้อหาใหทันสมัยกับเหตุการณปจจุบนั อยางสมํ่าเสมอ

You might also like