You are on page 1of 71

1

คำนำ
เอกสารการรายงานผลการจั ดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้เชิงรุก ( Active Learning)
เล่มนี้ เป็นรายงานผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถนะการคิดของผู้เรียนโดยใช้นวัตกรรม LADIESs
Process ของโรงเรียนบ้านปากเหมือง ซึ่งได้มาจากการร่วมพัฒนาครูจากภาคีเครือข่ายและการสร้างชุมชนการ
เรี ย นรู้ ทางวิช าชีพ (Professional Learning Community : PLC ) ของโรงเรียนบ้านปากเหมือง นวัตกรรม
LADIESs Process สั งเคราะห์ มาจากแนวการสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน ( Creativity Based Learning :
CBL) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็น
ฐาน (Phenomenon Based Learning : PhBL)และกระบวนการเรียนรู้ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ ของ OECD
ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) จุดประกายการเรียนรู้ ( Learn) 2) วิเคราะห์ เชื่อมโยง (Analysis Thinking)
3) ออกแบบสร้างสรรค์ (Design Thinking)4) เรียนรู้นาไปปฏิบัติ ( Implement) 5) ประเมินผล (Evaluate)
6) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show and Share) โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาสมรรถนะการคิดของผู้เรียนและนาไปสู่
การเป็นนักเรียนนวัตกร
ขอขอบคุณ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 มหาวิทยาลัยนอร์ท เชียงใหม่
มหาวิทยาลั ยศรีป ทุม และเครื อข่ายนิเทศโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ที่ร่ว มเป็นภาคีเครือข่ายในการพัฒ นาครู
โรงเรียนบ้านปากเหมือง

คณะครูโรงเรียนบ้านปากเหมือง

สำรบัญ
เรื่อง หน้ำ
คานา ก
สารบัญ ข
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1

ส่วนที่ 2 รำยละเอียดจำกกำรถอดบทเรียนของโรงเรียนที่คัดเลือก
2.1 ชื่อกระบวนการ 1
2.2 ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรียน 2
2.3 ประเภทที่โรงเรียนดาเนินการและประสบความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้
Active Learning ร่วมกับภาคีเครือข่าย 2
2.4 ปัญหาและความจาเป็น 2
2.5 เป้าหมายการดาเนินงาน 4
2.6 กระบวนการการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถนะการคิดของผู้เรียน LADIESs Process 4
2.7 ผลลัพธ์ / ผลสาเร็จ 8
2.8 บทเรียนการดาเนินงาน Active Learning ร่วมกับภาคีเครือข่าย 8
2.9 แนวทางพัฒนาต่อไป 10
2.10 ข้อคิดในการดาเนินให้ประสบความสาเร็จ 10
บรรณานุกรม 12
ภาคผนวก 13-67
1

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1.1 โรงเรียนบ้านปากเหมือง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4
ชื่อผู้ประสานงานของโรงเรียน
นางธนพินท์ พวงทอง ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านปากเหมือง
E-Mail aomandkeera@windowslive.com เบอร์โทรศัพท์ 064-2526979
นางพรสวรรค์ ชาวเวียง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ E-Mail gungift2000@gmail.com
เบอร์โทร 0953852159

ส่วนที่ 2 รำยละเอียดจำกกำรถอดบทเรียนของโรงเรียนที่คัดเลือก
2.1 ชื่อกระบวนกำร การจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการคิดของผู้เรียน LADIESs Process

2.2 ข้อมูลพื้นฐำนของโรงเรียน
2.2.1 ข้อมูลทั่วไป
โรงเรียนบ้านปากเหมือง ตั้งอยู่เลขที่ 2/1 หมู่ 3 ตาบลขัวมุง อาเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่
รหัสไปรษณีย์ 50140 โทรศัพท์ 053- 103669 โทรสาร 053 – 103669
E-mail : bpmschool2014@gmail.com Website : www.banpakmeang.ac.th
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เปิดสอนตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น เนื้อที่ทั้งสิ้น 2 ไร่ 98 ตารางวา
เขตพื้นที่บริการ 10 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 – 10 ต. ขัวมุง อ.สารภี จ.เชียงใหม่
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จานวน ๒๒ คน นักเรียนมีทั้งหมด จานวน ๓๑๗ คน
2.2.2 ศักยภำพของโรงเรียน
1) โรงเรียนบ้านปากเหมืองมีความพร้อมในการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครู
2) ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนมีความพร้อมในการพัฒนาตนเองในสมรรถนะ
ด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
3) ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชนให้ความร่วมมือในการพัฒนาผู้เรียน
4) โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ภายนอกที่เอื้อต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ เช่น ศูน ย์แพทย์ทางเลือก
ขัวมุง สวนเกษตรผสมผสาน เป็นต้น
5) ผู้บริหารโรงเรียนมีภาวะผู้นาทางวิชาการ สามารถให้คาปรึกษาและร่วมพัฒนากับครูอย่าง
ต่อเนื่อง
6) โรงเรียนมีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง Active Learning การจัดกระบวนการ
เรียนรู้เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการคิดของผู้เรียน LADIESs Process
7) โรงเรียนมีภาคีเครือข่ายในการร่วมพัฒนาด้านการบริหรหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
2

2.2.3 ข้อจำกัดของโรงเรียน
1) โรงเรียนมีความจากัดด้านบุคลากรไม่เพียงพอต่อจานวนนักเรียน
2) งบประมาณในการพัฒ นาครูและการขับเคลื่ อนการจัด กระบวนการเรียนรู้ ตามแนวทาง
Active Learning เช่น วัสดุ ครุภัณฑ์ คอมพิวเตอร์ งบประมาณการผลิตสื่อ เป็นต้น
3) โรงเรียนมีพื้นที่จากัดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เนื่องด้วย โรงเรียนมีพื้นที่เพียง 2 ไร่ แต่มี
นักเรียนจานวน 322 คน ทาให้ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ไม่เพียงพอ
2.3 ประเภทที่โรงเรียนดำเนินกำรและประสบควำมสำเร็จในกำรจัดกำรเรียนรู้ Active Learning ร่วมกับภำคี
เครือข่ำย
 การสนับสนุนแหล่งเรียนรู้ภายนอก
 การสนับสนุนบุคลากรผู้เชี่ยวชาญ ให้แก่โรงเรียน
 การสนับสนุนสื่อการเรียนรู้ Active Learning ร่วมกับภาคเครือข่ายให้แก่โรงเรียน
 การสนับสนุนงบประมาณให้จัดกิจกรรม Active Learning ร่วมกับภาคีเครือข่าย
 การสนับสนุนแบบผสมผสาน
 อื่นๆ (โปรดระบุ)
2.4 ปัญหำและควำมจำเป็น
การศึ ก ษาไทยในอดี ต ที่ ผ่ า นมาใช้ ห ลั ก สู ต รที่ เ น้ น เนื้ อ หาเป็ น ฐาน (Content Based Curriculum)
เป็นหลักสูตรที่เน้นเนื้อหาวิชาเป็นหลักในการจัดการเรียนรู้จึงมีลักษณะของ (Teacher Center) ครูเป็นศูนย์กลาง
ของการเรียน มีหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ ซึ่งเป็นกระบวนการเรียนรู้แบบ Passive Learning ซึ่งเน้นให้นักเรียน
ท่องจาเนื้อหา โดยการ อ่าน ท่องจา การฟัง บรรยายและเห็นภาพประกอบ แม้ว่าการเรียนในลักษณะนี้จะทาให้
ผู้เรียนจาเนื้อหาในการเรียนได้ แต่ไม่ก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้หรือองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ผู้เรียนจะจดจา
แต่สิ่งที่ครูสอน ครูบอก แต่ไม่สามารถนากลับมาคิด วิเคราะห์ แยกแยะสิ่งต่างๆ เองได้ ( สถาพร พฤฑฒิกุล,
2555) ต่อมาจึงได้มีการปรับหลักสูตรหลายครั้งเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และสามารถสรุปองค์ความรู้และนาไป
ประยุกต์ใช้ได้ด้วยตนเอง ซึ่งปัจจุบันหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ได้กาหนดให้มาตรฐาน
การเรี ย นรู้ ยึ ดหลั กว่า ผู้ เรี ย นมีความส าคัญที่สุ ด ครูมีห น้าที่ในการอ านวยความสะดวกในการศึก ษาโดยน า
เทคโนโลยี เ ข้ า มาใช้ ใ นการพั ฒ นาสื่ อ ให้ มี ค วามหลากหลาย มี กิ จ กรรมที่ น่ า สนใจที่ ก ระตุ้ น ให้ ผู้ เ รี ย นเกิ ด
กระบวนการเรียนรู้ หรือวิธีแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง มีส่วนร่วมในการทากิจกรรมการเรียนรู้ โดยการเรียนรู้
ด้วยตนเอง หรือที่เรียกว่า การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) (วัฒนา หงสกุล , 2564)
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เป็นกระบวนการเรียนการสอนอย่างหนึ่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้
อย่างมีความหมาย โดยการร่วมมือระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ในการนี้ครูต้องลดบทบาทในการสอนและการให้ความรู้
กับผู้เรียนโดยตรง แต่ไปเพิ่มกระบวนการและกิจกรรมที่จะทาให้ ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการทากิจกรรม
ต่างๆมากขึ้นอย่างหลากหลาย ให้นักเรียนได้มีโอกาสลงมือกระทามากกว่าฟังอย่างเดียว โดยจัดกิจกรรมให้ผู้เรียน
ได้ เ รี ย นรู้ โ ดยการอ่ า น ,การเขี ย น ,การโต้ ต อบ ,การอภิ ป ราย และการวิ เ คราะห์ ปั ญ หา ท าให้ ผู้ เ รี ย นได้ ใ ช้
กระบวนการคิดขั้นสูง ได้แก่ การวิเคราะห์ ,การสังเคราะห์,และการประเมินค่า ผู้เรียนสามารถสรุปองค์ความรู้
ด้ ว ยตนเองและน าไปสู่ ก ารประยุ ก ต์ ใ ช้ แ ละน าไปสู่ ก ารสร้ า งนวั ต กรรม กระบวนการเรี ย นรู้ เ ชิ ง รุ ก
(Active Learning) จะท าให้ ผู้ เ รี ย นสามารถรั ก ษาผลการเรี ย นรู้ ใ ห้ อ ยู่ ค งทนได้ ม ากกว่ า กระบวนการเรี ย นรู้
3

แบบ Passive Learning เพราะกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สอดคล้องกับการทางานของ


สมองที่เกี่ยวข้องกับความจา โดยสามารถเก็บและจาสิ่งที่ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม มีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน
ผู้สอน สิ่งแวดล้อม การเรียนรู้ได้ผ่านการปฏิบัติจริง จะสามารถเก็บจาในระบบความจาระยะยาว (Long Term
Memory) ทาให้ผลการเยนรู้ยังคงอยู่ได้ในปริมาณที่มากกว่า ระยะยาวกว่า ( กนกวรรณ ฉัตร์แก้ว , 2564)
โรงเรียนบ้านปากเหมืองได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน)รอบสี่ (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๓) ผลการประเมินด้าน ที่ 1 มาตรฐานด้าน
คุณภาพผู้เรียน ด้านที่ 2 ด้านการบริหาร และด้านที่ 3 ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
อยู่ในระดับดี โดยมีข้อเสนอแนะและจุดควรพัฒนาด้านมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน คือ ผู้เรียนควรได้รับการฝึก
และพั ฒ นาทั ก ษะ กระบวนการคิ ด ต่ า ง ๆ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ น าความรู้ ที่ ไ ด้ รั บ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น
ชีวิตประจ าวัน ได้ อ ย่ างมี ป ระสิ ทธิ ภ าพ ด้ว ยโครงงาน โครงการ/กิ จ กรรม ในการจัดกิจ กรรมที่ มุ่ง เน้ น พั ฒ นา
ความสามารถด้านการคิด ทั้งการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดคานวณ คิดแยกแยะ ไตร่ตรอง พิจารณาอย่าง
รอบคอบ คิดแก้ปัญหา และคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี การสืบค้นข้อมูล การใช้
สื่อออนไลน์อย่างสร้างสรรค์และมีคุณธรรม อีกทั้งผลการประเมินสมรรถนะวิชาชีพประจาสายงานของครูโรงเรียน
บ้านปากเหมืองด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ของคณะครูโรงเรียนบ้านปากเหมือง โดยรวมอยู่ใน
ระดับ ปานกลาง โดยมีตัวบ่งชี้ที่ได้รับผลการประเมินในระดับ น้อย 2 ตัวบ่งชี้ คือ
1) ความรู้ ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ 2) การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
จากผลการประเมินของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน)
ผลการประเมินสมรรถนะวิชาชีพประจาสายงานด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรี ยนรู้ และแนวทางการ
จัดกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติและสามารถ
สรุปองค์ความรู้ด้วยตนเองอันจะนาไปสู่การเป็นนักนวัตกร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านปาก
เหมื อ งจึ ง ร่ ว มกั บ ภาคี เ ครื อ ข่ า ยในการพั ฒ นาการจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ ต ามแนวทาง Active Learning
จากเครือข่ายนิเทศโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยนอร์ทเชียงใหม่ ศึกษาธิการ
จังหวัดเชียงใหม่ และ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 หลังจากได้รับการอบรมพัฒนา
ครูได้สร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) การพัฒนากระบวนการ
เรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถนะการคิดของผู้เรียน จึงได้นวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) ที่ส่งเสริมสมรรถนะการคิดของผู้เรียน กระบวนการ LADIESs Process ซึ่งเป็นการประยุกต์
แนวคิด การเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน ( Creativity Based Learning : CBL) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น
ฐาน (Problem Based Learning : PBL) การเรี ย นรู้ โ ดยใช้ ป รากฏการณ์ เ ป็ น ฐาน (Phenomenon Based
Learning : PhBL) และกระบวนการเรี ย นรู้ส่ งเสริมการคิดสร้างสรรค์ ของ OECD โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒ นา
สมรรถนะการคิดของผู้เรียนและนาไปสู่การเป็นนักนวัตกร
การจั ดกระบวนการ LADIESs Process เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่ส่ ง เสริม สมรรถนะการคิ ด
โดยใช้เนื้อหาจากภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ สมุนไพร เป็นตัวจุดประกายการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการ 6 ขั้นตอน ดังนี้
1) ขั้นเรียนรู้ (Learn ) จุดประกายการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น และปรากฏการณ์ที่น่าสนใจ 2) ขั้นวิเคราะห์
(Analyze) น าองค์ความรู้ ที่ได้จ ากขั้น Learn จุดประกายการเรียนรู้ที่ตนเองสนใจ 3) ขั้นออกแบบ (Design)
นาประเด็นการเรียนรู้ที่นักเรียนสนใจ ออกแบบนวัตกรรม และจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนโดยใช้
4

เครื่องมือ FILA ซึ่งนักเรียนจะเป็นเจ้าของบทเรียน 4) ขั้นนาไปปฏิบัติ (Implement) เรียนรู้ในสิ่งที่นักเรียน


ออกแบบไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรมโดยมีครูเป็นผู้แนะนา 5) ขั้นประเมินผล (Evaluate)
นั ก เรี ย นร่ ว มประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ข องนั ก เรี ย น และประเมิ น นวั ต กรรม เพื่ อ น าผลการประเมิ น ไปพั ฒ นา
6) ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show and Share) นักเรียนนาผลงานนาเสนอผลงาน ร่วมสะท้อนความคิด อภิปราย
ท าความเข้ า ใจ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ร ะหว่ า งกลุ่ ม ถึ ง กระบวนการเรี ย นรู้ การแก้ ปั ญ หา องค์ ค วามรู้ ใ หม่
การเชื่อมโยง และสรุปความรู้ร่วมกัน
โรงเรียนได้ร่วมจัดกระบวนการเรียนรู้ LADIESs Process ในคาบลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ โดยจัดกิจกรรม
เป็นช่วงชั้น ช่วงชั้นที่ 1 ในวันพุธ ช่วงชั้นที่ 2 ในวันพุธ ช่วงชั้นที่ 3 ในวันจันทร์
ผลจากการจัดกิจกรรม นักเรียนทุกคนพัฒนาสมรรถนะการคิดสร้างสรรค์ นาไปสู่การเป็นนักนวัตกร ครูทุกคนจัด
กระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) และสามารถพัฒนาตนเองในด้านสมรรถนะ
วิชาชีพประจาสายงานด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ได้

2.5 เป้ำหมำยกำรดำเนินงำน
ด้ำนโรงเรียน
โรงเรียนเป็นโรงเรียนแห่งนวัตกรรม (Innovative School)
ด้ำนครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ
1) ครูทุกคนได้รับการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทาง Active
Learning จากภาคีเครือข่าย และนาไปสู่ ครูนวัตกร (Innovative Teacher)
2) ครูมีเครือข่ายที่มีเป้าหมายในการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
อย่างต่อเนื่อง โดยใช้กิจกรรม PLC
3) ครูมีนวัตกรรมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทาง Active Learning
ด้ำนนักเรียน
1) นักเรียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะการคิด สู่การเป็นนักนวัตกร
2) นักเรียนมีความสุขในการเรียนรู้จากการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทาง Active Learning
3) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น
4) นักเรียนได้รับการพัฒนาเป็น Learner (ผู้เรียนใฝ่เรียนรู้) และมีเครือข่ายของนักเรียนจากโรงเรียน
ในสมาชิกเครือข่ายนิเทศโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
2.6 กระบวนกำรกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถนะกำรคิดของผู้เรียน LADIESs Process
ขั้นตอนที่ 1 จุดประกำยกำรเรียนรู้ ( Learn)
1) ประเมินสมรรถนะการคิดสร้างสรรค์ ก่อนเรียน
2) จัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ครูเปิดประสบการณ์ของผู้เรียน เช่น การสารวจ
การศึกษาแหล่งเรียนรู้ การหาข้อมูลสื่อออนไลน์ ฯลฯ เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ และจุดประกายการเรียนรู้ โดยใช้
เนื้อหา ภูมิปัญญาท้องถิ่น และปรากฏการณ์ที่น่าสนใจ เกี่ยวกับสมุนไพร ช่วงชั้นที่ 1 สมุนไพรในครัว เรื อน
ช่วงชั้นที่ 2 สมุนไพรในครัวเรือน ช่วงชั้นที่ 3 สมุนไพรในประเทศ ในขั้นตอนนี้นักเรียนจะได้ฝึกกระบวนการคิด
วิเคราะห์ ( Divergent Thinking ) และแต่ละกลุ่มจะได้ข้อมูลในสิ่งที่สนใจ
5

ขั้นตอนที่ 2 วิเครำะห์ เชื่อมโยง (Analysis Thinking)


นักเรียนแต่ละกลุ่มนาข้อมูลจากขั้นจุดประกายการเรียนรู้ นามาคิดประเด็นการเรียนรู้ (Learning Issue)
โดยจัดกลุ่มข้อมูลจากที่นักเรียนได้สารวจและวิเคราะห์และใช้กระบวนการเชื่อมโยงข้อมูลโดยโดยใช้เครื่องมือ
Force Connection ในขั้นตอนนี้นักเรียนจะได้ฝึกกระบวนการคิดสังเคราะห์ (Convergent Thinking) และ
แต่ละกลุ่มจะได้ ประเด็นการเรียนรู้ เพื่อนาไปสู่การวางแผนการเรียนรู้ของกลุ่มและนาไปสู่การสร้างนวัตกรรม

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นออกแบบสร้ำงสรรค์ (Design Thinking)


1) นักเรียนแต่ละกลุ่มนาประเด็นการเรียนรู้ ร่วมกันจัดแผนการเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือ FILA
F :Fact ข้อเท็จจริง ความจริงที่ปรากฏในโจทย์ / ปัญหา นวัตกรรมที่เราสนใจ
I : Ideas ข้อคิดเห็น นาไปสู่สมมุติฐานเพื่อใช้ไขคาตอบ และการสร้างนวัตกรรมของกลุ่ม
L : Learning Issues ต้องเรียนรู้อะไร เพื่อนาไปสรุปความถูกต้อง และนาไปสู่การสร้างนวัตกรรม
A : Action Plan วางแผนปฏิบัติการของกลุ่ม แบ่งงาน หาข้อมูลความรู้ อะไร จากใคร แหล่งไหน
อย่างไร เมื่อไหร่ เพื่อนาไปสร้างนวัตกรรม
ในขั้นตอนนี้นักเรียนจะได้ฝึกการคิดสร้างสรรค์และแต่ละกลุ่มจะได้บทเรียนของตนเอง เพื่อนาไปสู่การ
สร้างนวัตกรรม
2) ครูนาแผนปฏิบัติการของนักเรียนจาก (Action Plan) ของนักเรียนมาร่วมวางแผนการจัดการเรียนรู้
แบบบูรณาการให้กับผู้เรียน โดยวิเคราะห์ตามมาตรฐาน ตัวชี้วัดแต่ละรายวิชา ที่สัมพันธ์กับ นวัตกรรมที่นักเรียน
ออกแบบ

ขั้นตอนที่ 4 ขั้นนำสู่กำรปฏิบัติ ( Implement)


1) นักเรียนแต่ละกลุ่มทบทวนแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ของกลุ่ม
2) แต่ละกลุ่มเรียนรู้และปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการที่กาหนด (ในระหว่างการเรียนรู้และปฏิบัติ
นักเรียนอาจต้องมีการเรียนรู้ซ้าทวนเพื่อให้ได้ความรู้และทักษะที่เพียงพอสาหรับการสร้างสรรค์นวัตกรรมให้สาเร็จ
ผล ซึ่งครูจะทาหน้าที่เป็นผู้ให้คาปรึกษา ชี้แนะ ตั้งคาถาม เสริมกาลังใจ เพื่อให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าองค์ความรู้ นามา
วิเคราะห์และประยุกต์ใช้ )
3) นักเรียนแต่ละกลุ่มนาผลงานไปนาเสนอในห้องเรียนเพื่อให้เพื่อนและครูร่วมอภิปรายและ
สะท้อนสู่การปรับปรุงพัฒนา นวัตกรรมให้ดียิ่งขึ้น

ขั้นตอนที่ 5 ขั้นประเมินผล (Evaluate)


การประเมินผล ใช้การวัดและประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลายเป็นการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง
(Authentic Assessment) ดังนี้
1) วัดประเมินผลสมรรถนะการคิดสร้างสรรค์ โดยใช้เครื่องมือ SPIDER Tool และแบบประเมิน
ความคิดสร้างสรรค์ โดยนักเรียนประเมินตนเอง กลุ่มประเมินเพื่อนในสมาชิกกลุ่ม และครูประเมินนักเรียน
2) วัดประเมินผลนวัตกรรมของผู้เรียน แบ่งเป็น 2 ส่วน 1) ประเมินในระหว่างการนาเสนอและ
สะท้อนนวัตกรรม 2) ประเมินเมื่อสิ้นสุดการสร้างนวัตกรรม
6

ขั้นตอนที่ 6 ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show and Share)


ในขั้นตอนนี้จะเป็นการ เน้นย้าซ้าทวน พัฒนาต่อยอด โดยแต่ละกลุ่มนาเสนอนวัตกรรมในเวทีระดับ
โรงเรียนและระดับเครือข่าย เพื่อเปิดโอกาสให้มีการการสะท้อนความคิด อภิปรายทาความเข้าใจ แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นระหว่างกลุ่ม ถึงกระบวนการเรียนรู้ การแก้ปัญหา การสร้างองค์ความรู้ใหม่ การเชื่อมโยง และสรุป
องค์ความรู้ร่วมกัน ซึ่งนาไปสู่พัฒนาต่อยอดนวัตกรรมหรือการคิดประเด็นการเรียนรู้ต่อไป
7
8

2.7 ผลลัพธ์ / ผลสำเร็จ


ด้ำนโรงเรียน
1) โรงเรียนเป็นโรงเรียนนวัตกรรม (Innovative School)
2) โรงเรียนได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่ายนิเทศโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ซึ่งมีโรงเรียนในสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 4 ได้แก่ โรงเรียนบ้านดง โรงเรียนวัดกู่คา โรงเรียนบ้านใหม่สวรรค์
และโรงเรียนบ้านปากเหมือง มีผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญในการพัฒ นากระบวนการเรียนรู้ ร่วมกาหนด
วิสัยทัศน์ กาหนดเป้าหมาย พันธกิจในการพัฒนาครูในการจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ด้ำนครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ
1) ครูได้รับการพัฒนาด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทาง Active Learning จากภาคีเครือข่าย
และจากเครือข่ายนิเทศโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ทาให้ครูเกิดพลังในการปรับการเรียน
เปลี่ยนการสอน ส่งผลให้ครูสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทาง Active Learning ได้เป็นอย่างดี
2) ครูมีเครือข่ายที่มีเป้าหมายในการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ร่วมกันทาให้ครูมีพลังและแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง
3) ครูเป็นครูนวัตกร (Innovative Teachear)
4) ครูมีนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถนะการคิดของผู้เรียน LADIESs Process
5) นางพรสวรรค์ ชาวเวียง ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ ได้รับคัดเลือกจากเครือข่ายโดยใช้
โรงเรียนเป็นฐาน และมหาวิทยาลัยศรีปทุมในโครงการยกระดับคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กเชิงระบบด้วยโรงเรียน
แม่ข่ายนวัตกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการ ไปนาเสนอเพื่อคัดเลือกการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทาง
Active Learning เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการคิดสร้างสรรค์ในระดับประเทศ เดือนสิงหาคม
ด้ำนนักเรียน
1) นักเรียนมีผลการประเมินสมรรถนะการคิดเพิ่มขึ้น
2) นักเรียนมีความสุขในการเรียนรู้จากการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทาง Active Learning
3) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น
4) นักเรียนเป็นนักเรียนนวัตกร (Innovative Student)
5) ตัวแทนนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 ได้รับคัดเลือกจากจากเครือข่ายโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน และ มหาวิทยาลัย
ศรีปทุมในโครงการยกระดับคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กเชิงระบบด้วยโรงเรียนแม่ข่ายนวัตกรรมการเรียนรู้และการ
บริหารจัดการ ไปนาเสนอนวัตกรรมที่ได้จากการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ ส่งเสริมสมรรถนะการคิดสร้างสรรค์
ในระดับประเทศ เดือนสิงหาคม

2.8 บทเรียนกำรดำเนินงำน Active Learning ร่วมกับภำคีเครือข่ำย


ปัญหำที่พบระหว่ำงดำเนินงำนและวิธีกำรแก้ปัญหำ
ในการท างานร่ ว มกั บภาคี เครื อข่ ายระดั บองค์ กร /
หน่วยงาน เช่นศึกษาธิการจังหวัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มหาวิทยาลัยนอร์ทเชียงใหม่ พบปัญหา คือ แต่ละ
หน่วยงาน / องค์กร มหาวิทยาลัย จะกาหนดรูปแบบในการรายงานผลการดาเนินงานหลังการอบรมพัฒนาที่
แตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น มหาวิทยาลัยนอร์ท เชียงใหม่ ได้ให้โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรู้และโครงงานการ
9

จัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน (Phenomenon – Based Learning) ศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ ได้


ให้โรงเรียนรายงานนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่บูรณาการกับท้องถิ่น มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ได้ให้โรงเรียนรายงาน
การจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมกระบวนการคิดสร้างสรรค์ โดยใช้เครื่องมือ OECD วิธีการแก้ปัญหา คือ หลังจากคณะ
ครูได้รับการพัฒนาการเรียนรู้จากภาคีเครือข่ายแล้ว ได้นามาสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional
Learning Community : PLC) เพื่อหากระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ตามแนวทาง Active Learning ที่ตรงกับ
ความต้องการและเป็นการบูรณาการเป้าหมายของภาคีเครือข่ายและสอดคล้องกับบริบทท้องถิ่น ซึ่งโรงเรียนได้
นวัตกรรมกระบวนการเรียนรู้ คือ กระบวนการส่งเสริมสมรรถนะการคิดของผู้เรียนโดยใช้ LADIESs Process
สาหรับปัญหาที่พบระหว่างดาเนินงานและวิธีการแก้ปัญหา กับเครือข่ายนิเทศโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
มีดังนี้ เนื่องจากเครือข่ายนิเทศโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ไม่ใช้เครือข่ายตามโครงสร้าง แต่เป็นเครือข่ายสมัครใจ
โรงเรียนที่มาเข้าร่วมเครือข่าย เป็นโรงเรียนที่มีเป้าหมายในการพัฒนาครูในการจัดกระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่
21 ฉะนั้นปัญหาที่พบ คือ 1) เวลาในการขับเคลื่อน เช่นการประชุมของผู้บริหารเครือข่าย การประชุมของครูใน
เครือข่าย ต้องไม่ให้กระทบกับภาระหน้าที่หลักของโรงเรียน วิธีการแก้ปัญหาคือ เครือข่ายได้จั ดประชุม อบรม
ผ่านทาง ZOOM และจัดตั้ง Facebook กลุ่มปิด และLine กลุ่มเพื่อใช้ในการประชาสัมพันธ์และประสานงานกัน
2) ด้านทรั พยากรในการบริ ห ารเครื อข่าย ไม่ว่าจะเป็นด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ ด้านสื่ อวัส ดุอุปกรณ์
งบประมาณในการจัดอบรมพัฒนา นิเทศ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เครือข่ายได้แก้ปัญหาโดย การร่วมวางแผน
กาหนดโครงสร้างองค์กรของเครือข่าย จัดปฏิทินการอบรมพัฒนาและนิเทศครู โดยโรงเรียนในสมาชิกเครือข่ายได้
ร่วมแบ่งปันทรัพยากรในการทางานร่วมกัน นอกจากนั้นเครือข่ายได้แสวงหาหน่วยงาน / องค์กรที่มีเป้าหมาย
เดียวกัน มาร่วมพั ฒนา ซึ่งในปีการศึกษาที่ผ่านมา ได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาครูในการจัด
กระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนจากมหาวิทยาลัยศรีปทุมและ กองทุนเพื่อความเสมอภาค
(กสศ.) อย่างต่อเนื่อง
ปัจจัยควำมสำเร็จ
1) การนาองค์ความรู้จากภาคีเครือข่ายมาสร้างเป็นองค์ความรู้ของโรงเรียน
2) ผู้บริหารเป็นบุคลากรสาคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาครู ดังนั้น ผู้บริหารต้องเป็นที่ปรึกษาและ
ร่วมพัฒนาให้ครูในการนาองค์ความรู้ที่ได้จากภาคีเครือข่ายมาใช้และมาประยุกต์เป็นนวัตกรรมของโรงเรียน
3) การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถนะการคิด LADIESs ต้องสร้างบรรยากาศการเรียนรู้
8 อย่างได้แก่
3.1) การใช้การสื่อสารกระตุ้นความสนใจและคาถามกระตุ้นคิดในการจัดกระบวนการเรียนรู้
3.2) ครูดาเนินบทบาทเป็น ผู้อานวยความสะดวก (Facilitator) ลดการอธิบายแต่ให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้ด้วยตนเอง
3.3) เนื้อหาที่ใช้ในการจุดประกายการเรียนรู้ควรเป็นเนื้อหาที่ใกล้ตัว เป็นปรากฏการณ์ที่น่าสนใจ
เรื่องราวชีวิตจริง เรื่องราวที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น
3.4) ดาเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการกลุ่ม
3.5) ให้เวลานักเรียนในการศึกษาค้นคว้า
3.6) ครูยอมรับความคิดของนักเรียนโดยไม่ตัดสินแต่ให้ผู้เรียนได้ทดลองและพิสูจน์ด้วยตนเอง
10

3.7) ในระหว่างการจัดการเรียนรู้ครูเป็นผู้ฟังและให้กาลังใจผู้เรียนคอยเสริมแรงและจุดประกาย
ให้นักเรียนไปต่อ
3.8) การวัดผลประเมินผลควรใช้วิ ธีการหลากหลายตามสภาพจริง สะท้อนผลการเรียนรู้ถึงสิ่งที่
คาดว่าจะได้รับ สิ่งที่ได้เรียนรู้และประโยชน์ และมีการวัดประเมินผลก่อนการเรียน ระหว่างเรียน และ
หลังเรียนรู้
4) สร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ในโรงเรียนเพื่อ
พัฒนากระบวนการเรียนรู้
5) พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง Active Learning อย่างต่อเนื่องเป็นระบบทั้งโรงเรียน
ข้อจำกัดในกำรดำเนินงำน
ทรัพยากรในการบริหาร
1) งบประมาณในการจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดหาซื้อ วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรม ด้าน
บุคคล
2) บุคลากรที่มีความรู้ตามนวัตกรรมที่นักเรียนออกแบบ
3) เวลาในการดาเนินการเนื่องด้วยเป็นสถานการณ์ช่วงการแพร่ระบาดของ โรคไวรัส โคโรน่า 19 ทาให้
เปิดเรียนแบบ On site ไม่ต่อเนื่อง
ควำมเป็นต้นแบบ จุดแข็งและจุดเด่นของกำรดำเนินงำน Active Learning ร่วมกับภำคีเครือข่ำย
1) โรงเรียนมีการกาหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดในการพัฒนาครูด้านการกระบวนการจัดการเรียนรู้ตาม
แนวทางการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม
2) โรงเรียนมีกระบวนการในการพัฒนาครูในการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทาง Active
Learning โดยใช้ภาคีเครือข่าย อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง คือ กระบวนการพัฒนาครู PDCAM 1) P : Plan
การวางแผนพัฒนาครูโดยใช้ภาคีเครือข่าย 2) D : Do ดาเนินการพัฒนาครูโดยใช้ภาคีเครือข่าย 3) C : Check
การติดตามการพัฒนาครูร่วมกับภาคีเครือข่าย 4) A : Act ขั้นประเมินผลการพัฒนาร่วมกับภาคีเครือข่าย 5)
Maintaining Network การผดุงรักษาเครือข่าย
3) โรงเรียนมีนวัตกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมสมรรถนะการคิดของผู้เรียน LADIESs
Process ซึ่ ง เกิ ด จากการร่ ว มพั ฒ นากั บ ภาคี เ ครื อ ข่ า ยและสร้ า งชุ ม ชนการเรี ย นรู้ ท างวิ ช าชีพ (Professional
Learning Community : PLC)
4) โรงเรียนมีเครือข่ายร่วมพัฒนาคือ เครือข่ายการนิเทศโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ตั้งแต่ พ.ศ. 2562 ที่
ประกอบด้วยโรงเรียนที่มีเป้าหมายเดียวกัน ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญในด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ร่วม
พั ฒ นาครู อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเครื อ ข่ า ยได้ ร่ ว มกั น วางแผนด าเนิ น งาน ก าหนดวิ สั ย ทั ศ น์ ร่ ว ม เป้ า หมาย
พันธกิจ ของเครือข่ายอย่างชัดเจนและต่อเนื่อง ทาให้ครูมีขวัญและกาลังใจในการพัฒนาตนเอง
2.9 แนวทำงพัฒนำต่อไป
1) กาหนดเป้าหมายในการพัฒนานวัตกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทาง Active Learning
1 ช่วงชั้น 1 นวัตกรรม
2) พัฒนากระบวนการจั ดการเรียนรู้ที่ส่ งเสริมสมรรถนะการคิด LADIESs Process โดยนาไปใช้จัด
กระบวนการเรียนรู้หลังจบหน่วยการเรียนในแต่ละรายวิชา
3) พัฒนาครูโดยใช้ภาคีเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง โดยใช้กระบวนการ PDCAM
11

2.10 ข้อคิดในกำรดำเนินให้ประสบควำมสำเร็จ
1) เปิดโอกาสให้ครูได้มีส่วนร่วมในการหาความต้องการและการกาหนดเป้าหมายในการพัฒนา
2) เรียนรู้ร่วมกับหน่วยงาน องค์กร ที่มุ่งพัฒนาการศึกษา เช่น สภาการศึกษา มหาวิทยาลัย หน่วยงานต้น
สังกัด เพื่อนาองค์ความรู้มาพัฒนาและประยุกต์ใช้อย่างต่อเนื่อง
3) กล้าคิด กล้าทาในสิ่งที่ท้าทายเพื่อพัฒนาการศึกษา
4) แสวงหาความรู้ในการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างสม่าเสมอ
5) เมื่อได้องค์ความรู้จากภาคีเครือข่ายต้องจัดการความรู้ให้เป็นองค์ความรู้ของโรงเรียน
6) สร้ า งชุ ม ชนการเรี ย นรู้ ท างวิ ช าชี พ (Professional Learning Community : PLC) เพื่ อ พั ฒ นา
กระบวนการจัดการเรียนรู้
12

บรรณำนุกรม

กนกวรรณ ฉัตร์แก้ว. (2564). กำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุกในยุคประเทศไทย 4.0 ของครูระดับมัธยมศึกษำตอนต้น.


บทความวิจัย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์.ปีที่ 7 ฉบับที่ 1
( มกราคม – เมษายน 2564)

วัฒนา หงสกุล (2564). กำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุกในยุคไทยแลนด์ 4.0. บทความวิจัย การประชุมวิชาการ


เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ “GRADUATE SCHOOL CONFERENCE 2018”.

สถาพร พฤฑฒิกุล (2555). คุณภำพผู้เรียน เกิดจำกกระบวนกำรเรียนรู้. วารสารการบริหารการศึกษา


มหาวิทยาลัยบูรพา ฉบับที่ 6 เมษายน 2555 – กันยายน 2555
13

ภำคผนวก
14
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ เพื่อพัฒนำสมรรถนะผู้เรียนโดยใช้ LADIESs Process
เรื่อง สมุนไพรในครัวเรือน
ชั้น ประถมศึกษำปีที่ 1-3 ปีกำรศึกษำ 2563
ครูผู้สอน คณะครูระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 1-3 ระยะเวลำ 40 ชั่วโมง
โรงเรียนบ้ำนปำกเหมือง สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำเชียงใหม่ เขต 4

1. คำอธิบำยกำรเรียนรู้
ศึกษาสมุนไพรในครัวเรือนที่อยู่ใกล้ตัว เรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญของพืชสมุนไพรที่เกี่ยวข้อง
กับชีวิตประจาวัน การแบ่งประเภทของสมุนไพรในครัวเรือน การใช้ประโยชน์ ผู้เรียนได้เรียนรู้และตระหนักถึง
ความสั ม พั น ธ์ ข องสมุ น ไพรกั บ ชี วิ ต ประจ าวั น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม สมรรถนะการคิ ด โดยใช้ ก ระบวนการ LADIESs
PROCESS 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นเรียนรู้ (Learn) จุดประกายการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น และปรากฏการณ์ที่
น่าสนใจ 2) ขั้นวิเคราะห์ (Analyze) นาองค์ความรู้ที่ได้ วิเคราะห์เชื่อมโยงประเด็นการเรียนรู้ 3) ขั้นออกแบบ
(Design) โดยผู้เรียนเป็นผู้ออกแบบนวัตกรรม วิธีการ สิ่งประดิษฐ์ และจัดทาแผนการเรียนรู้ของตนเอง โดยใช้
เครื่องมือ FILA ซึ่งนักเรียนจะเป็นเจ้าของบทเรียน 4) ขั้นนาไปใช้ (Implement) ออกแบบและทดลองใช้นวัตกรรม
สิ่งประดิษฐ์ วิธีการ โดยมีครูเป็นผู้แนะนา 5) ขั้นประเมินผล (Evaluate) นักเรียนร่วมประเมินผลการเรียนรู้ของตน
และประเมินนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ วิธีการ เพื่อนาผลการประเมินไปพัฒนา 6) ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show and
Share) นักเรียนนาเสนอผลงาน ร่วมสะท้อนความคิด อภิปรายทาความเข้าใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม ถึง
กระบวนการเรียนรู้ การแก้ปัญหา องค์ความรู้ใหม่ การเชื่อมโยง และสรุปความรู้ร่วมกัน

2. สำระกำรเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
ภำษำไทย
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 การอ่าน ท 1.1 ป.3/2 อธิบายความหมายของคาและข้อความที่อ่าน
ท 1.1 ป.3/7 อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคาสั่งหรือคาแนะนา
สาระที่ 2 การเขียน ท 2.1 ป.3/2 เขียนบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้อย่างชัดเจน

คณิตศำสตร์
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 การวัดและ ค 2.1 ป.1/1 วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตรเป็นเมตร
เรขาคณิต ค 2.1 ป.1/2 วัดและเปรียบเทียบน้าหนักเป็นกิโลกรัมเป็นขีด
ค 2.1 ป.2/4 วัดและเปรียบเทียบน้าหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด
ค 2.1 ป.2/6 วัดและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็นลิตร
ค.2.1 ป.3/3 เลือกใช้เครื่องวัดความยาวที่เหมาะสมวัดและบอกของสิ่งต่างๆ
เป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร
ค.2.1 ป.3/4 คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร
15
ค.2.1 ป.3/8 คาดคะเนน้าหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด
ค.2/1 ป.3/11 คาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร

วิทยำศำสตร์
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์ ว 2.1 ป.1/1 อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุที่ใช้ทาวัสดุ ซึ่งทาจากวัสดุ
กายภาพ เดียวกันหรือหลายชนิดประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
ว 2.3 ป. 3/2 บรรยายการทางานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและระบุแหล่ง
พลังงานในการผลิตไฟฟ้าจากข้อมูลที่รวบรวมได้
สาระที่ 4 เทคโนโลยี ว 4.2 ป.3/2 เขียนโปรแกรมอย่าง่าย โดยใช้ ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจสอบ
ข้อผิดพลาดของโปรแกรม
ว 4.2 ป.3/3 ใช้อินเทอร์เน็ต ค้นหาความรู้

สังคมศึกษำ
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง ส 2.2 ป.1/3 มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและทากิจกรรมในครอบครัวและ
วัฒนธรรมและ โรงเรียนตามกระบวนการประชาธิปไตย
การดาเนิน ส 2.2 ป.3/2 วิเคราะห์ความแตกต่างของกระบวนการตัดสินใจในชั้นเรียน
ชีวิตใน โรงเรียนและชุมชนโดยวิธีการออกเสียงโดยตรงและการเลือก
สังคม ตัวแทนออกเสียง

ศิลปะ
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ ศ 1.1 ป.3/1 บรรยายรูปร่างรูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมทัศนศิลป์
ศ 1.1 ป.3/3 จาแนกทัศนธาตุของสิ่งต่างๆในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมทัศนศิลป์
โดยเน้น เรือ่ งเส้น สี รูปร่าง รูปทรง และพื้นผิว

กำรงำนอำชีพ
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 การดารงชีวิต ง 1.1 เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน
และครอบครัว ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทางาน
ร่วมกัน และทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยใน
การทางาน มีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการดารงชีวิตและครอบครัว
ง 1.1 ป.3/2 ใช้วัสดุอุปกรณ์ และเครื่องมือตรงกับลักษณะงาน
16
ภำษำอังกฤษ
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการ ต 1.1 ป.1/2 ระบุตัวอักษรและเสียง อ่านออกเสียงและสะกดคาง่าย ๆ
สื่อสาร ถูกต้องตามหลักการอ่าน
สาระที่ 4 ภาษากับ ต 4.1 ป.2/2 ใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อรวบรวมคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องใกล้ตัว
ความสัมพันธ์กับ
ชุมชนและโลก

3. จุดประสงค์กำรเรียนรู้
ด้ำนควำมรู้ (K)
1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของคาและข้อความที่อ่าน
2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวัด การชั่ง การตวงและการใช้เครื่องมือให้เหมาะสม
3. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวปริมาตร ความจุ น้าหนักและการใช้เครื่องมือให้เหมาะสม
4. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับวัสดุที่ใช้ทานวัตกรรมของตนเอง
5. นักเรียนมีความรู้พื้นฐานในการเขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟแวร์หรือสื่อ
6. นักเรียนอธิบายกระบวนการประชาธิปไตยในชั้นเรียนได้
7. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับเส้น สี รูปร่าง รูปทรงและพื้นผิว
8. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและนาเสนอประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า
9. นักเรียนอ่านออกเสียงคาศัพท์และสะกดคาง่าย ๆ ได้

ด้ำนทักษะ/กระบวนกำร (S)
1. นักเรียนมีทักษะการฟัง พูดอ่านเขียนและการตีความ
2. นักเรียนมีกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. นักเรียนมีทักษะเกี่ยวกับการใช้วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือเพื่อแก้ปัญหา
4. นักเรียนแสดงการวัด การชั่ง การตวง หาความจุและน้าหนักได้
5. นักเรียนมีทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทางาน
6. นักเรียนออกแบบรูปภาพ
7. นักเรียนมีทักษะการพูด นาเสนอประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า

ด้ำนคุณลักษณะ(A )
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความคิดเชิงบวก
3. มีมารยาทในการพูด
4. ยอมรับความแตกต่างของผู้อื่น อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
17
4. สมรรถนะ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. สื่อและอุปกรณ์
1. แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์รูปแบบความแตกต่างของบุคคล ตามแนวคิด แอนเดอร์สัน
2. วีดิทัศน์เรื่องสมุนไพรในครัวเรือน
3. อุปกรณ์เช่น กระดาษ ปากกาเมจิก
4. แหล่งเรียนรู้ในและนอกโรงเรียน
18
6. เกณฑ์กำรประเมิน

ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1


เกณฑ์กำรประเมิน มีควำมคิดสร้ำงสรรค์ดีมำก มีควำมคิดสร้ำงสรรค์ ธรรมดำ ไม่มีควำมคิดสร้ำงสรรค์
ความคิดที่เกิดจากความสนใจ มุง่ หา
ความคิดที่เกิดจากความสนใจ มุง่ หา
คาตอบ แสดงออกด้วยการเสาะแสวงหา ความคิดที่มีความสนใจเพียงเล็กน้อย มุ่ง
คาตอบ แสดงออกด้วยการเสาะ ความคิดที่มีความสนใจเพียง
สนใจใคร่รู้มุ่งสู่ค้นหำ ด้วยวิธีที่หลากหลาย สะท้อนออกมา หาคาตอบ สะท้อนออกมาเป็นคาถามที่
แสวงหาด้วยวิธบี างวิธี สะท้อนออกมา เล็กน้อย สะท้อนออกมาเป็น
เป็นคาถามทีส่ ามารถหาคาตอบได้ สามารถหาคาตอบได้เพียง 1 วิธี คือ การ
เป็นข้อคาถาม ที่สามารถสรุปความรู้ คาถามที่ไม่สามารถหาคาตอบได้
หลากหลายวิธี ได้ข้อสรุปจากการหา ถามคาถาม
จากการหาคาตอบได้
คาตอบด้วยวิธีการต่างๆ
ความรู้ได้จากแหล่งข้อมูลหลากหลาย ความรู้ได้จากแหล่งข้อมูลหลากหลาย
ความรู้ได้จากแหล่งข้อมูลจาก
จากตารา สื่อ บุคคลทีน่ ่าเชื่อถือ วางแผน จากตารา สื่อ บุคคลทีน่ ่าเชื่อถือ ความรู้ได้จากแหล่งข้อมูลจากบุคคล
วำงแผนพำหำรูปแบบ บุคคล วางแผนรูปแบบของงาน
รูปแบบของงานเป็นขั้นตอน ค่อนข้าง วางแผนรูปแบบของงานเป็นขั้นตอนไม่ วางแผนรูปแบบของงานเป็นขั้นตอน
เป็นไม่เป็นขั้นตอน
ซับซ้อน ซับซ้อน
ความคิดเกิดจากการเรียนรู้ นาสิ่งที่รู้มา ความคิดเกิดจากการเรียนรู้ นาสิ่งที่
ผสมผสานให้เกิดผลงานที่เพิ่มเติมสิ่ง ผู้อื่นทา มาผสมผสานให้เกิดผลงานที่ ความคิดเกิดจากการนาสิ่งทีผ่ ู้อื่น
ความคิดเกิดจากการนาสิ่งทีผ่ ู้อื่นทา
ก่อเกิดจินตนำกำร ใหม่ๆ ลงไปหลากหลาย พัฒนาผลงานให้ เพิ่มเติมสิ่งใหม่ๆ ลงไป 2 – 3 อย่าง ทามาทาซ้า หรือไม่เกิดผลงานใด
มาทาใหม่ เพิ่มเติมสิ่งใหม่เพียงสิ่งเดียว
ดีกว่าที่เคยพบเห็น หรือคิดสร้างสิ่งแปลก เลย
ใหม่
ผลงานน่าสนใจ มีประโยชน์ ผสมผสาน
ผลงานน่าสนใจ มีประโยชน์ ผสมผสาน ผลงานน่าสนใจ มีประโยชน์ ผสมผสาน
ความคิดหลากหลาย เพื่อให้ได้ผลงานที่ ผลงานน่าสนใจ แต่ผลงานที่ได้ไม่
สร้ำงสรรค์ผลงำน ความคิดหลากหลาย เพื่อให้ได้ผลงานที่ ความคิดหลากหลาย เพื่อให้ได้ผลงาน
สมบูรณ์กว่าเดิม และสามารถพัฒนาต่อ สมบูรณ์
สมบูรณ์กว่าเดิม ค่อนข้างสมบูรณ์
ยอดได้
19
7. กิจกรรมกำรเรียนรู้
ครูประเมิน เป้ำหมำยหลักสูตร เป้ำหมำยครู บทบำทครู ขั้นตอน/ บทบำทนักเรียน เป้ำหมำยนักเรียน นักเรียนประเมิน
(ตำมเป้ำหมำย คุณลักษณะ สมรรถนะ มตฐ/ กิจกรรม
ของครู) ตชว
- สังเกต วิถีประชา ทักษะการ ส2.2 นักเรียนได้ฝึกการ 1.ครูมอบหมายให้ประธานห้อง ขั้นเตรียม 1.ประธานห้องมอบหมายให้ - ได้ข้อตกลงของกลุ่ม สังเกตพฤติกรรม
พฤติกรรมโดย ธิป คิด ป.1/3 กาหนดกติการ่วมกัน ดาเนินการให้แต่ละกลุ่มสร้าง (สร้าง ประธานกลุม่ ดาเนินการสร้าง ขั้นตอนในการ
ครูและเพื่อน ไตย ด้วยความเป็นเหตุเป็น ข้อตกลงเชิงพฤติกรรมร่วมกัน ตาม ข้อตกลง ข้อตกลงเชิงพฤติกรรมของ กาหนดบทบาท
-คารวะธรรม ผล วิธีการของกระบวนการกลุ่ม ร่วมกัน) กลุ่ม ตามวิธีการของ หน้าที่
-สามัคคี บนวิถีประชาธิปไตย เพื่อให้สามารถเรียนรู้ร่วมกันได้ กระบวนการกลุ่ม ภายใต้เวลา
ธรรม ตามระยะเวลาที่กาหนด ที่กาหนด
-ปัญญาธรรม
ผลการทา - มุ่งมั่นใน ง1.1 ครูได้ข้อมูล 1.ครูชี้แจงให้ประธานห้อง และ ขั้นที่ 1 1.ประธานห้องและประธาน - เข้าใจวิธีการทาแบบ - ทาแบบทดสอบ
ประเมิน การทางาน ป.3/2 ที่สะท้อนความคิด ประธานกลุม่ เข้าใจ จุด กลุ่มรับฟัง ซักถาม และ ประเมิน ได้ถูกต้อง
แบบทดสอบ สร้างสรรค์ของ การประเมินแบบทดสอบความคิด ประกาย ทาตามคาชี้แจงเกี่ยวกับ - ทาแบบสารวจตาม - เสร็จทันเวลา
ความ นักเรียนเพื่อเป็น สร้างสรรค์ รูปแบบการแตกต่างของ การเรียนรู้ แบบประเมิน ให้มีความเข้าใจ เงื่อนไขของ ทีก่ าหนด
คิดสร้างสรรค์ พื้นฐานในการพัฒนา บุคคล ตามแนวคิด แอนเดอร์สัน (Learn) ชัดเจนเกี่ยวกับแบบประเมินที่ แบบทดสอบ - ทุกคนส่ง
รูปแบบ นักเรียน จะนาไปใช้ - ส่งแบบทดสอบ แบบทดสอบ
การแตกต่าง 2.ประธานห้องและประธาน ความคิดสร้างสรรค์
ของบุคคล กลุ่มดาเนินการให้สมาชิก รูปแบบการแตกต่าง
ตามแนวคิด ทุกคน ทาแบบประเมินให้เสร็จ ของบุคคล ตาม
แอนเดอร์สัน เรียบร้อยในเวลา แนวคิด
ที่กาหนด แอนเดอร์สัน
3.ประธานห้อง/ประธานกลุม่ ส่งทุกคน
รวบรวมแบบทดสอบความคิด
สร้างสรรค์ รูปแบบการ
แตกต่างของบุคคล
ตามแนวคิด แอนเดอร์สัน
ส่งครู
20
ครูประเมิน (ตำม เป้ำหมำยหลักสูตร เป้ำหมำยครู บทบำทครู ขั้นตอน/ บทบำทนักเรียน เป้ำหมำยนักเรียน นักเรียนประเมิน
เป้ำหมำยของครู) คุณลักษณะ สมรรถนะ มตฐ/ตชว กิจกรรม
- กระบวนการคิด - ใฝ่เรียนรู้ - ทักษะ - ฝึกให้ 2.ครูเปิดประสบการณ์ของ 4.นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันดู - เปิด - การสังเกต
วิเคราะห์ - มีวินัย การสื่อสาร นักเรียน นักเรียน โดยเปิดวีดีทัศน์ หรือ วีดีทัศน์ หรือศึกษาชื่อและ ประสบการณ์ พฤติกรรมการ
(Divergent - มุ่งมั่นในการ -ทักษะการคิด มีทักษะ ศึกษาแหล่งเรียนรู้ตา่ งๆ สรรพคุณของสมุนไพร อภิปรายแสดง
Thinking) ของ - ทักษะกา การคิด ในโรงเรียนเกี่ยวกับ สมุนไพร ในแหล่งเรียนรู้ ความคิดเห็นของ
ทางาน
นักเรียนแต่ละกลุ่ม แก้ปัญหา วิเคราะห์ ในครัวเรือน ให้เห็นถึง เพื่อน
- ทักษะชีวิต (Divergent ประโยชน์ และการนาไปใช้
Thinking)
-ทักษะ
เทคโนโลยี
- การนาเสนอ - ใฝ่เรียนรู้ - ทักษะการ ท 2.1 Brandstorm 1.ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ขั้นที่ 2 1.นักเรียนทุกคนในกลุ่ม -ได้คาศัพท์ -การรวบรวม
ข้อมูลจากการ - มุ่งมั่นในการ สื่อสาร ป.3/2 นาข้อมูลที่ได้จากการศึกษา วิเคราะห์ ดาเนินกิจกรรมเขียนคา -แยกหมวดหมู่ของ ข้อมูล
สารวจ ทางาน -ทักษะการคิด ท 1.1 ฝึกทักษะการ วีดีทัศน์ หรือศึกษาแหล่ง เชื่อมโยง ที่สนใจ คาตาม -การสังเกต
- การจัดหมวดหมู่ - ทักษะการ ป.3/7 สร้างความคิด เรียนรูต้ ่างๆ ในโรงเรียน (Analysis 2.นักเรียนทุกคนในกลุ่ม ลักษณะร่วม พฤติกรรมการ
ข้อมูลของแต่ละ ค.2.1 ป.3/4 รวบยอด มาร่วมกันอธิบาย ให้สมาชิก Thinking) หาลักษณะร่วมเพื่อแยก -ได้ประเด็นการ อภิปรายแสดง
สื่อสาร
กลุ่ม ศ 1.1 ป.3/1 ในกลุ่มช่วยกันคิดและเขียนคา หมวดหมู่ เรียนรู้ ความคิดเห็นของ
- ครูสังเกตการ -ทักษะการคิด ส 2.2 ป.1/3 ลงในกระดาษที่ครูแจกให้ 3.ประธานกลุม่ และนักเรียน - ได้คาที่นาไปสู่ เพื่อน
เลือกข้อมูลในแต่ ส 2.2 ป.3/2 โดยแยกหมวดหมู่ตาม ทุกคนในกลุ่ม ดาเนินกิจกรรม การสร้าง - การสังเกต
ละหมวด ลักษณะร่วมที่กาหนดขึ้นมา วงกลมคาที่สนใจ เพื่อได้ นวัตกรรม พฤติกรรมการ
หลังจากนั้นให้วงกลมเลือกคา - ได้คาที่นาไปสู่ อภิปรายแสดง
ประเด็นการเรียนรู้
ที่สนใจ ในแต่ละหมวดหมู่ การสร้าง ความคิดเห็นของ
แล้วให้ไปศึกษาค้นคว้า 4.นักเรียนทุกคนในกลุ่ม
นวัตกรรม เพื่อน
เพิ่มเติม เกี่ยวกับคาที่เลือก ร่วมกันเลือกคาที่กลุ่มสนใจ
จากนั้นลากเส้นเชื่อมคา ในแต่ละหมวดแล้วให้ไป
เหล่านั้น โดยใช้เครื่องมือ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
(Force connection) เกี่ยวกับคาที่เลือก จากนั้น
เพื่อนาไปสู่การวางแผนการ ลากเส้นเชื่อมคาเหล่านั้น
จัดการเรียนรู้ของกลุ่ม และ เพื่อนาไปสู่การสร้างสรรค์
นาไปสู่การสร้างนวัตกรรม ออกแบบ แบบร่างนวัตกรรม
21

ครูประเมิน (ตำม เป้ำหมำยหลักสูตร เป้ำหมำยครู บทบำทครู ขั้นตอน/ บทบำทนักเรียน เป้ำหมำยนักเรียน นักเรียนประเมิน


เป้ำหมำยของครู) คุณลักษณะ สมรรถนะ มตฐ/ตชว กิจกรรม
- ครูประเมินผล - ใฝ่เรียนรู้ - ทักษะ ท 1.1 ป.3/7 - ฝึกทักษะ 1.ครูชี้แจงให้ประธานกลุม่ ขั้นตอนที่ 3 1.ประธานกลุม่ ชี้แจงให้ - FILA MAP - FILA MAP
งานของนักเรียน - มีวินัย การคิด ค.2.1 ป.3/4 การคิด ทราบเกี่ยวกับการเขียนกรอบ ขั้นออกแบบ สมาชิกทราบ
จากการนาเสนอ - มุ่งมั่นในการ - ทักษะชีวิต ศ 1.1 ป.3/1 สร้างสรรค์ ความคิดการสร้างนวัตกรรม สร้างสรรค์ เรื่ององค์ประกอบใน
FILA MAPPING ทางาน (การทางาน ส 2.2 ป.1/3 และ ภายใต้รูปแบบของแผนผัง (Design การเขียนกรอบความคิดการ
ร่วมกับผู้อื่น) ส 2.2 ป.3/2 จินตนาการ ความคิด ที่ประกอบด้วย Thinking) สร้างนวัตกรรม (FILA MAP)
-ทักษะการ ง 1.1 ป.3/2 F (face) ความจริง ข้อเท็จจริง
สื่อสาร ที่มา 2.สมาชิกทุกคนในกลุ่ม
I (Idea) ผลผลิตหรือ ร่วมกันอภิปราย แสดงความ
กระบวนการ คิดเห็นแล้วสรุปประเด็นตาม
L (learning Issue) ความรู้ องค์ประกอบของ FILA MAP
หลักการ แนวคิดที่จาเป็นต้อง
เรียนรูเ้ พื่อใช้ในการทา 3. นักเรียนรับฟังและ
นวัตกรรม ทาความเข้าใจขั้นตอนและ
A (Action plan) การวางแผน วิธีการการจัดทาแผนปฏิบัติ
ในการดาเนินงาน โดยเขียนลง การ โดยมีประธานห้องและ
ในกระดาษแล้วนาเสนอหน้า ประธานกลุม่ ดูแลความ
ชั้นเรียน เรียบร้อย
-ครูประเมินจาก - ใฝ่เรียนรู้ ทักษะการคิด ท 1.1 ป.3/2 - นักเรียนมี 2. ครูชี้แจงขั้นตอนวิธีการ - มีความรู้ความ
ขั้นตอนในการทา - มีวินัย -ทักษะชีวิต ท 1.1 ป.3/7 ความรู้ความ ในการจัดทาแผนปฏิบัติการ เข้าใจเกี่ยวกับการ
แผน - มุ่งมั่นในการ (การทางาน ท 2.1 ป.3/2 เข้าใจเกี่ยวกับ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มฟัง ทาแผนปฏิบัติการ
ทางาน ร่วมกับผู้อื่น) ส 2.2 ป.1/3 การทาแผน และแสดงตัวอย่างแผนปฏิบัติ -การแสดงความ
-ทักษะการ ส 2.2 ป.3/2 การ จากนั้นเปิดโอกาสให้ คิดเห็นของเพื่อน
สื่อสาร นักเรียนได้อภิปรายซักถาม ในกลุ่ม
22

ครูประเมิน (ตำม เป้ำหมำยหลักสูตร เป้ำหมำยครู บทบำทครู ขั้นตอน/ บทบำทนักเรียน เป้ำหมำยนักเรียน นักเรียนประเมิน


เป้ำหมำยของครู) คุณลักษณะ สมรรถนะ มตฐ/ตชว กิจกรรม
- ครูประเมินจาก - นักเรียนมี 3. ให้นักเรียนลงมือจัดทา 4. นักเรียนแต่ละกลุม่ - แผนปฏิบัติการ - ประเมิน
แผนของนักเรียน ทักษะและ แผนปฏิบัติการ เพื่อสร้าง ดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติ ของกลุ่ม แผนปฏิบัติการ
ความสามารถ นวัตกรรมที่ครอบคลุมภายใต้ การของกลุ่มโดยการดูแลของ - ได้ข้อคิดเห็น ของกลุ่มที่สร้างขึ้น
-วิธีการสร้าง ในการเขียน กรอบของเวลา เป้าหมาย ประธานห้องและประธาน ข้อเสนอแนะใน - ประเมินจาก
ความรู้ของ แผน หน่วยการเรียนรู้ กิจกรรม กลุ่ม (ครูร่วมให้ความ การนาแผนปฏิบัติ ข้อคิดเห็น
นักเรียนแต่ละกลุ่ม และการประเมินผล ช่วยเหลือ แนะนาตามกลุม่ การจากคณะครู ข้อเสนอแนะ
-นักเรียน (ในระหว่างที่นักเรียนแต่ละ ต่างๆ) จนได้แผนปฏิบตั ิการ - ได้แผนปฏิบัติ - ประเมินจาก
มีทักษะในการ กลุ่มจัดทาแผนปฏิบตั ิการ ของกลุ่มที่ครอบคลุมประเด็น การที่ดี สามารถ แผนปฏิบัติการ
ตรวจสอบและ ครูคอยสังเกต เข้าไปร่วม ให้ ที่กาหนด นาไปใช้ได้จริง - การแลกเปลี่ยน
สร้างความรู้ ความช่วยเหลือนักเรียนแต่ละ 5.ประธานกลุม่ แต่ละกลุม่ - เกิดการ เรียนรู้ทตี่ รง
กลุ่ม ใช้คาถามกระตุ้น ร่วมกับสมาชิก นาแผนปฏิบตั ิ แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ประเด็น
ให้การดาเนินการสาเร็จและ การไปตรวจสอบและประเมิน ร่วมกัน
คอยสังเกตการณ์ทางานใน ความเป็นไปได้
ภาพรวมของห้อง โดยการ ความเหมาะสม และความ
หนุนเสริมบทบาทประธาน เป็นประโยชน์ ต่อคณะครู
ห้อง ประธานกลุ่มในการ มาวิเคราะห์สังเคราะห์
ควบคุมดูแลห้องให้เป็นไปด้วย เพื่อนาไปพัฒนาแผนปฏิบัติ
ความเรียบร้อย) การ
ครูให้นักเรียนแต่ละกลุม่ นา 6. ประธานห้องดาเนินการให้
ข้อมูลที่ได้ปรับปรุงแก้ไข แต่ละกลุ่มนาเสนอ
นาเสนอ และนาแผนปฏิบัติ แผนปฏิบัติการที่ผา่ นการ
การทีแ่ ก้ไขเป็นที่เรียบร้อยแล้ว แก้ไขแล้วต่อเพื่อนและครู
ไปจัดทาแผนการจัดการ
จัดการเรียนรู้บูรณาการ
23

ครูประเมิน (ตำม เป้ำหมำยหลักสูตร เป้ำหมำยครู บทบำทครู ขั้นตอน/ บทบำทนักเรียน เป้ำหมำยนักเรียน นักเรียนประเมิน


เป้ำหมำยของครู) คุณลักษณะ สมรรถนะ มตฐ/ตชว กิจกรรม
- ประเมินจาก -นักเรียนมี 4. ให้แต่ละกลุม่ นา
แผนปฏิบัติการ ทักษะการคิด blueprint ที่ได้มาตรวจสอบ
ของนักเรียนที่ผ่าน -นักเรียนมี ประเมินความเป็นไปได้
การปรับปรุงแก้ไข ทักษะการ ความเหมาะสม และความ
- พฤติกรรมการ สื่อสาร เป็นประโยชน์ มานาเสนอ
นาเสนอของ -แผนบูรณา เพื่อให้คณะครูวิเคราะห์
นักเรียน การ สังเคราะห์สู่การพัฒนา
ให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น
- ประเมินจาก - ใฝ่เรียนรู้ - ทักษะการ ท 1.1 ป.3/2 - นักเรียน 1.ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ขั้นที่ 4 1.ประธานห้อง/ประธานกลุม่ - ได้ความรู้ที่ - ประเมินจากการ
วิธีการเรียนรู้ของ - มีวินัย สื่อสาร ท 1.1 ป.3/7 มีทักษะการ ทบทวน Action plan ขั้นนาสู่การ ดาเนินการร่วมกับสมาชิก สามารถนาไปใช้ นาความรูไ้ ปใช้ใน
และกลุม่ - มุ่งมั่นในการ -ทักษะการคิด ท 2.1 ป.3/2 เรียนรูด้ ้วย โดยครูเป็นผู้ให้คาปรึกษา ปฏิบัติ ในกลุ่มทบทวน Action ในการสร้าง การสร้าง
ทางาน - ทักษะการ ค 2.1 ป.1/1 ตนเองและ ชี้แนะ ตั้งคาถามกระตุ้น (Implement) plan เพื่อเป็นการซ้าทวน นวัตกรรม นวัตกรรม
แก้ปัญหา ค 2.1 ป.1/2 ด้วยกันเอง เพื่อเป็นการซ้าทวนความรู้ ความรู้ และเกิดองค์ความรู้
- ทักษะชีวิต ค 2.1 ป.2/4 - นักเรียนมี และผูเ้ รียนเกิดองค์ความรู้มา มาวิเคราะห์ประยุกต์ใช้
-ทักษะ ค 2.1 ป.2/6 ความรู้ความ วิเคราะห์ประยุกต์ใช้ 2. ประธานห้องดาเนินการ
เทคโนโลยี ค.2.1 ป.3/3 เข้าใจเกี่ยวกับ 2.นา blueprint ที่ได้สู่การลง ให้ประธานกลุม่ แต่ละกลุม่
ค.2.1 ป.3/4 การประเด็น มือปฏิบัติโดย ในเบื้องต้นให้ ดาเนินการให้สมาชิกแต่ละ
ค.2.1 ป.3/8 การเรียนรู้ที่ ดาเนินการ จัดหา และ กลุ่มนาแผนปฏิบัติการที่ได้
ค.2/1 ป.3/11 กาหนด จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ สู่การลงมือปฏิบัติ โดยใน
ให้พร้อมก่อนดาเนินการ เบื้องต้นให้ดาเนินการ
(ในระหว่างที่ลงมือปฏิบัติถา้ จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ตา่ งๆ
พบปัญหาให้นักเรียนไปศึกษา ก่อนดาเนินการลงมือปฏิบตั ิ
ค้นคว้าเพิ่มเติม เพื่อนามาใช้ ในระหว่างที่ลงมือปฏิบตั ิ
ในการแก้ปัญหา) ค้น พบปัญหา นักเรียนแต่ละ
กลุ่มร่วมกันไปศึกษาค้นคว้า
การเรียนรู้เพิ่มเติม
24

ครูประเมิน (ตำม เป้ำหมำยหลักสูตร เป้ำหมำยครู บทบำทครู ขั้นตอน/ บทบำทนักเรียน เป้ำหมำยนักเรียน นักเรียนประเมิน


เป้ำหมำยของครู) คุณลักษณะ สมรรถนะ มตฐ/ตชว กิจกรรม
- ประเมินจากการ ว 2.1 ป.1/1 - นักเรียนมี 3. หลังจากลงมือปฏิบตั ิ 3. ประธานกลุ่มดาเนินการ - ได้ blueprint - ประเมินจาก
นาข้อมูลที่ได้ไปใช้ ว 2.3 ป. 3/2 ทักษะการ เพื่อสร้างนวัตกรรมให้นักเรียน รวบร่วมกับสมาชิกในกลุ่ม - ได้ข้อเสนอแนะ การสรุป
ในการออกแบบ ว 4.2 ป.3/2 เรียนรูด้ ้วย ประเมินนวัตกรรมในประเด็น ในการอภิปรายเพื่อประเมิน จากผู้เชี่ยวชาญ ข้อเสนอแนะที่ได้
นวัตกรรม ว 4.2 ป.3/3 ตนเองและ ต่อไปนี้ นวัตกรรมประเด็นต่อไปนี้ - ได้ blueprint จากผู้เชี่ยวชาญ
- ประเมินจาก ส 2.2 ป.1/3 ด้วยกันเอง 3.1 ความสาเร็จของนวัตกรรม 3.1 ความสาเร็จของ ที่ชัดเจน - ประเมินจาก
วิธีการในการ ส 2.2 ป.3/2 -นักเรียนมี ตาม blueprint นวัตกรรมตามแผนปฏิบตั ิการ - ได้นวัตกรรม blueprint ที่ได้
เรียนรู้ของนักเรียน ศ 1.1 ป.3/1 ความรู้ความ 3.2 ประเมินประสิทธิภาพ 3.2 ประเมินประสิทธิภาพ จากการปรับปรุง
- ประเมินจากการ ศ 1.1 ป.3/3 เข้าใจตาม ของนวัตกรรม ของนวัตกรรม ตาม แก้ไข
นาข้อเสนอแนะสู่ ง 1.1 ป.3/2 เนื้อหาสาระ 3.3 ในกรณีที่เป็น PBL แผนปฏิบัติการ - ประเมินจาก
การพัฒนา ตามหลักสูตร ต้องมีการประเมินการ 3.3 ประเมินการนานวัตกรรม นวัตกรรมทีไ่ ด้
blueprint (ที่เกี่ยวข้อง) นานวัตกรรมไปแก้ปญ ั หา ไปแก้ปัญหา โดยมีครูและ
- ประเมินจาก - ฝึกทักษะ (โดยสมาชิกในกลุ่มร่วมกัน ผู้เชี่ยวชาญร่วมประเมิน
ทักษะการเรียนรู้ การจัดกระทา ประเมินและประเมินโดยครู
ข้อมูล การ และผูเ้ ชี่ยวชาญ)
วิเคราะห์
สังเคราะห์
- ครูสังเกตการ - ความ - ทักษะ นักเรียน - ครูมอบหมายให้ประธาน ขั้นที่ 5 - ประธานห้องชี้แจงให้ - รู้จักตนเอง - สังเกตจาก
ประเมินตนเอง ซือ่ สัตย์ การคิด มีทักษะในการ ห้องดาเนินการให้นักเรียนแต่ ประเมินผล ประธานกลุม่ ดาเนินการ จุดเด่นจุดที่ควร ผลการประเมิน
และประเมินเพื่อน - ทักษะ ประเมิน ละกลุม่ ประเมินตนเองภายใต้ (Evaluate) ประเมินตนเองในประเด็น พัฒนาของตนเอง ตนเองและ
ของนักเรียน การสื่อสาร ตนเอง กรอบการประเมินตนเอง เช่น 1.ความคิดสร้างสรรค์ ประเมินเพื่อน
1.ความคิดสร้างสรรค์ 2.KPA ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม โดยใช้เครื่องมือ
2.KPA ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ร่วมกันคิดประเด็นในการ spider gram
ร่วมกันคิดประเด็นในการ ประเมินของกลุม่
ประเมินของกลุม่ 3.การทางาน
3.การทางาน โดยใช้เครื่องมือ โดยใช้เครื่องมือ Spider
Spider gram, linear Gram
25

ครูประเมิน (ตำม เป้ำหมำยหลักสูตร เป้ำหมำยครู บทบำทครู ขั้นตอน/ บทบำทนักเรียน เป้ำหมำยนักเรียน นักเรียนประเมิน


เป้ำหมำยของครู) คุณลักษณะ สมรรถนะ มตฐ/ตชว กิจกรรม
- ครูประเมินจาก - ใฝ่เรียนรู้ - ทักษะ ง 1.1 ป.3/2 - ฝึกให้ 1.ให้ประธานกลุม่ แต่ละกลุม่ ขั้นที่ 6 1.ประธานกลุม่ แต่ละกลุม่ - แนวทางในการ - ประเมินจาก
การออกแบบ - มุ่งมั่นในการ การคิด นักเรียน นาผลและข้อมูลที่ได้จากการ ขั้น ดาเนินการให้สมาชิกในกลุม่ เรียนรูต้ ่อยอด การวางแผน
วางแผน ทางาน - ทักษะชีวิต ออกแบบ ประเมินนวัตกรรมมาวิเคราะห์ แลกเปลีย่ น ร่วมกันนาข้อมูลทีไ่ ด้จากการ นวัตกรรม การเรียนรู้ของ
การเรียนรู้ของ วางแผน สังเคราะห์นาไปสู่การ เรียนรู้ ประเมินนวัตกรรมมา กลุ่ม
นักเรียน การเรียนรู้ ออกแบบ และวางแผนการ (Show and วิเคราะห์ สังเคราะห์ และ
ของตนเอง เรียนรู้ เพื่อไปสู่การปรับปรุง Share) ออกแบบ วางแผนการเรียนรู้
พัฒนาต่อยอดนวัตกรรมต่อไป ไปสู่การปรับปรุงพัฒนาต่อ
ยอดนวัตกรรมต่อไป
26

แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ เพื่อพัฒนำสมรรถนะผู้เรียนโดยใช้ LADDIESs Process


เรื่อง สมุนไพรในชุมชน

ชั้น ประถมศึกษำปีที่ 4-6 ปีกำรศึกษำ 2563


ครูผู้สอน คณะครูระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 4-6 ระยะเวลำ 40 ชั่วโมง
โรงเรียนบ้ำนปำกเหมือง สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำเชียงใหม่ เขต 4
1. คำอธิบำยกำรเรียนรู้
ศึกษาสมุนไพรในชุมชน ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญที่เกี่ยวข้องกับพืชสมุนไพร ประวัติของ
พืช สมุน ไพรที่เกี่ย วข้ องกับ ภูมิ ปั ญญาไทย การแบ่งประเภทของสมุน ไพรในชุมชนตามระบบต่า งๆ การปลู ก
การดูแลรักษา การขยายพันธุ์ การเก็บรักษา การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว วิธีการแปรรูป สมุนไพรและ การใช้
ประโยชน์ ผู้เรียนได้เรียนรู้และตระหนักถึงความสัมพันธ์ของสมุนไพรที่มีผลต่อสุขภาพ เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการ
คิดโดยใช้กระบวนการ LADDIESs PROCESS 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นเรียนรู้ (Learn) จุดประกายการเรียนรู้จาก
ภูมิปัญญาท้องถิ่น และปรากฏการณ์ที่น่าสนใจ 2) ขั้นวิเคราะห์ (Analyze) นาองค์ความรู้ที่ได้ วิเคราะห์เชื่อมโยง
ประเด็นการเรียนรู้ 3) ขั้นออกแบบ (Design) โดยผู้เรียนเป็นผู้ออกแบบนวัตกรรม วิธีการ สิ่งประดิษฐ์ และจัดทา
แผนการเรียนรู้ของตนเอง โดยใช้เครื่องมือ FILA ซึ่งนักเรียนจะเป็นเจ้าของบทเรียน 4) ขั้นนาไปใช้ (Implement)
ออกแบบและทดลองใช้น วัตกรรม สิ่ งประดิษฐ์ วิธีการ โดยมีครูเป็นผู้ แนะนา 5) ขั้นประเมินผล (Evaluate)
นักเรียนร่วมประเมินผลการเรียนรู้ของตน และประเมินนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ วิธี การ เพื่อนาผลการประเมินไป
พัฒนา 6) ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show and Share) นักเรียนนา ผลงานนาเสนอผลงาน ร่วมสะท้อนความคิด
อภิปรายทาความเข้าใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม ถึ ง กระบวนการเรียนรู้ การแก้ปัญหา องค์ความรู้ใหม่
การเชื่อมโยง และสรุปความรู้ร่วมกัน
27

2. สำระกำรเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
ภำษำไทย
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 การอ่าน ท 1.1 ป.4/6 สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ท 1.1 ป.5/5 วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน เพื่อนาไปใช้
ในชีวิต
ท 1.1 ป.6/5 อธิบายการนาความรู้และความคิดจากเรื่องที่อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหา
ในการดาเนินชีวิต
ท 1.1 ป.6/7 อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ
และกราฟ
สาระที่ 2 การเขียน ท 2.1 ป.4/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาที่ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
ท 2.1 ป.4/6 เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า
ท 2.1 ป.5/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาที่ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
ท 2.1 ป.5/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิด เพื่อใช้พัฒนา
งานเขียน
ท 2.1 ป 6/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาที่ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
ท 1.1 ป.6/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิด เพื่อใช้พัฒนา
งานเขียน
สาระที่ 3 ท 3.1 ป.4/2 พูดสรุปความจากการฟังและดู
การฟัง การดู การพูด ท 3.1 ป.4/3 พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
ท 3.1 ป.4/4 ตั้งคาถามและตอบคาถาม เชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ท 3.1 ป.4/5 รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา ค้นคว้าจากการฟัง ดู
และการสนทนา
ท 3.1 ป.5/1 พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ท 3.1 ป.5/2 ตั้งคาถามและตอบคาถาม เชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ท 3.1 ป.5/4 พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา ค้นคว้าจากการฟัง ดู
และการสนทนา
ท 3.1 ป.6/1 พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู
ท 3.1 ป.6/2 ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู
ท 3.1 ป.6/4 พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดู
และการสนทนา
28

คณิตศำสตร์
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 ค.1.1 ป.4/7 ประมาณผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หาร จากสถานการณ์
จานวนและพีชคณิต ต่างๆ อย่างสมเหตุสมผล
ค.1.1 ป.5/5 แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์
ค.1.1 ป.6/2 เขียนอัตราส่วนแสดงการเปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณ
จากข้อความ หรือสถานการณ์โดยที่ปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจานวนนับ
ค.1.1 ป.6/3 หาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กาหนดให้
วิทยำศำสตร์
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 ว 1.2 ป 4/1 บรรยายหน้าที่ของราก ลาต้น ใบ และดอก ของพืชดอก โดยใช้
วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ข้อมูลที่รวบรวมได้

ว 1.1 ป.5/1 บรรยายโครสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับการ


ดารงชีวิตซึ่งเป็นผลมาจากการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่

ว 1.1 ป.5/4 ตระหนักในคุณค่าของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต


โดยมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
สาระที่ 4 เทคโนโลยี ว 4.2 ป 4/1 ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหาการอธิบายการทางานการ
คาดการณ์ผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย
ว 4.2 ป 4/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ
และตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข
ว 4.2 ป 4/3 ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้และประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
ว 4.2 ป 4/4 รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูลสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ที่
หลากหลายเพื่อแก่ปัญหาในชีวิตประจาวัน
ว 4.2 ป 4/5 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและ
หน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่
ไม่เหมาะสม
ว 4.2 ป 5/1 ใช้ เ หตุ ผ ลเชิ ง ตรรกะในการแก้ ปั ญ หาการอธิ บ ายการท างาน
การคาดการณ์ผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย
ว 4.2 ป 5/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่าย
ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข
ว 4.2 ป 5/3 ใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต ค้ น หาข้ อ มู ล ติ ด ต่ อ สื่ อ สารและท างานร่ ว มกั น
ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล
ว 4.2 ป 5/4 รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูลสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์
โดยใช้ซอฟต์แวร์ห รือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ห ลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาใน
ชีวิตประจาวัน
29

สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
ว 4.2 ป 5/5 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิแล
หน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูลหรือบุคคล
ที่ไม่เหมาะสม
ว 4.2 ป 6/1 ใช้ เ หตุ ผ ลเชิ ง ตรรกะในการอธิ บ ายและออกแบบวิ ธี ก าร
แก้ปัญหา
ที่พบในชีวิตประจาวัน
ว 4.2 ป 6/2 ออกแบบและเขี ย นโปรแกรมอย่ า งง่ า ย เพื่ อ แก้ ปั ญ หาใน
ชีวิตประจาวัน ตรวจหาข้อผิดพลาด ของโปรแกรมและแก้ไข
ว 4.2 ป 6/3 ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ
ว 4.2 ป 6/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิแล
หน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูลหรือบุคคล
ที่ไม่เหมาะสม
สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 2 ส 2.1 ป.4/1 ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยในฐานะสมาชิก
หน้าที่พลเมืองวัฒนธรรม ที่ดีในชุมชน
และการดาเนินชีวิตในสังคม ส 2.1 ป.4/2 ปฏิบัติตนเป็นผู้นาผู้ตามที่ดี
ส 2.1 ป.5/1 ยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ
และหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี
ส 2.1 ป.6/1 ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของครอบครัว
และชุมชน
ส 2.1 ป.6/5 ติดตามข้ อมู ล ข่าวสาร เหตุการณ์ต่ างๆ ในชีวิตประจ าวั น
เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม
กำรงำนอำชีพ
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 ง 1.1 ป.4/1 อธิบายเหตุผลในการทางานให้บรรลุเป้าหมาย
การดารงชีวิตและครอบครัว ง 1.1 ป.4/2 ทางานบรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอน ด้วยความขยัน
อดทน รับผิดชอบและซื่อสัตย์
ง 1.1 ป.5/1 อธิ บ ายเหตุ ผ ลในการท างานแต่ ล ะขั้ น ตอน ถู ก ต้ อ งตาม
กระบวนการทางาน
ง 1.1 ป.5/2 ใช้ทักษะการจัดการในการทางานอย่างเป็นระบบประณีตและมี
ความสร้างสรรค์
ง 1.1 ป.6/1 อภิ ป รายแนวทางในการท างานและปรั บ ปรุ ง การท างาน
แต่ละขั้นตอน
ง 1.1 ป.6/2 ใช้ทักษะการจัดการในการทางาน และมีทักษะการทางาน
ร่วมกัน
30

ศิลปะ
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ ศ 1.1ป.5/1 ระบุ และบรรยายเกี่ยวกับลักษณะ รูปแบบของงานทัศนศิลป์ ในแหล่ง
เรี ยนรู้ หรื อนิทรรศการศิลปะ
ศ 1.1ป.6/7 สร้ างงานทัศ นศิ ลป์ เป็ นแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบ เพื่อ
ถ่ายทอด ความคิดหรื อเรื่ องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ ต่าง ๆ

สุขศึกษำ
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สา ระ ที่ 4 ก า รสร้ า ง เสริ ม พ 4.1 ป.4/1 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง สิง่ แวดล้ อมกับสุขภาพ
สุข ภาพ สมรรถภาพและการ พ 4.1 ป.5/2 ค้ นหาข้ อมูลข่าวสารเพื่อใช้ สร้ างเสริ มสุขภาพ
ป้องกันโรค พ 4.1 ป.6/1 แสดงพฤติกรรมในการป้องกันและ แก้ ไขปั ญหาสิ่งแวดล้ อมที่มีผล ต่อ
สุขภาพ

ภำษำต่ำงประเทศ
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสือ่ สาร ต 1.1 ป.4/2 อ่านออกเสียงคาสะกดคา อ่านกลุม่ คา ประโยค ข้ อความง่ายๆและบท
พูด เข้ าจังหวะถูกต้ องตามหลักการอ่าน
ต 1.2 ป.5/5 พูด/เขียนแสดงความรู้ สึกของตนเองเกี่ ยวกับเรื่ องต่างๆใกล้ ตัวและ
กิจกรรมต่างๆพร้ อมทังให้
้ เหตุผลสันๆประกอบ

ต 1.2 ป.6/5 พูด/เขียนแสดงความรู้ สึกของตนเองเกี่ ยวกับเรื่ องต่างๆใกล้ ตัวและ
กิจกรรมต่างๆพร้ อมทังให้้ เหตุผลสันๆประกอบ

ต 1.3 ป.4/1 พูด/เขียนให้ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่ องใกล้ ตวั
ต 1.3 ป.5/1 พูด/เขียนให้ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่ องใกล้ ตวั
ต 1.3 ป.6/1 พูด/เขียนให้ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองเพื่อน และสิง่ แวดล้ อมใกล้ ตวั
สาระที่3 ภาษากับ ต 3.1 ป.4/1 ค้ น คว้ า รวบรวมค าศัพ ท์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ กับ กลุ่ม สาระการเรี ย นรู้ อื่ น และ
ความสัมพันธ์กบั กลุม่ สาระการ นาเสนอด้ วยการพูด/การเขียน
เรี ยนรู้อื่น ต 3.1 ป.5/1 ค้ น คว้ า รวบรวมค าศัพ ท์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ กับ กลุ่ม สาระการเรี ย นรู้ อื่ น และ
นาเสนอด้ วยการพูด/การเขียน
ต 3.1 ป.6/1 ค้ นคว้ ารวบรวมคาศัพท์ที่เกี่ยวข้ อกับกลุม่ สาระการเรี ยนรู้ อื่นจากแหล่ง
การเรี ยนรู้และนาเสนอด้ วยการพูด/การเขียน
31

3. จุดประสงค์กำรเรียนรู้
ด้ำนควำมรู้ (K)
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญของสมุนไพรในชุมชน
2. บอกประเภทของสมุนไพรและสรรพคุณของสมุนไพรในชุมชน
3. อธิบายวิธีการปลูก ดูแลรักษา ขยายพันธุ์ เก็บเกี่ยวพืชสมุนไพรในชุมชน
4. อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการแปรรูปสมุนไพรและการใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในชุมชน
5. อธิบายวิธีการออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิกอื่นๆ ในการนาเสนอความคิด
6. วิเคราะห์ข้อมูลและนาเสนอประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า
ด้ำนทักษะ/กระบวนกำร (S)
1. มีทักษะในการคิดคานวณหาอัตราส่วน
2. มีทักษะในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. มีทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทางาน
4. มีทักษะกระบวนการกลุ่ม
5. ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิกอื่นๆในการนาเสนอความคิดและข้อมูล
6. มีทักษะการพูด นาเสนอประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า
7. มีทักษะในการสืบค้นอินเทอร์เน็ต
ด้ำนคุณลักษณะ (A)
1. มีความรับผิดชอบในการทางาน
2. มีความคิดเชิงบวก คิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ
3. ตระหนักในคุณค่าของสิ่งแวดล้อม โดยมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
4. มีมารยาทในการพูด
5. ยอมรับความแตกต่างของผู้อื่น อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
6. มีมารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยคานึงถึงสิทธิและหน้าที่ของตนและผู้อื่น
4. สมรรถนะ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5. สื่อและอุปกรณ์
1. แบบประเมินความคิดสร้างสรรค์รูปแบบพื้นที่สร้างสรรค์ (Marker Space) ตามแนวคิดของ
นิโคลัส โปรเวนซาโน
2. วีดิทัศน์เรื่องสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
3. อุปกรณ์ เช่น กระดาษ ปากกาเมจิก สี โปสเตอร์
4. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สมาร์ทโฟน
5. แหล่งเรียนรู้ในชุมชน
32

6.เกณฑ์กำรประเมิน

ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1


เกณฑ์กำรประเมิน มีควำมคิดสร้ำงสรรค์ดีมำก มีควำมคิดสร้ำงสรรค์ ธรรมดำ ไม่มีควำมคิดสร้ำงสรรค์
ความคิดสะท้อนประเด็นสาคัญของ ความคิดสะท้อนประเด็นสาคัญของ
ไอเดียได้จากประเด็นสาคัญของ ความคิดไม่ได้สะท้อน
ควำมคิดหลำกหลำย หลายเนื้อหาวิชา จากบริบท หลายเนือ้ หาวิชา จากบริบท
เนื้อหาวิชาเดียวกันหรือคล้ายกัน ใจความสาคัญ
หลากหลาย และให้ข้อสรุปที่น่าสนใจ หลากหลาย
ผลงานความรู้ได้จากแหล่งข้อมูล
ผลงานความรู้ได้จากแหล่งข้อมูล ผลงานความรู้ได้จาก
หลากหลายและครอบคลุมหลาย ผลงานความรู้ได้จากแหล่งข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลหลำกหลำย หลากหลายจากตารา สื่อ บุคคลหรือ แหล่งข้อมูลชิ้นเดียวและ
หัวข้อจากตารา สื่อ บุคคลหรือ ทางตารา สื่อ
ประสบการณ์ ไม่น่าเชื่อถือ
ประสบการณ์
ความคิดในการแก้ปัญหา การมอง ความคิดในการแก้ปัญหา การมอง
ความคิดได้มาจากการนาความคิดของ
เชื่อมไอเดียได้ ปัญหาผสมทั้งสิ่งที่มีอยู่เดิมกับเรื่อง ปัญหาโดยพัฒนาจากสิ่งที่มีอยู่เดิม
ผู้อื่น (เช่น ตัวอย่างที่ยกมาให้ในชั้น นาความคิดของผู้อื่นมากล่าวซ้า
แปลกใหม่ แปลกใหม่ หรือสร้างสรรค์ผลงานที่ ขึ้นมา หรือสร้างสรรค์ผลงานที่ไม่เคย
เรียน) มาผสมกัน
ไม่เคยมีมาก่อน มีมาก่อน
ผลงานแปลกใหม่น่าสนใจ หรือมี ผลงานแปลกใหม่น่าสนใจ หรือมี ผลงานที่ได้ตรงตามเป้าหมาย ผลงานที่ได้ไม่ตรงตามเป้าหมาย
วิธีสื่อสำรหรือนำเสนอ
ประโยชน์ เปิดมุมมองหรือมองปัญหา ประโยชน์ เสนอมุมมองหรือแก้ไข (เช่น แก้ปัญหาหรือเสนอมุมมองที่ ที่ตั้งไว้เลย (เช่น แก้ปัญหา หรือ
แปลกใหม่
หรือประเด็นที่ยังไม่เคยมีใครพูดถึง ปัญหาได้ตามที่วางไว้ ตั้งใจสาเร็จ) เสนอมุมมอง)
7. กิจกรรมกำรเรียนรู้
เรียนรู้ 33
การประเมิน เป้าหมายหลักสูตร เป้าหมายครู บทบาทครู กระบวนการ บทบาทนักเรียน เป้าหมาย การประเมิน
รียนรู้ คุณลักษณะ สมรรถนะ มฐ./ตชว นักเรียน
ครูประเมิน -ความมี ทักษะชีวิต - ให้สอดคล้อง 1.ครูมอบหมายให้ประธานห้อง ขั้นเตรียม 1.ประธานห้องดาเนินการแบ่งกลุม่ ให้มีความ กลุ่มที่มี - นักเรียน
จากการ วินัย กับสภาพจริง ดาเนินการแบ่งกลุ่มนักเรียน กลุม่ ละ 4- (แบ่งกลุ่ม) หลากหลาย กลุม่ ละ 4-5 คน (คละ เก่ง ความ ประเมินตนเอง
สังเกต -ความ ในสังคมมาก 5 คน ให้มีความหลากหลาย (คละเก่ง กลาง อ่อน ชาย หญิง ฯลฯ) หลากหลาย - นักเรียน
พฤติกรรมของ ซื่อสัตย์ ที่สุด กลาง อ่อน ชาย หญิง ฯลฯ) ของสมาชิก ประเมิน
นักเรียน -ความ 2.ในขณะที่ประธานกลุ่มดาเนินการ พฤติกรรมของ
รับผิดชอบ แบ่งกลุ่มร่วมกับเพื่อน ครูคอยสังเกต เพื่อน
แนะนา ช่วยเหลือและกระตุ้นโดยใช้
คาถามผ่านประธานห้อง เพื่อให้บรรลุ
เป้าหมาย

-สังเกต -ความ -ทักษะการ ส 2.1 นักเรียนได้ 1.ครูมอบหมายให้ประธานห้อง ขั้นเตรียม 1.ประธานห้องดาเนินการให้แต่ละกลุ่มเลือก ได้รับ สังเกตพฤติกรรม
พฤติกรรมโดย ซื่อสัตย์ คิด ป.4/1 ฝึกการ ดาเนินการให้แต่ละกลุ่มเลือกประธาน (กาหนด ประธาน รองประธาน เลขากลุ่ม (ตามวิธีการ บทบาท ขั้นตอนในการ
ครูและเพื่อน -ความจด -ทักษะการ ป.4/2 กาหนด รองประธาน และเลขานุการกลุ่ม ใน บทบาท ของกระบวนการกลุม่ สองมิติ โดยให้สมาชิก และปฎิบตั ิ กาหนดบทบาท
จ่อ แก้ปัญหา ป.5/1 กติการ่วมกัน ระหว่างที่นักเรียนดาเนินการครูเข้าไปนั่ง หน้าที)่ กลุ่มเสนอชื่อสมาชิกและมติคดั เลือก) ตาม หน้าที่
-ฝึก สติ -ทักษะชีวิต ด้วยความ ในกลุ่มเพื่อสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ บทบาท
สมาธิ เป็นเหตุเป็น ของนักเรียน.ตลอดจนถึงให้คาแนะนา หน้าที่ของ
ปัญญา ผลบนวิถี ช่วยเหลือและใช้คาถามกระตุ้นให้ สมาชิกใน
ประชาธิป สมาชิกในกลุ่มสามารถดาเนินการพร้อม กลุ่ม
ไตย กัน จากนั้นครูสังเกตภาพรวมของห้อง (ประธาน
คอยช่วยเหลือ กระตุ้นโดยใช้คาถามผ่าน รอง
ประธานห้อง (ตามเห็นสมควร) ประธาน
เลขานุการ
และ
สมาชิก)
34
การประเมิน เป้าหมายหลักสูตร เป้าหมายครู บทบาทครู กระบวนการ บทบาทนักเรียน เป้าหมาย การประเมิน
คุณลักษณะ สมรรถนะ มฐ./ตชว นักเรียน
-สังเกต -วิถี ทักษะการ ส 2.1 นักเรียนได้ 1.ครูมอบหมายให้ประธานห้อง ขั้นเตรียม 1.ประธานห้องมอบหมายให้ประธานกลุ่ม ได้ข้อตกลง สังเกตพฤติกรรม
พฤติกรรมโดย ประชาธิป คิด ป.6/1 ฝึกการ ดาเนินการให้แต่ละกลุ่มสร้างข้อตกลง (สร้าง ดาเนินการสร้างข้อตกลงเชิงพฤติกรรมของ ของกลุ่ม ขั้นตอนในการ
ครูและเพื่อน ไตย ง 1.1 กาหนด เชิงพฤติกรรมของกลุ่มร่วมกัน เพือ่ ให้ ข้อตกลง กลุ่ม (ตามวิธีการของกระบวนการกลุ่ม 2 มิติ) กาหนดบทบาท
-คารวะ ป.4/1 กติการ่วมกัน สามารถเรียนรู้ร่วมกันได้สาเร็จผล (ตาม ร่วมกัน) ภายใต้เวลาที่กาหนด หน้าที่
ธรรม ป.4/2 ด้วยความ กาหนดเวลาขึ้นอยู่กับดุลพินิจของครู) 2. สมาชิกในกลุ่มเสนอข้อตกลงและคัดเลือก
-สามัคคี ป.5/1 เป็นเหตุเป็น ข้อตกลงของกลุ่ม
ธรรม ผลบนวิถี 3. ประธานกลุ่มนาเสนอข้อตกลงของกลุ่ม
-ปัญญา ประชาธิป
ธรรม ไตย
ผลการทาแบบ ทักษะการ ศ 1.1 ครูได้ข้อมูลที่ 1.ครูชี้แจงทาความเข้าใจ การประเมิน ขั้นที่ 1 1.ประธานห้องและประธานกลุ่มรับฟัง -เข้าใจ -การทา
ประเมิน คิด ป.5/1 สะท้อน ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนโดยใช้ จุดประกาย ซักถามและทาความเข้าใจ คาชี้แจงเกี่ยวกับ วิธีการทา แบบทดสอบได้
ความคิด ป.6/7 ความคิด แบบประเมิน ความคิดสร้างสรรค์รูปแบบ การเรียนรู้ แบบประเมินให้มีความเข้าใจชัดเจนเกี่ยวกับ แบบ ถูกต้อง
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ พื้นที่สร้างสรรค์ (Marker Space) ผ่าน (Learn) การทาแบบประเมินไปใช้ ประเมิน
รูปแบบพื้นที่ ของนักเรียน ประธานห้อง ประธานกลุ่มจากนั้น 2.ประธานห้องและประธานกลุ่มดาเนินการ -ทาแบบ -เวลาที่ทา
สร้างสรรค์ เพื่อเป็น ดาเนินการให้นักเรียนแต่ละคนประเมิน ให้สมาชิกทุกคนทาแบบประเมินให้เสร็จ ประเมิน แบบทดสอบ
(Marker
พื้นฐานใน ตนเองโดยทากิจกรรมตามแบบประเมิน เรียบร้อยในเวลาที่กาหนด ตามเงื่อนไข
Space) ตาม
แนวคิดของ การพัฒนา ที่กาหนด 3.ประธานห้อง/ประธานกลุม่ รวบรวมแบบ ของแบบ
นิโคลัส นักเรียน ประเมินความคิดสร้างสรรค์รูปแบบพื้นที่ ประเมิน -จานวนนักเรียน
โปรเวนซาโน สร้างสรรค์ (Marker Space) ส่งครู -ส่งแบบ ที่ส่งแบบทดสอบ
ประเมิน
ความคิด
สร้างสรรค์
รูปแบบพื้นที่
สร้างสรรค์
(Marker
Space) ทุก
คน
35
การประเมิน เป้าหมายหลักสูตร เป้าหมายครู บทบาทครู กระบวนการ บทบาทนักเรียน เป้าหมาย การประเมิน
คุณลักษณะ สมรรถนะ มฐ./ตชว นักเรียน
การอธิบายถึง - ใฝ่เรียนรู้ -ทักษะการ ท 3.1 นักเรียน 2. ครูเปิดประสบการณ์ให้นักเรียนดูวีดิ 4.ประธานกลุม่ นาสมาชิกในกลุ่มร่วมกัน -นักเรียน -การสังเกต
ความหมาย - มีวินัย สื่อสาร ป.4/2 ตระหนักถึง ทัศน์และข่าวเกี่ยวกับสมุนไพรในชุมชน อภิปราย แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับสมุนไพร แต่ละกลุ่ม พฤติกรรมการ
- มุ่งมั่นใน -ทักษะการ ป.4/3 ความสาคัญ ให้เห็นถึงประโยชน์ของสมุนไพร โดยให้ ในชุมชน ร่วม อภิปรายแสดง
และสรรพคุณ การทางาน คิด ป.4/4 ของสมุนไพร ประธานกลุม่ เป็นผู้ดาเนินการ นาสมาชิก อภิปราย ความคิดเห็นของ
-ความ - ทักษะการ ป.4/5 ในชุมชน ในกลุ่มอภิปรายร่วมกันภายในเวลาที่ แสดงความ เพื่อน
ของสมุนไพร รับผิดชอบ แก้ปัญหา ป.5/1 กาหนด คิดเห็นของ
- ทักษะ ป.5/2 3. ครูให้ประธานห้องดาเนินการให้ 5.ประธานห้องดาเนินการให้ตัวแทนแต่ละ ตนเอง
ในชุมชน ชีวิต ป.5/4 ตัวแทนแต่ละกลุ่ม นาเสนอสรุปผลการ กลุ่ม นาเสนอสรุปผลการอภิปรายของกลุ่ม
-ทักษะ ป.6/1 อภิปรายของกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเปิดโอกาสให้สมาชิกในห้องได้อภิปราย -การสังเกต
เทคโนโลยี ป.6/2 กันในห้อง (ในระหว่างที่นักเรียน ซักถาม พฤติกรรมการ
ป.6/4 อภิปรายซักถามครูร่วมเติมเต็มความรู้ อภิปรายแสดง
ความเข้าใจให้กับนักเรียน) -การ ความคิดเห็นของ
4. ครูใช้คาถามในประเด็น “สมุนไพรใน 6.ประธานกลุม่ นาสมาชิกในกลุ่มร่วมอภิปราย แลกเปลีย่ น เพื่อน
ชุมชนมีสรรพคุณอย่างไร” กระตุน้ ให้ แสดงความคิดเห็นในประเด็น “สมุนไพรใน เรียนรู้ของ
นักเรียนร่วมกันอภิปรายในกลุ่ม โดย ชุมชนมีสรรพคุณอย่างไร” สมาชิกใน
มอบหมายให้ประธานห้องดาเนินการ ห้อง
ผ่านประธานกลุ่มแต่ละกลุม่ (ในระหว่าง
ที่นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปราย ครูเข้าไป
สังเกตรับรู้และเติมเต็มความเข้าใจให้กับ
นักเรียน)
5.ให้ประธานห้องดาเนินการให้แต่ละ 7.ประธานห้องดาเนินการให้ตัวแทนแต่ละ
กลุ่มนาเสนอผลการอภิปรายของแต่ละ กลุ่มนาเสนอผลการอภิปรายของกลุ่มและ
กลุ่ม โดยครูเป็นผู้เติมเต็มความรู้ ความ เปิดโอกาสให้สมาชิกในห้องซักถาม
เข้าใจให้นักเรียน แลกเปลีย่ นเรียนรู้
36
การประเมิน เป้าหมายหลักสูตร เป้าหมายครู บทบาทครู กระบวนการ บทบาทนักเรียน เป้าหมาย การประเมิน
คุณลักษณะ สมรรถนะ มฐ./ตชว นักเรียน
กระบวนการ - ใฝ่เรียนรู้ -ทักษะการ ท 1.1 ฝึกให้ 6. ครูให้คาแนะนาให้นักเรียนสารวจ 8. นักเรียนรับฟังซักถามเพื่อความเข้าใจใน -เข้าใจ -การสังเกต
คิดวิเคราะห์ - มีวินัย สื่อสาร ป.4/6 นักเรียนมี ศึกษาแหล่งเรียนรู้ การค้นคว้าข้อมูล การเตรียมพร้อมในการสารวจ ศึกษาแหล่ง วิธีการ พฤติกรรมการ
(Divergent ป.5/5
- มุ่งมั่นใน -ทักษะการ ทักษะการคิด จากสื่อออนไลน์ ฯลฯ เพื่อสร้างแรง เรียนรู้ การค้นคว้าข้อมูลจากสื่อออนไลน์ สารวจ ซักถามและตอบ
ป.6/5
Thinking) การทางาน คิด ท 2.1 วิเคราะห์ บันดาลใจและจุดประกายการเรียนรู้ใน ฯลฯ ในเนื้อหาภูมิปญ ั ญาท้องถิ่นและ ศึกษาแหล่ง คาถาม
ของนักเรียน -ความ - ทักษะการ ป.4/6 (Divergent เนื้อหาภูมิปญ ั ญาท้องถิ่นและ ปรากฏการณ์ที่น่าสนใจเกี่ยวกับสมุนไพรใน เรียนรู้ การ
แต่ละกลุ่ม รับผิดชอบ แก้ปัญหา ท 3.1 Thinking) ปรากฏการณ์ที่น่าสนใจเกี่ยวกับ ชุมชน ค้นคว้า
- ทักษะ ป.4/2 สมุนไพรในชุมชน ข้อมูลจาก -การสังเกต
ชีวิต ป.4/3 7. ครูมอบหมายให้ประธานห้องวางแผน 9. ประธานห้องและประธานกลุ่มดาเนินการ สื่อออนไลน์ พฤติกรรมการ
ป.4/4
-ทักษะ ร่วมกับประธานกลุ่มไปศึกษาแหล่ง ให้สมาชิกแต่ละกลุม่ เสนอข้อคิดเห็นเกี่ยวกับ ฯลฯ อภิปรายแสดง
ป.4/5
เทคโนโลยี ป.5/1 เรียนรูต้ ่างๆ ในชุมชน สารวจสมุนไพรใน ข้อมูล สถานที่และแหล่งเรียนรู้และคัดเลือก ความคิดเห็น
ป.5/2 ชุมชนและขณะเดียวกันให้ทุกคนเก็บ เป็นมติของกลุ่ม -ได้ข้อมูล ของเพื่อน
ป.5/4 ข้อมูลสิ่งที่ตนเองสนใจโดยให้ร่วมกัน สถานที่ -สังเกต
ป.6/1 กาหนดเวลาที่ใช้ในการสารวจ แหล่งเรียนรู้ พฤติกรรมการ
ป.6/2 ที่ต้องการไป ฝึกปฏิบัติ
ป.6/4
ศึกษา
ว 4.2
ป 4/3 ค้นคว้า
ป 4/4 -
ป 4/5 กระบวนการ
ป 5/3 คิดวิเคราะห์
ป 5/4 ของแต่ละ
กลุ่ม
37
การประเมิน เป้าหมายหลักสูตร เป้าหมายครู บทบาทครู กระบวนการ บทบาทนักเรียน เป้าหมาย การประเมิน
คุณลักษณะ สมรรถนะ มฐ./ตชว นักเรียน
-ครูสังเกต -ใฝ่เรียนรู้ -ทักษะการ ส 2.1 นักเรียนได้ 8. ขณะที่นักเรียนแต่ละกลุ่มไปศึกษา 10. ประธานห้องวางแผนร่วมกับประธาน -ได้ข้อมูล -ผลการกาหนด
พฤติกรรม -มีวินัย คิด ป.6/5 รู้จักสมุนไพร สารวจแหล่งเรียนรู้ตา่ งๆ ในโรงเรียน กลุ่มเพื่อกาหนดขอบเขตและสถานที่ที่แต่ละ จาก ขอบเขตและ
นักเรียนขณะ - ความ -ทักษะชีวิต ง 1.1 ในชุมชน และชุมชนครูร่วมสารวจไปกับนักเรียน กลุ่มจะไปสารวจพร้อมทั้งร่วมกัน การศึกษา สถานที่ที่แต่ละ
ศึกษาจาก รับผิดชอบ (การทางาน ป.6/1 สรรพคุณ และกระตุ้นโดยใช้คาถามให้นักเรียน กาหนดเวลาที่ใช้ในการสารวจ สารวจแหล่ง กลุ่มจะไปสารวจ
พื้นที่จริงและ ร่วมกับ ป.6/2 และสมุนไพร ค้นพบสิ่งที่สนใจ เช่น สมุนไพรในชุมชน 11.ประธานกลุ่มชี้แจงข้อกาหนดต่างๆให้ เรียนรูต้ ่างๆ -ข้อมูลจากการ
กระบวนการ ผู้อื่น) ที่ส่งผลดีต่อ กี่ประเภท อะไรบ้าง ใช้สิ่งใดเป็นเกณฑ์ สมาชิกในกลุ่มฟังและร่วมกันสารวจสมุนไพร ในโรงเรียน สารวจ
คิดวิเคราะห์ สุขภาพและ จัดประเภท/หมวดหมู่ สมุนไพรแต่ละ ในโรงเรียนและชุมชน และชุมชน -กระบวนการคิก
(Divergent ค้นพบสิ่งที่ ประเภทใช้วิธีการปลูกหรือดูแลรักษา 12.สมาชิกแต่ละกลุ่มเก็บรวบรวมข้อมูลที่ สังเคราะห์
Thinking) ตนเองสนใจ อย่างไร ลักษณะของการใช้สมุนไพร น่าสนใจ
ของนักเรียน ฯลฯ เพิม่ เติม
แต่ละกลุ่ม

-การนาเสนอ -ความมี -ทักษะการ ท 3.1 -ฝึกทักษะ 1. ครูชี้แจงให้ประธานกลุ่มดาเนินการ ชั้นที่2 1. ประธานกลุ่มชี้แจงให้สมาชิกในกลุ่มทราบ -นักเรียนรู้ -สังเกต
ข้อมูลจาก วินัย คิด ป.6/1 การสร้าง รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการไปศึกษา วิเคราะห์ ถึงวิธีการดาเนินกับข้อมูลทีส่ ารวจได้ วิธีการ พฤติกรรมใน
การศึกษา รับผิดชอบ -ทักษะชีวิต ป.6/4 ความคิดรวบ สารวจแหล่งเรียนรู้ตา่ งๆ ในโรงเรียน เชื่อมโยง 2.นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อมูลทีส่ มาชิกใน ดาเนินการ การทางาน
สารวจแหล่ง (การทางาน ต 1.1 ยอด และชุมชนแล้วช่วยกันเขียนสิ่งที่ได้ลงใน (Analysis กลุ่มได้จากการศึกษาสารวจรวมถึงประเด็นที่ กับข้อมูลที่
เรียนรูต้ ่างๆ ร่วมกับ ป.4/2 กระดาษ โดยไม่ให้ซ้ากันแล้วอภิปราย Thinking) สมาชิกในกลุ่มสนใจลงในกระดาษ โดยเขียน สารวจได้ -การรวบรวม
ในโรงเรียน ผู้อื่น) ต 1.2 ร่วมกันในกลุ่มหลังจากนั้นให้นาเสนอ ไม่ให้ซ้ากันและร่วมกันอภิปรายในกลุ่ม ข้อมูล
และชุมชน -ทักษะการ ข้อมูลที่ได้ โดยร่วมแลกเปลีย่ นเรียนรู้ใน -นักเรียนได้
สื่อสาร
ป.5/5 ชั้นเรียน (Brainstorm) แล้วนาเสนอ ข้อมูลจาก
ป.6/5 ข้อมูลที่ได้หน้าห้องเรียน การสารวจ
ต 1.3 และได้
ป.4/1 ประเด็นที่
ป.5/1 ตนเองสนใจ
38
การประเมิน เป้าหมายหลักสูตร เป้าหมายครู บทบาทครู กระบวนการ บทบาทนักเรียน เป้าหมาย การประเมิน
คุณลักษณะ สมรรถนะ มฐ./ตชว นักเรียน
-การจัด ความมีวินัย -ทักษะการ ท 3.1 -ฝึกทักษะการ 2. ครูชี้แจงให้ประธานกลุ่มไป 3.ประธานกลุม่ ดาเนินการให้สมาชิกร่วม -จัด -นักเรียน
หมวดหมู่ รับผิดชอบ คิด ป.6/4 สร้างความคิด ดาเนินการจัดหมวดหมู่ข้อมูลที่สมาชิก กันลงความเห็นเพื่อกาหนดลักษณะร่วมของ หมวดหมู่ ประเมินจาก
ข้อมูลของแต่ รวบยอด ในกลุ่มไปสารวจมาทั้งหมดโดยแบ่ง แต่ละหมวด แล้วจัดหมวดหมู่คา ร่วมกัน ข้อมูลตาม ประเด็นการ
ละกลุม่ ออกเป็นหมวดหมูต่ ามลักษณะร่วม เลือกคาในแต่ละหมวด ลากเส้นเชือ่ มคาสู่ ลักษณะร่วม เรียนรู้
(concept เดียวกัน)โดยสมาชิกร่วมกัน การสร้างสรรค์นวัตกรรม (นวัตกรรม)ที่
ลงความเห็นเพื่อกาหนดลักษณะร่วม ร่วมกันสรุป
-ฝึกทักษะใน ของแต่ละหมวด
-ครูสังเกตจาก -ทักษะชีวิต ศ 1.1 การจัดลาดับ 3.จากนั้นให้สมาชิกในกลุ่มลงความเห็น 4. สมาชิกในกลุ่มลงความเห็นร่วมกันในการ -นวัตกรรม -นักเรียน
การเลือก (การทางาน ป.6/7 ความสาคัญ ร่วมกันในการเลือกคาที่กลุม่ สนใจในแต่ เลือกคาที่กลุม่ สนใจในแต่ละหมวดแล้วให้ไป ใหม่ ประเมิน
ข้อมูลในแต่ ร่วมกับ ท 3.1 ละหมวดแล้วให้ไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เกี่ยวกับคาที่เลือก พฤติกรรมตาม
ละหมวด ผู้อื่น) ป.6/4 เกี่ยวกับคาที่เลือก จากนั้นลากเส้นเชื่อม จากนั้นลากเส้นเชื่อมคาเหล่านั้น สู่การ ข้อตกลงทั้งของ
-ทักษะการ คาเหล่านั้น สู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม สร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ (Force ตนเองและเพื่อน
สื่อสาร ใหม่ (Force connection) แล้วให้ connection)
ตัวแทนกลุ่มนาเสนอแลกเปลีย่ นเรียนรู้
-ครูสังเกต -ฝึกกระบวน ร่วมกัน
กระบวน การคิด 4.ครูมอบหมายให้ประธานกลุ่ม 5.ประธานกลุม่ นาสมาชิกร่วมกันออกแบบ -แบบร่าง -ครูประเมิน
การคิด สังเคราะห์ ดาเนินการร่วมกันออกแบบนวัตกรรม นวัตกรรมโดยวาดภาพแบบร่างของ นวัตกรรม กระบวน
สังเคราะห์ (Convergent โดยวาดภาพนวัตกรรม และนาเสนอ นวัตกรรม การคิด
(Convergent Thinking) หน้าชั้นเรียน (ในขั้นนี้ถ้าข้อมูลไม่ สังเคราะห์
Thinking) เพียงพอครูอาจให้นักเรียนได้ไปเรียนรู้ (Convergent
เพิ่มเติมจนได้ข้อมูลเพียงพอ Thinking)
39
การประเมิน เป้าหมายหลักสูตร เป้าหมายครู บทบาทครู กระบวนการ บทบาทนักเรียน เป้าหมาย การประเมิน
คุณลักษณะ สมรรถนะ มฐ./ตชว นักเรียน
-ครู ความมีวินัย ทักษะการ ท 3.1 -ฝึกทักษะ 1.ครูชี้แจงให้ประธานกลุม่ ทราบ ขั้นที่ 3 1.ประธานกลุม่ ชี้แจงให้สมาชิกทราบ -FILA - FILA
ประเมินผล รับผิดชอบ คิด ป.4/5 การคิด เกี่ยวกับการเขียนกรอบความคิดการ ออกแบบ องค์ประกอบในการเขียนกรอบความคิดการ MAPPING MAPPING
งานของ -ทักษะชีวิต ป.5/1 สร้างสรรค์ สร้างนวัตกรรมภายใต้รูปแบบของ สร้างสรรค์ สร้างนวัตกรรม (FILA MAPPING)
นักเรียนจาก (การทางาน ป.5/2 และ แผนผังความคิด ที่ประกอบด้วย (Design 2.สมาชิกในกลุ่มทุกคนร่วมกันอภิปรายแสดง
การนาเสนอ ร่วมกับ ป.5/4 จินตนาการ F(fact) ข้อเท็จจริง ความจริงทีป่ รากฏ Thinking) ความคิดเห็นแล้วสรุปประเด็นตาม
FILA ผู้อื่น) ป.6/1 ในโจทย์/ปัญหาที่เราสนใจ องค์ประกอบของ FILA MAPPING
ป.6/2
MAPPING -ทักษะการ I(Idea) ข้อคิดเห็น นาไปสูส่ มมุติฐาน
ป.6/4
สื่อสาร ว 4.2 เพื่อใช้ไขคาตอบ และนวัตกรรมของ
ป.4/2 กลุ่ม
ป.5/2 L(learning Issue) สิ่งที่ต้องเรียนรู้ เพื่อ
ป.6/2 นาไปสรุปความถูกต้อง และนาไปสู่การ
ศ 1.1 สร้างนวัตกรรม
ป.5/1 A(Action plan) วางแผนปฏิบัติการ
ป.6/7 ของกลุ่ม แบ่งงาน หาข้อมูลความรู้
ง 1.1 โดยเขียนลงในกระดาษแล้วนาเสนอ
ป.4/2 หน้าชั้นเรียน
ป.5/1 - นักเรียนมี 2. ครูชี้แจงขั้นตอนวิธีการในการจัดทา 3. นักเรียนรับฟังและทาความเข้าใจขั้นตอน - มีความรู้ -การแสดงความ
-ครูประเมิน ป.6/1 ความรู้ความ แผนปฏิบัติการให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม วิธีการการจัดทาแผนปฏิบัติการ โดยมี ความเข้าใจ คิดเห็นของ
จากขั้นตอน ป.6/4 เข้าใจ ผ่านสื่อต่างๆ และตัวอย่างแผนปฏิบัติ ประธานห้องและประธานกลุ่มดูแลความ เกี่ยวกับการ เพื่อนในกลุ่ม
ทาแผนปฏิบัติ
ในการทาแผน เกี่ยวกับการ การ จากนั้นเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ เรียบร้อย การ
ทาแผน อภิปรายซักถาม
40
การประเมิน เป้าหมายหลักสูตร เป้าหมายครู บทบาทครู กระบวนการ บทบาทนักเรียน เป้าหมาย การประเมิน
คุณลักษณะ สมรรถนะ มฐ./ตชว นักเรียน
-ครูประเมิน ความมีวินัย ทักษะการ ง 1.1 - นักเรียนมี 3. ให้นักเรียนลงมือจัดทาแผนปฏิบัติ 4. นักเรียนแต่ละกลุม่ ดาเนินการจัดทา - แผน -ประเมิน
จากแผนของ รับผิดชอบ คิด ป.4/1 ทักษะและ การ เพื่อสร้างนวัตกรรมที่ครอบคลุม แผนปฏิบัติการของกลุ่มโดยการดูแลของ ปฏิบัติการ แผนปฏิบัติการที่
นักเรียน -ทักษะชีวิต ป.5/1 ความสามารถ ภายใต้กรอบของเวลา เป้าหมายหน่วย ประธานห้องและประธานกลุ่ม (ครูร่วมให้ ของกลุ่ม กลุ่มสร้างขึ้น
(การทางาน ป.6/1 ในการเขียน การเรียนรู้ กิจกรรม การประเมินผล ความช่วยเหลือ แนะนาตามกลุ่มต่างๆ) จน
ร่วมกับ แผน (ในระหว่างที่นักเรียนแต่ละกลุ่มจัดทา ได้แผนปฏิบัติการของกลุ่มที่ครอบคลุม
ผู้อื่น) แผนปฏิบัติการ ครูคอยสังเกต เข้าไป ประเด็นที่กาหนด
-ทักษะการ ร่วมกับนักเรียนแต่ละกลุม่ เพื่อให้
สื่อสาร กาลังใจและใช้คาถามกระตุ้น ช่วยเหลือ
ให้การดาเนินการสาเร็จและคอย
สังเกตการณ์ทางานของนักเรียนใน
ภาพรวมของห้อง โดยการหนุนเสริม
บทบาทประธานห้อง ประธานกลุม่ ใน
การควบคุมดูแลห้องให้เป็นไปด้วยความ
เรียบร้อย)
-วิธีการสร้าง -นักเรียนมี 4. หลังจากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนา 5.ประธานกลุม่ แต่ละกลุม่ ดาเนินการให้ -ได้ -ประเมินจาก
ความรู้ของ ทักษะในการ แผนปฏิบัติการที่ได้ไปตรวจสอบกับผู้ที่มี สมาชิกในกลุ่มนาแผนปฏิบตั ิการทีไ่ ด้ไป ข้อคิดเห็น ข้อคิดเห็น
นักเรียนแต่ละ ตรวจสอบ ความรู้ความเชี่ยวชาญ 3-5 คน จัดทา ตรวจสอบ (สอบถาม) จากผูเ้ ชี่ยวชาญ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ
กลุ่ม และสร้าง นวัตกรรมด้านต่างๆ (อาจจะสอบถาม อาจจะเป็นครู ผู้ปกครอง ชุมชน อย่างน้อย ในการนา
ความรู้ ครู ผู้ปกครองหรือชุมชนที่มีความรู้ 3-5 คน โดยตรวจสอบความเหมาะสม ความ แผนปฏิบัติ
ความสามารถเกีย่ วกับการจัดทา เป็นไปได้ การจาก
นวัตกรรม) ผู้เชี่ยวชาญ
41
การประเมิน เป้าหมายหลักสูตร เป้าหมายครู บทบาทครู กระบวนการ บทบาทนักเรียน เป้าหมาย การประเมิน
คุณลักษณะ สมรรถนะ มฐ./ตชว นักเรียน
-ประเมินจาก ง 1.1 -นักเรียนมี 5. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาข้อมูลที่ได้ 6. ประธานกลุ่มดาเนินการนาข้อเสนอแนะ -ได้ -ประเมินจาก
แผนปฏิบัติ ป.4/1 ทักษะการคิด รับมาปรับปรุงแผนปฏิบัติการให้มคี วาม และข้อมูลที่ได้จากการสอบถามผูเ้ ชี่ยวชาญ แผนปฏิบัติ แผนปฏิบัติการ
การของ ป.5/1 เหมาะสมและเป็นไปได้จริง มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ นาสู่การปรับปรุง การที่ดี
นักเรียนที่ผ่าน ป.6/1 แผนปฏิบัติการของกลุ่ม ให้ดยี ิ่งขึ้น สามารถ
การปรับปรุง นาไปใช้ได้
แก้ไข จริง

-พฤติกรรม -นักเรียนมี 6. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอ 7. ประธานห้องดาเนินการให้แต่ละกลุ่ม -เกิดการ -การแลกเปลี่ยน


การนาเสนอ ทักษะการ แผนปฏิบัติการที่ปรับปรุงเป็นที่ นาเสนอแผนปฏิบัติการที่ผ่านการปรับปรุง แลกเปลีย่ น เรียนรู้ทตี่ รง
ของนักเรียน สื่อสาร เรียบร้อยแล้วต่อเพื่อนและคณะครู แล้วต่อเพื่อนและครู เรียนรู้ ประเด็น
-แผนบูรณา 7. ครูนาแผนปฏิบตั ิการของนักเรียนแต่ ร่วมกัน
การ ละกลุม่ ไปขยายสู่การจัดทาแผนการ
จัดการจัดการเรียนรู้บูรณาการ
42
การประเมิน เป้าหมายหลักสูตร เป้าหมายครู บทบาทครู กระบวนการ บทบาทนักเรียน เป้าหมาย การประเมิน
คุณลักษณะ สมรรถนะ มฐ./ตชว นักเรียน
-ประเมินจาก ใฝ่เรียนรู้ -ทักษะการ ท 2.1 -นักเรียนมี 8. ครูให้ประธานห้อง/ประธานกลุม่ 8.ประธานห้อง/ประธานกลุม่ ดาเนินการ - ได้ความรู้ที่ -ประเมินจาก
วิธีการเรียนรู้ มุ่งมั่นใน คิด ป 6/2 ทักษะการ ดาเนินการตามแผนปฏิบตั ิการของแต่ ร่วมกับสมาชิกในกลุ่มศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกับ สามารถ การนาความรู้ไป
ของและกลุ่ม การทางาน -ทักษะการ ท 3.1 เรียนรูด้ ้วย ละกลุม่ โดยมีรายละเอียดพอสังเขป ประเด็นการเรียนรู้ ของกลุ่มที่กาหนดใน นาไปใช้ใน ใช้ในการสร้าง
สื่อสาร ป.6/1 ตนเองและ ตามประเด็นต่อไปนี้ แผนปฏิบัติการผ่านสื่ออินเทอร์เน็ต หนังสือ การสร้าง นวัตกรรม
-ทักษะชีวิต ป.6/2 ด้วยกันเอง 1) ศึกษาค้นคว้า เพื่อให้ได้ความรู้ ความ แหล่งเรียนรู้ภมู ิปัญญาหรือผู้เชี่ยวชาญใน นวัตกรรม
-ทักษะการ ป.6/4 -นักเรียนมี เข้าใจเกี่ยวกับประเด็นการเรียนรู้ ที่ ด้านต่างๆ
ใช้ ค.1.1 ความรู้ความ กาหนด ซึ่งเป็นฐานความรู้สาคัญในการ
เทคโนโลยี ป.6/2 เข้าใจ ทานวัตกรรม โดยศึกษาค้นคว้า ผ่านสื่อ
-ทักษะการ ป.6/3 เกี่ยวกับการ อินเทอร์เน็ต หนังสือ แหล่งเรียนรู้ ภูมิ
แก้ปัญหา ค.2.1 ประเด็นการ ปัญญา ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆที่
ป.6/1 เรียนรู้ที่ เกี่ยวข้อง
ว 2.3 กาหนด *ในขั้นตอนนี้ครูสามารถเชื่อมโยง
ป 6/1 มาตรฐานตัวชี้วัดต่างๆ ตามสาระการ
ป 6/2 เรียนรู้ สอดแทรกไปกับการเรียนรูต้ าม
ว 4.2 ประเด็นการเรียนรู้ที่นักเรียนกาหนดได้
ป 6/1 -นักเรียนมี 2) แต่ละกลุม่ นาความรู้ที่ได้จาก 9. ประธานกลุ่มดาเนินการร่วมกับสมาชิก - ได้ -ประเมินจาก
ป 6/2 ความรู้ความ การศึกษาค้นคว้ามารวบรวมจัดกระทา รวบรวมข้อมูลที่ได้แล้วร่วมกันวิเคราะห์ blueprint blueprint
ป 6/3 เข้าใจตาม วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลสู่การ ข้อมูลสู่การออกแบบนวัตกรรมแผนปฏิบัติ
ส 2.1 เนื้อหาสาระ ออกแบบนวัตกรรมที่มคี วามชัดเจนเป็น การ
ป.6/5 ตามหลักสูตร แผนปฏิบัติการ ในการปฏิบัติการสร้าง
ง 1.1 (ที่เกี่ยวข้อง) นวัตกรรมในขั้นตอนต่อไป
- ฝึกทักษะ
การจัด
กระทาข้อมูล
การวิเคราะห์
สังเคราะห์
43
การประเมิน เป้าหมายหลักสูตร เป้าหมายครู บทบาทครู กระบวนการ บทบาทนักเรียน เป้าหมาย การประเมิน
คุณลักษณะ สมรรถนะ มฐ./ตชว นักเรียน
- ประเมินจาก ง 1.1 - นักเรียนมี 3) เมื่อได้ blueprint แล้วนักเรียนแต่ 10.ประธานกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่วมกับสมาชิก - ได้ -ประเมินจาก
การนาข้อมูล ป.4/1 ทักษะการ ละกลุม่ นาไปตรวจสอบและประเมิน ของกลุ่ม นาแผนปฏิบตั ิการไปตรวจสอบและ ข้อเสนอแนะ การสรุป
ที่ได้ไปใช้ใน ป.5/1 เรียนรูด้ ้วย ความเป็นไปได้ความเหมาะสมและ ประเมินความเป็นไปได้3.ประธานกลุ่ม แต่ จาก ข้อเสนอแนะที่
การออกแบบ ป.6/1 ตนเอง ด้วย ความเป็นประโยชน์ จากผู้เชี่ยวชาญ ที่มี ละกลุม่ ร่วมกับสมาชิก ของกลุ่ม นา ผู้เชี่ยวชาญ ได้จาก
นวัตกรรม กันเอง ความรู้ความเข้าใจและมีประสบการณ์ที่ แผนปฏิบัติการไปตรวจสอบและประเมิน ผู้เชี่ยวชาญ
- ประเมินจาก เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมนั้นๆอย่างน้อย 3 ความเป็นไปได้ความเหมาะสมและความเป็น
วิธีการในการ - 5 คน ประโยชน์ ต่อผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อย 3-5 คน
เรียนรู้ของ
นักเรียน 4) นาข้อเสนอแนะข้อคิดเห็นจาก 11.นักเรียนแต่ละกลุม่ นาข้อมูลทีไ่ ด้รับ จาก - ได้ -ประเมินจาก
-ประเมินจาก ผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์ สังเคราะห์สู่ การเสนอแนะจากผูเ้ ชี่ยวชาญมาวิเคราะห์ blueprint blueprint ที่ได้
การนา การพัฒนา blueprint ให้มีความชัดเจน สังเคราะห์เพื่อนาไปพัฒนาแผนปฏิบัติการ ทีช่ ัดเจน จากการ
ข้อเสนอแนะสู่ ยิ่งขึ้น ปรับปรุงแก้ไข
การพัฒนา
blueprint

-ประเมินจาก ส 2.1 - ฝึกทักษะ 1. นา blueprint ที่ได้สู่การลงมือ ขั้นที4่ 1. ประธานห้องดาเนินการให้ประธานกลุ่ม - ได้ -ประเมินจาก


ฝึกทักษะการ ป.4/1 การวิเคราะห์ ปฏิบัติโดย ในเบื้องต้นให้ดาเนินการ นาสู่การ แต่ละกลุ่ม ดาเนินการให้สมาชิกแต่ละ กลุ่ม นวัตกรรม นวัตกรรมทีไ่ ด้
เรียนรู้ ป.5/1 สังเคราะห์ จัดหาและจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ ปฏิบัติ นาแผนปฏิบตั ิการทีไ่ ด้ สู่กานลงมือปฏิบัติ
ป.6/1 - ฝึกทักษะ ให้พร้อมก่อนดาเนินการ (ในระหว่างที่ (Implemen โดยในเบื้องต้นให้ดาเนินการจัดเตรียมวัสดุ
ง 1.1 การเรียนรู้ ลงมือปฏิบัติถ้าพบปัญหาให้นักเรียนไป t) อุปกรณ์ต่างๆ ก่อนดาเนินการลงมือปฏิบัติ
ป.4/2 ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เพือ่ นามาใช้ใน ในระหว่างที่ลงมือปฏิบตั ิ ค้น พบปัญหา
ป.5/2 การแก้ปัญหา) ครูจะทาหน้าที่เป็นผู้ให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันไปศึกษาค้นคว้า
ป.6/2 คาปรึกษา ชี้แนะ ตั้งคาถาม เสริม การเรียนรู้เพิ่มเติม
กาลังใจ
44
การประเมิน เป้าหมายหลักสูตร เป้าหมายครู บทบาทครู กระบวนการ บทบาทนักเรียน เป้าหมาย การประเมิน
คุณลักษณะ สมรรถนะ มฐ./ตชว นักเรียน
-ประเมินจาก ว 4.2 - นักเรียนมี 2. นักเรียนแต่ละกลุม่ นาเสนอครูจะทา 2. นักเรียนแต่ละกลุม่ นาเสนอนวัตกรรมที่ได้ -ได้ -ประเมินจาก
ฝึกทักษะการ ป.4/1 ทักษะการ หน้าที่เป็นผู้ให้คาปรึกษา ชี้แนะ ตัง้ แลกเปลีย่ น การนาเสนอ
เรียนรู้ ป.5/1 เรียนรู้ คาถาม เสริมกาลังใจ เรียนรู้ นวัตกรรม
ป.6/1 นวัตกรรม
ง 1.1
ป.4/2 3. หลังจากลงมือปฏิบตั ิเพื่อสร้าง 3. ประธานกลุ่มดาเนินการรวบร่วมกับ - ได้
ป.5/2 นวัตกรรมให้นักเรียนประเมินนวัตกรรม สมาชิกในกลุ่มในการอภิปรายเพื่อประเมิน ข้อเสนอแนะ
ป.6/2 ในประเด็นต่อไปนี้ นวัตกรรมประเด็นต่อไปนี้ และ
1) ความสาเร็จของนวัตกรรม ตาม 1) ความสาเร็จของ นวัตกรรมตาม คาแนะนาใน
blueprint แผนปฏิบัติการ การพัฒนา
2) ประเมินประสิทธิภาพของนวัตกรรม 2) ประเมินประสิทธิภาพของนวัตกรรม ตาม ปรับปรุง
3) ในกรณีที่เป็น PBL ต้องมีการ แผนปฏิบัติการ นวัตกรรม
ประเมินการนานวัตกรรมไปแก้ปญ ั หา 3) ประเมินการนานวัตกรรม ไปแก้ปัญหา
(โดยสมาชิกในกลุ่มร่วมกันประเมินและ โดยมีครูและผูเ้ ชี่ยวชาญร่วมประเมิน
ประเมินโดยครูและผูเ้ ชี่ยวชาญ)
1.ครูสังเกต - ความ -ทักษะการ ว 4.2 นักเรียนมี 1. ครูมอบหมายงาน ผ่านประธานห้อง ขั้นที่ 5 1. ประธานห้องชี้แจงให้ประธานกลุ่ม - รู้จักตนเอง 1.สังเกตจากผล
การประเมิน ซือ่ สัตย์ คิด ป.4/1 ทักษะในการ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มประเมินตนเอง ประเมินผล ดาเนินการประเมินตนเองในประเด็น จุดเด่นจุดที่ การประเมิน
ตนเองและ -ทักษะการ ป.5/1 ประเมิน ภายใต้กรอบการประเมินตนเองเช่น (Evaluate) 1) ความคิดสร้างสรรค์ ควรพัฒนา ตนเองและ
ประเมินเพื่อน สื่อสาร ป.6/1 ตนเอง 1) ความคิดสร้างสรรค์ 2) KSA ให้นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันคิด ของตนเอง ประเมินเพื่อน
ของนักเรียน ง 1.1 2) KSA ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน ประเด็นในการประเมินของกลุม่ และครูประเมิน
ป.4/2 คิดประเด็นในการประเมินของกลุม่ 3) การทางาน นักเรียน โดยใช้
ป.5/2 3) การทางาน โดยใช้เครื่องมือ Spider Gram เครื่องมือ
ป.6/2 โดยใช้เครื่องมือ Spider gram, linear spider gram
2. ครูประเมินนวัตกรรมของนักเรียน
เมื่อสิ้นสุดการสร้างนวัตกรรม
45
การประเมิน เป้าหมายหลักสูตร เป้าหมายครู บทบาทครู กระบวนการ บทบาทนักเรียน เป้าหมาย การประเมิน
คุณลักษณะ สมรรถนะ มฐ./ตชว นักเรียน
ครูประเมิน -ใฝ่เรียนรู้ -ทักษะการ ว 4.2 - ฝึกนักเรียน 1.ให้ประธานกลุม่ แต่ละกลุม่ นาผลและ ขั้นที่ 6 1.ประธานกลุม่ แต่ละกลุม่ ดาเนินการให้ - แนวทางใน 1.ประเมินจาก
จากการ -มุ่งมั่นใน คิด ป.4/1 ให้ออกแบบ ข้อมูลที่ได้จากการประเมินนวัตกรรมมา แลกเปลีย่ น สมาชิกในกลุ่มร่วมกันนาข้อมูลที่ได้จากการ การเรียนรู้ การวางแผนการ
ออกแบบวาง การทางาน -ทักษะชีวิต ป.5/1 วางแผนการ วิเคราะห์สังเคราะห์นาไปสู่การออกแบบ เรียนรู้ ประเมินนวัตกรรมมาวิเคราะห์สังเคราะห์ ต่อยอด เรียนรู้ของกลุม่
แผนการ ป.6/1 เรียนรู้ของ และวางแผนเรียนรู้เพื่อไปสู่ การ (Show and และออกแบบ วางแผน เรียนรูไ้ ปสูก่ าร นวัตกรรม
เรียนรู้ของ ง 1.1 ตนเอง ปรับปรุงพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมหรือ Share) ปรับปรุงพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมหรือคิด
นักเรียน ป.6/1 คิดประเด็นการเรียนรู้ต่อไป ประเด็นการเรียนรูต้ ่อไป
2.ครูเน้นย้าซ้าทวนส่งเสริมการพัฒนา
ต่อยอดโดยนานวัตกรรมสู่เวทีระดับ
โรงเรียนและระดับเครือข่ายต่อไป
46

แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ เพื่อพัฒนำสมรรถนะผู้เรียนโดยใช้ LADIESs Process


เรื่อง สมุนไพรในประเทศ
ชั้น มัธยมศึกษำปีที่ 1-3 ปีกำรศึกษำ 2564
ครูผู้สอน คณะครูระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1-3 ระยะเวลำ 60 ชั่วโมง
โรงเรียนบ้ำนปำกเหมือง สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำเชียงใหม่ เขต 4

1. คำอธิบำยกำรเรียนรู้
ศึกษาสมุน ไพรในประเทศ ฝึ กปฏิบัติเกี่ยวกับความหมาย ความส าคัญที่เกี่ยวข้องกับพืชสมุนไพร
ประวัติของพืชสมุนไพรที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาไทย การแบ่งประเภทของสมุนไพรในประเทศตามระบบต่าง ๆ
การปลูก การดูแลรักษา การขยายพันธุ์ การเก็บรักษา การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว วิธีการแปรรูป สมุนไพร
และ การใช้ประโยชน์ ผู้เรียนได้เรียนรู้และตระหนักถึงความสัมพันธ์ของสมุนไพรที่มีผลต่อสุขภาพ เพื่อส่งเสริม
สมรรถนะการคิดโดยใช้กระบวนการ LADIESs Process 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นเรียนรู้ (Learn) จุดประกาย
การเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น และปรากฏการณ์ที่น่าสนใจ 2) ขั้นวิเคราะห์ (Analyze) นาองค์ความรู้ที่ได้
วิเคราะห์เชื่อมโยงประเด็นการเรียนรู้ 3) ขั้นออกแบบ (Design) โดยผู้เรียนเป็นผู้ออกแบบนวัตกรรม วิธีการ
สิ่งประดิษฐ์ และจัดทาแผนการเรียนรู้ของตนเอง โดยใช้เครื่องมือ FILA ซึ่งนักเรียนจะเป็นเจ้าของบทเรียน
4) ขั้นนาไปใช้ (Implement) ออกแบบและทดลองใช้นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ วิธีการ โดยมีครูเป็นผู้แนะนา
5) ขั้นประเมินผล (Evaluate) นักเรียนร่วมประเมินผลการเรียนรู้ของตน และประเมินนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์
วิธีการ เพื่อนาผลการประเมินไปพัฒนา 6) ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show and Share) นักเรียนนา ผลงาน
นาเสนอผลงาน ร่วมสะท้อนความคิด อภิปรายทาความเข้าใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม ถึง กระบวนการ
เรียนรู้ การแก้ปัญหา องค์ความรู้ใหม่ การเชื่อมโยง และสรุปความรู้ร่วมกัน
47

2. สำระกำรเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
ภำษำไทย
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 2 การเขียน ท 2.1 ม.1/2 เขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคาถูกต้องชัดเจน เหมาะสม และ
สละสลวย
ท 2.1 ม.1/8 เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า และโครงงาน
ท 2.1 ม.2/5 เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า
ท 2.1 ม.2/7 เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็น
หรือโต้แย้งในเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผล
ท 2.1 ม.3/7 เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดหรือ
โต้แย้งในเรื่องต่าง ๆ
ท 2.1 ม.3/9 เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า และโครงงาน
สาระที่ 3 การฟัง การดู ท 3.1 ม.1/1 พูดสรุปใจความสาคัญของเรื่อง
และการพูด ท 3.1 ม.1/5 พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง
การดู และการสนทนา
ท 3.1 ม.2/3 วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่ฟัง และดูอย่างมีเหตุผล นา
ข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต
ท 3.1 ม.2/5 พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง
การดู และการสนทนา
ท 3.1 ม.3/1 วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่ฟังและดู เพื่อนาข้อคิดมา
ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต
ท 3.1 ม.3/3 พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง
การดู และการสนทนา
ท 3.1 ม.3/5 พูดโน้มน้าว โดยนาเสนอหลักฐานตามลาดับเนื้อหาอย่างมี
เหตุผล และน่าเชื่อถือ
48

วิทยำศำสตร์
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ ว 1.2 ม.1/12 อธิบายลักษณะโครงสร้างของดอกที่มีส่วนทาให้เกิดการ
ชีวภาพ ถ่ายเรณู รวมทั้งบรรยาย การปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผลและเมล็ด การ
กระจายเมล็ด และการงอกของเมล็ด
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์ ว 2.1 ม.2/2 แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย
กายภาพ โครมาโทกราฟีกแบบกระดาษ การสกัดด้วยตัวทาละลาย
ว 2.1 ม.3/8 ออกแบบวิธีแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน โดยใช้ความรู้
เกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมี โดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี
และวิศวกรรมศาสตร์

คณิตศำสตร์
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 จานวน และ ค 1.1 ม.1/3 เข้าใจและประยุกต์ใช้อัตราส่วน สัดส่วน และ ร้อยละใน
พีชคณิต การแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง
สาระที่ 2 การวัดและเลขา ค 2.1 ม.2/2 ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องปริมาตรของปริซึมและ
คณิต ทรงกระบอกในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง
ค 2.1 ม.3/2 ประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องปริมาตรของพีระมิด กรวย และ
ทรงกลมในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

สังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม


สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง ส 2.1 ม.1/4 แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิของตนเองและผู้อื่น
วัฒนธรรม และการดาเนิน ส 2.1 ม.2/2 เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ
ชีวิตในสังคม เสรีภาพ หน้าที่ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ส 2.1 ม.3/3 อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากลที่
เหมาะสม
49

สุขศึกษำ และพลศึกษำ
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 4 การสร้างเสริม พ 4.1 ม.1/1 เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัย
สุขภาพ สมรรถภาพและ พ 4.1 ม.2/1 เลือกใช้บริการทางสุขภาพอย่างมีเหตุผล
การป้องกันโรค พ 4.1 ม.3/2 เสนอแนวทางป้องกันโรคที่เป็นเหตุสาคัญของผู้ป่วยและ
การตายของคนไทย

กำรงำนอำชีพ
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 การดารงชีวิตและ ง 1.1 ม.1/2 ใช้ทักษะในการทางานร่วมกันอย่างมีคุณธรรม
ครอบครัว ง 1.1 ม.2/1 ใช้ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทางาน
ง 1.1 ม.3/3 อภิปรายการทางานโดยใช้ทักษะการจัดการเพื่อการ
ประหยัดพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม

ศิลปะ
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์ ศ 1.1 ม.1/2 ระบุ และบรรยายหลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ โดยเน้น
ความเป็นเอกภาพความกลมกลืน และความสมดุล
ศ 1.1 ม.2/3 วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลาย ในการสื่อความหมาย
และเรื่องราวต่าง ๆ
ศ 1.1 ม.3/1 บรรยายสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้
ความรู้เรื่องทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ

ภำษำต่ำงประเทศ
สำระกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/ตัวชี้วัด
สาระที่ 3 ภาษากับ ต 3.1 ม.1/1 บอกคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระ ต 3.1 ม.2/1 บอกคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
การเรียนรู้อื่น ต 3.1 ม.3/1 บอกคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
50

3. จุดประสงค์กำรเรียนรู้
ด้ำนควำมรู้ (K)
1. อธิบายเกี่ยวกับพืชสมุนไพรในประเทศ
2. อธิบายสรรพคุณของพืชสมุนไพรแต่ละประเภทได้
3. อธิบายเกี่ยวกับพืชสมุนไพรในประเทศเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพ
4. ประยุกต์ใช้อัตราส่วน สัดส่วน และ ร้อยละในการแก้ปัญหา
5. ประยุกต์ใช้หน่วยปริมาตรของปริซึม พีระมิด กรวย ทรงกระบอก และทรงกลม
6. ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟฟิกอื่น ๆ ในการนาเสนอความคิดและข้อมูล
7. นาเสนอประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าได้
ด้ำนทักษะ/กระบวนกำร ( P )
1. ทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ และแก้ปัญหา
2. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. การคิดคานวณการหาปริมาตรของรูปของปริซึม พีระมิด กรวย ทรงกระบอก และทรงกลม
4. เปรียบเทียบความสัมพันธ์ของหน่วยปริมาตรในระบบเดี่ยวกันและต่างระบบได้
5. ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทางาน
6. ทักษะพื้นฐานสาหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ
7. ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟฟิกอื่น ๆ ในการนาเสนอความคิดและข้อมูล
8. ทักษะการพูด นาเสนอประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า
ด้ำนคุณลักษณะ ( A )
1. ความรับผิดชอบ
2. ความคิดเชิงบวก คิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ
3. มารยาทในการพูด
4. ยอมรับความแตกต่างของผู้อื่น อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข

4. สมรรถนะ
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
51

5. สื่อและอุปกรณ์
1. แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์โดยการวาดภาพ (Picture Construction) ตามแนวคิดของ
ทอแรนซ์ (Torrance)
2. วีดิทัศน์ เรื่อง สมุนไพรเพื่อสุขภาพ
3. อุปกรณ์ เช่น กระดาษ ปากกาเมจิก
4. ห้อง USO Net ศูนย์บริการอินเทอร์เน็ตชุมชน
5. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สมาร์ทโฟน
6. แหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียน
52
6.เกณฑ์กำรประเมิน
ระดับ 4 ระดับ 3 ระดับ 2 ระดับ 1
เกณฑ์กำรประเมิน มีควำมคิดสร้ำงสรรค์ดีมำก มีควำมคิดสร้ำงสรรค์ ธรรมดำ ไม่มีควำมคิดสร้ำงสรรค์
ความคิดสะท้อนประเด็นสาคัญของหลาย ความคิดสะท้อนประเด็นสาคัญของ
ไอเดียได้จากประเด็นสาคัญของ ความคิดไม่ได้สะท้อน
ควำมคิดหลำกหลำย เนื้อหาวิชา จากบริบทหลากหลาย และให้ หลายเนื้อหาวิชา จากบริบท
เนื้อหาวิชาเดียวกันหรือคล้ายกัน ใจความสาคัญ
ข้อสรุปที่น่าตื่นตะลึง หลากหลาย
ผลงานความรู้ได้จากแหล่งข้อมูล ผลงานความรู้ได้จากแหล่งข้อมูล
ผลงานความรู้ได้จากแหล่งข้อมูลจาก ผลงานความรู้ได้จากแหล่งข้อมูล
แหล่งข้อมูลหลำกหลำย หลากหลายและครอบคลุมหลายหัวข้อจาก หลากหลายจากตารา สื่อ บุคคลหรือ
ทางตารา สื่อ ชิ้นเดียวและไม่น่าเชื่อถือ
ตารา สื่อ บุคคลหรือประสบการณ์ ประสบการณ์

ความคิดในการแก้ปัญหา การมอง
ความคิดในการแก้ปัญหา การมองปัญหา ความคิดได้มาจากการนาความคิด
เชื่อมไอเดียได้ ปัญหาโดยพัฒนาจากสิ่งที่มีอยู่เดิม
ผสมทั้งสิ่งที่มีอยู่เดิมกับเรื่องแปลกใหม่ ของผู้อื่น (เช่น ตัวอย่างที่ยกมาให้ใน นาความคิดของผู้อื่นมากล่าวซ้า
แปลกใหม่ ขึ้นมา หรือสร้างสรรค์ผลงานที่ไม่เคย
หรือสร้างสรรค์ผลงานที่ไม่เคยมีมาก่อน ชั้นเรียน) มาผสมกัน
มีมาก่อน
ผลงานแปลกใหม่น่าสนใจ หรือมีประโยชน์ ผลงานแปลกใหม่น่าสนใจ หรือมี ผลงานที่ได้ตรงตามเป้าหมาย ผลงานที่ได้ไม่ตรงตามเป้าหมาย
วิธีสื่อสำรหรือนำเสนอ เปิดมุมมองหรือมองปัญหาหรือประเด็นที่ ประโยชน์ เสนอมุมมองหรือแก้ไข (เช่น แก้ปัญหาหรือเสนอมุมมองที่ ที่ตั้งไว้เลย (เช่น แก้ปัญหา หรือ
แปลกใหม่ ยังไม่เคยมีใครพูดถึง ปัญหาได้ตามที่วางไว้ ตั้งใจสาเร็จ) เสนอมุมมอง)
7. กิจกรรมกำรเรียนรู้ 53
เรียนรู้
การประเมิน เป้าหมายหลักสูตร เป้าหมาย บทบาทครู กระบวนการ บทบาทนักเรียน เป้าหมายนักเรียน การประเมิน
รียนรู้ คุณลักษณะ สมรรถนะ มฐ./ ครู
ตชว
ครูประเมิน -ความมีวินัย ทักษะชีวิต ส 2.1 ให้ 1. ครูมอบหมายให้ประธานห้อง ดาเนินการ ขั้นเตรียม 1. ประธานห้องดาเนินการแบ่งกลุม่ ให้มี กลุ่มที่มีความ - นักเรียน
จากการ -ความ ม.1/4 สอดคล้อง แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 4-5 คน ให้มีความ (แบ่งกลุ่ม) ความหลากหลาย กลุ่มละ 4-5 คน หลากหลายของ ประเมินตนเอง
สังเกต ซื่อสัตย์ กับสภาพ หลากหลาย (คละ เก่ง กลาง อ่อน ชาย หญิง (คละ เก่ง กลาง อ่อน ชาย หญิง ฯลฯ) สมาชิก - นักเรียน
พฤติกรรม จริงใน ฯลฯ) ประเมิน
ของนักเรียน สังคมมาก 2. ในขณะที่ประธานกลุ่มดาเนินการแบ่งกลุ่ม พฤติกรรมของ
ที่สุด ร่วมกับเพื่อน ครูคอยสังเกตแนะนา ช่วยเหลือ เพื่อน
และกระตุ้นโดยใช้คาถามผ่านประธานห้อง
เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย

-สังเกต -ความ -ทักษะ ส 2.1 นักเรียนได้ 1. ครูมอบหมายให้ประธานห้องดาเนินการให้ ขั้นเตรียม 1. ประธานห้องดาเนินการให้แต่ละกลุ่ม ได้บทบาทหน้าที่ สังเกต
พฤติกรรม ซื่อสัตย์ การคิด ม.2/2 ฝึกการ แต่ละกลุ่มเลือกประธาน รองประธาน และ (กาหนด เลือกประธาน รองประธาน เลขากลุ่ม ของสมาชิกในกลุ่ม พฤติกรรม
โดยครูและ -ความจดจ่อ -ทักษะการ กาหนด เลขานุการกลุ่ม(ตามวิธีการของกระบวนการ บทบาท (ตามวิธีการของกระบวนการกลุม่ สอง (ประธาน รอง ขั้นตอนในการ
เพื่อน -ฝึก สติ แก้ปัญหา กติกา กลุ่ม 2 มิติ) ในระหว่างที่นักเรียนดาเนินการ หน้าที)่ มิติ) ประธาน เลขานุการ กาหนดบทบาท
สมาธิ ร่วมกันด้วย ครูเข้าไปนั่งในกลุ่มเพื่อสังเกตพฤติกรรมการ และสมาชิก) หน้าที่
ปัญญา ความเป็น เรียนรู้ของนร.ตลอดจนถึงให้คาแนะนา
เหตุเป็นผล ช่วยเหลือและใช้คาถามกระตุ้นให้สมาชิกใน
บนวิถี กลุ่มสามารถดาเนินการพร้อมกัน จากนั้นครู
ประชาธิป สังเกตภาพรวมของห้อง คอยช่วยเหลือ
ไตย กระตุ้นโดยใช้คาถามผ่านประธานห้อง (ตาม
เห็นสมควร)
54
-สังเกต -วิถี ทักษะ ส 2.1 นักเรียนได้ 1. ครูมอบหมายให้ประธานห้องดาเนินการให้ ขั้นเตรียม 1 .ประธานห้องมอบหมายให้ประธาน ได้ข้อตกลงของกลุ่ม สังเกต
พฤติกรรม ประชาธิป การคิด ม.2/2 ฝึกการ แต่ละกลุ่มสร้างข้อตกลงเชิงพฤติกรรมของ (สร้าง กลุ่ม ดาเนินการสร้างข้อตกลงเชิง พฤติกรรม
โดยครูและ ไตย กาหนด กลุ่มร่วมกัน (ตามวิธีการของกระบวนการกลุ่ม ข้อตกลง พฤติกรรมของกลุม่ (ตามวิธีการของ ขั้นตอนในการ
เพื่อน -คารวะ กติกา 2 มิติ) เพื่อให้สามารถเรียนรู้ร่วมกันได้สาเร็จ ร่วมกัน) กระบวนการกลุ่ม 2 มิติ) ภายใต้เวลาที่ กาหนดบทบาท
ธรรม ร่วมกันด้วย ผล (ตามกาหนดเวลาขึ้นอยู่กับดุลพินิจของครู) กาหนด หน้าที่
-สามัคคี ความเป็น
ธรรม เหตุเป็นผล
-ปัญญา บนวิถี
ธรรม ประชาธิป
ไตย

ผลการทา ทักษะ ศ 1.1 ครูได้ข้อมูล 1. ครูชี้แจงทาความเข้าใจ การประเมิน ขั้นที่ 1 1. ประธานห้องและประธานกลุ่มรับฟัง -เข้าใจวิธีการทา -การทา
แบบ การคิด ม.1/2 ที่สะท้อน ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนโดยใช้แบบ จุดประกาย ซักถามและทาตามความเข้าใจ คาชี้แจง แบบประเมิน แบบทดสอบได้
ประเมิน ความคิด ประเมิน การวาดภาพ (Picture การเรียนรู้ เกี่ยวกับแบบประเมินให้มคี วามเข้าใจที่ดู ถูกต้อง
แบบทดสอบ ศ 1.1 สร้างสรรค์ Construction) ผ่านประธานห้อง ประธาน (Learn) กว้าง ชัดเจนเกี่ยวกับการทาแบบ
ความคิด ม.2/3 ของ กลุ่มจากนั้นดาเนินการให้นักเรียนแต่ละคน ประเมินไปใช้
สร้างสรรค์ นักเรียน ประเมินตนเองโดยทากิจกรรมตามแบบ 2. ประธานห้องและประธานกลุ่ม -ทาแบบสารวจตาม -เวลาที่ทา
โดยการวาด ศ 1.1 เพื่อเป็น ประเมินที่กาหนด ดาเนินการให้สมาชิกทุกคนทาแบบ เงื่อนไขของ แบบทดสอบ
ภาพ (Picture ม.3/1 พื้นฐานใน ประเมินให้เสร็จเรียบร้อยในเวลาที่ แบบทดสอบ
Construction) การพัฒนา กาหนด
นักเรียน 3. ประธานห้อง/ประธานกลุม่ รวบรวม -ส่งแบบทดสอบ -จานวนนักเรียน
แบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์โดยการ ความคิดสร้างสรรค์ ที่ส่ง
วาดภาพ (Picture Construction) ส่ง โดยการวาดภาพ แบบทดสอบ
ครู (Picture Construction)
ส่งทุกคน
55
การอธิบาย ความ -ทักษะ ท 3.1 นักเรียน 1. ครูเปิดประสบการณ์ให้นักเรียนดูวีดีทัศน์ 1. ประธานกลุ่มนาสมาชิกในกลุ่ม -.นักเรียนแต่ละกลุ่ม -การสังเกต
ถึงสรรพคุณ สามัคคี การคิด ม.1/1 ตระหนักใน เกี่ยวกับพืชสมุนไพรในประเทศ แล้วใช้คาถาม ร่วมกันอภิปราย แสดงความคิดเห็นถึง ร่วมอภิปรายแสดง พฤติกรรมการ
ของพืช -ทักษะการ คุณค่าของ กระตุ้นให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นถึง สรรพคุณของสมุนไพรไทยที่มีต่อสุขภาพ ความคิดเห็นของ อภิปรายแสดง
สมุนไพรแต่ สื่อสาร ท 3.1 สมุนไพรแต่ สรรพคุณของสมุนไพรไทยที่มีต่อสุขภาพ โดย ตนเอง ความคิดเห็น
ละประเภท ม.2/3 ละประเภท ให้ประธานกลุม่ เป็นผู้ดาเนินการ นาสมาชิกใน ของเพื่อน
กลุ่มอภิปรายร่วมกันภายในเวลาทีก่ าหนด
ท 3.1 2. ครูให้ประธานห้องดาเนินการให้ตัวแทนแต่ 2. ประธานห้องดาเนินการให้ตัวแทนแต่ -.การแลกเปลี่ยน -การสังเกต
ม.3/1 ละกลุม่ นาเสนอสรุปผลการอภิปรายของกลุ่ม ละกลุม่ นาเสนอสรุปผลการอภิปราย เรียนรู้ของสมาชิกใน พฤติกรรมการ
ท 3.1 เพื่อแลกเปลีย่ นเรียนรู้กันในห้อง (ในระหว่างที่ ของกลุ่มและเปิดโอกาสให้สมาชิกใน ห้อง อภิปรายแสดง
ม.3/5 นักเรียนอภิปรายซักถามครูร่วมเติมเต็มความรู้ ห้องได้อภิปรายซักถาม ความคิดเห็น
ความเข้าใจให้กับนักเรียน) ของเพื่อน
ง 1.1 3. ครูใช้คาถามในประเด็น “สมุนไพรไทยมี 3. ประธานกลุ่มนาสมาชิกในกลุ่มร่วม
ม.3/3 ประโยชน์ต่อสุขภาพอย่างไร” กระตุ้นให้ อภิปรายแสดงความคิดเห็นในประเด็น
นักเรียนร่วมกันอภิปรายในกลุ่ม โดย “สมุนไพรไทยมีประโยชน์ต่อสุขภาพ
มอบหมายให้ประธานห้องดาเนินการผ่าน อย่างไร”
ประธานกลุม่ แต่ละกลุ่ม (ในระหว่างที่นักเรียน
แต่ละกลุ่มอภิปราย ครูเข้าไปสังเกตรับรู้และ
เติมเต็มความเข้าใจให้กับนักเรียน) 4. ประธานห้องดาเนินการให้ตัวแทนแต่
4. ให้ประธานห้องดาเนินการให้แต่ละกลุ่ม ละกลุม่ นาเสนอผลการอภิปรายของกลุ่ม
นาเสนอผลการอภิปรายของแต่ละกลุ่ม โดยครู และเปิดโอกาสให้สมาชิกในห้องซักถาม
เป็นผู้เติมเต็มความรู้ ความเข้าใจให้นักเรียน แลกเปลีย่ นเรียนรู้

-ครูสังเกต -ใฝ่เรียนรู้ -ทักษะ ง 1.1 นักเรียนได้ 5. ครูใช้คาถามเพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ของ 5. ประธานห้องวางแผนร่วมกับประธาน -ได้บริเวณที่แต่ละ -ผลการกาหนด


พฤติกรรม -มีวินัย การคิด ม.1/2 ข้อมูล นักเรียนดังนี้ “สมุนไพรไทยมีประโยชน์ต่อ กลุ่มเพื่อกาหนดขอบเขตและบริเวณที่ กลุ่มจะไปสารวจ ขอบเขตและ
นักเรียน -ทักษะ สมุนไพรที่มี สุขภาพอย่างไร” ครูมอบหมายให้ประธานห้อง แต่ละกลุ่มจะไปสารวจพร้อมทั้งร่วมกัน บริเวณที่แต่ละ
ขณะศึกษา ชีวิต (การ ต 3.1 ประโยชน์ วางแผนร่วมกับประธานกลุม่ ไปสารวจ กาหนดเวลาที่ใช้ในการสารวจ กลุ่มจะไปสารวจ
จากพื้นที่ ทางาน ม.1/1 สุขภาพและ สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและขณะเดียวกันให้ทุก
จริง ร่วมกับ ต 3.1 ค้นพบสิ่งที่ คนเก็บข้อมูลสิ่งที่ตนเองสนใจโดยให้ร่วมกัน 6. ประธานกลุ่มชี้แจงข้อกาหนดต่าง ๆ -ได้ข้อมูลจากการ -ข้อมูลจากการ
ผู้อื่น) ม.2/1 ตนเอง กาหนดเวลาที่ใช้ในการสารวจ (ขณะที่นักเรียน ให้สมาชิกในกลุ่มฟังและร่วมกันสารวจ สารวจสมุนไพรใน สารวจ
ต 3.1 สนใจ แต่ละกลุ่มไปสารวจสมุนไพรไทยในโรงเรียนครู สมุนไพรไทยในโรงเรียน โรงเรียน
ม.3/1 ร่วมสารวจไปกับนักเรียนและกระตุ้นโดยใช้
คาถามให้ผู้เรียนค้นพบสิ่งที่สนใจ)
56
-การ -ความมีวินัย -ทักษะ ท 2.1 -ฝึกทักษะ 6. ครูชี้แจงให้ประธานกลุ่มดาเนินการรวบรวม 7. ประธานกลุ่มชี้แจงให้สมาชิกในกลุ่ม -นักเรียนรู้วิธีการ -สังเกต
นาเสนอ รับผิดชอบ การคิด ม.1/2 การสร้าง ข้อมูลที่ได้จากการไปสารวจสมุนไพรไทยแล้ว ทราบถึงวิธีการดาเนินกับข้อมูลทีส่ ารวจ ดาเนินการกับข้อมูล พฤติกรรมใน
ข้อมูลจาก -ทักษะ ท 2.1 ความคิด ช่วยกันเขียนสิ่งที่ได้ลงในกระดาษ โดยไม่ให้ซ้า ได้ ที่สารวจได้ การทางาน
การสารวจ ชีวิต (การ ม.2/7 รวบยอด กันแล้วอภิปรายร่วมกันในกลุม่ หลังจากนั้นให้
สมุนไพร ทางาน ท 2.1 นาเสนอข้อมูลทีไ่ ด้ โอยร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 8. นักเรียนแต่ละกลุม่ เขียนข้อมูลที่ -นักเรียนได้ข้อมูล -การรวบรวม
ไทย ร่วมกับ ม.3/7 ในชั้นเรียน (Brainstorm) แล้วนาเสนอข้อมูล สมาชิกในกลุ่มได้จากการสารวจรวมถึง จากการสารวจและ ข้อมูล
ผู้อื่น) ท 3.1 ที่ได้หน้าห้องเรียน ประเด็นที่สมาชิกในกลุม่ สนใจลงใน ได้ประเด็นทีต่ นเอง
-ทักษะการ ม.2/3 กระดาษ โดยเขียนไม่ให้ซากั ้ นและ สนใจ
สื่อสาร ท 3.1 ร่วมกันอภิปรายในกลุ่ม
ม.3/1
-
-การจัด ความมีวินัย -ทักษะการ -ฝึกทักษะ 7. ครูชี้แจงให้ประธานกลุ่มไปดาเนินการจัด ขั้นที่ 2 9. ประธานกลุ่มดาเนินการให้สมาชิก -จัดหมวดหมู่ข้อมูล -นักเรียน
หมวดหมู่ รับผิดชอบ คิด การสร้าง หมวดหมู่ข้อมูลที่สมาชิกในกลุ่มไปสารวจมา วิเคราะห์ ร่วมกันลงความเห็นเพื่อกาหนด ตามลักษณะร่วม ประเมินจาก
ข้อมูลของ ความคิด ทั้งหมดโดยแบ่งออกเป็นหมวดหมูต่ าม เชื่อมโยง ลักษณะร่วมของแต่ละหมวด แล้วจัด ประเด็นการ
แต่ละกลุ่ม รวบยอด ลักษณะร่วม (concept เดียวกัน) โดยสมาชิก (Analyze) หมวดหมู่คา ร่วมกันเลือกคาในแต่ละ เรียนรู้
ร่วมกันลงความเห็นเพื่อกาหนดลักษณะร่วม หมวด ลากเส้นเชื่อมคาสู่การสร้างสรรค์ (นวัตกรรม)ที่
ของแต่ละหมวด นวัตกรรม ร่วมกันสรุป

-ครูสังเกต -ทักษะ ท 2.1 -ฝึกทักษะ 8. จากนั้นให้สมาชิกในกลุ่มลงความเห็น 10. ประธานกลุ่มนาสมาชิกร่วมกัน -นวัตกรรมใหม่ -นักเรียน


จากการ ชีวิต(การ ม.1/2 ในการ ร่วมกันในการเลือกคาที่กลุม่ สนใจในแต่ละ ออกแบบนวัตกรรมโดยวาดภาพแบบร่าง ประเมิน
ท 2.1
เลือกข้อมูล ทางาน จัดลาดับ หมวดแล้วให้ไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เกี่ยวกับ ของนวัตกรรม พฤติกรรมตาม
ม.2/7
ในแต่ละ ร่วมกับ ท 2.1 ความสาคัญ คาที่เลือก จากนั้นลากเส้นเชื่อมคาเหล่านั้น สู่ ข้อตกลงทั้งของ
หมวด ผู้อื่น) การสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ (Force ตนเองและเพื่อน
-ทักษะการ ศ 1.1 connection) แล้วให้ตัวแทนกลุ่มนาเสนอ
สื่อสาร ม.2/3 แลกเปลีย่ นเรียนรูร้ ่วมกัน

9. ครูมอบหมายให้ประธานกลุ่มดาเนินการ -แบบร่างนวัตกรรม
ร่วมกันออกแบบนวัตกรรมโดยวาดภาพ
นวัตกรรม และนาเสนอหน้าชั้นเรียน (ในขั้นนี้
ถ้าข้อมูลไม่เพียงพอครูอาจให้นักเรียนได้ไป
เรียนรูเ้ พิ่มเติมจนได้ข้อมูลเพียงพอ
57
-ครู ความมีวินัย ทักษะการ ท 2.1 -ฝึกทักษะ 10. ครูชี้แจงให้ประธานกลุ่มทราบเกี่ยวกับการ ขั้นที่ 3 11. ประธานกลุ่มชี้แจงให้สมาชิกทราบ -FILA MAPPING - FILA
ประเมินผล รับผิดชอบ คิด ม.1/2 การคิด เขียนกรอบความคิดการสร้างนวัตกรรมภายใต้ ออกแบบ องค์ประกอบในการเขียนกรอบความคิด MAPPING
ท 2.1
งานของ -ทักษะ สร้างสรรค์ รูปแบบของแผนผังความคิด ที่ประกอบด้วย สร้างสรรค์ การสร้างนวัตกรรม (FILA MAPPING)
ม.2/7
นักเรียนจาก ชีวิต(การ ท 2.1 และ F (face) ความจริง ข้อเท็จจริง ทีม่ า (Design)
การนาเสนอ ทางาน จินตนาการ I (Idea) ผลผลิต หรือกระบวนการ 12. สมาชิกในกลุ่มทุกคนร่วมกัน
FILA ร่วมกับ ศ 1.1 L (learning Issue) ความรู้ หลักการ แนวคิด อภิปรายแสดงความคิดเห็นแล้วสรุป
MAPPING ผู้อื่น) ม.2/3 ที่จาเป็นต้องเรียนรู้เพื่อใช้ในการทานวัตกรรม ประเด็นตามองค์ประกอบของ (FILA
-ทักษะการ A (Action plan) การวางแผนในการ MAPPING)
สื่อสาร ดาเนินงาน
โดยเขียนลงในกระดาษแล้วนาเสนอหน้าชั้น
เรียน

-ครูประเมิน ความมีวินัย ทักษะการ ท 3.1 - นักเรียนมี 1. ครูชี้แจงขั้นตอนวิธีการในการจัดทา 1. นักเรียนรับฟังและทาความเข้าใจ - มีความรู้ความ -การแสดงความ


จากขั้นตอน รับผิดชอบ คิด ม.2/3 ความรู้ แผนปฏิบัติการให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ผ่านสื่อ ขั้นตอนวิธีการการจัดทาแผนปฏิบตั ิการ เข้าใจเกี่ยวกับการ คิดเห็นของ
ในการทา -ทักษะ ท 3.1 ความเข้าใจ PowerPoint และตัวอย่างแผนปฏิบัติการ ผ่านสื่อ PowerPoint โดยมีประธาน ทาแผนปฏิบัติการ เพื่อนในกลุ่ม
แผน ชีวิต(การ ม.3/1 เกี่ยวกับ จากนั้นเปิดโอกาสให้นักเรียนได้อภิปราย ห้องและประธานกลุ่มดูแลความ
ทางาน การทาแผน ซักถาม เรียบร้อย
-ครูประเมิน ร่วมกับ ส 2.1 - นักเรียนมี 2. ให้นักเรียนลงมือจัดทาแผนปฏิบัติการ เพื่อ 2. นักเรียนแต่ละกลุม่ ดาเนินการจัดทา - แผนปฏิบัติการ -ประเมิน
จากแผน ผู้อื่น) ม.3/3 ทักษะและ สร้างนวัตกรรมที่ครอบคลุมภายใต้กรอบของ แผนปฏิบัติการของกลุ่มโดยการดูแลของ ของกลุ่ม แผนปฏิบัติการ
ของนักเรียน -ทักษะการ ความสามา เวลา เป้าหมายหน่วยการเรียนรู้ กิจกรรม การ ประธานห้องและประธานกลุ่ม (ครูร่วม ของกลุ่มที่สร้าง
สื่อสาร รถในการ ประเมินผล (ในระหว่างที่นักเรียนแต่ละกลุ่ม ให้ความช่วยเหลือ แนะนาตามกลุม่ ขึ้น
เขียนแผน จัดทาแผนปฏิบัติการ ครูคอยสังเกต เข้าไป ต่างๆ) จนได้แผนปฏิบตั ิการของกลุ่มที่
ร่วมกับนักเรียนแต่ละกลุม่ เพื่อให้กาลังใจและ ครอบคลุมประเด็นที่กาหนด
ใช้คาถามกระตุ้น ช่วยเหลือให้การดาเนินการ
สาเร็จและคอยสังเกตการณ์ทางานของ
นักเรียนในภาพรวมของห้อง โดยการหนุน
เสริมบทบาทประธานห้อง ประธานกลุ่มในการ
ควบคุมดูแลห้องให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย)
58
-วิธีการสร้าง -นักเรียนมี 3. หลังจากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนา 3. ประธานกลุ่มแต่ละกลุม่ ดาเนินการให้ -ได้ข้อคิดเห็น -ประเมินจาก
ความรู้ของ ทักษะใน แผนปฏิบัติการที่ได้ไปตรวจสอบกับผู้ที่มี สมาชิกในกลุ่มนาแผนปฏิบตั ิการทีไ่ ด้ไป ข้อเสนอแนะในการ ข้อคิดเห็น
นักเรียนแต่ การ ความรู้ความเชี่ยวชาญ 3-5 คน จัดทา ตรวจสอบ (สอบถาม) จากผูเ้ ชี่ยวชาญ นาแผนปฏิบตั ิการ ข้อเสนอแนะ
ละกลุม่ ตรวจสอบ นวัตกรรมด้านต่างๆ (อาจจะสอบถามครู อาจจะเป็นครู ผู้ปกครอง ชุมชน อย่าง จากผู้เชี่ยวชาญ
และสร้าง ผู้ปกครองหรือชุมชนที่มีความรู้ความสามารถ น้อย 3-5 คน โดยตรวจสอบความ
ความรู้ เกี่ยวกับการจัดทานวัตกรรม) เหมาะสม ความเป็นไปได้

-นักเรียนมี 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุม่ นาข้อมูลที่ได้รับมา 4. ประธานกลุ่มดาเนินการนา -ได้แผนปฏิบัติการที่ -ประเมินจาก


ทักษะการ ปรับปรุงแผนปฏิบัติการให้มีความเหมาะสม ข้อเสนอแนะและข้อมูลทีไ่ ด้จากการ ดี สามารถนาไปใช้ แผนปฏิบัติการ
คิด และเป็นไปได้จริง สอบถามผูเ้ ชีย่ วชาญมาวิเคราะห์ ได้จริง
สังเคราะห์ นาสู่การปรับปรุง แผนปฏิบัติ
การของกลุ่ม ให้ดียิ่งขึ้น

-ประเมิน -นักเรียนมี 5. ให้นักเรียนแต่ละกลุม่ นาเสนอแผนปฏิบัติ 5. ประธานห้องดาเนินการให้แต่ละกลุ่ม -เกิดการแลกเปลีย่ น -การแลกเปลี่ยน


จาก ทักษะการ การที่ปรับปรุงเป็นทีเ่ รียบร้อยแล้วต่อเพื่อน นาเสนอแผนปฏิบัติการที่ผ่านการ เรียนรูร้ ่วมกัน เรียนรู้ทตี่ รง
แผนปฏิบัติ สื่อสาร และคณะครู ปรับปรุงแล้วต่อเพื่อนและครู ประเด็น
การของ -แผนบูรณา 6. ครูนาแผนปฏิบตั ิการของนักเรียนแต่ละ
นักเรียนที่ การ กลุ่มไปขยายสู่การจัดทาแผนการจัดการ
ผ่านการ จัดการเรียนรู้บูรณาการ
ปรับปรุง
แก้ไข
-พฤติกรรม
การนาเสนอ
ของนักเรียน
59
-ประเมิน ใฝ่เรียนรู้ -ทักษะการ ท 2.1 -นักเรียนมี 1. ครูให้ประธานห้อง/ประธานกลุม่ ดาเนินการ ขั้นที่ 4 1.ประธานห้อง/ประธานกลุม่ ดาเนินการ - ได้ความรู้ที่ -ประเมินจาก
จากวิธีการ มุ่งมั่นในการ คิด ม.1/2 ทักษะการ ตามแผนปฏิบัติการของแต่ละกลุ่ม โดยมี นาไปใช้ ร่วมกับสมาชิกในกลุ่มศึกษาค้นคว้า สามารถนาไปใช้ใน การนาความรู้ไป
ท 2.1
เรียนรู้ของ ทางาน -ทักษะการ เรียนรูด้ ้วย รายละเอียดพอสังเขปตามประเด็นต่อไปนี้ (Implement) เกี่ยวกับประเด็นการเรียนรู้ ของกลุ่มที่ การสร้างนวัตกรรม ใช้ในการสร้าง
ม.2/7
และกลุม่ สื่อสาร ท 2.1 ตนเองและ 1) ศึกษาค้นคว้า เพื่อให้ได้ความรู้ ความเข้าใจ กาหนดในแผนปฏิบัติการผ่านสื่อ นวัตกรรม
-ทักษะ ด้วยกันเอง เกี่ยวกับประเด็นการเรียนรู้ ที่กาหนด ซึ่งเป็น อินเทอร์เน็ต หนังสือ แหล่งเรียนรูภ้ ูมิ
ชีวิต ค 1.1 -นักเรียนมี ฐานความรูส้ าคัญในการทานวัตกรรม โดย ปัญญาหรือผู้เชี่ยวชาญในด้านต่างๆ
-ทักษะการ ม.1/3 ความรู้ ศึกษาค้นคว้า ผ่านสื่ออินเทอร์เน็ต หนังสือ
ใช้ ค 2.1 ความเข้าใจ แหล่งเรียนรู้ ภูมิปญั ญา ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญ
ม.2/2
เทคโนโลยี เกี่ยวกับ ด้านต่างๆที่เกีย่ วข้อง
ค 2.1
-ทักษะการ ม.3/2 การ *ในขั้นตอนนี้ครูสามารถเชื่อมโยงมาตรฐาน
แก้ปัญหา ประเด็น ตัวชี้วัดต่างๆ ตามสาระการเรียนรู้ สอดแทรก
ว 1.2 การเรียนรู้ ไปกับการเรียนรู้ตามประเด็นการเรียนรู้ที่
ม.1/12 ที่กาหนด นักเรียนกาหนดได้
ว 2.1 2) แต่ละกลุม่ นาความรู้ที่ได้จากการศึกษา 2. ประธานกลุ่มดาเนินการร่วมกับ - ได้ ภาพวาด -ประเมินจาก
ม.2/2
-นักเรียนมี ค้นคว้ามารวบรวมจัดกระทา วิเคราะห์ สมาชิกรวบรวมข้อมูลทีไ่ ด้แล้วร่วมกัน นวัตกรรม ภาพวาด
ว 2.1
ม.3/8 ความรู้ สังเคราะห์ข้อมูลสู่การออกแบบนวัตกรรมทีม่ ี วิเคราะห์ขอ้ มูลสู่การออกแบบนวัตกรรม นวัตกรรม
ความเข้าใจ ความชัดเจนเป็นแผนปฏิบัติการ ในการ แผนปฏิบัตกิ าร
พ 4.1 ตามเนื้อหา ปฏิบัติการสร้างนวัตกรรมในขั้นตอนต่อไป
ม.2/1 สาระตาม
หลักสูตร 3) เมื่อได้ ภาพวาดนวัตกรรม แล้วนักเรียนแต่ 3.ประธานกลุม่ แต่ละกลุม่ ร่วมกับ - ได้ข้อเสนอแนะ -ประเมินจาก
(ที่ ละกลุม่ นาไปตรวจสอบและประเมินความ สมาชิก ของกลุ่ม นาแผนปฏิบัติการไป จากผู้เชี่ยวชาญ การสรุป
เกี่ยวข้อง) เป็นไปได้ความเหมาะสมและความเป็น ตรวจสอบและประเมินความเป็นไปได้ ข้อเสนอแนะที่
- ประเมิน - ฝึกทักษะ ประโยชน์ จากผู้เชี่ยวชาญ ที่มีความรู้ความ ความเหมาะสมและความเป็นประโยชน์ ได้จาก
จากการนา การจัด เข้าใจและมีประสบการณ์ที่เกีย่ วข้องกับ ต่อผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อย 3-5 คน ผู้เชี่ยวชาญ
ข้อมูลที่ได้ กระทา นวัตกรรมนั้น ๆอย่างน้อย 3 - 5 คน
ไปใช้ในการ ข้อมูล การ
ออกแบบ วิเคราะห์ 4) นาข้อเสนอแนะข้อคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ 4.นักเรียนแต่ละกลุ่ม นาข้อมูลทีไ่ ด้รับ - ได้ ภาพวาด -ประเมินจาก
นวัตกรรม สังเคราะห์ มาวิเคราะห์ สังเคราะห์สู่การพัฒนา จากการเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญมา นวัตกรรม ที่ชัดเจน ภาพวาด
- ประเมิน - นักเรียนมี blueprint ให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น วิเคราะห์สังเคราะห์เพื่อนาไปพัฒนา นวัตกรรม ทีไ่ ด้
จากวิธีการ ทักษะการ แผนปฏิบัติการ จากการ
ในการ เรียนรูด้ ้วย ปรับปรุงแก้ไข
60
เรียนรู้ของ ตนเอง ด้วย 5) นา ภาพวาดนวัตกรรม ที่ได้สู่การลงมือ 5. ประธานห้องดาเนินการให้ประธาน -ประเมินจาก
นักเรียน กันเอง ปฏิบัติโดย ในเบื้องต้นให้ดาเนินการ จัดหา กลุ่มแต่ละกลุ่ม ดาเนินการให้สมาชิกแต่ - ได้นวัตกรรม นวัตกรรมทีไ่ ด้
-ประเมิน - ฝึกทักษะ และจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆให้พร้อม ละ กลุม่ นาแผนปฏิบัติการทีไ่ ด้ สูก้ ันลง
จากการนา การ ก่อนดาเนินการ (ในระหว่างที่ลงมือปฏิบัติถ้า มือปฏิบัติ โดยในเบื้องต้นให้ดาเนินการ
ข้อเสนอแน วิเคราะห์ พบปัญหาให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ตา่ งๆ ก่อน
ะสู่การ สังเคราะห์ เพื่อนามาใช้ในการแก้ปัญหา) ดาเนินการลงมือปฏิบตั ิ ในระหว่างที่ลง
พัฒนา มือปฏิบัติ ค้น พบปัญหา นักเรียนแต่ละ
ภาพวาด กลุ่มร่วมกันไปศึกษาค้นคว้าการเรียนรู้
นวัตกรรม เพิ่มเติม
6. หลังจากลงมือปฏิบตั ิเพื่อสร้างนวัตกรรมให้ 6. ประธานกลุ่มดาเนินการรวบร่วมกับ -ประเมินจาก
นักเรียนประเมินนวัตกรรมในประเด็นต่อไปนี้ สมาชิกในกลุ่มในการอภิปรายเพื่อ - ได้ข้อเสนอแนะ การนาเสนอ
-ประเมิน - ฝึกทักษะ ประเมินนวัตกรรมประเด็นต่อไปนี้ และคาแนะนาใน นวัตกรรม
จากฝึก การเรียนรู้ 1) สาเร็จของนวัตกรรม ตามภาพวาด 1) ความสาเร็จของ นวัตกรรมตาม การพัฒนาปรับปรุง
ทักษะการ นวัตกรรม แผนปฏิบัติการ นวัตกรรม
เรียนรู้ 2) ประเมินประสิทธิภาพของนวัตกรรม 2) ประเมินประสิทธิภาพของนวัตกรรม
-ประเมิน - นักเรียนมี 3) ในกรณีที่เป็น PBL ต้องมีการประเมินการ ตามแผนปฏิบัติการ
จากฝึก ทักษะการ นานวัตกรรมไปแก้ปญ ั หา (โดยสมาชิกในกลุ่ม 3) ประเมินการนานวัตกรรม ไป
ทักษะการ เรียนรู้ ร่วมกันประเมินและประเมินโดยครูและ แก้ปัญหา โดยมีครูและผู้เชี่ยวชาญร่วม
เรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ) ประเมิน

7. ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานในห้องเรียน 7. ประธานกลุ่มแต่ละกลุม่ ดาเนินการให้


เพื่อให้เพื่อนและครูร่วมอภิปรายและสะท้อนสู่ สมาชิกในกลุ่มส่งตัวแทนตัวแทนกลุ่ม
การปรับปรุงพัฒนา นวัตกรรมให้ดียิ่งขึ้น นาเสนอผลงานในห้องเรียนเพื่อให้เพื่อน
และครูร่วมอภิปรายและสะท้อนสูก่ าร
ปรับปรุงพัฒนา นวัตกรรมให้ดียิ่งขึ้น
61
1.ครูสังเกต - ความ -ทักษะการ ท 2.1 นักเรียนมี - ครูมอบหมายงาน ผ่านประธานห้องให้ ขั้นที่ 5 - ประธานห้องชี้แจงให้ประธานกลุม่ - รู้จักตนเองจุดเด่น 1.สังเกตจากผล
การประเมิน ซือ่ สัตย์ คิด ม.2/7 ทักษะใน นักเรียนแต่ละกลุ่มประเมินตนเองภายใต้ ประเมินผล ดาเนินการประเมินตนเองในประเด็น จุดที่ควรพัฒนาของ การประเมิน
ตนเองและ -ทักษะการ ท 2.1 การ กรอบการประเมินตนเองเช่น (Evaluate) 1) ความคิดสร้างสรรค์ ตนเอง ตนเองและ
ประเมิน สื่อสาร ม.3/7 ประเมิน 1) ความคิดสร้างสรรค์ 2) ASK ให้นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันคิด ประเมินเพื่อน
เพื่อนของ ตนเอง 2) ASK ให้นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันคิด ประเด็นในการประเมินของกลุม่ โดยใช้เครื่องมือ
นักเรียน ประเด็นในการประเมินของกลุม่ 3) การทางานโดยใช้เครื่องมือ spider gram
3) การทางานโดยใช้เครื่องมือ Spider gram Spider Gram

ครูประเมิน -ใฝ่เรียนรู้ -ทักษะการ ง 1.1 - ฝึก 1. ให้นักเรียนแต่ละกลุม่ นาเสนอสิ่งประดิษฐ์ ขั้นที่ 6 1. ประธานห้องให้แต่ละกลุ่มออกมา - แนวทางในการ 1.ประเมินจาก
จากการ -มุ่งมั่นใน คิด ม.2/1 นักเรียนให้ นวัตกรรมด้วยสื่อที่หลากหลายในเวทีระดับ แลกเปลีย่ น นาเสนอสิ่งประดิษฐ์/นวัตกรรม โดยใช้ เรียนรูต้ ่อยอด การวางแผนการ
ออกแบบ การทางาน -ทักษะ ออกแบบ โรงเรียน เปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรียนรู้ สื่อที่หลากหลายในเวทีระดับโรงเรียน นวัตกรรม เรียนรู้ของกลุม่
วางแผนการ ชีวิต ส 2.1 วาง ร่วมกัน รวมทั้งการพัฒนาต่อยอด หรือวาง (Show and เปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
เรียนรู้ของ ม.1/4 แผนการ แผนการเรียนรู้เพื่อนานวัตกรรมเสนอในเวที Share) ร่วมกัน รวมทั้งการพัฒนาต่อยอด หรือ
นักเรียน เรียนรู้ของ ระดับเครือข่ายต่อไป วางแผนการเรียนรูเ้ พื่อนานวัตกรรม
ตนเอง เสนอในเวทีระดับเครือข่ายต่อไป
62

ขั้นตอนที่ 1 จุดประกายการเรียนรู้ (Learn)


- ประเมินสมรรถนะการคิดสร้างสรรค์ ก่อนเรียน
- สร้างแรงบันดาลใจ จุดประกายการเรียนรู้ แต่ละกลุ่มได้ข้อมูลสิ่งที่สนใจ
63

ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์ เชื่อมโยง (Analysis Thinking)


- จัดกลุ่มข้อมูล วิเคราะห์ และเชื่อมโยงโดยใช้เครื่องมือ Force Connection
64

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นออกแบบสร้างสรรค์ (Design Thinking)


- วางแผนโดยใช้เครื่องมือ FILA
65

ขั้นตอนที่ 4 ขั้นนาไปสู่การปฏิบัติ (Implement)


- ออกแบบแบบร่างนวัตกรรม นาเสนอ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
66

ขั้นตอนที่ 5 ขั้นประเมินผล (Evaluate)


- ใช้เครื่องมือ Spider Tool
67

ขั้นตอนที่ 6 ขั้นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Show and Share)


- นาเสนอนวัตกรรมระดับเครือข่าย
68

You might also like