You are on page 1of 51

หลักสูตรของโรงเรียนสตรีวิทยา

เสนอเพื่อพิจารณาหลักสูตรการอบรมพัฒนาครูเพื่อสามารถนับชั่วโมงการพัฒนามาประกอบ
การขอมีและเลื่อนวิทยฐานะของข้าราชการครู สายงานสอน

A : ประเภทของหลักสูตร ◻ A1 หลักสูตรปกติ ! A2 หลักสูตรออนไลน์


B : ค่าลงทะเบียนการอบรม ◻ B1 มีค่าลงทะเบียน ! B2 ไม่มีค่าลงทะเบียน
1. ชื่อหลักสูตรเพื่อการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน
1.1 ชื่อภาษาไทย
การสื่อสารภาษาอังกฤษในระดับสากลเพื่อการเตรียมความพร้อมสู่สังคมโลก ยุคศตวรรษที่ 21
1.2 ชื่อภาษาอังกฤษ
Online Course: International Communications Skills for 21st Century Global Society
2. หลักการการออกแบบหลักสูตร
กรอบแนวคิดหลักของการออกแบบหลักสูตรเพื่อการพัฒนาครู จะเน้นที่การสร้างการเปลี่ยนแปลง
ที่ครูเพื่อส่งผลกระทบไปยังคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสําคัญอย่างน้อย 1 ประเด็น ดังนี้

! หลักสูตรที่ออกแบบเพื่อการพัฒนาครู จะต้องเป็นการพัฒนาครูที่หลอมรวมการบูรณาการ
ระหว่ า งเนื ้ อ หาสาระวิ ช า (Content Knowledge) หลั ก วิ ช าชี พ ครู (Pedagogical
Knowledge) และเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ากับการจัดการเรียนการสอนตามเนื้อหาสาระ
เฉพาะทาง (Technological Content Knowledge : TPCK)

หลั ก สู ต ร “การสื ่ อ สารภาษาอั ง กฤษในระดั บ สากลเพื ่ อ การเตรี ย มพร้ อ มสู ่ ส ั ง คมโลก


ยุคศตวรรษที่ 21” เป็นหลักสูตรที่ออกแบบและพัฒนาขึ้นเพื่อการเพิ่มศักยภาพให้กับบุคลากรครูผู้สอนในสาระ
วิชาภาษาอังกฤษ ให้เป็นผู้มีทักษะและเชี่ยวชาญในการสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงานทั้งภายใน
และภายนอกองค์กร รวมถึงสามารถเป็นผู้ถ่ายทอดและฝึกฝนทักษะดังกล่าวให้กับนักเรียนได้อย่างเป็นระบบ
เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมสําหรับนักเรียนที่จะศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น และเป็นสมาชิกองค์กรต่าง ๆ
ในอนาคต
ในปัจจุบัน เราอยู่ในยุคศตวรรษที่ 21 ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นยุคที่โลกไร้พรมแดน กําแพงการ
สื่อสารของประชากรโลกเป็นสิ่งที่แทบจะไม่มีหลงเหลืออยู่ เพราะการมีอยู่ของสิ่งที่เรียกว่า “ภาษาสากล” โดย
ภาษาอังกฤษนั้นเป็นหนึ่งในภาษาสากลที่มีผู้ใช้มากที่สุดในโลก การเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อให้นักเรียน
สามารถฟัง พูด อ่าน เขียน และสื่อสารภาษาอังกฤษได้ จึงเป็นคุณประโยชน์อันมากมายแก่เยาวชนซึ่งกําลัง
เจริญเติบโตขึ้นมาเป็นกลไกสําคัญในการขับเคลื่อนประเทศไม่ใช่แค่เพียงในบริบทของความเจริญก้าวหน้าของ
ประเทศ แต่รวมถึงบทบาทของประเทศไทยในเวทีโลกอีกด้วย ดังนั้นภาษาอังกฤษจึงเป็นเสมือนเครื่องมือหรือ
อาวุธชิ้นสําคัญที่ไม่เพียงทําให้ครูผู้สอนและนักเรียนมีความรอบรู้ แต่ยังทําให้เราเป็นพลเมืองโลก (Global
citizen) ได้อย่างเต็มภาคภูมิอีกด้วย
คําว่า “การสื่อสาร” เมื่ออ้างอิงจากพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน จะสามารถแปล
ความหมายได้ว่าเป็น “วิธีการนําถ้อยคํา ข้อความ หรือหนังสือ เป็นต้น จากบุคคลหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งไปยัง
อีกบุคคลหนึ่งหรืออีกสถานที่หนึ่ง” จะสังเกตได้ว่าในชีวิตของมนุษย์ การสื่อสารเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ ไม่ว่าเราจะ
อยู่ในฐานะหรืออาชีพใดก็ตาม ไม่ว่าการประกอบอาชีพนั้นๆ จะจําเป็นต้องใช้ทักษะทางวิชาชีพ (Hard Skill)
เช่น แพทย์ต้องใช้ความรู้แพทยศาสตร์และจําเป็นต้องมีใบอนุญาตประกอบอาชีพที่ยืนยันคุณวุฒิ หรือครู ที่
จําเป็นต้องมีความรู้ด้านครุศาสตร์และได้ใบประกอบวิชาชีพครู แต่ในทุกๆ สาขาอาชีพ การมีทักษะทางวิชาชีพ
เพียงอย่างเดียวนั้นอาจไม่เพียงพอที่จะเป็นส่วนสําคัญในการขับเคลื่อนองค์กรและสังคม สิ่งที่มนุษย์ทุกคนพึงมี
ไม่ว่าจะอยู่ในกลุ่มวิชาชีพใดคือ “ทักษะด้านสังคม” (Soft Skill) เช่น การใช้ภาษา การติดต่อสื่อสาร การ
แสดงออกทางสังคม เป็นต้น โดยจะเป็นเครื่องมือที่ทําให้เรามีทักษะในการเผชิญหน้าและรับมือกับสถานการณ์
ต่างๆ ระหว่างบุคคลได้เป็นอย่างดี สอดคล้องกับทักษะจําเป็นในการดําเนินชีวิตในศตวรรษที่ 21 (21st
Century Skills) ที่ได้ระบุไว้ชัดเจนว่า การสื่อสาร (Communication) เป็นคุณสมบัติเด่นที่พลเมืองโลกที่มี
คุณภาพจําเป็นจะต้องมี โดยเป็นหนึ่งใน 4 ทักษะสําคัญในปัจจุบันหรือ 4C ประกอบด้วย Communication,
Collaboration, Critical thinking และ Creativity

โดยทักษะที่หลักสูตรนําเสนอสามารถเรียกได้อีกชื่อว่า “การสื่อสารเชิงธุรกิจ – Business


Communications” ซึ่งมีความหมายครอบคลุมไม่ใช่แค่เพียงการติดต่อสื่อสารในบริษัทเอกชนหรือธุรกิจ
ส่วนตัว แต่ยังสามารถใช้ในบริบทของหน่วยงานราชการหรือองค์กรทุกๆ องค์กรได้อีกด้วย โดยการเรียนรู้แบบ
แผนในการติดต่อสื่อสารทั้งในระดับบุคคล ภายในองค์กร และระหว่างองค์กร นอกจากจะทําให้การดําเนินงาน
ขององค์กรมีประสิทธิภาพขึ้นแล้ว ยังเป็นสิ่งที่ช่วยให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความเป็นสากลด้วยทักษะการสื่อสาร
ที่ใช้ภาษาอังกฤษ รวมถึงเรียนรู้วัฒนธรรมเฉพาะกลุ่มที่มีความแตกต่างออกไปในบริบทของการพบปะ สื่อสาร
เพื่อการมีความตระหนักรู้ในด้านความแตกต่างทางวัฒนธรรม (Cultural Sensitivity) ทั้งหมดนี้เป็นเครื่องมือ
สําคัญที่หน่วยพัฒนาฯ ได้จัดทําหลักสูตรนี้ขึ้นเพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานในและระหว่างองค์กรของ
ครูผู้สอนเอง และการเตรียมความพร้อมนักเรียนผู้ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรและสังคมโลกต่อไป
ในการออกแบบการเรียนรู้สําหรับหลักสูตรนี้ ผู้จัดทําไม่ได้เห็นถึงความสําคัญเพียงแค่เนื้อหา
ที่ต้องการจะนําเสนอ แต่ยังคํานึงถึงวิธีการนําเสนอเพื่อที่จะทําให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงวิธีการสื่อสารที่เหมาะสมใน
สถานการณ์ต่างๆ โดยจะเห็นได้จากการกล่าวนําข้างต้นว่าในยุคศตวรรษที่ 21 นี้ ประชาคมโลกมีการสื่อสาร
กันอย่างไร้ขีดจํากัดผ่านเทคโนโลยีการสื่อสาร โดยเฉพาะในเรื่องการใช้ภาษาในการสื่อสารในชีวิตประจําวัน
ด้วยเหตุนี้ เทคโนโลยีจึงเป็นสิ่งที่ผู้ออกแบบต้องการจะนํามาใช้ช่วยในการจัดเรียนรู้ตามแนวคิด TPCK
(Technological Pedagogical Content Knowledge) โดยใช้วิธีการสอนแบบ Communicative Teaching
Approach โดยเน้นในเรื่องการปฏิบัติจริงผ่านกิจกรรม การสนทนาโต้ตอบ และให้ feedback เพื่อการพัฒนา
ทักษะต่อไป

3. ระดับช่วงชั้นในการพัฒนา
! มัธยมศึกษาตอนต้น ! มัธยมศึกษาตอนปลาย
4. คําสําคัญสะท้อนกิจกรรมการพัฒนา
4.1 สาระเนื้อหา (Content) (เลือก 1 สาระเนื้อหา)
◻ วิทยาศาสตร์ ◻ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
◻ คณิตศาสตร์ ◻ ปฐมวัย
◻ ภาษาไทย ◻ การศึกษาพิเศษ
! ภาษาอังกฤษ ◻ บูรณาการสาระ
◻ ภาษามลายู ◻ ทักษะอาชีพ 9 ประเภท สาขาวิชา ดังนี้
◻ ภาษาฝรั่งเศส ◻ อุตสาหกรรม
◻ ภาษาเกาหลี ◻ บริหารธุรกิจ
◻ ภาษาญี่ปุ่น ◻ ศิลปกรรม
◻ ภาษาจีน ◻ คหกรรม
◻ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ◻ เกษตรกรรม
◻ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ◻ ประมง
◻ สุขศึกษาและพลศึกษา ◻ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
◻ ศิลปะศึกษา ◻ อุตสาหกรรมสิ่งทอ
◻ ดนตรี-นาฎศิลป์ ◻ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
4.2 สาระที่เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องการจัดการเรียนรู้ (Pedagogy) (เลือกได้มากกว่า 1 สาระ)
! การสอนในศตวรรษที่ 21 ◻ การพัฒนาหลักสูตร
! การแก้ปัญหาผู้เรียน ◻ สะเต็มศึกษา (STEM Education)
◻ จิตวิทยาการแนะแนว/ ◻ การใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้
จิตวิทยาการจัดการเรียนรู้
! การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ! การออกแบบการเรียนรู้
◻ การจัดการชั้นเรียน ◻ อื่น ๆ ที่เป็นศาสตร์ทางการศึกษา
! การวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

5. ความลุ่มลึกของหลักสูตร (เลือก 1 ระดับ พร้อมระบุจํานวนชั่วโมง)

! ระดับพื้นฐาน จํานวนชั่วโมงการอบรม 20 ชั่วโมง


◻ ระดับกลาง จํานวนชั่วโมงการอบรม .......... ชั่วโมง
◻ ระดับสูง จํานวนชั่วโมงการอบรม .......... ชั่วโมง

6.พื้นฐานและเงื่อนไขของครูที่จะเข้ารับการอบรม
คุณสมบัติ/ เงื่อนไข /ประสบการณ์ของครูผู้เข้ารับการพัฒนา ประกอบด้วย
ประเด็น คุณสมบัติ/ เงื่อนไข / เกณฑ์การ วิธีการคัดเลือก
การ ประสบการณ์ของครูผู้เข้ารับการ คัดเลือก ผู้รับผิดชอบ ครูผู้เข้ารับการพัฒนา
คัดเลือก พัฒนา หลักสูตรประเมิน ประเมินตนอง
ด้านความรู้ เป็นครูผู้สอนที่สนใจพัฒนาตนเอง
ครูผู้เข้ารับการ
ทุกกลุ่มสาระการสอน √ √
พัฒนา
ด้านทักษะ ● มีทักษะการสอน
ตรวจสอบ
ภาษาอังกฤษโดยเฉพาะ √ √
รายละเอียด
ทักษะการพูด (Speaking) หลักสูตร
● ผู้ที่อยากพัฒนาภาษาอังกฤษ พร้อมทั้ง
● สามารถใช้อุปกรณ์ คุณสมบัติและ
คอมพิวเตอร์และมีการ เงื่อนไขการ
เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตสําหรับ เข้ารับการ
การอบรมออนไลน์ พัฒนา เพื่อ
ประเมิน
ด้านเจตคติ มีเจตคติที่ดีต่อการสื่อสาร √ √
ตนเองก่อน
ภาษาอังกฤษ รวมถึงมีความสนใจ
เข้ารับการ
ในการพัฒนาตนเองและนักเรียน
อบรม
ในด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษ
7. หลักการและที่มาของหลักสูตร
การศึกษาภาษาอังกฤษของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นับว่ามีการพัฒนาขึ้นอย่าง
เห็ น ได้ ช ั ด แต่ ใ นขณะที ่ ก ารวั ด ค่ า ดั ช นี ท ั ก ษะภาษาอั ง กฤษ (EF English Proficiency Index) ในปี 2561
ประเทศไทยได้คะแนนทั้งหมด 48.54 คะแนน ซึ่งอยู่ในอันดับที่ 64 จาก 88 ประเทศที่มีการวัดระดับทั่วโลก
และอยู่ในอันดับที่ 16 จาก 21 ประเทศในทวีปเอเชีย ซึ่งประเมินได้ว่ายังอยู่ในระดับที่ตํ่า (Low) (ข้อมูลจาก
https://www.ef.co.th/epi/regions/asia/thailand/) แม้จะมีการพัฒนาขึ้นกว่าในช่วงปีที่ผ่านมาในเชิงของ
อันดับ แต่การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของคนไทยอาจยังไม่ตรงจุดประสงค์ของการใช้ภาษาที่แท้จริง
ประเด็นหรือสาระที่การศึกษาไทยอาจมองข้ามไปในเรื่องของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษคือการเสริมสร้าง
ทักษะและความกล้าที่จะทําให้ผู้เรียนนําภาษาอังกฤษไปใช้สื่อสารในชีวิตจริง เผชิญกับสถานการณ์ที่ต้องพูด
ภาษาอังกฤษด้วยความมั่นใจ รวมถึงการนําทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษไปใช้ในการศึกษาต่อหรือเป็นส่วน
หนึ่งขององค์กรในอนาคต โดยนักเรียนช่วงชั้นมัธยมเป็นวัยที่ควรได้รับการเสริมสร้างทักษะในส่วนนี้ ด้วยกับวัย
ที่กําลังจะโตเป็นผู้ใหญ่และควรมีวุฒิภาวะในการสื่อสารและเข้าสังคมไม่เพียงในหมู่คนไทยด้วยกันเท่านั้น แต่
ควรมีทักษะในการสื่อสารกับชาวต่างชาติด้วย
การปฏิบัติงานในองค์กร ความจริงที่เราไม่อาจมองข้ามได้คือการที่องค์กรโดยเฉพาะสถานศึกษาควร
เป็นองค์กรที่มีบุคลากรผู้สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวันได้อย่างดี เพื่อการติดต่อกับชาวต่างชาติ
ต้อนรับผู้เยี่ยมชม และยกระดับสถานศึกษาให้เป็นสากลมากยิ่งขึ้น โดยนอกจากครูจะมีความรู้ในวิชาชีพแล้ว
การสื ่ อ สารภาษาอั ง กฤษได้ อ ย่ า งดี จ ะมี ข ้ อ ได้ เ ปรี ย บเป็ น อย่ า งมาก การพั ฒ นาทั ก ษะด้ า นการสื ่ อ สาร
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน จึงเป็นส่วนสําคัญในการพัฒนาตัวครู เพื่อให้ครูเป็นผู้ขับเคลื่อนสถานศึกษาให้
ก้ า วหน้ า ตลอดจนเสริ ม สร้ า งนั ก เรี ย นที ่ ม ี ท ั ก ษะนี ้ ไ ด้ ต ่ อ ไป ในระบบการเรี ย นการสอนปั จ จุ บ ั น การให้
ความสําคัญกับการเรียนเพื่อนําความรู้ไปสอบกลายเป็นสิ่งที่ผู้เกี่ยวข้องทุกส่วนยกขึ้นมาเป็นเป้าหมายอันดับ
แรก ทําให้เกิดแรงกดดันที่ทําให้ผู้เรียนต้องให้ความสําคัญกับการอ่านและเขียนที่จําเป็นต้องใช้ในการ
สอบแข่งขัน จนอาจละเลยทักษะฟัง-พูด ซึ่งเป็นการสื่อสารที่สําคัญไม่แพ้กันและยังสามารถนําไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตจริงได้
หลักสูตรการสื่อสารภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวันเพื่อการพัฒนาองค์กรและเตรียมพร้อมในสังคมโลก
ยุคศตวรรษที่ 21 นี้ มุ่งพัฒนาให้ครูมีความรู้และทักษะที่ครอบคลุมเรื่องการสื่อสารภาษาอังกฤษในชีวิตประวัน
ทั้งในส่วนของการพบปะ การต้อนรับผู้มาเยือน การสื่อสารต่อหน้า การสือ่ สารทางโทรศัพท์ การนัดหมาย และ
การจัดการประชุม โดยสามารถสื่อสารได้อย่างมั่นใจ มีไหวพริบ และรู้วิธีในการรับมือกับสถานการณ์หรือปัญหา
การสื่อสารที่อาจเกิดขึ้นจริง และสามารถนําทักษะเหล่านี้ไปพัฒนาการสื่อสารทั้งในและนอกองค์กรได้ รวมถึง
การนําทักษะไปประยุกต์และออกแบบกิจกรรมการสอนเพื่อสร้างเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวันเพื่อเป็นทักษะติดตัวสําหรับการใช้ชีวิตในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างดี
เทคโนโลยี ม ี บ ทบาทสํ า คั ญ อย่ า งยิ ่ ง ในการเรี ย นรู ้ ใ นยุ ค โลกดิ จ ิ ท ั ล (Connectivism) เนื ่ อ งจาก
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีส่งผลให้เกิดการเรียนรู้รูปแบบใหม่ ตลอดจนถึงรูปแบบวิธีการทํางาน และการเข้า
สังคม เช่น การใช้แอปพลิเคชั่น Line เพื่อติดตามงาน สอบถามข้อมูล การใช้ Skype ในการประชุมทางไกล
ตลอดจนการใช้ระบบ Google Suite ในการจัดการเอกสารออนไลน์ต่างๆ ร่วมกัน เช่น Google Docs สําหรับ
แก้ไขเอกสาร Google Sheets สําหรับทําตารางข้อมูล และ Google Forms สําหรับการสร้างคําแบบสํารวจ
แบบประเมิน หรือข้อสอบออนไลน์ ครูจึงจําเป็นที่จะต้องเรียนรู้กลยุทธ์และวิธีการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย
เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพบริบทของสังคมและการทํางานที่เปลี่ยนไปในยุคศตวรรษที่ 21 เพื่อให้ผู้เรียนเติบโต
ในโลกยุคดิจิตอลได้อย่างมีคุณภาพ ดังนั้นหลักสูตรนี้จึงสอดแทรกเทคนิคการสอนแบบ Communicative
Teaching Approach โดยให้ผู้เรียนเน้นการฟัง และอ่านจากเอกสารจริง ฝึกการสร้างประโยค มีกิจกรรมเช่น
Information Gab ในการฝึกฝน เพื่อให้สามารถนําองค์ความรู้ไปใช้ได้จริงในชีวิตประจําวัน ตลอดจนการนํา
ภาษาอังกฤษไปใช้ในการนําเสนองาน การนัดประชุม การจัดประชุมแบบปกติ และการประชุมทางไกล ซึ่ง
ผู้เรียนจําเป็นต้องเรียนรู้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับทํางานในโลกยุคใหม่ และสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการ
ทํางาน เพื่อให้เขาสามารถใช้ภาษาอังกฤษควบคู่กับเทคโนโลยีในในอนาคตได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
8. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
8.1 ด้านความรู้ (Knowledge)
1. มีความรู้ ความเข้าใจในแบบแผนการสื่อสารภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวันที่เหมาะสม ในเรื่อง การ
ต้อนรับและสนทนาระหว่างบุคคล, การนัดหมายและจัดการตารางเวลา, การสนทนาทางโทรศัพท์,
การจัดการประชุม และมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูล องค์ความรู้ ด้านการจัดการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสาร การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงกับบริบทของผู้เรียน
เนื้อหา หลักสูตร หลักการ แนวคิดการจัดการเรียนรู้ด้านทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ ที่ส่งผลต่อ
คุณภาพผู้เรียน ตามกรอบเป้าหมายและตัวชี้วัดของหลักสูตรที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
8.2 ด้านทักษะปฏิบัติ (Skill)
1. พัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวันผ่านการฝึกฝน ในเรื่องการต้อนรับและ
สนทนาระหว่ า งบุ ค คล, การนั ด หมายและจั ด การตารางเวลา, การสนทนาทางโทรศั พ ท์ ,
การจัดการประชุม, สามารถออกแบบกิจกรรมการสอนเพื่อถ่ายทอดความรู้และทักษะการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวันให้แก่นักเรียนให้มีความครอบคลุมทุกทักษะย่อยและร่วมกัน
วิ เ คราะห์ แลกเปลี ่ ย นความคิ ด เห็ น สนทนาสะท้ อ นผลหลั ง การนํ า กิ จ กรรมที ่ เ รี ย น
ในหลักสูตรไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน ผ่านกระบวนการชุมชน
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
8.3 ด้านคุณลักษณะความเป็นครู (Attribute)
1. มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ ทุ่มเทเพื่อการเรียนรู้ ในการแก้ปัญหาการเรียนรู้ของศิษย์อย่างเต็มใจและเต็ม
กําลังสามารถใช้วิชาชีพครูเพื่อการพัฒนาศิษย์ด้วยความมุ่งมั่นและสร้างสรรค์
2. ใฝ่หาความรู้ คอยสํารวจ ปรับปรุงแก้ไขตนอยู่เสมอ และใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการทํากิจกรรม
เพื่อพัฒนาผู้เรียน
3. เพื่อที่จะสามารถแบ่งปันความรู้ และประสบการณ์จากการเรียนรู้ไปสู่เพื่อนร่วมงานและนักเรียนได้
9. ตัวชี้วัดความสําเร็จของครู
! ครูที่เข้ารับการพัฒนาในแต่ละหลักสูตรต้องมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมตามหลักสูตรนั้น ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 80 ของเวลาตามหลักสูตร (จําเป็น)
! ครูที่เข้ารับการพัฒนาในหลักสูตรต้องมีการนําทักษะที่ได้จากการอบรมไปออกแบบกิจกรรมการ
สอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
10. สังเขปหัวข้อเนื้อหาสาระในหลักสูตรต้องระบุหัวข้อเนื้อหาสาระให้ได้อย่างน้อย 3 กลุ่มหลัก
ประกอบด้วย
10.1 กลุ่มเนื้อหาที่เป็นสาระวิชาด้าน (Content)
10.1.1 เนื้อหาสาระวิชาพื้นฐานภาษาอังกฤษ
10.2 กลุ่มเนื้อหาสาระที่เป็นศาสตร์ทางวิชาชีพครู (Pedagogy)
10.2.1 การจัดการชั้นเรียน
10.2.2 การสอนในศตวรรษที่ 21
10.2.3 การออกแบบการเรียนรู้
10.2.4 การแก้ปัญหาของผู้เรียน
10.3 กลุ่มบูรณาการเนื้อหาสาระกับศาสตร์วิชาชีพครู และ/หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศ
(Pedagogical Content Knowledge : PCK and/or Technological Pedagogical Content
Knowledge : TPCK)
10.3.1 รูปแบบการสอนแบบ Communicative Approach
11. ตารางการจัดกิจกรรม
กิจกรรมการพัฒนาที่หลากหลายที่พัฒนาความรู้สาระเฉพาะ สาระศาสตร์การสอน ความเป็นครู
ทักษะการปฏิบัติการบูรณาการการสอนกับสาระเฉพาะ การวางแผนปฏิบัติการสอนกับผู้เรียน การสร้าง
บรรยากาศ การมี ปฏิ สั มพั นธ์ ระหว่ างครู กั บวิ ทยากร การติ ดตาม การสะท้ อนคิ ด การเชื ่ อมโยงความรู้
สู่การพัฒนาครูด้วยชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ตลอดจนระบบการทํางานร่วมกันหลังพัฒนาโดย
เขียนเป็นตารางการจัดกิจกรรมที่เป็นชั่วโมงพัฒนาเท่านั้น (ไม่นับการลงทะเบียน พิธีเปิด-ปิด รับประทาน
อาหาร รวมถึงชั่วโมงการติดตาม และ PLC) (ดูจํานวนชั่วโมงให้ครบตามเกณฑ์ที่กําหนด)
ตารางการอบรม หรือการจัดสรรเวลาในการเรียนรู้ของครูผ่านระบบออนไลน์
ประเภท
วัน/เดือน/ปี เริ่มต้น-ถึง รายละเอียด วิทยากร
กิจกรรม/บรรยาย
ปฐมนิเทศหลักสูตร วิธีการเรียนรู้
และแนะนําทักษะครอบคลุมใน
เรื่อง
- การจัดการชั้นเรียน
- การสอนในศตวรรษที่ 21 นางสาวพรพิมล ศุขะวาที
08.00-09.00 น. บรรยาย/เรียนรู้ด้วย
- การออกแบบการเรียนรู้ รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
( 1 ชั่วโมง ) ตนเอง
- การแก้ปัญหาของผู้เรียน
- การบูรณาการการสอนโดย
ใช้เทคโนโลยี(TPCK) โดย
วิธีCommunicative
Approach
ทดสอบก่อนเรียน นางสาวพรพิมล ศุขะวาที
20 ธันวาคม 2564 09.00-09.30 น.
กิจกรรมวิชาการ รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
(30 นาที)
นาง ทัศนีย์ จันติยะ
09.45-10.45 น. บรรยาย/ สร้างความประทับใจแรกพบ:
รศ.สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง การแนะนําตัว
10.45-11.45 น. บรรยาย/ การต้อนรับผู้มาเยือน: จุดต้อนรับ นางสาวพรพิมล ศุขะวาที
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง
13.00-14.00 น. บรรยาย/ การต้อนรับผู้มาเยือน: การ นางสาวพรพิมล ศุขะวาที
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง สนทนาระหว่างเยี่ยมชม
14.20-15.20 น. บรรยาย/ การต้อนรับผู้มาเยือน: การ นางสาวพรพิมล ศุขะวาที
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง สอบถามความพึงพอใจ
15.20-16.20 น. บรรยาย/ การต้อนรับผู้มาเยือน: การกล่าว นางสาวพรพิมล ศุขะวาที
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง ลา
09.00-10.00 น. บรรยาย/ การทํานัดและกําหนด รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง ตารางเวลา: การนัดหมาย
10.00-11.00 น. บรรยาย/ การทํานัดและกําหนด รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง ตารางเวลา: การเลื่อนนัด
ประเภท
วัน/เดือน/ปี เริ่มต้น-ถึง รายละเอียด วิทยากร
กิจกรรม/บรรยาย
21 ธันวาคม การทํานัดและกําหนด รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
11.15-12.15 น. บรรยาย/
2564 ตารางเวลา: การให้ความ
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง
ช่วยเหลือ
13.00-14.00 น. บรรยาย/ การสนทนาทางโทรศัพท์: รับสาย รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง
14.00-15.00 น. บรรยาย/ การสนทนาทางโทรศัพท์: โทร รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง ออก
15.20-16.20 น. บรรยาย/ การสนทนาทางโทรศัพท์: การ รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง ฝากข้อความ
08.30-09.30 น. บรรยาย/ การสนทนาทางโทรศัพท์: การ นางทัศนีย์ จันติยะ
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง โทรติดตามผล
09.30-10.30 น. บรรยาย/ การสนทนาทางโทรศัพท์: การ นางทัศนีย์ จันติยะ
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง โทรนัดหมาย
10.50-11.50 น. บรรยาย/ การสนทนาทางโทรศัพท์: การ นางทัศนีย์ จันติยะ
23 ธันวาคม (1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง โทรเพื่อเลื่อนนัด
2564 13.00-14.00 น. บรรยาย/ การสนทนาทางโทรศัพท์: การ นางทัศนีย์ จันติยะ
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง โทรจอง
14.00-15.00 น. บรรยาย/ การจัดประชุม: ประชุมแบบปกติ รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง
15.00-16.00 น. บรรยาย/ การจัดประชุม: ประชุมทางไกล รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง (1)
09.00-10.00 น. บรรยาย/ การจัดประชุม: ประชุมทางไกล รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
(1 ชั่วโมง) เรียนรู้ด้วยตนเอง (2)
การทดสอบ ทดสอบหลังเรียน นางสาวพรพิมล ศุขะวาที
10.00-10.30
24 ธันวาคม รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
(30 นาที)
2564 นางทัศนีย์ จันติยะ
ตามเวลานัด การทดสอบ ทดสอบแบบเผชิญหน้า โดยแสดง คณะวิทยากรออกข้อสอบ
หมาย หลักฐานยืนยันตัวตนต่อผู้คุมสอบ
(1 ชั่วโมง)
12. แผนการจัดกิจกรรม
แผนที.่ ...1….. สาระ/หัวเรื่องการพัฒนา.....เรื่อง ปฐมนิเทศหลักสูตรและวิธีการเรียนรู.้ ....จํานวน....1….ชั่วโมง
วัตถุประสงค์
(1) เพื่อให้ข้อมูลเป้าหมายการเรียนรู้ที่จะเกิดขึ้นหลังเสร็จสิ้นการอบรม
(2) เพื่ออธิบายระบบการเรียนรู้ออนไลน์และสิ่งที่คาดหวังจากครูที่ลงทะเบียนเข้ารับการอบรม
(3) เพื่ออธิบายเงื่อนไขการผ่านการอบรมตามหลักสูตรนี้
พฤติกรรมการเรียนรู้ของครูที่จะเกิดขึ้น
(1) การเรียนรู้แบบออนไลน์เป็นการเรียนรู้ที่ต้องอาศัยความมุ่งมั่นตั้งใจและสละเวลาอย่างจริงจัง
ในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
(2) ภารกิจที่ครูจะต้องมีส่วนร่วมและนําสิ่งที่ได้เรียน ไปสู่การปฏิบัติรวมถึงจะต้องนําเสนอผลการปฏิบัติ
นั้นผ่านระบบออนไลน์กลับมา อย่างน้อย 3 กิจกรรม การผ่านการอบรมตามหลักสูตรนี้ครูจะต้องส่ง
งานอย่างน้อย 2 ใน 3 กิจกรรม และจะต้องเข้าร่วมเรียนรู้ในระบบออนไลน์อย่างน้อย ร้อยละ 80
ของเวลาทั้งหมด หรือเท่ากับ จํานวน 14 ชั่วโมง
สาระ/หัวข้อการ การวัดและ
กิจกรรม สื่อ วิทยากร
พัฒนา ประเมินผล
ปฐมนิเทศหลักสูตร วิธีการเรียนรู้
และแนะนําทักษะครอบคลุมใน
เรื่อง การ
- การจัดการชั้นเรียน ตรวจสอบ
นางสาวพรพิมล ศุขะวาที
ปฐมนิเทศหลักสูตร - การสอนในศตวรรษที่ 21 การเข้าชม
วีดิทัศน์ รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
และวิธีการเรียนรู้ - การออกแบบการเรียนรู้ ผ่านระบบ
- การแก้ปัญหาของผู้เรียน การเรียน
การบูรณาการการสอนโดยใช้ ออนไลน์
เทคโนโลยี(TPCK) โดย
วิธีCommunicative Approach
แผนที.่ ...2….สาระ/หัวเรื่องการพัฒนา.....เรื่อง ทดสอบก่อนเรียน....จํานวน.....30.....นาที
วัตถุประสงค์
(1) เพื่อวัดความรู้พื้นฐานเรื่องทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน
(2) เพื่อนําคะแนนเปรียบเทียบพัฒนาการเมื่อเรียนจบหลักสูตร
พฤติกรรมการเรียนรู้ของครูที่จะเกิดขึ้น
(1) ได้รับทราบถึงขีดความสามารถในด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษของตนเองก่อนการอบรม
(2) ได้เห็นโครงเนื้อหาการเรียนโดยสังเขปจากข้อสอบและมีการเตรียมความพร้อมที่จะเริ่มเรียน

สาระ/หัวข้อการ
กิจกรรม สื่อ การวัดและประเมินผล วิทยากร
พัฒนา
ทดสอบก่อนเรียน จัดกิจกรรมการ ส่งรายงานและไฟล์ ตรวจสอบการส่งรายงาน นางสาวพรพิมล ศุขะ
สอนทักษะการ วิดีโอกิจกรรม จากครูผู้เข้าร่วมอบรมใน วาที
สื่อสาร ให้กับหน่วยพัฒนา หลักสูตร โดยมีการวัดผล
รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
ภาษาอังกฤษ ฯ
- จัดการทดสอบวัดผล
นางทัศนีย์ จันติยะ
นักเรียนหลังการจัด
กิจกรรม
ประกอบการสอน
โดยมีผลคะแนน
เฉลี่ยไม่น้อยกว่า
70% จากคะแนน
เต็ม
- จัดการประเมิน
ความพึงพอใจของ
นักเรียนหลังการจัด
กิจกรรม
ประกอบการสอน
โดยมีการประเมิน
เฉลี่ยไม่น้อยกว่า
80%
แผนที.่ ...3….สาระ/หัวเรื่องการพัฒนา....เรื่อง การสร้างความประทับใจแรกพบ/การแนะนําตัว จํานวน ….1….ชั่วโมง
วัตถุประสงค์
(1) เพื่อเรียนรู้ประโยคสําคัญ (Key phrases) ที่ใช้ในการเริ่มต้นการสนทนาและแนะนําตัว
พฤติกรรมการเรียนรู้ของครูที่จะเกิดขึ้น
(1) ครูมีการจดจํา/บันทึกประโยคที่สําคัญในจากเนื้อหาและนําไปใช้ในสถานการณ์จริงอย่างเหมาะสม
(2) ครูมีการจดจํา/บันทึกประโยคที่สําคัญในจากเนื้อหาและนําไปสร้างสรรค์กิจกรรมประกอบการสอน
อย่างมีประสิทธิภาพ

สาระ/หัวข้อการพัฒนา กิจกรรม สื่อ การวัดและประเมินผล วิทยากร


ประโยคสําคัญเมื่อพบ บรรยาย/เรียนรู้ วีดิทัศน์ ตรวจสอบจากการเข้า นางสาวพรพิมล ศุขะวาที
กันครั้งแรก ด้วยตนเอง ชมวิดีโอในระบบ
▪ การแนะนําตัว
▪ การแนะนําผู้อื่นให้
รู้จักกัน
▪ ภาษากาย

แผนที.่ ...4….สาระ/หัวเรื่องการพัฒนา....เรื่อง การต้อนรับและสนทนากับผู้มาเยือน จํานวน...4…ชั่วโมง


วัตถุประสงค์
(1) เพื่อเรียนรู้ประโยคสําคัญ (Key phrases) ที่ใช้ในการต้อนรับและสนทนากับผู้มาเยือน
พฤติกรรมการเรียนรู้ของครูที่จะเกิดขึ้น
(1) ครูมีการจดจํา/บันทึกประโยคที่สําคัญในจากเนื้อหาและนําไปใช้ในสถานการณ์จริงอย่างเหมาะสม
(2) ครูมีการจดจํา/บันทึกประโยคที่สําคัญในจากเนื้อหาและนําไปสร้างสรรค์กิจกรรมประกอบการสอน
อย่างมีประสิทธิภาพ

สาระ/หัวข้อการพัฒนา กิจกรรม สื่อ การวัดและประเมินผล วิทยากร


ประโยคสําคัญเมื่อ บรรยาย/เรียนรู้ วีดิทัศน์ ตรวจสอบจากการเข้า นางสาวพรพิมล ศุขะวาที
ต้อนรับผู้มาเยี่ยมชม ด้วยตนเอง ชมวิดีโอในระบบ
▪ การต้อนรับ ณ จุด
ต้อนรับ
สาระ/หัวข้อการพัฒนา กิจกรรม สื่อ การวัดและประเมินผล วิทยากร
▪ การสนทนากับผู้
เยี่ยมชม
▪ การสอบถามความ
พึงพอใจ
▪ การกล่าวลา

แผนที.่ ..5….สาระ/หัวเรื่องการพัฒนา....เรื่อง การทํานัดและกําหนดตารางเวลา


จํานวน....3…ชั่วโมง
วัตถุประสงค์
(1) เพื่อเรียนรู้ประโยคสําคัญ (Key phrases) ที่ใช้ในการทํานัดและกําหนดตารางเวลา
พฤติกรรมการเรียนรู้ของครูที่จะเกิดขึ้น
(1) ครูมีการจดจํา/บันทึกประโยคที่สําคัญในจากเนื้อหาและนําไปใช้ในสถานการณ์จริงอย่างเหมาะสม
(2) ครูมีการจดจํา/บันทึกประโยคที่สําคัญในจากเนื้อหาและนําไปสร้างสรรค์กิจกรรมประกอบการสอน
อย่างมีประสิทธิภาพ

สาระ/หัวข้อการพัฒนา กิจกรรม สื่อ การวัดและประเมินผล วิทยากร


ประโยคสําคัญเมื่อมี บรรยาย/เรียนรู้ วีดิทัศน์ ตรวจสอบจากการเข้า รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
การทํานัดและกําหนด ด้วยตนเอง ชมวิดีโอในระบบ
ตารางเวลา

▪ การนัดหมาย

▪ การเลื่อนนัด

▪ การให้ความ
ช่วยเหลือ
แผนที.่ ..6…สาระ/หัวเรื่องการพัฒนา...เรื่อง การสนทนาทางโทรศัพท์...จํานวน...7…ชั่วโมง
วัตถุประสงค์
(1) เพื่อเรียนรู้ประโยคสําคัญ (Key phrases) ที่ใช้ในการสนทนาทางโทรศัพท์
พฤติกรรมการเรียนรู้ของครูที่จะเกิดขึ้น
(1) ครูมีการจดจํา/บันทึกประโยคที่สําคัญในจากเนื้อหาและนําไปใช้ในสถานการณ์จริงอย่างเหมาะสม
(2) ครูมีการจดจํา/บันทึกประโยคที่สําคัญในจากเนื้อหาและนําไปสร้างสรรค์กิจกรรมประกอบการสอน
อย่างมีประสิทธิภาพ

สาระ/หัวข้อการพัฒนา กิจกรรม สื่อ การวัดและประเมินผล วิทยากร


ประโยคสําคัญเมื่อมี บรรยาย/เรียนรู้ วีดิทัศน์ ตรวจสอบจากการเข้า รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
การสนทนาทาง ด้วยตนเอง ชมวิดีโอในระบบ
นางทัศนีย์ จันติยะ
โทรศัพท์

▪ การรับสาย

▪ การโทรออก

▪ การฝากข้อความ

▪ การโทรติดตามผล

▪ การนัดหมาย

▪ การเลื่อนนัด

▪ การโทรจอง
แผนที.่ ...7….สาระ/หัวเรื่องการพัฒนา...เรื่อง การจัดประชุม....จํานวน...3…ชั่วโมง
วัตถุประสงค์
(1) เพื่อเรียนรู้ประโยคสําคัญ (Key phrases) ที่ใช้ในการจัดประชุม
พฤติกรรมการเรียนรู้ของครูที่จะเกิดขึ้น
(1) ครูมีการจดจํา/บันทึกประโยคที่สําคัญในจากเนื้อหาและนําไปใช้ในสถานการณ์จริงอย่างเหมาะสม
(2) ครูมีการจดจํา/บันทึกประโยคที่สําคัญในจากเนื้อหาและนําไปสร้างสรรค์กิจกรรมประกอบการสอน
อย่างมีประสิทธิภาพ
สาระ/หัวข้อการพัฒนา กิจกรรม สื่อ การวัดและประเมินผล วิทยากร
ประโยคสําคัญเมื่อมี บรรยาย/เรียนรู้ วีดิทัศน์ ตรวจสอบจากการเข้า รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
การจัดประชุม ด้วยตนเอง ชมวิดีโอในระบบ

▪ การประชุมโดย
ปกติ

▪ การประชุม
ทางไกล

แผนที.่ ..8...สาระ/หัวเรื่องการพัฒนา...เรื่อง ทดสอบหลังเรียน...จํานวน...30…นาที


วัตถุประสงค์
(1) เพื่อวัดผลการเรียนรู้เรื่องทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ
(2) เพื่อนําคะแนนเปรียบเทียบพัฒนาการจากข้อสอบก่อนเรียนเมื่อเรียนจบหลักสูตร
พฤติกรรมการเรียนรู้ของครูที่จะเกิดขึ้น
(1) ได้รับทราบถึงขีดความสามารถในด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษของตนเองหลังการอบรมและนําไปสู่
การตกผลึกเพื่อพัฒนาศักยภาพต่อไป
สาระ/หัวข้อการ
กิจกรรม สื่อ การวัดและประเมินผล วิทยากร
พัฒนา
ทดสอบหลังเรียน จัดกิจกรรม ส่งรายงานและ ตรวจสอบการส่งรายงานจาก นางสาวพรพิมล ศุขะวาที
การสอน ไฟล์วิดีโอกิจกรรม ครูผู้เข้าร่วมอบรมในหลักสูตร
รศ. สุพงศ์ ตั้งเคียงศิริสิน
ทักษะการ ให้กับหน่วย โดยมีการวัดผล
สื่อสาร พัฒนาฯ นางทัศนีย์ จันติยะ
- จัดการทดสอบวัดผล
ภาษาอังกฤษ
นักเรียนหลังการจัด
กิจกรรมประกอบการ
สอน โดยมีผลคะแนน
เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 70%
จากคะแนนเต็ม
- จัดการประเมินความพึง
พอใจของนักเรียนหลัง
การจัดกิจกรรม
ประกอบการสอน โดยมี
การประเมินเฉลี่ยไม่น้อย
กว่า 80%

แผนที่...9...สาระ/หัวเรื่องการพัฒนา...เรื่อง การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตามผลการประยุกต์ใช้หลักสูตรฯ
ผ่านกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) จํานวน...6…ชั่วโมง
วัตถุประสงค์
(1) มี ค วามรู ้ ความเข้ า ใจเกี ่ ย วกั บ ข้ อ มู ล องค์ ค วามรู ้ ด้ า นการจั ด การเรี ย นรู ้ ภ าษาอั ง กฤษ
เพื่อการสื่อสาร การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงกับบริบทของผู้เรียน เนื้อหา หลักสูตร
หลักการ แนวคิดการจัดการเรียนรู้ด้านทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน
ตามกรอบเป้าหมายและตัวชี้วัดของหลักสูตรที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
(2) สามารถวิ เ คราะห์ แลกเปลี ่ ย นความคิ ด เห็ น สนทนาสะท้ อ นผลหลั ง การนํ า กิ จ กรรมที ่ เ รี ย น
ในหลั ก สู ต รไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ใ นชั ้ น เรี ย น ผ่ า นกระบวนการชุ ม ชน
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
(3) มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ ทุ่มเทเพื่อการเรียนรู้ ในการแก้ปัญหาการเรียนรู้ของศิษย์อย่างเต็มใจและเต็ม
กําลังสามารถใช้วิชาชีพครูเพื่อการพัฒนาศิษย์ด้วยความมุ่งมั่นและสร้างสรรค์

พฤติกรรมการเรียนรู้ของครูที่จะเกิดขึ้น
(1) รับทราบถึงขีดความสามารถด้านการสื่อสารภาษาอังกฤษของตนเอง และสามารถประยุกต์ใช้
หลักสูตรในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

สาระ/หัวข้อการ
กิจกรรม สื่อ การวัดและประเมินผล วิทยากร
พัฒนา
การอบรมเชิง กิจกรรมการ - มีเวลาเข้าร่วมการอบรม ดร.นพมาตร พวงสุวรรณ
ปฏิบัติการเพื่อ สรุปประเด็น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
นางสาวอารีรัตน์ หล้าหิบ
ติดตามผลการ เนื้อหา
ประยุกต์ใช้ สาระสําคัญใน
หลักสูตรฯ การอบรม
ผ่านกระบวนการ แบบออนไลน์
ชุมชนการเรียนรู้
ทางวิชาชีพ
(PLC)
การอบรมเชิง กิจกรรม - มีเวลาเข้าร่วมการอบรม ดร.นพมาตร พวงสุวรรณ
ปฏิบัติการเพื่อ สนทนากลุ่ม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
นางสาวอารีรัตน์ หล้าหิบ
ติดตามผลการ ถกประเด็น
ประยุกต์ใช้ การ
หลักสูตรฯ ประยุกต์ใช้
ผ่านกระบวนการ หลักสูตรฯ ใน
ชุมชนการเรียนรู้ การจัด
ทางวิชาชีพ (PLC) กิจกรรมการ
เรียนรู้
การอบรมเชิง - กิจกรรม - มีเวลาเข้าร่วมการอบรม ดร.นพมาตร พวงสุวรรณ
ปฏิบัติการเพื่อ ชุมชนการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
นางสาวอารีรัตน์ หล้าหิบ
ติดตามผลการ เรียนรู้ทาง
ประยุกต์ใช้ วิชาชีพ (PLC)
สาระ/หัวข้อการ
กิจกรรม สื่อ การวัดและประเมินผล วิทยากร
พัฒนา
หลักสูตรฯ เกี่ยวกับ
ผ่านกระบวนการ ประสบการณ์
ชุมชนการเรียนรู้ การ
ทางวิชาชีพ ประยุกต์ใช้
(PLC) หลักสูตรฯ ใน
การจัด
กิจกรรมการ
เรียนรูเ้ พื่อ
พัฒนา
ศักยภาพ
ผู้เรียน
13. กิจกรรมการติดตามหรือทํางานร่วมกับครูหลังพัฒนา
ระยะเวลา วิทยากร ตัวชี้วัดความสําเร็จ
ประเด็นการติดตาม วิธีการ/รูปแบบการติดตาม
หลังพัฒนา ผู้ติดตาม ในการติดตาม
ภายใน 1 ความพึงพอใจของ คณะวิทยากรและกรรมการหลักสูตร คณะวิทยากร ครูทุกคนตอบ
เดือนหลังการ ครูผู้เข้าร่วมอบรม ประกาศแจ้งในกลุ่ม LINE และทําการ แบบสอบถามแบบ
อบรม ต่อหลักสูตร สร้างแบบประเมินออนไลน์ผ่าน ออนไลน์
▪ เนื้อหา Google Form และส่งให้ครูทุกคน
หลักสูตร ประเมิน
▪ วิทยากร
▪ การจัดการ
หลักสูตร
▪ ระบบการเรียน
ออนไลน์
▪ ฯลฯ
ภายใน 2 ผลการจัดกิจกรรม คณะวิทยากรและกรรมการหลักสูตร คณะวิทยากร ครูทุกคนส่ง
เดือนหลังการ ประกอบการเรียน ทําการแจ้งกําหนดการส่งรายงานผล รายงานผลการจัด
อบรม การสอน การจัดกิจกรรมและติดตามให้ครูส่ง กิจกรรม
ตามกําหนด
ภายใน 3 การประยุกต์ใช้ การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตามผล คณะวิทยากร ครูทุกคนเข้าร่วม
เดือนหลังการ หลักสูตรในการจัด การประยุกต์ใช้หลักสูตรฯ การอบรมเชิง
อบรม กิจกรรมการเรียนรู้ ผ่านกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทาง ปฏิบัติการเพื่อ
เพื่อพัฒนาศักภาพ วิชาชีพ (PLC) ติดตามผลการ
ผู้เรียน ประยุกต์ใช้
หลักสูตรฯ
ผ่านกระบวนการ
ชุมชนการเรียนรู้
ทางวิชาชีพ (PLC)
14. เป้าหมายจํานวนครูที่เข้ารับการพัฒนาตามระดับหลักสูตร (เลือก 1 ระดับพร้อมระบุจํานวนครูผู้เข้ารับ
การพัฒนาสูงสูด)
! ระดับพื้นฐาน จํานวนครูผู้เข้ารับการพัฒนา ….90.... คน (จํานวนไม่เกิน 150 คนต่อกลุ่ม)
◻ ระดับกลาง จํานวนครูผู้เข้ารับการพัฒนา ............. คน (จํานวนไม่เกิน 100 คนต่อกลุ่ม)
◻ ระดับสูง จํานวนครูผู้เข้ารับการพัฒนา ............. คน (จํานวนไม่เกิน 80 คนต่อกลุ่ม)

15. สัดส่วนวิทยากรต่อครูผู้เข้ารับการพัฒนา (เลือก 1 ระดับพร้อมระบุจํานวนวิทยากร มีคุณสมบัติและ


จํานวนที่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถาบันคุรุพัฒนากําหนดและสอดคล้องกับจํานวนครูผู้เข้ารับการพัฒนา)
! ระดับพื้นฐาน จํานวนวิทยากร ......5.... คน ( 1 : 30 )
◻ ระดับกลาง จํานวนวิทยากร ............. คน ( 1 : 25 )
◻ ระดับสูง จํานวนวิทยากร ............. คน ( 1 : 20 )

16. วิทยากร
คณะวิทยากร ของแต่ละหลักสูตร/รุ่น จะต้องมีจํานวนอย่างน้อย 2 คนขึ้นไป และมีคุณสมบัติพื้นฐานตามที่
กําหนด และ/หรือมีคุณสมบัติครอบคลุม 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้านเนื้อหา (Content) ด้านศาสตร์การสอน
(Pedagogy) ด้านบูรณาการระหว่างสาระกับศาสตร์การสอน และ/หรือเทคโนโลยี (Technology)

คนที่ 1 ชื่อ ........นางสาวพรพิมล........... นามสกุล .........ศุขะวาที.............


วิทยากรตามสัดส่วนจะต้องมีคุณสมบัติพื้นฐานอย่างน้อย 1 ข้อ ดังนี้
◻ (1) สําเร็จการศึกษาอย่างน้อยระดับปริญญาโท ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบเป็นวิทยากรหรือสาขาที่
สัมพันธ์ และมีตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อยผู้ช่วยศาสตราจารย์ หรือวิทยฐานะชํานาญการ
พิเศษ หรือมีประสบการณ์และความสําเร็จในเรื่องนั้น ๆ ในระดับชาติ
! (2) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบเป็นวิทยากรหรือสาขาที่สัมพันธ์
และต้องมีประสบการณ์การสอนหรือมีหน้าที่ ที่เกี่ยวกับการให้ความรู้ หรือเคยเป็นวิทยากรมาไม่
น้อยกว่า 2 ปี
! (3) เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ เป็นที่ยอมรับและประกอบอาชีพในด้านที่เป็นวิทยากรนั้น มานาน
กว่า 10 ปี
◻ (4) ดํารงตําแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ หรือวิทยฐานะระดับเชี่ยวชาญขึ้นไป
และ/หรือวิทยากรตามสัดส่วนที่มีคุณสมบัติพื้นฐาน นั้น มีความเชี่ยวชาญ/ประสบการณ์ ดังนี้
! (1) เป็นผู้มีคุณวุฒิสําเร็จการศึกษาในสาขาวิชา หรือวิชาเอกที่เน้นเนื้อหาสาระเฉพาะด้าน หรือ
สาขาวิชาที่สัมพันธ์ ในระดับปริญญาโทขึ้นไป (ด้านเนื้อหา (Content)
◻ (2) เป็นผู้มีคุณวุฒิสําเร็จการศึกษาด้านการศึกษา หรือวิธีการสอน หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กับ
ศาสตร์วิชาชีพครู (ด้านศาสตร์การสอน (Pedagogy)
◻ (3) เป็ น ผู ้ ม ี ป ระสบการณ์ ส อนและ/หรื อ นิ เ ทศการสอนในสาระที ่ เ สนอหลั ก สู ต รในระดั บ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน มาไม่น้อยกว่า 10 ปี (ด้านการบูรณาการภาคปฏิบัติ (Integration)

คนที่ 2 ชื่อ ........รศ. สุพงศ์............... นามสกุล .........ตั้งเคียงศิริสิน............


วิทยากรตามสัดส่วนจะต้องมีคุณสมบัติอย่างน้อย 1 ข้อ ดังนี้
! (1) สําเร็จการศึกษาอย่างน้อยระดับปริญญาโท ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบเป็นวิทยากรหรือสาขาที่
สัมพันธ์ และมีตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อยผู้ช่วยศาสตราจารย์ หรือวิทยฐานะชํานาญการ
พิเศษ หรือมีประสบการณ์และความสําเร็จในเรื่องนั้น ๆ ในระดับชาติ
! (2) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบเป็นวิทยากรหรือสาขาที่สัมพันธ์
และต้องมีประสบการณ์การสอนหรือมีหน้าที่ ที่เกี่ยวกับการให้ความรู้ หรือเคยเป็นวิทยากรมาไม่
น้อยกว่า 2 ปี
! (3) เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ เป็นที่ยอมรับและประกอบอาชีพในด้านที่เป็นวิทยากรนั้น มานาน
กว่า 10 ปี
! (4) ดํารงตําแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ หรือ วิทยฐานะระดับเชี่ยวชาญขึ้นไป
และ/หรือวิทยากรตามสัดส่วนที่มีคุณสมบัติพื้นฐาน นั้น มีความเชี่ยวชาญ/ประสบการณ์ ดังนี้
! (1) เป็นผู้มีคุณวุฒิสําเร็จการศึกษาในสาขาวิชา หรือวิชาเอกที่เน้นเนื้อหาสาระเฉพาะด้าน หรือ
สาขาวิชาที่สัมพันธ์ ในระดับปริญญาโทขึ้นไป (ด้านเนื้อหา (Content))
◻ (2) เป็นผู้มีคุณวุฒิสําเร็จการศึกษาด้านการศึกษา หรือวิธีการสอน หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กับ
ศาสตร์วิชาชีพครู (ด้านศาสตร์การสอน (Pedagogy))
◻ (3) เป็ น ผู ้ ม ี ป ระสบการณ์ ส อน และ/หรื อ นิ เ ทศการสอนในสาระที ่ เ สนอหลั ก สู ต รในระดั บ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน มาไม่น้อยกว่า 10 ปี (ด้านการบูรณาการภาคปฏิบัติ (Integration)
คนที่ 3 ชื่อ .........นางทัศนีย์.............. นามสกุล .......จันติยะ..............

วิทยากรตามสัดส่วนจะต้องมีคุณสมบัติอย่างน้อย 1 ข้อ ดังนี้


! (1) สําเร็จการศึกษาอย่างน้อยระดับปริญญาโท ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบเป็นวิทยากรหรือสาขาที่
สัมพันธ์ และมีตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อยผู้ช่วยศาสตราจารย์ หรือวิทยฐานะชํานาญการ
พิเศษ หรือมีประสบการณ์และความสําเร็จในเรื่องนั้น ๆ ในระดับชาติ
! (2) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบเป็นวิทยากรหรือสาขาที่สัมพันธ์
และต้องมีประสบการณ์การสอนหรือมีหน้าที่ ที่เกี่ยวกับการให้ความรู้ หรือเคยเป็นวิทยากรมาไม่
น้อยกว่า 2 ปี
! (3) เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ เป็นที่ยอมรับและประกอบอาชีพในด้านที่เป็นวิทยากรนั้น มานาน
กว่า 10 ปี
◻ (4) ดํารงตําแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ หรือ วิทยฐานะระดับเชี่ยวชาญขึ้นไป
และ/หรือวิทยากรตามสัดส่วนที่มีคุณสมบัติพื้นฐาน นั้น มีความเชี่ยวชาญ/ประสบการณ์ ดังนี้
◻ (1) เป็นผู้มีคุณวุฒิสําเร็จการศึกษาในสาขาวิชา หรือวิชาเอกที่เน้นเนื้อหาสาระเฉพาะด้าน หรือ
สาขาวิชาที่สัมพันธ์ ในระดับปริญญาโทขึ้นไป (ด้านเนื้อหา (Content))
! (2) เป็นผู้มีคุณวุฒิสําเร็จการศึกษาด้านการศึกษา หรือวิธีการสอน หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กับ
ศาสตร์วิชาชีพครู (ด้านศาสตร์การสอน (Pedagogy))
! (3) เป็ น ผู ้ ม ี ป ระสบการณ์ ส อน และ/หรื อ นิ เ ทศการสอนในสาระที ่ เ สนอหลั ก สู ต รในระดั บ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน มาไม่น้อยกว่า 10 ปี (ด้านการบูรณาการภาคปฏิบัติ (Integration)

คนที่ 4 ชื่อ ........ดร.นพมาตร............... นามสกุล .........พวงสุวรรณ............


วิทยากรตามสัดส่วนจะต้องมีคุณสมบัติอย่างน้อย 1 ข้อ ดังนี้
! (1) สําเร็จการศึกษาอย่างน้อยระดับปริญญาโท ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบเป็นวิทยากรหรือสาขาที่
สัมพันธ์ และมีตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อยผู้ช่วยศาสตราจารย์ หรือวิทยฐานะชํานาญการ
พิเศษ หรือมีประสบการณ์และความสําเร็จในเรื่องนั้น ๆ ในระดับชาติ
! (2) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบเป็นวิทยากรหรือสาขาที่สัมพันธ์
และต้องมีประสบการณ์การสอนหรือมีหน้าที่ ที่เกี่ยวกับการให้ความรู้ หรือเคยเป็นวิทยากรมาไม่
น้อยกว่า 2 ปี
! (3) เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ เป็นที่ยอมรับและประกอบอาชีพในด้านที่เป็นวิทยากรนั้น มานาน
กว่า 10 ปี
◻ (4) ดํารงตําแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ หรือ วิทยฐานะระดับเชี่ยวชาญขึ้นไป
และ/หรือวิทยากรตามสัดส่วนที่มีคุณสมบัติพื้นฐาน นั้น มีความเชี่ยวชาญ/ประสบการณ์ ดังนี้
! (1) เป็นผู้มีคุณวุฒิสําเร็จการศึกษาในสาขาวิชา หรือวิชาเอกที่เน้นเนื้อหาสาระเฉพาะด้าน หรือ
สาขาวิชาที่สัมพันธ์ ในระดับปริญญาโทขึ้นไป (ด้านเนื้อหา (Content))
! (2) เป็นผู้มีคุณวุฒิสําเร็จการศึกษาด้านการศึกษาหรือวิธีการสอนหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กับ
ศาสตร์วิชาชีพครู (ด้านศาสตร์การสอน (Pedagogy))
! (3) เป็ น ผู ้ ม ี ป ระสบการณ์ ส อนและ/หรื อ นิ เ ทศการสอนในสาระที ่ เ สนอหลั ก สู ต รในระดั บ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน มาไม่น้อยกว่า 10 ปี (ด้านการบูรณาการภาคปฏิบัติ (Integration)

คนที่ 5 ชื่อ นางสาวอารีรัตน์ นามสกุล หล้าหิบ


วิทยากรตามสัดส่วนจะต้องมีคุณสมบัติอย่างน้อย 1 ข้อ ดังนี้
! (1) สําเร็จการศึกษาอย่างน้อยระดับปริญญาโท ในสาขาวิชาที่รับผิดชอบเป็นวิทยากรหรือสาขาที่
สัมพันธ์ และมีตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อยผู้ช่วยศาสตราจารย์ หรือวิทยฐานะชํานาญการ
พิเศษ หรือมีประสบการณ์และความสําเร็จในเรื่องนั้น ๆ ในระดับชาติ
! (2) เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ เป็นที่ยอมรับและประกอบอาชีพในด้านที่เป็นวิทยากรนั้น มานาน
กว่า 10 ปี
◻ (3) ดํารงตําแหน่งทางวิชาการระดับรองศาสตราจารย์ หรือ วิทยฐานะระดับเชี่ยวชาญขึ้นไป
และ/หรือวิทยากรตามสัดส่วนที่มีคุณสมบัติพื้นฐาน นั้น มีความเชี่ยวชาญ/ประสบการณ์ ดังนี้
! (1) เป็นผู้มีคุณวุฒิสําเร็จการศึกษาด้านการศึกษาหรือวิธีการสอนหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กับ
ศาสตร์วิชาชีพครู (ด้านศาสตร์การสอน (Pedagogy))
! (2) เป็ น ผู ้ ม ี ป ระสบการณ์ ส อนและ/หรื อ นิ เ ทศการสอนในสาระที ่ เ สนอหลั ก สู ต รในระดั บ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน มาไม่น้อยกว่า 10 ปี (ด้านการบูรณาการภาคปฏิบัติ (Integration)
17. การวัดและประเมินผลตามหลักสูตร
ประเด็น เกณฑ์ ความสอดคล้อง
ตัวชี้วัดความสําเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้
การประเมิน การผ่าน กับวัตถุประสงค์
ด้านความรู้ มีความรู้ ความเข้าใจ ในเนื้อหาการ เวลาเรียนไม่ การตรวจสอบ ระบบการ ข้อที่ 1
สื่อสารภาษาอังกฤษ น้อยกว่า เวลาเข้าเรียนใน เรียนออนไลน์ ด้านความรู้
80% ระบบการเรียน (Trainflix)
ออนไลน์
ด้านทักษะ สามารถนําความรู้ (key phrases) ใน ส่งรายงาน การตรวจสอบ เอกสารและ ข้อที่ 2
ปฏิบัติ เนื้อหาการสื่อสารภาษาอังกฤษไปใช้ใน การจัด รายงานการจัด ไฟล์ประกอบ ด้านทักษะ
การปฏิบัติงานจริง และถ่ายทอด กิจกรรม กิจกรรม การจัด ปฏิบัติ
ความรู้ผ่านการใช้กิจกรรมให้กับผู้เรียน อย่าง ประกอบการสอน กิจกรรม
ของตนได้ ครบถ้วน
ร่วมกันวิเคราะห์ แลกเปลี่ยนความ เข้าร่วมการ ตรวจสอบจาก ใบรายชื่อ ข้อที่ 2
คิดเห็น สนทนาสะท้อนผลหลังการนํา อบรมเชิง การลงชื่อเข้าร่วม ผู้เข้าร่วม ด้านทักษะ
กิจกรรมที่เรียน ปฏิบัติการ การอบรม อบรม ปฏิบัติ
ในหลักสูตรไปประยุกต์ใช้ในการจัด เพื่อติดตาม
กิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน ผ่าน ผลการ
กระบวนการชุมชน ประยุกต์ใช้
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) หลักสูตรฯ
ผ่าน
กระบวนกา
รชุมชนการ
เรียนรู้ทาง
วิชาชีพ
(PLC)
ด้านความเป็น มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ ในการนําความรู้ ครูมีการ สังเกตการร่วม กลุ่ม LINE ข้อที่ 3
ครู และทักษะที่ได้เรียนไปใช้ในการสอน แบ่งปัน กิจกรรมการมี ประจํา ด้านเจตคติ
ผ่านกิจกรรม รวมถึงแบ่งปันความ ข้อมูล ส่วนร่วมในกลุ่ม หลักสูตร
สําเร็จ ความผิดพลาดแก่เพื่อนร่วมรุ่น วิเคราะห์
ในกลุ่ม ข้อดี ข้อเสีย
ของการจัด
ประเด็น เกณฑ์ ความสอดคล้อง
ตัวชี้วัดความสําเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้
การประเมิน การผ่าน กับวัตถุประสงค์
กิจกรรม
ประกอบ
การเรียน
ความพึงพอใจ คะแนนจากการประเมินของครูที่ผ่าน คะแนน แบบประเมิน Google form ข้อที่ 3
ของครูผู้เข้า การอบรม โดยรวมถึง ประเมิน ความพึงพอใจ ด้านเจตคติ
รับการพัฒนา ▪ เนื้อหาหลักสูตร ระดับดี ออนไลน์
▪ วิทยากร
▪ การจัดการหลักสูตร
▪ ระบบการเรียนออนไลน์
▪ ฯลฯ
เวลา 2 เดือนหลังการอบรม

18. ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

คณะผู้รับผิดชอบหลักสูตรจะต้องมีอย่างน้อย 2 คน ทําหน้าที่รับผิดชอบงานธุรการของหลักสูตร
โดยผู้รับผิดชอบหลักสูตรหนึ่งคนสามารถรับผิดชอบได้ไม่เกินคนละ 3 หลักสูตร
คนที่ 1 ชื่อ นางสุภาณี นามสกุล ธรรมาธิคม (ประธานหลักสูตร)
ตําแหน่ง ผู้อํานวยการโรงเรียนสตรีวิทยา

คนที่ 2 ชื่อ นางกนกพร นามสกุล ลีลาเลิศประเสริฐ (กรรมการหลักสูตร)


ตําแหน่ง รองผู้อํานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ โรงเรียนสตรีวิทยา

คนที่ 3 ชื่อ นางจิมารัตน์ นามสกุล ปุญญปัญญา (กรรมการหลักสูตร)


ตําแหน่ง รองผู้อํานวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล โรงเรียนสตรีวิทยา

คนที่ 4 ชื่อ นางสาววาริสา นามสกุล ประภาสพงษ์ (กรรมการหลักสูตร)


ตําแหน่ง รองผู้อํานวยการกลุ่มบริหารงบประมาณ โรงเรียนสตรีวิทยา
คนที่ 5 ชื่อ นายไพรัตน์ นามสกุล ฮงทอง (กรรมการหลักสูตร)
ตําแหน่ง ครูปฏิบัติหน้าที่แทน รองผู้อํานวยการกลุ่มบริหารทั่วไป โรงเรียนสตรีวิทยา

คนที่ 6 ชื่อ นายกิติกรณ์ นามสกุล จันพูล (กรรมการและเลขานุการหลักสูตร)


ตําแหน่ง หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนสตรีวิทยา

คนที่ 7 ชื่อ นางสุภาริณีย์ นามสกุล กิจชัยสกุลฤทธิ์ (กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการหลักสูตร)


ตําแหน่ง รองหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนสตรีวิทยา

คนที่ 8 ชื่อ นางสาวนันท์นภัส นามสกุล ธนาสวาสดิวัฒน์ (กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการหลักสูตร)


ตําแหน่ง ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนสตรีวิทยา
“ข้อ 19 ใช้เฉพาะหลักสูตรออนไลน์เท่านั้น สําหรับหลักสูตรปกติไม่ต้องมีส่วนนี้”
19. กรณีหลักสูตรออนไลน์ (หากหน่วยพัฒนาครูเสนอหลักสูตรออนไลน์ ต้องกรอกข้อมูลต่อไปนี)้
หลักสูตรออนไลน์ หมายถึง การจัดกิจกรรมการฝึกอบรมในหลักสูตรที่นําเสนอผ่านระบบออนไลน์
โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ และอินเทอร์เน็ต มีการสื่อสารและทํากิจกรรมแบบเผชิญหน้า (Face-to-Face
Communication) หรือการพบปะเป็นรายบุคคล หรือเป็นกลุ่ม โดยที่การจัดกิจกรรมผ่านระบบบริหารการ
จัดการเรียนรู้ (Learning Management System) หรือระบบการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศภายนอก
สนับสนุน จะต้องมีสัดส่วนของเวลาการเรียนรู้ผ่านสื่อจากวิทยากรและเวลาการเรียนรู้จากกิจกรรม มากกว่า
ครึ่งหนึ่งของจํานวนชั่วโมงที่ครูจะได้รับตามหลักสูตรนั้น
แนวทางการนําเสนอขอรับรองหลักสูตรแบบออนไลน์จะต้องดําเนินการเสนอหลักสูตรต่อสถาบันคุรุ
พัฒนา โดยต้องดําเนินตามข้อกําหนดลักษณะของหลักสูตรจากเงื่อนไขพื้นฐานเดิมตามข้อ 1 – 18 และ
นําเสนอข้อมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับระบบการฝึกอบรมออนไลน์ ดังนี้
(1) ระบุชั่วโมงการพัฒนา ชั่วโมงออนไลน์.......20......... ชม. ชั่วโมงปกติ (ที่ไม่ใช่ออนไลน์)......6......ชม.
(2) มีระบบการจัดการเรียนการสอน (Learning Management System : L M S) หรือ Learning
Platform หรือเป็นระบบหลักในการจัดกิจกรรมการฝึกอบรมที่ชัดเจน โดยมีโดเมนเนม (Domain Name) ของ
เว็บไซต์ที่เป็นทางการและตรวจสอบได้
ใช้ แพลตฟอร์ มการอบรมออนไลน์ TrainFlix ที ่ มี ร ะบบ LMS เป็ นระบบหลั กในการจั ดกิ จกรรม
ฝึกอบรม โดยแพลตฟอร์ม TrainFlix จัดช่องทางให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าถึงบทเรียน ช่องทางใดช่องทางหนึ่ง
หรือร่วมกัน ได้
(2.1) แอปพลิเคชันและโปรแกรมที่ทํางานโดยเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตตลอดเวลา
(2.1.1) แอปพลิเคชัน TrainFlix สําหรับระบบปฏิบัติการ Android และ iOS
(2.1.2) โปรแกรม TrainFlix สําหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ระบบปฏิบัติการ Windows
(2.2) โปรแกรม Trainflix Offline สําหรับใช้งานผ่านคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ระบบปฏิบัติการ
Windows โดยจัดเตรียมเนื้อหาบทเรียนครบถ้วนในอุปกรณ์ชนิดพกพา ไม่จําเป็นต้องเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
เพื่อการเข้าเรียนบทเรียน เฉพาะการ Activate เปิดระบบเพื่อยืนยันตัวตนผู้เรียน และการส่งรายงานผลการ
เรียนเท่านั้นที่จะต้องดําเนินการผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

(3) มีสื่อวีดิทัศน์การบรรยายเนื้อหาจากวิทยากร จํานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 ของชั่วโมงการเรียนรู้และ


กิจกรรมการเรียนการสอนอื่น ๆ จํานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 65

เมื่อเปิดรุ่นอบรม จะมีสื่อวีดิทัศน์ และสื่อการเรียนรู้อื่น ๆ ครบถ้วน ดังรายการต่อไปนี้

-- รายการบทเรียนและสื่อตามตารางการอบรม ประเภทสื่อวีดิทัศน์ ร้อยละ 35 – ประกอบด้วย


(4) แสดงรายการสื่อ (Media) ทุกรูปแบบที่พร้อมใช้งานอย่างครบถ้วนที่จะส่งมอบให้ครูเข้าศึกษา และต้องเปิด
สิทธิ์ให้คณะกรรมการรับรองหลักสูตรเข้าไปเยี่ยมชมรายการสื่อเหล่านั้นได้ทั้งหมด

เมื่อเปิดรุ่นอบรม จะมีสื่อวีดิทัศน์ และสื่อการเรียนรู้อื่น ๆ ครบถ้วน ดังรายการต่อไปนี้


(4.1) หัวข้อที่ 1 ปฐมนิเทศหลักสูตร วิธีการเรียนรู้ และแนะนําทักษะครอบคลุมในเรื่อง
(4.1.1) การจัดการชั้นเรียน
(4.1.2) การสอนในศตวรรษที่ 21
(4.1.3) การออกแบบการเรียนรู้
(4.1.4) การแก้ปัญหาของผู้เรียน
(4.1.5)การบูรณาการการสอนโดยใช้เทคโนโลยี(TPCK) โดยวิธีCommunicative Approach
(4.2) หัวข้อที่ 2 ทดสอบก่อนเรียน
(4.3) หัวข้อที่ 3 สร้างความประทับใจแรกพบ: การแนะนําตัว
(4.4) หัวข้อที่ 4การต้อนรับผู้มาเยือน: จุดต้อนรับ
(4.5) หัวข้อที่ 5 การต้อนรับผู้มาเยือน: การสนทนาระหว่างเยี่ยมชม
(4.6) หัวข้อที่ 6 การต้อนรับผู้มาเยือน: การสอบถามความพึงพอใจ
(4.7) หัวข้อที่ 7 การต้อนรับผู้มาเยือน: การกล่าวลา
(4.8) หัวข้อที่ 8 การทํานัดและกําหนดตารางเวลา: การนัดหมาย
(4.9) หัวข้อที่ 9 การทํานัดและกําหนดตารางเวลา: การเลื่อนนัด
(4.10) หัวข้อที่ 10 การทํานัดและกําหนดตารางเวลา: การให้ความช่วยเหลือ
(4.11) หัวข้อที่ 11 การสนทนาทางโทรศัพท์: รับสาย
(4.12) หัวข้อที่ 12 การสนทนาทางโทรศัพท์: โทรออก
(4.13) หัวข้อที่ 13 การสนทนาทางโทรศัพท์: การฝากข้อความ
(4.14) หัวข้อที่ 14 การสนทนาทางโทรศัพท์: การโทรติดตามผล
(4.15) หัวข้อที่ 15 การสนทนาทางโทรศัพท์: การโทรนัดหมาย
(4.16) หัวข้อที่ 16 การสนทนาทางโทรศัพท์: การโทรเพือ่ เลื่อนนัด
(4.17) หัวข้อที่ 17 การสนทนาทางโทรศัพท์: การโทรจอง
(4.18) หัวข้อที่ 18 การจัดประชุม: ประชุมแบบปกติ
(4.19) หัวข้อที่ 19 การจัดประชุม: ประชุมทางไกล (1)
(4.20) หัวข้อที่ 20 การจัดประชุม: ประชุมทางไกล (2)
(4.21) หัวข้อที่ 21 ทดสอบหลังเรียน
สํ า หรั บ การเข้ า ระบบ TrainFlix เพื ่ อ เยี ่ ย มชมสื ่ อ วิ ด ี โ อต่ า ง ๆ สามารถดาวน์ โ หลด
Application ผ่ าน Smartphone และ Tablet โดยระบบ iOS สามารถดาวน์ โหลดได้ ที ่ App Store ส่ วน
ระบบ Android สามารถ ดาวน์โหลดได้ที่ Play Store โดยพิมพ์คาว่า Trainflix ซึ่งสามารถใช้ Username
และ Password สําหรับ Login ได้ดังนี้ Username : TFX100001416 Password : 0T4S4Y

(5) คุณภาพของสื่อการเรียนรู้ในระบบการฝึกอบรมมีความถูกต้องและผลิตตามหลักการออกแบบสื่อ เนื้อหา


และสื่อการเรียนรู้ในหลักสูตรได้รับการตรวจสอบถูกต้องตามสิทธิ์การใช้งาน
ขอรับรองว่าสื่อการเรียนรู้ในระบบของแพลตฟอร์ม TrainFlix มีความถูกต้องและผลิตตามหลักการ
ออกแบบสื่อ เนื้อหาและสื่อการเรียนรู้ในหลักสูตรผลิตโดยหน่วยพัฒนาและคณะวิทยากรที่รับผิดชอบหลักสูตร
ตลอดจนการนําสื่ออื่น ๆ มาประกอบ ได้รับการตรวจสอบถูกต้องตามสิทธิ์การใช้งานแล้ว

(6) การใช้เครื่องมือสื่อสารที่อยู่ในระบบจัดการรายวิชา (LMS) /Learning Platform หรือจากเว็บภายนอก


เป็นเครื่องมือจัดกิจกรรมการเรียนรู้
การใช้เครื่องมือสื่อสารที่อยู่ในระบบจัดการรายวิชา (LMS) / Learning Platform ใช้เครื่องมือที่
จัดทําโดยผู้พัฒนาแพลตฟอร์ม TrainFlix และโดยการประยุกต์ใช้ร่วมกับไลน์ (LINE) ซึ่งเป็นโปรแกรมระบบส่ง
ข้อความทันทีและมีการตั้งค่าสนทนาสื่อสารกันภายในกลุ่มผู้เข้าอบรมเฉพาะแต่ละหลักสูตรและเฉพาะรุ่น

(7) มีกลยุทธ์การฝึกอบรม การสอนและกิจกรรมการเรียนรู้ที่กระตุ้นกระบวนการเรียนรู้ครูผู้เข้ารับการฝึกอบรม


ระบบการอบรมแบบออนไลน์ของแพลตฟอร์ม TrainFlix จะมีการตั้งค่าบันทึกข้อมูลและจัดทํา
รายงานกิจกรรมที่ผู้เข้ารับการอบรมเข้ามามีปฏิสัมพันธ์กับระบบได้หลากหลาย ทั้งช่วงเวลาที่เข้าใช้ระบบ
ระยะเวลาที่ใช้งาน ความถี่ในการใช้งาน ผลสัมฤทธิ์ของการทําแบบทดสอบ การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
(Assignment) ฯลฯ ซึ่งสามารถนําข้อมูลเหล่านี้มาออกแบบกลยุทธ์การฝึกอบรม และการสร้างแรงจูงใจ ให้ผู้
เข้ารับการอบรมปฏิบัติตาม เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเข้ารับการฝึกอบรมแบบออนไลน์อย่างต่อเนื่อง สมํ่าเสมอ
ครบถ้วน และเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาของแต่ละหลักสูตร ผู้เข้ารับการอบรมที่ปฏิบัติครบถ้วน และหรือมีผล
การปฏิบัติที่โดดเด่น นอกจากจะได้รับหนังสือรับรองการสําเร็จการฝึกอบรมแล้ว ยังจะได้รับประกาศนียบัตร
พิเศษเพิ่มเติม เช่น (1) ประกาศนียบัตรสําหรับผู้เข้ารับการอบรมที่มีสถิติการเข้ารับการอบรมครบถ้วนทุกด้าน
100% (2) ประกาศนียบัตรสําหรับผู้เข้ารับการอบรมที่มีวินัยดีเด่นในการอบรม (3) ประกาศนียบัตรยกยกเชิด
ชูเกียรติสําหรับผู้เข้ารับการอบรมแบบออนไลน์ที่ได้รับการคัดเลือกจากผู้เข้าอบรมในรุ่นเดียวกันว่า (ก) เป็นผู้มี
ผลงานที่เป็นนวัตกรรม (ข) เป็นผู้ที่เป็นแบบอย่างที่ดีในการเรียนรู้ (ค) เป็นกัญญาณมิตรแบ่งปันความรู้และ
ช่วยเหลือผูอ้ ื่น เป็นต้น
(8) แสดงระบบการโต้ -ตอบ ระหว่ า งวิ ท ยากรกั บครู โดยต้ อ งระบุ ว่ าเป็ นแบบตอบกลั บแบบทั น ที ท ั น ใด
(Synchronous or Real time Feedback) หรือตอบกลับแบบล่าช้า (Asynchronous or Delay Feedback)
โดยมีลักษณะและวิธีการโต้ตอบกลับหลากหลายช่องทาง ได้แก่ ข้อความ (Text) ภาพ (Image) เสียง (Sound)
และวิดีโอ (Video)
ระบบการโต้-ตอบ ระหว่างวิทยากรกับครู เป็นแบบล่าช้า (Asynchronous or Delay Feedback)
โดยมีลักษณะและวิธีการโต้ตอบกลับหลากหลายช่องทาง ได้แก่ ข้อความ (Text) ภาพ (Image) เสียง (Sound)
และวิดีโอ (Video) โดยการใช้เครื่องมือสื่อสารที่อยู่ในระบบจัดการรายวิชา (LMS) / Learning Platform ที่
พัฒนาโดยแพลตฟอร์ม TrainFlix และโดยการประยุกต์ใช้ร่วมกับไลน์ (LINE) ซึ่งเป็นโปรแกรมระบบส่ง
ข้อความทันที และมีการตั้งค่าสนทนาสื่อสารกันภายในกลุ่มผู้เข้าอบรมเฉพาะแต่ละหลักสูตรและเฉพาะรุ่น

(9) ระบบการแสดงการติดตาม (Tracking) การเรียนและระบบติดตามความก้าวหน้า (Learning Progress)


ของครูที่ลงทะเบียนเรียนเป็นรายบุคคลได้ทุกคน
ระบบการอบรมแบบออนไลน์ของแพลตฟอร์ม TrainFlix จะมีการตั้งค่าบันทึกข้อมูลและจัดทํา
รายงานกิจกรรมที่ผู้เข้ารับการอบรมเข้ามามีปฏิสัมพันธ์กับระบบได้หลากหลาย ทั้งช่วงเวลาที่เข้าใช้ระบบ
ระยะเวลาที่ใช้งาน ความถี่ในการใช้งาน บทเรียนหรือสื่อที่ผู้เข้าอบรมได้เรียนรู้ ระยะเวลาที่ใช้ในการเรียนรู้สื่อ
บทเรียนแต่ละเรื่อง ผลสัมฤทธิ์ของการทําแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน (Formative Assessment) ของ
แต่ละบทเรียน (ถ้ามี) หรือเมื่อเรียนครบทุกบทเรียน (Summative Assessment) ตลอดจนตรวจสอบการส่ง
งานที่ได้รับมอบหมาย (Assignment) ฯลฯ โดยผู้เรียนแต่ละคนสามรถเข้าไปดูสถิติหรือรายงานความก้าวหน้า
ของตนเองได้ (ตามภาพประกอบ) นอกจากนี้ วิทยากร ผู้ดูแลระบบ และเจ้าหน้าที่ของสถาบันคุรุพัฒนา หรือ
หน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง จะมีบัญชีผู้งาน

(10) มีบุคลากรสนับสนุนการฝึกอบรม ที่ทําหน้าที่สนับสนุน ช่วยเหลือและอื่น ๆ ได้แก่ การตอบคําถามกลาง


การติดตามช่วยเหลือครู การบริหารระบบการฝึกอบรม และการใช้งานระบบ ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 3 ของจํานวนครูผู้เข้ารับการอบรม
(10.1) ผู้ให้บริการจะจัดเตรียมเจ้าหน้าที่แผนก Call Center ให้บริการสนับสนุนช่วยเหลือดูแลผู้เข้า
รับการฝึกอบรมตลอด 24 ชั่วโมง
(10.2) ผู้ให้บริการระบบออนไลน์และทีมวิทยากร จะจัดเตรียมบุคลากรสนับสนุนการฝึกอบรม ทํา
หน้าที่สนับสนุน ช่วยเหลือ ตอบคําถามกลาง ฯลฯ เป็นจํานวนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3 ของจํานวนผู้เข้าอบรมใน
แต่ละรุ่นได้ โดยจะสามารถดูแลช่วยเหลือได้ภายใน 24 ชั่วโมง

(11) มีการสนับสนุนผู้เรียนผ่านการแนะนําวิธีการเรียน มีการแจ้งช่องทางและช่วงเวลาติดต่อสื่อสารเพื่อให้


ผู้เรียนติดต่อได้ตลอดการฝึกอบรม
ผู้ให้บริการระบบออนไลน์แพลตฟอร์ม TrainFlix จะมีช่องทางในการติดต่อสื่อสารกับครูผู้อบรมดังนี้
1) อีเมล์ contact@trainflix.com
2) Line @trainflix
3) Call Center จํานวน 10 – 30 คู่สาย (ขยายตามปริมาณการติดต่อ)
เวลาทําการปกติ โทร. 02 736 3636 เวลา 08:00 น. – 20:00 น. ทุกวัน
เวลาทําการช่วงที่เริ่มโครงการอบรมฯ โทร. 02 736 3637 ตลอด 24 ชั่วโมง
4) สาขาของโรงเรียนกวดวิชา Enconcept จํานวน 40 สาขาทั่วประเทศ
http://www.enconcept.com/main_index/contact/

(12) ระบบการตรวจสอบตัวตน (Authentication) ว่ามีระบบตรวจสอบตัวตนอย่างไรบ้าง เพื่อยืนยันว่าครูที่


เข้าเรียนจากระบบนั้นเป็นบุคคลตามที่ลงทะเบียนจริง
ยืนยันโดยการลงทะเบียนในระบบ ซึ่งจะต้องให้ข้อมูลส่วนบบุคล เลขประจําตัวประชาชน โดยจะมี
การแจ้งยืนยันการลงทะเบียนผ่านระบบอีเมล์

(13) การกําหนดเกณฑ์การผ่านการอบรมตามหลักสูตรออนไลน์ จะต้องมีระบบการกําหนดเกณฑ์การผ่านที่


ประกอบด้วย
(13.1) การวัดผล และ/หรือประเมินผลแบบเผชิญหน้าที่มีการตรวจสอบตัวตน แสดงหลักฐานที่ทาง
ราชการออกให้ เพื่อยืนยันตัวตน
ผู้ให้บริการระบบออนไลน์แพลตฟอร์ม TrainFlix จะจัดให้มีการวัดผล/หรือประเมินผลแบบเผชิญหน้า
ที่ผู้เข้าอบรมจะต้องแสดงหลักฐานที่ทางราชการออกให้เพื่อยืนยันตัวตน โดยจะประสานงานจัดสถานที่สอบ ณ
สถานที่ของหน่วยงานราชการ หรือสถานศึกษา หรือสถาบันการศึกษา ในแต่ละจังหวัด โดยผู้ให้บริการระบบ
ออนไลน์จะกําหนดสถานที่สอบภายหลังจากได้รับข้อมูลการลงทะเบียนอบรมของครูหรือผู้เข้าอบรมแล้ว
ผู้ให้บริการระบบออนไลน์จะเปิดระบบการ Booking เพื่อเลือกสถานที่สอบ วันและเวลาสอบ ให้ผู้เข้า
รับการอบรมดําเนินการภายหลังจากที่เข้ารับการอบรมและส่งงานที่ได้รับมอบหมายครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ที่
หลักสูตรหรือวิทยากรกําหนดครบถ้วนแล้ว

(13.2) การวัดผล และ/หรือประเมินผล อาจใช้วิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายวิธีร่วมกัน ได้แก่


การทดสอบด้วยแบบวัด แบบทดสอบ การประเมินจากการปฏิบัติ การประเมินจากพฤติกรรมการเข้าอบรม
ผ่านระบบออนไลน์การประเมินจากผลงานที่มอบหมาย (รายงาน/โครงงาน) การประเมินจากการนําเสนอ และ
วิธีการอื่น ๆ ที่มีความน่าเชื่อมั่นได้ทางวิชาการ
ระบบออนไลน์ของแพลตฟอร์ม TrainFlix มีเครื่องมือในการวัดประเมินผลด้วยแบบวัด แบบทดสอบ
และการมอบหมายงานให้ปฏิบัติดังนี้
1. ระบบสามารถให้ ผ ู ้ เ รี ย นทํ า แบบทดสอบก่ อ นและหลั ง เรี ย น (Pre-test, Post-test) และ
แบบทดสอบหลังจบหลักสูตร (Summative Assessment) ได้ การทําแบบทดสอบสามารถทําได้ทั้งแบบชนิด
ที่ผู้สอบเป็นผู้ให้คําตอบ ได้แก่
1.1 แบบทดสอบแบบอัตนัย หรือความเรียง (Subjective Test or Essay Test) จําแนกออกเป็น
(1) แบบจํากัดคําตอบ (Restricted – response type)
(2) แบบไม่จํากัดคําตอบ (Unrestricted – response type)
1.2 แบบทดสอบแบบเติมคําหรือตอบสั้น (Completion or Short-Answer Test)
1.3 แบบทดสอบแบบให้บันทึกเสียงอธิบายคําตอบ
1.4 แบบทดสอบแบบใช้ภาพถ่ายอธิบายคําตอบ
1.5 แบบทดสอบชนิดที่ให้ผู้สอบเลือกคําตอบ ได้แก่
(1) แบบทดสอบแบบถูกผิด (True – False Test)
(2) แบบทดสอบแบบจับคู่ (Matching Test)
(3) แบบทดสอบแบบเลือกตอบ (Multiple Choice Test)
2. ระบบสามารถมอบหมายงาน (Assignment) ให้ผู้เรียนทํางานตามที่ได้รับมอบหมายและส่งผลงานหรือ
ร่องรอยการพัฒนาเข้ามาให้วิทยากรตรวจสอบได้ ในรูปแบบดังนี้
2.1 ไฟล์ข้อความ Text, Word
2.2 ไฟล์เสียง (Audio: MP3, WAV)
2.3 ไฟล์ภาพ (Picture: Jpeg)
2.4 ไฟล์ภาพเคลื่อนไหว/วีดิทัศน์ (MP4)
20. หลักสูตรออนไลน์ จะต้องแนบใบรับรองหลักสูตรการพัฒนาครูรูปแบบออนไลน์ ดังนี้
20.1 ด้ า นระบบปฏิ บ ั ต ิ ก ารจั ด การเรี ย นการสอน (LMS: Learning Management System)
และแพลตฟอร์ม (Platform) การเรียนรู้
ระบบ LMS และแพลตฟอร์มการเรียนรู้ที่ใช้ในการบริหารจัดการหลักสูตรนี้ มีคุณลักษณะ
ดังต่อไปนี้
(1) ระบบฯ มี ว ิ ธ ี ก ารลงทะเบี ย น และการตรวจสอบยื น ยั น ตั ว ตนของครู ท ี ่ เ ข้ า ใช้ ง านระบบ
ซึ่งสามารถใช้เป็นเอกสารประกอบการจัดทํารายงานส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้
(2) ระบบฯ มีการกําหนดสิทธิให้สถาบันคุรุพัฒนา หรือหน่วยงานต้นสังกัดของครูสามารถเข้าไป
ติดตามประเมินร่องรอยการพัฒนาครูได้ทั้งแบบเป็นรายบุคคล และแบบทั้งรุ่น
(3) ระบบฯ สามารถรองรับการใช้งานของผู้ใช้งานพร้อม ๆ กันได้ครอบคลุมจํานวนผู้ใช้งานทุก
หลักสูตรทุกรุ่น ที่ร่วมใช้งานระบบ โดยยังคงประสิทธิภาพในการให้บริการครบถ้วนบริบูรณ์หากเกิดความ
ขัดข้องในการให้บริการไม่ว่าจะเป็นสาเหตุจากระบบ แพลตฟอร์ม หรืออินเทอร์เน็ต จะมีการให้ความช่วยเหลือ
แก้ไขภายใน 3 วันทําการ
(4) ระบบฯ มีการจัดกลุ่ม รุ่น และมาตรการในการจํากัดจํานวนครูผู้เข้ารับการพัฒนาในแต่ละรุ่น
สอดคล้องกับข้อเสนอหลักสูตรที่ได้รับการรับรองจากสถาบันคุรุพัฒนาแล้ว
(5) มีระบบรายงานผลการพัฒนาของครูเป็นรายบุคคล และรายรุ่น ทั้งด้านระยะเวลาการใช้งาน
เป็นรายบทเรียน ระยะเวลาเรียนตลอดหลักสูตร และผลการประเมินหรือทดสอบตามที่กําหนดไว้ในหลักสูตร
(6) ระบบฯ มีช่องทางในการโต้ตอบ ระหว่างผู้ดูแลหลักสูตร วิทยากร และครูที่สมัครเข้ารับการ
พัฒนา
(7) ระบบฯ มีเครื่องมือในการวัดประเมินผลการพัฒนาครูในระหว่างเรียน และหลังเรียน และมี
กระบวนการวัดผลแบบชั้นเรียน ที่มีระบบยืนยันตัวตนอย่างเข้มงวด การกําหนดระดับเกณฑ์การผ่านการ
พัฒนา จะจัดให้มีบริการแก่ครูที่เข้ารับการพัฒนา โดยการจัดสถานที่สอบ การนัดหมายวัน เวลาสอบที่ชัดเจน
เพื่อสะท้อนถึงประสิทธิภาพของระบบการเรียนแบบออนไลน์
20.2 ด้านเนื้อหาและสื่อการอบรม (Content & Training Materials)
(1) หลักสูตรนี้มีเนื้อหาบทเรียน สื่อการเรียนรู้สื่อการอบรม ครบถ้วนพร้อมให้ผู้ลงทะเบียนพัฒนา
ในรูปแบบออนไลน์สามารถเรียนรู้ได้ทันที
(2) เนื้อหาบทเรียน สื่อการเรียนรู้ดําเนินการสอนโดยวิทยากรที่กําหนดไว้ในหลักสูตร และมี
ระยะเวลาตามที่กําหนดทุกประการ
หมายเหตุ : การลงนามให้คํารับรองหลักสูตรการพัฒนาครูรูปแบบออนไลน์นี้ ถือเป็นเอกสารทางราชการมีผล
ผูกพันหน่วยพัฒนาและผู้ลงนามตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างน้อย ดังนี้
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐
มาตรา 14 (1) ผู้ใดนําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือ
ข้อมูล
คอมพิ ว เตอร์ อ ั น เป็ น เท็ จ โดยประการที ่ น ่ า จะเกิ ด ความเสี ย หายแก่ ผ ู ้ อ ื ่ น หรื อ ประชาชน
โทษจําคุก ไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท
ประมวลกฎหมายอาญา ลักษณะ ๗ ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง หมวด ๓ ความผิดเกี่ยวกับ
เอกสาร
มาตรา 269 ผู้ใดในการประกอบการงานในวิชาแพทย์ กฎหมาย บัญชีหรือวิชาชีพอื่นใด ทําคํารับรองเป็น
เอกสาร
อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน ต้องระวางโทษจําคุกไม่
เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ผู้ใดโดยทุจริตใช้หรืออ้างอิงคํารับรองอันเกิดจากการ
กระทําความผิดตามวรรคแรก ต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน
“ข้อ 19 และ 20 ใช้เฉพาะหลักสูตรออนไลน์เท่านั้น สําหรับหลักสูตรปกติไม่ต้องมีส่วนนี้”

คนที่ 1 ชื่อ นางสุภาณี นามสกุล ธรรมาธิคม (ประธานหลักสูตร)


ตําแหน่ง ผู้อํานวยการโรงเรียนสตรีวิทยา

คนที่ 2 ชื่อ นางกนกพร นามสกุล ลีลาเลิศประเสริฐ (กรรมการหลักสูตร)


ตําแหน่ง รองผู้อํานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ โรงเรียนสตรีวิทยา

คนที่ 3 ชื่อ นางจิมารัตน์ นามสกุล ปุญญปัญญา (กรรมการหลักสูตร)


ตําแหน่ง รองผู้อํานวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล โรงเรียนสตรีวิทยา

คนที่ 4 ชื่อ นางสาววาริสา นามสกุล ประภาสพงษ์ (กรรมการหลักสูตร)


ตําแหน่ง รองผู้อํานวยการกลุ่มบริหารงบประมาณ โรงเรียนสตรีวิทยา

คนที่ 5 ชื่อ นายไพรัตน์ นามสกุล ฮงทอง (กรรมการหลักสูตร)


ตําแหน่ง ครูปฏิบัติหน้าที่แทน รองผู้อํานวยการกลุ่มบริหารทั่วไป โรงเรียนสตรีวิทยา

คนที่ 6 ชื่อ นายกิติกรณ์ นามสกุล จันพูล (กรรมการและเลขานุการหลักสูตร)


ตําแหน่ง หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนสตรีวิทยา
คนที่ 7 ชื่อ นางสุภาริณีย์ นามสกุล กิจชัยสกุลฤทธิ์ (กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการหลักสูตร)
ตําแหน่ง รองหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนสตรีวิทยา

คนที่ 8 ชื่อ นางสาวนันท์นภัส นามสกุล ธนาสวาสดิวัฒน์ (กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการหลักสูตร)


ตําแหน่ง ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนสตรีวิทยา
คู่มือการใช้งานแอปพลิเคชัน TrainFlix

You might also like