You are on page 1of 6

28 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 29

ตัวอย่างการจัดเนื้อหารายภาค
11 ข้อเสนอแนะการจัดรายวิชา
เนื้อหาสำ�หรับผู้เรียน
เนื้อหาสำ�หรับผู้เรียนทั่วไป
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) แผนการเรียนวิทยาศาสตร์
ชั้นเรียน/ ที่เรียนเฉพาะ
ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 ระดั บ ที่เรียนทั้งรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ภาคเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย ได้ กำ � หนดมาตรฐานการเรี ย นรู้ ตั ว ชี้ วั ด และสาระ และรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม
(80 ชั่วโมงต่อปี)
การเรียนรูแ
้ กนกลาง ให้ทก
ุ สถานศึกษานำ�ไปจัดเป็นรายวิชาคณิตศาสตร์พน
ื้ ฐาน (200 ชั่วโมงต่อปี)
สำ�หรับผูเ้ รียนทุกคน ซึง่ สถานศึกษาอาจจัดให้ตรงตามชัน
้ ปีทก
ี่ �ำ หนดหรือยืดหยุน

ระหว่างชัน
้ ปีตามความเหมาะสมและตามศักยภาพของผูเ้ รียน ทัง้ นี้ ผูเ้ รียนทุกคน ม.4 ◆◆ เซต ◆◆ เซต
ต้องบรรลุตวั ชีว้ ด
ั ทุกตัวตามทีก
่ �ำ หนดไว้ในหลักสูตรภายใน 3 ปี และมีเวลาเรียน ภาคเรียนที่ 1 ◆◆ ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ◆◆ ตรรกศาสตร์
สอดคล้องกับเกณฑ์การจบ นั่นคือมีเวลาเรียนสำ�หรับรายวิชาพื้นฐาน 1,640 ◆◆ จำ�นวนจริงและพหุนาม
ชั่วโมง ใน 3 ปี ซึ่งยืดหยุ่นใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
นอกจากนี้สถานศึกษาสามารถจัดรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติมให้กับ
ผูเ้ รียนทีม
่ ศ
ี ก
ั ยภาพด้านคณิตศาสตร์ ได้ตามความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษา ม.4 ◆◆ หลักการนับเบื้องต้น ◆◆ ฟังก์ชัน
ความต้องการและความถนัดของผู้เรียน และเกณฑ์การจบ ซึ่งโดยหลักการแล้ว ภาคเรียนที่ 2 ◆◆ ความน่าจะเป็น ◆◆ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและ
สถานศึกษาสามารถเป็นผู้กำ�หนดผลการเรียนรู้ได้เอง อย่างไรก็ตาม สสวท. ฟังก์ชันลอการิทึม
ได้เสนอแนะผลการเรียนรู้ และสาระการเรียนรูเ้ พิม
่ เติมสำ�หรับรายวิชาคณิตศาสตร์ ◆◆ เรขาคณิตวิเคราะห์
เพิ่มเติม ซึ่งสถานศึกษาสามารถนำ�มาพิจารณาให้สอดคล้องกับความต้องการ
ของสถานศึกษาและความสามารถของผูเ้ รียนได้ ส่วนเวลาเรียนสำ�หรับรายวิชา
ม.5 ◆◆ เลขยกกำ�ลัง ◆◆ ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
เพิ่มเติมนั้นให้เป็นไปตามที่สถานศึกษากำ�หนดและสอดคล้องกับเกณฑ์การจบ
ภาคเรียนที่ 1 ◆◆ ฟังก์ชัน ◆◆ เมทริกซ์
สำ�หรับเนื้อหาคณิตศาสตร์ที่ได้เสนอแนะไว้สำ�หรับรายวิชาคณิตศาสตร์
◆◆ เวกเตอร์ในสามมิติ
เพิ่ ม เติ ม นั้ น เป็ น เนื้ อ หาที่ เ พิ่ ม เติ ม เข้ า มาโดยเชื่ อ มโยงกั บ เนื้ อ หาในรายวิ ช า
คณิตศาสตร์พื้นฐาน เพื่อให้เกิดการต่อยอดองค์ความรู้และเรียนรู้สาระนั้นอย่าง
ลึกซึง้ ทัง้ นี้ สถานศึกษาอาจจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ให้กบ
ั ผูเ้ รียนระดับ
ม.5 ◆◆ ลำ�ดับและอนุกรม ◆◆ จำ�นวนเชิงซ้อน
มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย แผนการเรี ย นวิ ท ยาศาสตร์ ที่ ต้ อ งเรี ย นทั้ ง รายวิ ช า
ภาคเรียนที่ 2 ◆◆ ดอกเบี้ยและมูลค่า ◆◆ หลักการนับเบื้องต้น
คณิ ตศาสตร์ พื้นฐานและรายวิชาคณิต ศาสตร์เพิ่ม เติม โดยร้อยเรีย งเนื้อหา
ของเงิน ◆◆ ความน่าจะเป็น
รายวิชาทั้งสองเข้าด้วยกัน
ทัง้ นี้ สสวท. ในฐานะผูจ
้ ด
ั ทำ�หลักสูตรกลุม
่ สาระการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์
(ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง พ.ศ. 2560) ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน
ม.6 ◆◆ สถิติ ◆◆ ลำ�ดับและอนุกรม
พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้เสนอแนะตัวอย่างการจัด
ภาคเรียนที่ 1 ◆◆ แคลคูลัสเบื้องต้น
เนื้อหารายภาคสำ�หรับผู้เรียนทั่วไป ซึ่งในที่น้ีหมายถึงผู้เรียนที่เรียนเฉพาะ
รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน โดยจัดเวลาเรียนไว้ 80 ชั่วโมงต่อปี และสำ�หรับ
ผู้เรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ ซึ่งในที่นี้หมายถึงผู้เรียนที่เรียนทั้งรายวิชา ม.6 ◆◆ สถิติ (ต่อ) ◆◆ สถิติ
คณิตศาสตร์พื้นฐานและรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม โดยจัดเวลาเรียนไว้ 200 ภาคเรียนที่ 2 ◆◆ การแจกแจงความน่าจะเป็นเบื้องต้น
ชั่วโมงต่อปี ดังตารางต่อไปนี้
30 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 31

จำ�นวนและพีชคณิต สถิติและความน่าจะเป็น
12 ผังสาระการเรียนรู้

ตัวอย่างการจัดเนื้อหารายภาคสำ�หรับผู้เรียนทั่วไป ซึ่งในที่นี้หมายถึงผู้เรียนที่เรียน
เฉพาะรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน และสำ�หรับผู้เรียนแผนการเรียนวิทยาศาสตร์ ซึ่งในที่นี้
หมายถึ ง ผู้ เ รี ย นที่ เ รี ย นทั้ ง รายวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ พื้ น ฐานและรายวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ เ พิ่ ม เติ ม
แสดงเป็นผังสาระการเรียนรู้ เพื่อให้เห็นภาพรวมของเนื้อหาในแต่ละชั้นได้ชัดเจนและเป็น
รูปธรรม ดังนี้
เซต ตรรกศาสตร์เบื้องต้น หลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น

▶▶ ความรู้เบื้องต้นและ ▶▶ ประพจน์และตัวเชื่อม ▶▶ หลักการบวกและการคูณ ▶▶ การทดลองสุ่ม


สัญลักษณ์พื้นฐาน ▷ นิเสธ ▶▶ การเรียงสับเปลี่ยน และเหตุการณ์
เกี่ยวกับเซต ▷ และ เชิงเส้นกรณีที่สิ่งของ ▶▶ ความน่าจะเป็น
▶▶ ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน ▷ หรือ แตกต่างกันทั้งหมด ของเหตุการณ์
และคอมพลีเมนต์ ▷ ถ้า...แล้ว... ▶▶ การจัดหมู่กรณีที่สิ่งของ
ของเซต ▷ ก็ต่อเมื่อ แตกต่างกันทั้งหมด

จำ�นวนและพีชคณิต

จำ�นวนและพีชคณิต สถิติและความน่าจะเป็น

▶▶ เซต ▶▶ หลักการนับเบื้องต้น เลขยกกำ�ลัง ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนุกรม ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน


▶▶ ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ▶▶ ความน่าจะเป็น
▶▶ เลขยกกำ�ลัง ▶▶ สถิติ
▶▶ รากที่ n ของจำ�นวนจริง ▶▶ ฟังก์ชันและกราฟของ ▶▶ ลำ�ดับเลขคณิตและ ▶▶ ดอกเบี้ย
▶▶ ฟังก์ชัน
▶▶ ลำ�ดับและอนุกรม เมื่อ n เป็นจำ�นวนนับ ฟังก์ชัน ลำ�ดับเรขาคณิต ▶▶ มูลค่าของเงิน
▶▶ ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน ที่มากกว่า 1 ▷ ฟังก์ชันเชิงเส้น ▶▶ อนุกรมเลขคณิตและ ▶▶ ค่ารายงวด
▶▶ เลขยกกำ�ลังที่มี ▷ ฟังก์ชันกำ�ลังสอง อนุกรมเรขาคณิต
เลขชี้กำ�ลังเป็น ▷ ฟังก์ชันขั้นบันได
จำ�นวนตรรกยะ ▷ ฟังก์ชัน
เอกซ์โพเนนเชียล
32 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 33

สถิติและความน่าจะเป็น

สถิติ

▶▶ ข้อมูล ▶▶ ค่ากลาง ▶▶ ค่าการกระจาย


▶▶ ตำ�แหน่งที่ของข้อมูล ▷ ฐานนิยม ▷ พิสัย
▷ มัธยฐาน ▷ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
▷ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ▷ ความแปรปรวน
▶▶ การนำ�เสนอข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
▶▶ การแปลความหมายของค่าสถิติ
จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติ แคลคูลัส
และความน่าจะเป็น

▶▶ เซต ▶▶ เรขาคณิตวิเคราะห์ ▶▶ หลักการนับเบื้องต้น ▶▶ แคลคูลัสเบื้องต้น


▶▶ ตรรกศาสตร์ ▶▶ เวกเตอร์ ในสามมิติ ▶▶ ความน่าจะเป็น
▶▶ จำ�นวนจริงและพหุนาม ▶▶ สถิติ
▶▶ ฟังก์ชัน ▶▶ การแจกแจง
▶▶ ฟังก์ชน
ั เอกซ์โพเนนเชียล ความน่าจะเป็น
และฟังก์ชันลอการิทึม เบื้องต้น
▶▶ ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
▶▶ เมทริกซ์
▶▶ จำ�นวนเชิงซ้อน
▶▶ ลำ�ดับและอนุกรม
34 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 35

จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต

เซต ตรรกศาสตร์
เรขาคณิตวิเคราะห์

■■ ความรู้เบื้องต้นและ ■■ ประพจน์และตัวเชื่อม
■■ จุดและเส้นตรง
สัญลักษณ์พื้นฐาน ■■ ประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ
■■ วงกลม
เกี่ยวกับเซต ตัวเดียว
■■ พาราโบลา
■■ ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน ■■ การอ้างเหตุผล
■■ วงรี
และคอมพลีเมนต์ของเซต
■■ ไฮเพอร์โบลา

จำ�นวนจริงและพหุนาม ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล


และฟังก์ชันลอการิทึม

■■ จำ�นวนจริงและสมบัติของจำ�นวนจริง ■■ ฟังก์ชันและกราฟ ■■ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล


■■ ค่าสัมบูรณ์ของจำ�นวนจริงและสมบัติของค่าสัมบูรณ์ ■■ การบวก การลบ การคูณ ■■ ฟังก์ชันลอการิทึม
ของจำ�นวนจริง การหารฟังก์ชัน ■■ สมการเอกซ์โพเนนเชียล
■■ จำ�นวนจริงในรูปกรณฑ์ และจำ�นวนจริง ■■ ฟังก์ชันประกอบ และสมการลอการิทึม
ในรูปเลขยกกำ�ลัง ■■ ฟังก์ชันผกผัน
■■ ตัวประกอบของพหุนาม
■■ สมการและอสมการพหุนาม
■■ สมการและอสมการเศษส่วนของพหุนาม
■■ สมการและอสมการค่าสัมบูรณ์ของพหุนาม
36 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 37

จำ�นวนและพีชคณิต การวัดและเรขาคณิต สถิติและความน่าจะเป็น

ฟังก์ชันตรีโกณมิติ จำ�นวนเชิงซ้อน
เวกเตอร์ในสามมิติ หลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น

■■ ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ■■ จำ�นวนเชิงซ้อน และสมบัติของ


■■ เวกเตอร์ นิเสธของเวกเตอร์ ■■ หลักการบวกและการคูณ ■■ การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
■■ ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน จำ�นวนเชิงซ้อน
■■ การบวก การลบเวกเตอร์ ■■ การเรียงสับเปลี่ยน ■■ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
■■ เอกลักษณ์และสมการตรีโกณมิติ ■■ จำ�นวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
■■ การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์ ▷ การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้น
■■ กฎของโคไซน์และกฎของไซน์ ■■ รากที่ n ของจำ�นวนเชิงซ้อน
ผลคูณเชิงสเกลาร์ ▷ การเรียงสับเปลี่ยน
เมื่อ n เป็นจำ�นวนนับที่มากกว่า 1
ผลคูณเชิงเวกเตอร์ เชิงวงกลมกรณีที่สิ่งของ
แตกต่างกันทั้งหมด
■■ การจัดหมู่กรณีที่สิ่งของ
แตกต่างกันทั้งหมด
■■ ทฤษฎีบททวินาม

เมทริกซ์

■■ เมทริกซ์ และเมทริกซ์สลับเปลี่ยน
■■ การบวกเมทริกซ์ การคูณเมทริกซ์กับจำ�นวนจริง การคูณระหว่างเมทริกซ์
■■ ดีเทอร์มิแนนต์
■■ เมทริกซ์ผกผัน
■■ การแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์
38 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คู่มือการใช้หลักสูตร ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 39

จำ�นวนและพีชคณิต สถิติและความน่าจะเป็น แคลคูลัส

ลำ�ดับและอนุกรม สถิติ การแจกแจง แคลคูลัสเบื้องต้น


ความน่าจะเป็นเบื้องต้น

■■ ลำ�ดับจำ�กัดและลำ�ดับอนันต์ ■■ ข้อมูล ■■ การแจกแจงเอกรูป ■■ ลิมิตและความต่อเนื่อง


■■ ลำ�ดับเลขคณิตและลำ�ดับ ■■ ตำ�แหน่งที่ของข้อมูล ■■ การแจกแจงทวินาม ของฟังก์ชัน
เรขาคณิต ■■ ค่ากลาง ■■ การแจกแจงปกติ ■■ อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต
■■ ลิมิตของลำ�ดับอนันต์ ▷ ฐานนิยม ■■ ปริพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต
■■ อนุกรมจำ�กัดและอนุกรมอนันต์ ▷ มัธยฐาน
■■ อนุกรมเลขคณิตและอนุกรม ▷ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
เรขาคณิต ■■ ค่าการกระจาย
■■ ผลบวกอนุกรมอนันต์ ▷ พิสัย
■■ การนำ�ความรู้เกี่ยวกับลำ�ดับและ ▷ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
อนุกรมไปใช้ในการแก้ปัญหา ▷ ความแปรปรวน
มูลค่าของเงินและค่ารายงวด ■■ การนำ�เสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ
และเชิงปริมาณ
■■ การแปลความหมายของค่าสถิติ

You might also like