You are on page 1of 5

พุทธวิธีพัฒนาบุคลิกภาพ

ที่มา http://www.budmgt.com/budman/bm02/personalitydev.html

เขียนโดย สมหวัง วิทยาปญญานนท

1. บทนํา

เชื่อหรือไมวาบุคลิกภาพสามารถสรางความกาวหนาใหกับตนเองได คนทั่วไปมักจะรูสึก
วาความ

สุขอบอุน ใจ เมื่ออยูใกลคนมีบุคลิกภาพดี เชน ครูบาอาจารย พระสงฆ ผูที่นาเคารพนับ


ถือในหมูบาน แตหากคนนั้นมีบุคลิกภาพไมดี คนอยูใกลก็รูสึกไมคอยดีไมอบอุน รูสึก
หวาดระแวง ไมนาไววางใจ เชน อยูใกลโจร คนประพฤติไมดี หากความรูสึกอยางนี้เปน
กันหลาย ๆ คน ก็จะทําใหสังคมแยกันไปหมด ดูตัวอยางนางงาม นางสาวไทย เวลาเดิน
ก็ทําบุคลิกภาพดี ๆ ตองฝกเดินสวย ๆ หากเดินเหมือนเปดก็หมดงาม คนทั่วไปมักนิยม
พัฒนาบุคลิกภาพเฉพาะแตภายนอก เชน การแตงหนาแตงกาย โดยละเลยการพัฒนา
ทางดานจิตใจ ในทางพุทธนั้นใหเริ่มพัฒนาบุคลิกภาพภายในหรือจิตใจกอน แลวการ
กระทําจากภายนอกก็จะงามตามจิตใจ

2. การพัฒนาบุคลิกภาพดวยศีลสมาธิปญญา

ชาว พุทธตองพัฒนาบุคลิกภาพดวยศีลสมาธิปญญา หรือไตรสิกขา นั่นคือตองหนักแนน


ดวยศีล สงบจิตใจดวยสมาธิ และฉลาดดวยปญญา หรือ แหลม (สมาธิ) คม (ปญญา)
หนัก (ศีล) พอพูดศีลสมาธิปญญา ฟงแลวอาจรูสึกไกลตัวหรือไมเขาใจ หากพูดวา
แหลมคมหนักก็พอที่จะเขาใจ คนที่แหลมคมหนัก เปนคนอยางไร

แหลม (มุงเข็ม) เปนลักษณะคนที่มีความตั้งใจมั่น ไมคลอนแคลนไดงาย ไมเปลี่ยนใจ


งาย

คม เปนคนที่ฉลาด รูเทาทันคน รูเทาทันธรรมชาติและความเปนจริง แกปญหาเกงไมวา


จะเปนปญหางาน หรือปญหาคน ปญหาของตน หรือปญหาของคนอื่น

หนัก เปนคนที่หนักแนน ไมหูเบา ไมใจเบา ไมเบียดเบียน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com


ผู อื่น คนที่มีลักษณะแหลมคมหนัก จึงเปนคนที่เจริญดวยศีลสมาธิและปญญา คนอื่น
ที่มาคบคาสมาคมจึงรูสึกอบอุนใจ ไววางใจ มอบความเชื่อใจ และศรัทธาให มอบความ
เปนผูนําหรือความเปนใหญให

เราลองมาพิจารณาคนที่บุคลิกภาพที่ขาดศีลสมาธิปญญา คือเปนคนที่ มนทื่อเบา เราจะ


รูสึกหวาดหวั่นไมสบายใจเมื่ออยูใกล

มน เปนคนที่ไมตั้งใจจริง ขาดสมาธิในการทํางาน เปนไมหลักปกขี้เลน ไมเปนโลเปน


พาย เราจึงเอาคนมนเปนที่พึ่งไมได

ทื่อ เปนคนที่ไมฉลาด ชอบหลงกับกิเลสไดงาย แกปญหาไมได เพราะไมรูเทาทันทั้ง


ทางโลกและทางธรรม บางทีก็นําผิดทิศผิดทาง คนที่ไดคนทื่อเปนผูนํา ยอมเสียรูกลุม
อื่น เผาอื่น ประเทศอื่น ชาติอื่น และพัฒนาไมทันเขา ถูกคนอื่นดูหมิ่นดูแคลนได

เบา เปนคนที่หูเบา เชื่อคนงาย ขาดศีล ยอมเบียดเบียนคนอื่น มักเห็นผิดเปนชอบ ชอบ


อบายมุข ลักษณะเชนนี้ยอมเปนคนที่มีบุคลิกภาพที่ไมดีไมงาม

บุคลิกภาพ ภาษาอังกฤษ (Personality) แปลวาหนากาก เปนลักษณะภายนอก เชน


เปนพยาบาลแตงตัวนารัก ภายในจิตใจก็ตองดีงามดวย นางงามก็ควรงามทั้งรางกาย
บุคลิก และจิตใจ การปรับปรุง

บุคลิกภาพใหพัฒนามาจากใจ เมื่อใจดีใจงามแลว ภายนอกที่แสดงออกมาก็จะเปนไป


อยางจริงใจ ที่เรียกวา“ใจเปนนายกายเปนบาว”

พุทธ ศาสนาพัฒนาบุคลิกขึ้นมาได ชาวไทยจึงควรลึกซึ้ง แจมชัดในทางพุทธศาสนา รู


ถึงสามัญสํานึกวาสิ่งใดควรทํา สิ่งใดไมควรทํา พุทธศาสนาจึงเนนพัฒนาจิตใจกอน

คําวา “ศีล” แปลวา “ปกติ” แตสังคมคนไทยนี่แปลกจริง ๆ ในปจจุบันนี้ สังคมกลับมอง


วาคนถือศีลเปนคนผิดปกติ เปนอะไรไปเสียแลว เพี้ยนหรือเปลา คนที่ถือศีลจึงตองมีใจ
หนักแนนดวย ที่ตองทนสังคมเขาใจผิดจากทํานองคลองธรรม พอหญิงสาวจะบวชชี ก็
หาวาอกหักมาหรือเปลา อยางนี้เปนตน คนถือศีล หนาตาก็จะดูดี อิ่มเอิบสดใส คําพูดดี
ไมกาวราว กริยาทาทางสงบ ไมหลุกหลิก ไมกินเหลา ไมเสพยาบา ดูตัวอยางเราเห็น
พระสงฆ แลวเราจะเกิดความรูสึกศรัทธา เกิดความสงบ เห็นเครื่องแบบพระก็ดูนา
เลื่อมใส บุคลิกภาพที่ดีจึงมักเริ่มจากการมีศีลกอน พระพุทธรูปที่เรากราบไหวก็มี
ลักษณะบุคลิกภาพที่นาเลื่อมใสเชนกัน เชน ตาหลุบต่ํา หนาอิ่มเอิบ ผองใส มุมปากยิ้ม
ดวยเมตตา ลักษณะทวงทาสงบ ไมโลดโผน

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com


คนมีศีล คือคนหนักแนน พึ่งตน ชวยตนเอง เตือนตัวเอง คนที่นากลัวที่สุด ไมใชศัตรู
ไมใชคนอื่น แตเปนตัวเอง (ตัวกูของกู)

พระ พุทธเจา สอนบุคลิกภาพใหกับพระสงฆ เชน การเดินใหมองไกลไมเกิน 3 กาว หาม


มองจานขาวหรือบาตรของคนอื่น กลัวจะเกิดกิเลส อยากกินของคนอื่น การฉันทจะทํา
ดวยความสํารวม ขาวไมถึงปากหามอาปากรับ หามยืนปสสาวะเพราะไมงาม

3. การพัฒนาบุคลิกภาพในแนวสติปฏฐาน

แนวสติปฏฐานนั้นจะเดินนับกาว นอนนับทอง จองดูลมหายใจเขาออก เคลื่อนไหวดวย


สติ ตอนจิต

ใจใหอยูในกรอบ ไมตั้งอยูในความชอบไมชอบ ไมงวง ไมสงสัย ขาจะทําดีดวยเมตตา


ขาจะสรางปญญาใหกลาคม

แนว สตินั้น เราหลับตาเราคิดเองแลวเราก็จะรูเอง ไมตองรอใหใครมาบอก วาอะไรถูก


อะไรผิด อะไรควร อะไรไมควร เราพิจารณาไตรตรองดวยใจที่เปนกลาง เราจะหยั่งรูเอง
อยากที่จะเปนคนที่สงบเยือกเย็น จะตองหัดฝกสมาธิกัมฐาน ถาเรารูเทาทัน คนมาดาเรา
เราก็ไมเกิดโมโห เราสามารถขมใจไดโดยไมลําบากใจ เราก็ไมแสดงบุคลิกภาพที่ไม
เหมาะสม ตอบโตดวยความกาวราว ในทศพิธราชธรรมก็มีหลักธรรมที่ความไมโกรธดวย

4. คนมักมากในกามคุณยอมมีบุคลิกภาพไมดี

คน มักมากในกามคุณ คิดแตของใตสะดือ ของเหนือหัวเขา ตาก็จะแวววาวมองเด็กไป


ทั่วดวยสายตากลุมกลิ่ม ลักษณะเชนนี้มีบุคลิกภาพเหมือนเฒาหัวงูไมนาไววางใจ อยาง
นี้เปนคนบุคลิกภาพไมดี บางคนซอนความรูสึกไดสนิทแนบเนียนจนอายุเกษียณ และ
แลวก็มาโผลตอนแกเฒา

คน มักมากในกามคุณ นอกจากเรื่องเพศแลว ยังมีเรื่องกามที่เกี่ยวกับของหอม ของสวย


ของอรอย ของนุม เสียงไพเราะ พอชอบก็ไมงาม เพราะแสดงความอยากไดจนนา
เกลียด แตพอเกลียดก็ทําตนไมงาม แสดงอาการรังเกียจอยากผลักไสขับไล จนกิริยานา
เกียจ ดูไมงามเชนกัน หากจิตคิดไมดี กายก็ยอมออกมาไมดี เปนพยาบาลดาคนไข พอ
เราตอวาดาคนไข ไมดีไมงาม พยาบาลก็เถียงวาเขาปากกับใจตรงกัน ปกติเขาจะพูดคํา
นี้ตอเมื่อเขากําลังพูดปากหวาน ไมใชพูดไมดีแลวบอกวาปากกับใจตรงกัน อยางนี้แสดง
วาใจคนพูดก็ไมดีนะซิ

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com


5. บุคลิกภาพที่ดีที่สุดคือความมั่นใจ

บุคลิกภาพ ที่ดีที่สุด คือความมั่นใจ จริงใจ แมพูดไมชัดแตก็พูดดวยความมั่นใจ พูด


หยาบแตมั่นใจแบบคนบานนอก พูดกู ๆ มึง ๆ คนฟงก็ทราบซึ้งถึงน้ําตาไหลได
บุคลิกภาพนอกจากการพูดแลว ยังมีน้ําเสียง ทาทาง ความมั่นใจ เปนพลังที่สงออกไป
จากผูพูด ไปยังผูฟง

6. หลักธรรมที่เปนบุคลิกภาพของผูนําและพยาบาล

หลัก ธรรมที่สรางบุคลิกภาพของผูนํา ผูบริหาร ผูจัดการ และพยาบาล คือ พรหมวิหาร 4


ประกอบดวย เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา ผูใดประกอบดวยพรหมวิหารธรรม ผูนั้น
ยอมไดรับการยกยองวาเปนที่พึ่งได เปนคนที่นาเคารพศรัทธานับถือ

7. ขี้บนเปนพลังหารสอง

คน ขี้บน ยอมแสดงวาตนเองออนแอ แกปญหาไมได ควบคุมอารมณตนเองไมได


ตองการใหคนอื่นเห็นใจ ตองการใหคนอื่นชวยเหลือ เปนคนที่มีพฤติกรรมบุคลิกภาพ
ขาดความอดทน โปรดสังเกตวามีบางคนมีวิชาการความรูความสามารถดี ขยันทํางาน
มากกวาคนอื่น 2 เทา ทํางานหามรุงหามค่ํา แตขาดคนยอมรับ คนรุนนองแซงหนาไดรับ
การโปรโมตใหสูงกวา เพราะเขาขี้บน ความดีทั้งหมดที่เขาสราง จึงถูกตัดทอนหารสอง
บางครั้งหารสาม คิดแลวนาสงสารเขา ที่เขาหมดโอกาสเจริญเติบโตในหนาที่การงาน
เนื่องจากเขามีบุคลิกภาพไมดี เปนคนขี้บน

8. สรุปสงทาย

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com


การ พัฒนาบุคลิกภาพนั้น มีทั้งพัฒนาภายนอก ไดแก กิริยาทาทาง การแตงตัว การ
พัฒนาภายใน ไดแก ทัศนคติ แนวคิดสรางสรรค มุมมองที่ถูกตอง การควบคุมอารมณ
และจิตใจใหเหมาะสมกับสถานการณ การดูคนจะตองดูจากภายในวาใจงามหรือไม แต
คนสวนใหญมักชอบดูจากภายนอก ดูแตเปลือกนอกแตเพียงอยางเดียว เชน เปนเด็กไว
ผมยาว คนหนากลมไวผมยาว คนหนายาวไวผมสั้น เด็กไวผมมาก็ดูนารัก คนแกสาวแก
ไวผมมาก็ดูแปลก ๆ

คนรักกันจริง ๆ เขารักกันดวยใจ ไมใชกายหรือหนาตาดี สังเกตวาคนแตงงานกันหนาตา


ดีทั้งคู แตงงานอยูกินปเดียวก็หยากันเสียแลว สวนใหญคนที่อยูกันจนแกเฒาจะอยูกัน
ดวยใจ คนจะแตงงานนั้นสังคมชอบเอาดวงมาผูกกัน แตทําไมไมเอาใจของทั้งคูมาผูก
กัน จะเห็นตัวอยางในบทละคร พระเอกรักนางเอก พอแมกีดกันไมชอบ พระเอกตองทํา
ความดีกอนจนเลือดตาแทบกระเด็นแทบเอาชีวิตเขาแลก ทายสุดดวยความดีนางเอกก็
เห็นใจ พอแมนางเอกก็เห็นใจ ยอมใหพระเอกแตงงานกับนางเอกได

สุดทาย ขอกราบขอบพระคุณ พระมหารัช รัตนวัณโณ วัดอัมพวัน และ นอ.นพ.


พงษศักดิ์ ตั้งคณา ที่สนทนากันในเรื่อง “การพัฒนาบุคลิกภาพดวยเทคนิคแบบ
พุทธ” ซึ่งเปนแนวทางในการเขียนบทความนี้ บางสวนผูเขียนเพิ่มเติมขึ้นมาเอง
เพื่อใหบทความสมบูรณขึ้น

พุทธวิธีบริหาร
Buddhist Style in Management

PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

You might also like