You are on page 1of 65

หลักสู ตรสถานศึกษา

ศูนย์ พฒ
ั นาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปะนาเระ

พุทธศักราช ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔


ตามหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕๖๐
(สำหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ปี )

สั งกัดเทศบาลตำบลปะนาเระ
ตำบลปะนาเระ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
คำนำ

การจัดการศึกษาตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช๒๕๔๒ ได้
กำหนดให้สถานศึกษาดาเนินการจัดทำหลักสู ตรระดับสถานศึกษาโดยมีควำมสอดคล้องกับหลักสู ตรแกนกลาง และ
สภาพตามบริ บททางวัฒนธรรม วิถีชีวติ ของสังคมชุ มชนและท้องถิ่นของผูเ้ รี ยน ซึ่ งมีลกั ษณะแตกต่างกันไป ทั้งนี้
เพื่อให้สถานศึกษาได้ใช้หลักสู ตรสถานศึกษาเป็ นแนวทางในการจัดการศึกษาให้มีประสิ ทธิภาพ และมีมาตรฐาน
ทัดเทียมกันประกอบกับกระทรวงศึกษาธิการได้มีคำสั่งที่ สพฐ. ๑๒๒๓/๒๕๖๐ ลงวันที่๓ สิ งหาคม๒๕๖๐ เรื่ อง
ให้ใช้หลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช๒๕๖๐ แทนหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช๒๕๔๖ ตั้งแต่ปี
การศึกษา๒๕๖๑ เป็ นต้นไป

ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปะนาเระ สังกัดเทศบาลตำบลปะนาเระ ตำบลปะนาเระ อำเภอปะนา


เระ จังหวัดปัตตานีได้ตระหนักถึงความสำคัญของภารกิจดังกล่าว จึงได้สร้างหลักสู ตรสถานศึกษาพุทธศักราช ๒๕๖๑
โดยกำหนดถึงความสอดคล้องกับหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช๒๕๖๐ ของกระทรวงศึกษาธิการที่ ได้มีคำสั่ง
กำหนดให้ใช้ต้ งั แต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็ นต้นไปเพื่อให้ผบู ้ ริ หารศูนย์พฒั นาเด็กเล็กครู ผูป้ กครอง ชุมชนและผูม้ ีส่วน
เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยมีความรู ้ความเข้าใจที่ชดั เจนและสามารถนำไปใช้ในการจัด กิจกรรมประสบการณ์
อย่ำงมีประสิ ทธิภาพสมตามเจตนารมณ์ของหลักสู ตรสถานศึกษาที่กำหนดไว้ในฉบับนี้

ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปะนาเระ
สังกัดเทศบาลตำบลปะนาเระ
สารบัญ

เรื่ อง หน้ า
ประกาศการใช้หลักสู ตรสถานศึกษา ๑

บทที่๑ ข้อมูลทัว่ ไปของสถานศึกษา ๒

บทที่๒ ปรัชญา วิสัยทัศน์ ๓

บทที่๓ ภารกิจการจัดการศึกษาปฐมวัย ๔

บทที่๔ เป้าหมายการจัดการศึกษาปฐมวัย ๔

บทที่๕ จุดมุ่งหมายการศึกษาปฐมวัย ๕

บทที่๖ โครงสร้างหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัย (สำหรับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี ) ๙

บทที่๗ สาระการเรี ยนรู ้ ๑๐

บทที่๘ การสร้างบรรยากาศการเรี ยนรู ้ ๑๑

บทที่๙ สื่ อและแหล่งการเรี ยนรู ้ ๕๒

บทที่๑๐ การประเมินพัฒนาการ ๕๕

บทที่๑๑ การบริ หารจัดการหลักสู ตรสถานศึกษา ๕๖

บทที่๑๒ การประเมินหลักสู ตร ๕๘

ภาคผนวก

คำสั่ งแต่ งตั้งคณะกมการร


(๑)

ประกาศศูนย์ พฒ
ั นาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปะนาเระ
เรื่ องให้ ใช้ หลักสู ตรสถานศึกษาศูนย์ พฒ ั นาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปะนาเระ
พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตามหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕๖๐
---------------------
การจัดการศึกษาตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช๒๕๔๒ ได้
กำหนดให้สถานศึกษาดาเนินการจัดทำหลักสู ตรระดับสถานศึกษา โดยมีความสอดคล้องกับหลักสู ตรแกนกลาง และ
สภาพตามบริ บททางวัฒนธรรมวิถีชีวติ ของสังคมชุ มชนและท้องถิ่นของผูเ้ รี ยน ซึ่ งมีลกั ษณะแตกต่างกันไป ทั้งนี้
เพื่อให้สถานศึกษาได้ใช้หลักสู ตรสถานศึกษาเป็ นแนวทางในการจัดการศึกษาให้มีประสิ ทธิภาพและมีมาตรฐาน
ทัดเทียมกัน ประกอบกับกระทรวงศึกษาธิการ ได้มีคำสั่งที่ สพฐ. ๑๒๒๓/๒๕๖๐ ลงวันที่๓ สิ งหาคม๒๕๖๐ เรื่ อง
ให้ใช้หลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช๒๕๖๐ แทนหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช๒๕๔๖ ตั้งแต่ปี
การศึกษา๒๕๖๑ เป็ นต้นไป
ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปะนาเระสังกัดเทศบาลตำบลปะนาเระ ตำบลปะนาเระ อำเภอปะนาเระ
จังหวัดปั ตตานีได้ตระหนักถึงความสำคัญของภารกิจดังกล่าว จึงได้จดั ให้มีการสร้างหลักสู ตรสถานศึกษาการศึกษา
ปฐมวัย (สำหรับเด็กอายุ ๓ – ๖ ปี ) โดยกาหนดถึงความสอดคล้อง กบหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัย ั พุทธศักราช ๒๕๖๐
เพื่อให้ผบู ้ ริ หารศูนย์พฒั นาเด็กเล็กครู ผปู ้ กครองชุมชนและผูม้ ีส่วนเก่ียวข้องกบการพัฒนาเด็กปฐมวัย ั มี
ความรู ้ความเข้าใจที่ชดั เจนและสามารถนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมประสบการณ์อยางมีประสิ ทธิ ภาพ่ สมตาม
เจตนารมณ์ของหลักสู ตรสถานศึกษาที่กาหนดไว้ในฉบับนี้
ทั้งนี้หลักสู ตรสถานศึกษาศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระพุทธศักราช.......(ส าหรับเด็กอายุ
๓ – ๖ ปี ) ฉบับนี้ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริ หารศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระในการ
ประชุมครั้งที่..../........เมื่อวันที่........เดือน....พ.ศ......จึงประกาศให้ใช้หลักสู ตรสถานศึกษาฉบับปรับปรุ งนี้ในศูนย์
พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปะนาเระสังกดเทศบาลตัาบลปะนาเระ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็ นต้นไป

ประกาศ วันที่.……..เดือน.……....พุทธศักราช...……...

(........................................................) (........................................................)
ประธานคณะกรรมการบริ หารศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก ผูบ้ ริ หารศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก
(๒)
หลักสู ตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย
ศูนย์ พฒ
ั นาเด็กเล็กเทศบาลตำบลปะนาเระ

บทที๑่
ข้ อมูลทัว่ ไปของสถานศึกษา
ข้ อมูลทัว่ ไป
ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระตั้งอยูหมู่ที่ 1 ตำบลปะนาเระอ าเภอปะนาเระจังหวัดปัตตานี
จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2554 สื บเนื่องจากกองการศึกษา เทศบาลตตำบลปะนาเระได้สำเร็ จความต้องการของชุมชนและ
ประชาชนในเขตเทศบาล ซึ่ งผลจากการสำรวจนั้น ประชาชนเห็นด้วยและต้องการให้เทศบาลจัดตั้งศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก
และได้มีการเปิ ดการเรี ยนการสอนเมื่อวันที่18พฤษภาคม 2554
เทศบาลตาบลปะนาเระมีพ้นื ที่ความรับผิดชอบประมาณ 13.952 ตารางกิโลเมตรหรื อประมาณ 8718.75
ไร่ ครอบคลุม5 หมู่บา้ น ดังนี้
หมู่ที่ 1 บ้านปะนาเระตะวันออก
หมู่ที่ 2 บ้านนาพร้าว
หมู่ที่ 3 บ้านปะนาเระ(ตอนกลาง)
หมู่ที่ 4 บ้านคลองต ่่า
หมู่ที่ 5 บ้านคาโต

อาณาเขต
ทิศเหนื อติดต่อกบอัา่ วไทย
ทิศใต้ติดต่อกบองค์การบริ หารสัว่ นตาบลท่าข้าม
ทิศตะวันออกติดต่อองค์การบริ หารส่ วนตาบลบ้านกลาง
ทิศตะวันตกติดต่อกบองค์การบริ หารสัว่ นตาบลตะโละกาโปร์ อาเภอยะหริ่ ง จังหวัดปั ตตานี

สภาพชุมชน
บริ เวณที่ต้ งั ของศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลตาบลปะนาเระ อ าเภอปะนาเระจังปั ตตานี อยูใกล้ก่บหาดปะ่ั
นาเระ ฐานะของครอบครัวอยูระดับปานกลาง่ นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีสภาพครอบครัวที่อบอุ่น นับถือศาสนาอิสลาม
ประกอบอาชีพประมงขนาดเล็กรองลงมาคือการค้าขาย และรับจ้างมีรายได้ปานกลาง
(๓)
บทที่๒
ปรัชญาการศึกษาปฐมวัย
ตามหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัย พทธศักราชุ ๒๕๖๐
--------------------------------
การศึกษาปฐมวัยเป็ นการพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิด ถึง6 ปี บริ บูรณ์อยางเป็ น่-องค์รวมบนพื้นฐาน
การอบรมเลี้ยงดูและการส่ งเสริ มกระบวนการเรี ยนรู ้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนให้เต็ม
ตามศักยภาพภายใต้บริ บทสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยูดว้ ยความรัก่ ความเอื้ออาทร และความเข้าใจของทุกคน
เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ ความเป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์เกิดคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัวสังคมและ
ประเทศชาติ
วิสัยทัศน์ การศึกษาปฐมวัย
ตามหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยพทธศักราชุ ๒๕๖๐
------------------------------------
หลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยมุ่งพัฒนาเด็กทุกคนให้ได้รับกาพัฒนาด้านร่ างกาย อารมณ์จิตใจสังคมและ
สติปัญญาอยางมีคุณภาพและต่่อเนื่อง ได้รับการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้อยางมีความสุ ขและเหมาะสมตามวัย่ มี
ทักษะชีวติ และปฏิบตั ิตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นคนดีมีวินยั และส านึกความเป็ นไทยโดยความ
ร่ วมมือระหวางสถานศึกษา่่ พอแม่่ครอบครัวชุมชนและทุกฝ่ ายที่เก่ียวข้องกบการพัฒนาเด็ก

ปรัชญา
ศูนย์ พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระ
สั งกัดเทศบาลต าบลปะนาเระ
------------------------------------
จัดการศึกษาโดยเน้นคุณธรรมกีฬา พัฒนาคุณภาพชีวติ อนุ รักษ์วฒั นธรรมประเพณี บริ การที่ดีเป็ นเลิศ

วิสัยทัศน์
ศูนย์ พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระ
สั งกัดเทศบาลต าบลปะนาเระ
------------------------------------
“การศึกษาเด่น เน้นคุณธรรม นากีฬา พัฒนาคุณภาพชีวิตอนุรักษ์วฒั นธรรมประเพณี บริ การที่ดีเป็ นเลิศ”
ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระมุ่งน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความพร้อมทั้ง ๔ ด้านมีสุขภาพกาย
สุ ขภาพจิตและสุ ขนิสัยที่ดีมีสุนทรี ยภาพตามศิลปะดนตรี และการเคลื่อนไหวมีความรับผิดชอบมีระเบียบวินยั ซื่อสัตย์
รักชาติศาสนา พระมหากษัตริ ยร์ ักความเป็ นไทยรักธรรมชาติสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการใช้ภาษาในการ
สื่ อสารคิดและแกปั ญหาได้เหมาะสมตามวัยและอยูร้ ่ วมกบผูอ้ ื่นในสังคมอยัางมีความสุ ข่
(๔ )

บทที่๓
ภารกิจการจัดการศึกษาปฐมวัย
ศูนย์ พฒ
ั นาเดกเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระ
สั งกัดเทศบาลต าบลปะนาเระ

๑. จัดประสบการณ์ส่งเสริ มพัฒนาการของเด็กทั้ง ๔ ด้าน


๒. จัดประสบการณ์ส่งเสริ มพัฒนาการด้านร่ างกายและสุ ขนิสัยที่ดี
๓. จัดประสบการณ์ส่งเสริ มคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิ ยมที่พึงประสงค์ ๔.
จัดประสบการณ์ส่งเสริ มระเบียบวินยั ความรับผิดชอบความซื่ อสัตย์ ๕.
จัดประสบการณ์ส่งเสริ มให้เด็กมีความรักชาติศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ ๖.
จัดประสบการณ์ส่งเสริ มให้เด็กรักธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
๗. จัดประสบการณ์ส่งเสริ มให้เด็กมีส่วนร่ วมในการปฏิบตั ิกิจกรรมเพื่ออยูร่วมกบสังคมได้อยัางมีความสุ ข่
๘. จัดกิจกรรมส่ งเสริ มสุ นทรี ยภาพด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว
๙. จัดกิจกรรมส่ งเสริ มทักษะทางด้านภาษา กระบวนการคิดและการแกปั ญหา่้

บทที๔่
เป้ าหมายการจัดการศึกษาปฐมวัย
ศูนย์ พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระ
สั งกัดเทศบาลต าบลปะนาเระ

๑. เด็กทุกคนมีร่างกายเจริ ญเติบโตตามวัย และมีสุขนิสัยที่ดี


๒. เด็กทุกคนสามารถใช้ภาษาสื่ อสารกบผูอ้ ื่นได้อยัางเหมาะสมก่บวัย ั
๓. เด็กทุกคนมีความพร้อมที่จะเรี ยนรู ้
๔. เด็กทุกคนสามารถอยูร่วมกบกับผูอ้ ื่นได้อยัางมีความสุ ข่
๕. เด็กทุกคนมีสุขภาพกายสุ ขภาพจิตและเสริ มสุ ขนิสัยที่ดี
๖. เด็กทุกคนมีระเบียบวินยั มีความรับผิดชอบมีความซื่ อสัตย์รกธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
๗. เด็กทุกคนรักชาติศาสนา พระมหากษัตริ ยแ์ ละความเป็ นไทย
๘. เด็กทุกคนแสดงออกได้ตามศักยภาพด้านศิลปะดนตรี การเคลื่อนไหวร่ างกายตามจินตนาการ
๙. เด็กทุกคนมีทกั ษะกระบวนการคิดและสามารถแกปั ญหาได้เหมาะสมก้บวัย ั
๑๐. เด็กทุกคนได้เข้าร่ วมกิจกรรมที่หลายหลายเหมาะสมกบวัยอยัางมีความสุ ข่
(๕)
หลักการจัดการศึกษาปฐมวัย
ตามหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยพทธศักราชุ ๒๕๖๐
------------------------------
เด็กทุกคนมีสิทธิ ที่จะได้รับการอบรมเลี้ยงดูและการส่ งเสริ มพัฒนาการตามอนุสัญญาวาด้วยสิ ทธิ เด็ก่
ตลอดจนได้รับการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้อยางเหมาะสม่ ด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหวางเด็กก่บพัอแม่่ เด็กกบผูส้ อนั
เด็กกบผูเ้ ลี้ ัยงดู หรื อผูท้ ี่เก่ียวข้องกบการอบรมเลี้ ัยงดูการพัฒนาและให้การศึกษาแก่เด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กมีโอกาส
พัฒนาตนเองตามลาดับขั้นของพัฒนาการทุกด้าน อยางเป็ นองค์รวม่ มีคุณภาพและเต็มตามศักยภาพโดยกาหนด หลักการ
ดังนี้
๑. ส่ งเสริ มกระบวนการเรี ยนรู ้และพัฒนาการที่ครอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกคน
๒. ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็ นสาคัญ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหวาง่
บุคคลและวิถีชีวติ ของเด็กตามบริ บทของชุมชนสังคมและวัฒนธรรมไทย
๓. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวมผ่การเล่นอยางมีความหมาย่ ได้ลงมือกระท าใน
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้เหมาะสมกบวัย ั และมีการพักผอนเพียงพอ่
๔. จัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ให้สามารถด ารงชีวติ และสมารถปฏิบตั ิตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงเป็ นคนดีมีวนิ ยั และมีความสุ ข
๕. สร้างความรู ้ความเข้าใจและประสานความร่ วมมือในการพัฒนาเด็กระหวาง่
สถานศึกษากบพัอแม่่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่ ายที่เก่ียวข้องการการพัฒนาเด็กปฐมวัย

บทที๕ ่
จุดม่ งหมายการศึกษาปฐมวัยุ
ตามหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัย พทธศักราชุ ๒๕๖๐
(ส าหรับเด็กอายตุากว่ า่่ ๓ ปี )
------------------------------------
หลักสู ตรการศึกษาปฐมวัย สำหรับเด็กอำยุ ๓ – ๖ ปี เป็ นกำรจัดกำรศึกษำ
จุดหมาย
การพัฒนาเด็กอายุต่ากวา่่ ๓ ปี มุ่งส่ งเสริ มให้เด็กมีพฒั นาการด้านร่ างกาย อารมณ์จิตใจสังคมและ
สติปัญญาที่เหมาะสมกบวัย ั ความสามารถ ความสนใจ และความแตกต่างระหวางบุคคล่ ดังนี้
๑. ร่ างกายเจริ ญเติบโตตามวัย แข็งแรงและมีสุขภาพดี
๒. สุ ขภาพจิตดีและมีความสุ ข
๓. มีทกั ษะชีวิตและสร้างปฏิสัมพันธ์กบบุคคลรอบตัวและอยูรั ่ วมกบผูอ้ ื่นได้อยัางมีความสุ ข่
๔. มีทกั ษะการใช้ภาษาสื่ อสารแลสนใจเรี ยนรู ้สิ่งต่าง ๆ
(๖)
จุดม่ งหมายการจัดการศึกษาปฐมวัยุ
ศูนย์ พฒ
ั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระ
สั งกัดเทศบาลต าบลปะนาเระ

จุดม่ งหมายของหลักสุู ตร มุ่งพัฒนาให้เด็กมีพฤติกรรมเป็ นไปตามที่พึงประสงค์ที่สอดคล้องกบั


หลักสู ตรแกนกลางพุทธศักราช๒๕๖๐ รวมทั้งการพัฒนาตามนโยบายด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การจัด
ประสบการณ์แบบสะเต็มศึกษาค่นิยมความเป็ นไทย อาเซี ยนศึกษและภูมิปัญญาท้องถิ่น

คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
มำตรฐำน

......................................
หลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช๒๕๖๐ กาหนดคุณลักษณะที่พึงประสงค์สาหรับเด็กอายุต่า
กวา่่ ๓ ปี ดังนี้
๑. พัฒนาการด้ านร่ างกาย
๑. ร่ างกายเจริ ญเติมโตตามวัยและมีสุขภาพดี
๒. ใช้อวัยวะของร่ างกายได้ประสานสัมพันธ์กนั
๒. พัฒนาการด้ านอารมณ์จิตใจ
๓. มีความสุ ขและแสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมกบวัย ั
๓. พัฒนาการด้ านสั งคม
๔. รับรู ้และสร้างปฏิสัมพันธ์กบบุคคลและสิั่ งแวดล้อมรอบตัว
๕. ช่วยเหลือตนเองได้เหมาะสมกบวัย ั
๔. พัฒนาการด้ านสติปัญญา
๖. สื่ อความหมายและใช้ภาษาได้เหมาะสมกบวัย ั
๗. สนใจเรี ยนรู ้สิ่งต่าง ๆ รอบตัว
พัฒนาการ คุณลักษณะ คุณลักษณะ สภาพที่พงึ่ ประสงค์ สาระการเรียนร้ ู่
ีท่พึงประสงค 2-3 ปี
สาระที่ควรร้ ู่ ประสบการณ์ ส าคัญ
- น ่า่ีหนักและส่วนสู งตามเกณ ่้

ด้ านร่ างกาย ๑. ร่ างกายเจริ ญเติบโต ๑.๑ มีน ่า่ีหนักส่ วนสู ง -นา่้หนักส่ วนสู งตามเกณฑ์ของ -การเคลื่อนไหวส่ วนต่างๆของ
ตามวัยและมีสุข และเส้นรอบศีรษะตาม - เส้นรอบศีรษะตามเกณฑ์ กรมอนามัย ร่ างกายตามจังหวะดนตรี
เกณฑ์อายุ

๑.๒ มีร่างกายแข็งแรง -มีภูมิตา้ นทานโรคไ่่ ป่วยบ่อย ขับถ่าย ่ี -กินอาหารครบหลัก5หมู่


- รับประทานอาหารทมีประโยชน์่
(๗) เป็ นเวลารับประทานอาหารนอนนและ และดื่มน้าสะอาดได้ดว้ ยตนเอง -การดูแลรักษาความสะอาด
การวิเคราะห์ คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ ผักผอนเหมาะสมก่บวัย ั - ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร ของร่ างกาย ของใช้ส่วนตัว และ
และหลังจากใช้ห้องน้าห้องส้วม การรักษาความปลอดภัยเป็ น
ได้ดว้ ยตนเอง ต้น
- นอนพักผอนเป็ นเวลา่่
- ออกกาลังกายเป็ นประจา

๒. ใช้อวัยวะของ ๒.๑ ใช้กล้ามเนื้อใหญ่ได้เหมาะสม -นังยองๆ่่ เล่นโดยไม่เสี ยการทรงตัว -การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ประสาน -การเคลื่อนและการทรงตัว


ร่ างกายได้ประสาน กบวัย ั -เดินถอยหลังได้ สัมพันธ์กนั -การประสานสัมพันธ์ของ
สัมพันธ์กนั -เดินขึ้นลงบันไดโดยมือข้างหนึ่ งจับราว กล้ามเนื้อและระบบประสาท
และกาวเท้าโดยมีสองเท้าในขั้้ นเดียวกนั -การเล่นเครื่ องเล่นสัมผัส
่ี
-กระโดดอยู้่ก่บทัโ่ ดยเท้าพ้นพื้นทั้ง 2
ข้าง

๒.๒ใช้กล้ามเนื้อเล็กและประสาน -จับสี เทียนแท่งใหญ่เพื่อขีดเขียนได้ -การใช้กล้ามเนื้อเล็กประสาน -การวาด การเขียนขีดเขี่ย


สัมพันธ์มือ-ตาได้เหมาะสมกบวัย ั -เลียนแบบลากเส้นเป็ นวงต่อเนื่อง หรื อ สัมพันธ์กนั -การวาดเส้นตามจินตนาการ
เส้นตรงแนวดิ่ง

ด้ านอารมณ์ จิตใจ ๓.มีความสุ ขและ ๓.๑ ร่ าเริ งแจ่มใส - อารมณ์ดียมิ แย้ม้ หัวเราะแววตามี แสดงพฤติกรรมทางบวกมีอารมณ์ด การรับรู้้่ อารมณ์หรื อความร
แสดงทางอารมณ์ได้ ความสุ ข ยิมแย้มแจ้มใส่ สึ กของตนเองการแสดงอารมณ์
่ี
เหมาะสมกบวัย ั ท่เป็ นสุ ข

๓.๒ แสดงออกทางอารมณ์ได้ - แสดงความภาคภูมิใจเมื การแสดงพฤติกรรมเป็ นตัวของ การควบคุมอารมณ์และการ


อยางเหมาะสมก่บวัย ั ท ่าสิ่ งต่างๆส ่าเร็ จ ตัวเอง แสดงออก
- ชอบพูดค ่าว่า"ไม่"เป็ น
สิ่ งท่ีต้องการ

๓.๓ สนใจ และมีความสุ ขกบั ตอบสนองต่อธรรมชาติเสี ยงเพลงจังหวะ - -การร้องเพลงการฟังนิ ทาน


ธรรมชาติสิ่งสวยงามดนตรี และ ดนตรี และสิ่ งต่างๆอยางเพลิดเพลิน่ การท่องคาคล้องจอง การท า
จังหวะการเคลื่อนไหว กิจกรรมศิลปะต่างๆ
(๘)

พัฒนาการ คุณลักษณะ คุณลักษณะ สภาพที่พงึ่ ประสงค์ สาระการเรียนร้ ู่


ีท่พึงประสงค 2-3 ปี
สาระที่ควรร้ ู่ ประสบการณ์ ส าคัญ

ด้ านสั งคม ๔.รับรู้้่ และสร้าง ๔.๑ปรับตัวเข้ากบสิั่ งแวดล้อม - ชอบเก็บของของตนเองไว้ใกล้ตวั -เล่นของเล่นอยางอิสระตามวัย่ -การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตร


ปฏิสัมพันธ์กบบุคคลั ใกล้ตวั ได้ และไม่ชอบแบ่งปันผู้่อื่น ประจ าวันตามวัย
และสิ่ งแวดล้อม
รอบตัว
๔.๒ เล่นและทากิจกรรมกบผู้่่ั - รอคอยช่วงสั้นๆ -เล่นและทากิจกรรมร่ วมกบผู้่อื่นั -การเล่นอยางอิสระ่่ การเล่น
อื่นได้ตามวัย - เล่นรวมกับผ้อืี ่นแต่ อยางเพลิดเพลิน่ ร่ วมกบผู้่อื่นั
คนต่างเล่น

๕.ช่วยเหลือตนเอง ๕.๑ ทากิจวัตรประจาวันด้วย สวมเสื้ อผ้าโดยมีคนช่วย -ทากิจวัตรประจาวันได้ดว้ ยตนเอง -การใช้ภาษาบอกความต้องการ


ได้เหมาะสมกบวัย ั ตนเองได้ตามวัย -บอกได้วาตนเองต้องการขับถ่่าย

ด้ าน ๖.สื่ อความหมายและใช ๖.๑ รับรู้้่ และเข้าใจความหมายขอ - ร้องเพลงได้บางค ่าและร้อง -รับรู้่ภาษาและแสดงสี หน้าท่าทาง -การตอบค าถามจากการคิดการ
สติปัญญา ภาษาได้เหมาะสมกบวัย ั ภาษาได้ตามวัย เพลงคลอตามท ่านอง ตอบสนองต่อคาสั้งง่าย เชื่อมโยงจากประสบการณ์เดิม
- สนใจดูหนังสื อนิทานภาพ

๖.๒ แสดงออกและ/หรื อพูด -พูดเป็ นวลีส้ นั ๆ -พูดเพื่อสื่ อความหมายอยางถูกต้อง่ -การเรี ยงล าดับเหตุการณ์
เพื่อสื่ อความหมายได้ -มักจะถามค าถาม"อะไร"และ" ยืดหยุนความคิดตามวัย่
ท าไม"

๗.สนใจเรี ยนรู้่สิ่ ง ๗.๑ สนใจและเรี ยนรู้่สิ่ งต่างๆ -อยากเรี ยนรู้่สิ่ งต่างๆ ่ี -การฟังเสี ยงต่างๆรอบตัว การฟัง
-สนใจและเรี ยนรู้่สิ่งทอยู้่รอบตัว่
ต่างๆรอบตัว รอบตัว -ถามบ่อยถามซ้า นิทานหรื อเรื่ องราวสั้นๆ
-จดจ่อต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ งได้ยาวนานขึ้น

๗.๒ เรี ยนรู้่ผานการ่ - เลียนแบบการกระท ่าผ้ ่ี


-เลียนแบบพฤติกรรมจากสิ่ งทได้พบ่ -
เลียนแบบ ใกล้ชิดหรื อเด็กอื่น เห็น
- พยายามเลียนเสี ยงต่าง

๗.๓ ส ารวจโดยใช้ประสาท ่ี -คิดตัดสิ นใจด้วยตนเอง - การคิดตัดสิ นใจหรื อคิด


- ค้นหาของทถูกซ่ อนโดยมี สิ่งปกปิ ด่

่ี
สัมผัส 2-3ชิ้น แกปั ญหาในเรื่ องท้ง่ ่ายๆด้วยตนเอง
-ชอบละเลงสี ดว้ ยมือ
(๙)

บทที่๖
โครงสร้ างหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัย
ศูนย์ พฒ
ั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระ
สั งกัดเทศบาลต าบลปะนาเระ

ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระได้ก หนดโครงสร้างของหลักสู ตรสถานศึกษา


พุทธศักราช๒๕๖๑โดยยึดถือหลักการอบรมเลี้ยงดูและส่ งเสริ มพัฒนาการและการเรี ยนรู ้สาหรับเด็กอายุต่ากวา่่ ๓ ปี
เน้นการจัดประสบการณ์ผานการเล่่นตามธรรมชาติที่เหมาะสมกบวัยอยัางเป็ นองค์รวม่ ทั้งทางด้านร่ างกาย อารมณ์
จิตใจสังคมและสติปัญญาโดยจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกบความต้องการั ความสนใจ และความสามารถตามวัยของ
เด็กทั้งนี้เด็กในช่วงวัยนี้จะมีพฒั นาการที่เพิมขึ้ ่ นมากกวาในช่่วงแรก เด็กมีการพึ่งพาตนเองแสดงความเป็ นตัวของ
ตัวเองจึงจ าเป็ นต้องค านึงถึงสาระการ
เรียนร้ ู่ ที่ประกอบด้วยประสบการณ์ส าคัญและ สาระที่ควรเรี ยนร้ ู่ตลอดจนส่ งเสริ มคุณธรรม จริ ยธรรมเพื่อเป็ น
พื้นฐานการเรี ยนรู ้ในระดับที่สูงขึ้นตอไป่ จึงได้กาหนดไว้ดงั นี้

ก าหนดเวลาเรียน
----------------------------

ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระสังกดเทศบาลตัาบลปะนาเระ จัดการศึกษาให้กบเด็ก ั


ปฐมวัย (สาหรับเด็กอายุต่ากวา่่ ๓ ปี ) โดยแบ่งออกเป็ น ๒ ภาคเรี ยนใน ๑ ปี การศึกษาภาคเรี ยนละไม่นอ้ ยกวา่่
๑๓๐
วันในแต่ละวันใช้เวลาอบรมเลี้ยงดูไม่นอ้ ยกวา่่ ๕ ชัวโมง่ คือ
ภาคเรียนที๑่ เปิ ดเรี ยนระหวาง่ ๑๖ พฤษภาคม ถึง ๓๑ ตุลาคม
ภาคเรียนที๒ ่ เปิ ดเรี ยนระหวาง่ ๑ เมษายน ถึง ๑๕ กนยายนั
(๑๐)

บทที่๗
สาระการเรี ยนร้ ู่
.......................................

สาระการเรี ยนรู ้ของหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยบั เด็กอายุต่ากวา่่ ๓ ปี เป็ นสื่ อกลางในการจัด


ประสบการณ์เพื่อส่ งเสริ มพัฒนาการทุกด้าน ทั้งด้านร่ างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญาซึ่ งจาเป็ นต่อการ
พัฒนาเด็กให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์โดอาจจัดในรู ปแบบหน่วยการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการ หรื อเลือกรู ปแบบที่เหมาะสม
กบเด็กปฐมวัย ั สาระการเรี ยนรู ้ประกอบไปด้วย๒ ส่ วน คือ ประสบการณ์ส าคัญและสาระที่ควรเรี ยนรู ้ดงั ี้
๑.ประสบการณ์ส าคัญประสบการณ์ส าคัญเป็ นสิ่ งจาเป็ นอยางยิง่ ที่จะต้องให้เด็กได้ลงมือท่าด้วย
ตนเอง เพื่อพัฒนาเด็กทั้งทางด้านร่ างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญาโดยเฉพาะระยะแรกเริ่ มชี วติ และช่วง
ระยะปฐมวัยมีความส าคัญเป็ นพิเศษ่องจากเป็ นรากฐานของพัฒนาการกืาวต้อ่ ไปของชี วติ เด็กแต่ละคนตลอดจนเป็ น
ปัจจัยสาคัญที่กาหนดความสามารถ แรงจูงใจใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยนและความกระตือรื อร้นในการพัฒนาตนเองของเด็กที่จะ
ส่ งผลต่อเนื่ องจากช่วงวัยเด็กไปสู่ วยั รุ่ นและวัยผูใ้ หญ่ประสบการณ์สาคัญจะเก่ียวข้องกบการจัดสภาพแวดล้อมทุกด้านั
ที่กระตุน้ ให้เด็กเกิดการเรี ยนรู ้และมีความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์กบสิั่ งต่าง ๆ รอบตัวในวิถีชีวติ ของเด็กและ
ในสังคมภายนอกอันจะสังสมเป็ นทักษะพื้ นฐานที ่ ่จาเป็ นต่อการเรี ยนรู ้และสามารถพัฒนาต่อเนื่องไปสู่ ระดับที่สูงขึ้น
ประสบการณ์สาคัญที่ช่วยส่ งเสริ มพัฒนาการทางร่ างกาย อารมณ์จิตใจสังคมและสติปัญญาของเด็กนั้น พอแม่่หรื อผู ้
เลี้ยงดูจาเป็ นต้องสนับสนุ นให้เด็กมีประสบการณ์ตรงด้วยการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า การเคลื่อนไหวส่ วนต่าง ๆ ของ ร่ างกาย
การสร้างความรักความผูกพันกบคนใกล้ชิดั การปฏิสัมพันธ์กบผูค้ นและสิั่ งต่าง ๆ รอบตัวและการรู ้จกั ใช้
ภาษาสื่ อความหมายดังนั้น การฝึ กทักษะต่าง ๆ ต้องให้เด็กมีประสบการณ์สาคัญผานการปฏิบตั ิกิ่จวัตรประจาวัน และ การเล่น
ให้เด็กเกิดการเรี ยนรู ้จากการเลียนแบบลองผิดลองถูกส ารวจทดลอง และลงมือกระท าจริ งการปฏิสัมพันธ์ กบวัตถุสั่ิ งของ
บุคคลและธรรมชาติรอบตัวเด็กตามบริ บทของสภาพแวดล้อมจาเป็ นต้องมีการจัดประสบการณ์ส าคัญ
แบบองค์รวมที่ยดึ เด็กเป็ นสดงตาคัญ่อไปนี้
(๑๑)
๑.๑ ประสบการณ์ส าคัญทีส่ ่ ริมพัฒนาการด้ านร่ างกายงเสเป็ นการสนับสนุนให้เด็กได้มี
โอกาสพัฒนากล้ามเนื้ อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก การประสานสัมพันธ์ระหวางกล้ามเนื้ ่อและระบบประสาท ในการท า
กิจวัตรประจาวันหรื อทากิจกรรมต่าง ๆ การนอนหลับพักผอน่ การดูแลสุ ขภาพอนามัยและความปลอดภัยของตนเอง

ประสบการณ์ส าคัญทีค่ วรส่ งเสริม


1. การเคลื่อนไหวส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกายตามจังหวะดนตรี
2. การเคลื่อนไหวและการทรงตัว
3. การประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ และระบบประสาท
4. การเล่นเครื่ องเล่นสัมผัส
5. การวาด
6. การเขียนขีดเขี่ย
7. การปั้ น
8. การฉีก
9. การตัดปะ
10. การดูแลรักษาความสะอาดของร่ างกาย ของใช้ส่วนตัว
11. การรักษาความปลอดภัย
(๑๒)
๑.๒ ประสบการณ์ส าคัญทีส่ ่ งเสริมพัฒนาการด้ านอารมณ์ จิตใจเป็ นการสนับสนุนให้เด็กได้
แสดงออกทางอารมณ์และความรู ้สึกที่เหมาะสมกบวัย ั มีความสุ ขร่ างเริ ง แจ่มใส ได้พฒั นาความรู ้สึกที่ดีต่อตนเอง และ
ความเชื่อมันในตนเอง่ จากการปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆในชีวิตประจาวัน พอแม่่หรื อผูเ้ ลี้ยงดูเป็ นบุคคลที่มีส่วนสาคัญอยาง่
ยิงในการท่าให้เด็กรู ้สึกเป็ นที่รัก อบอุ่น มันคง่ เกิดความรู ้สึกปลอดภัย ไว้วางใจซึ่ งจะส่ งผลให้เด็กเกิดความรู ้สึกที่ดีต่อ
ตนเองและเรี ยนรู ้ที่จะสา ความสัมพันธ์ที่ดีกบผูอ้ ื่นั

ประสบการณ์ส าคัญทีค่ วรส่ งเสริม


1. การรับรู ้อารมณ์หรื อความรู ้สึกของตนเอง
2. การแสดงอารมณ์ที่เป็ นสุ ข
3. การควบคุมอารมณ์และการแสดงออก
4. การเล่นอิสระ
5. การเล่นบทบาทสมมติ
6. การชื่นชมธรรมชาติ
7. การเพาะปลูกอยางง่่าย
8. การเลี้ยงสัตว์
9. การฟังนิทาน
10. การร้องเพลง
11. การท่องคาคล้องจอง
12. การทากิจกรรมศิลปะต่าง ๆ ตามความสนใจ
(๑๓)
๑.๓ ประสบการณ์ส าคัญทีส่ ่ งเสริมพัฒนาการด้ านสั งคมเป็ นการสนับสนุนให้เด็กได้มี
โอกาสปฏิสัมพันธ์กบบุคคลและสิั่ งแวดล้อมต่าง ๆ รอบตัวในชีวติ ประจ าวันได้ปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ และปรับตัวอยู่
ในสังคมเด็กมีโอกาสได้เล่น และทากิจกรรมร่ วมกบผูอ้ ื่นั ไม่วาจะเป็ นผูใ้ หญ่่เด็กวัยเดียวกนหรื อตัา่ งวัย เพศเดียวกนั
หรื อต่างเพศ อยางสม่่าเสมอ

ประสบการณ์ส าคัญทีค่ วรส่ งเสริม

1. การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันตามวัย
2. การเล่นอยางอิสระ่่
3. การเล่นรวมกลุ่มกบผูอ้ ื่นั
4. การแบ่งปั นหรื อการให้
5. การอดทนรอคอยตามวัย
6. การใช้ภาษาบอกความต้องการ
7. การออกไปเล่นนอกบ้าน
8. การไปสวนสาธารณะ
9. การออกไปร่ วมกิจกรรมในศาสนาสถาน
(๑๔)
๑.๔ ประสบการณ์ส าคัญทีส่ ่ งเสริมพัฒนาการด้ านสติปัญญาเป็ นการสนับสนุนให้เด็ก
ได้รับรู ้และเรี ยนรู ้สิ่งต่าง ๆ รอบตัวในชีวติ ประจาวันผานประสาทสัมผัสทั้ง่ ห้า และการเคลื่อนไหวได้พฒั นาการการ
ใช้ภาษาสื่ อสารความหมายและความคิดูจกั สังเกตคุณลักษณะต่าง ๆ ไม่วาจะเป็ นสี่ ขนาด รู ปร่ าง รู ปทรงผิวสัมผัส
จดจาชื่ อเรี ยกสิ่ งต่าง ๆ รอบตัว

ประสบการณ์ส าคัญทีค่ วรส่ งเสริม


1. การตอบค าถามจากกการคิด
2. การเชื่อมโยงจากประสบการณ์เดิม
3. การเรี ยงล าดับเหตุการณ์
4. การยืดหยุนการคิดตามวัย่
5. การจดจ่อใส่ ใจ
6. การสังเกตวัตถุหรื อสิ่ งของที่มีสีสันและรู ปทรงที่ต่างกนั
7. การฟังเสี ยงต่าง ๆ รอบตัว
8. การฟังนิทานหรื อเรื่ องราวสั้น ๆ
9. การพูดบอกความต้องการ
10. การเล่าเรื่ องราว
11. การส ารวจ
12. การทดลองอยางง่่าย ๆ
13. การคิดวางแผนที่ไม่ซบั ซ้อน
14. การคิดตัดสิ นใจหรื อแกปั ญหาในเรื่ องที่งา้่ ย ๆ ด้วยตนเอง
15. การแสดงความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ

๒. สาระทีค่ วรเรี ยนร้ ู่ สาระที่จะให้เด็กอายุต่ากวา่่ ๓ ปี เรี ยนรู ้ควรเป็ นเรื้ องที่เก่ียวกบตนเองเป็ นลัาดับแรก แล้วจึง
ขยายไปสู่ เรื่ องที่อยูใกล้ตวั เด็ก่ เพื่อน าไปใช้ในการด าเนินชีวติ ประจด็กคาวรได้รับการอบรมเลีัน้ยงดูและส่ งเสริ ม
พัฒนาการและการเรี ยนรู ้ให้เหมาะกบวัย ั ดังนี้
๒.๑ เรื่ องราวเกีย่ วกับตัวเด็กควรเรี ยนรู ้เก่ียวกบชื่อ ั และเพศของตนเอง การเรี ยกชื่อส่ วนต่าง ๆ ของใบหน้าและ
ร่ างกาย การดูแลตนเองเบื้องต้น โดยมีผใู ้ หญ่ให้การช่วยเหลือ การล้างมือการขับถ่าย การรับประทานอาหาร การ
ถอดและใส่ เสื้ อผ้า การรักษาความปลอดภัยและการนอนหลับพักผอน่
(๑๕)

ประสบการณ์
ด้ านร่ างกาย
- การเคลื่อนไหวกบที่และการเคลื่อนไหวั เคลื่อนที่
- การเคลื่อนไหวพร้อมอุปกรณ์
- การเล่นเครื่ องเล่นสนาม
- การเล่นเครื่ องเล่นสัมผัส
- การเขียนภาพและการเล่นกบสีั
- การปั้ นและการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ
- การปฏิบตั ิตามสุ ขภาพอนามัย
- การรักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ้ ื่น
ด้ านอารมณ์จิตใจ
- การแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสี ยงดนตรี ง่ายๆ เช่น เครื่ องดนตรี ประเภทเคาะประเภทตีฯลฯ
- การร้องเพลง
- การชื่นชมและสร้างสรรค์ทีิ ่สวยงาม
- การแสดงออกอยางสนุกสนานก่บเรื่ องสนุก ั ตลกขบขันและเรื่ องราวหตุการณ์ที่สนุกต่าง ๆ
- การเล่นอิสระ
- การเล่นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม
- การเล่นในห้องเรี ยน และนอกห้องเรี ยน
ด้ านสั งคม
- การปฏิบตั ิกิจวัตรประจาวันของตนเอง
- การเล่นและการทางานร่ วมกบผูอ้ ื่นั
- การแกปั ญหาในการเล้น่ การปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมตามท้องถิ่นที่อยูอาศัย่ อยูและความเป็ นไทย่
ด้ านสติปัญญา
- การรู ้จกั สิ่ งต่าง ๆ ด้วยการฟังการมอง การสัมผัสชิมรส ดมกลิ่น
- การเชื่อมโยงภาพภาพถ่าย และรู ปแบบต่าง ๆ กบสิั่ งของหรื อสถานที่จริ ง
- การรับรู ้และแสดงความรู ้สึกผานสื่ อ่ วัตถุของเล่นและผลงาน
- การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผานสื่ อ่ วัสดุ
- การพูดกบผูอ้ ื่นเกัียวกบประสบการณ์
่ ของตนเองหรื อเลัา่ เรื่ องเก่ียวกบตนเองั
- การอธิ บายเก่ียวกบสิั่ งของเหตุการณ์และความสัมพันธ์ของเรื่ องราวที่สนใจ
- การเพิมขึ้ ่ นหรื อลดลงของจานวนหรื อปริ มาณ
- การอธิ บายในเรื่ องตาแหน่งของสิ่ งของต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กนั
(๑๖)
- การเริ่ มต้นและการหยุดกระทาโดยสัญญาณ
- การสารวจและอธิ บายความเหมือนและความแตกต่าง
- การจับคู่ จ าแนก จัดกลุ่ม
- การเปรี ยบเทียบช่น สั้น / ยาว ขรุ ขระ/ เรี ยบ ฯลฯ
- การนับสิ่ งต่าง ๆ
- การจัดคู่ หนึ่งต่อหนึ่ง
- การฟังเรื่ องราวนิทานค าคล้องจองค ากลอน
- การเขียนในหลายรู ปแบบผานประสบการณ์่ ที่สื่อความหมายต่อเด็ก
- การอ่านในหลายรู ปแบบผานประสบการณ์่ ที่สื่อความหมายต่อเด็ก

สาระย่อย
1. ชื่อเล่น ชื่ อจริ งนามสกุล
2. ลักษณะรู ปร่ าง หน้าตาและเพศ
3. ชื่อรู ปร่ างหน้าที่และการ ดูแลรักษาส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกาย
4. การดูแลรักษาความสะอาดอยางง่่าย ๆ
5. การแบ่งปั น
6. การรับประทานอาหารด้วยตนเอง
7. การเลือกรับประทานอาหาร่ มีประโยชน์ตี่อร่ างกาย
8. การยอมรับผูอ้ ื่น
9. การแสดงความรู ้สึกที่เหมาะสม
10. การเป็ นผูน้ าและผูต้ าม

๒.๒ เรื่ องราวเกีย่ วกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก เด็กควรเรี ยนรู ้เก่ียวกบบุคคลภายในครอบครัว ั


และบุคคลภายนอกครอบครัวการรู ้จกั ชื่อเรี ยกหรื อสรรพนามแทนตัวของญาติผงดูวธิ ี ปฏิบตั ิกบผูอ้ ื่นอยัาง่ เหมาะสม
การท าทายการไหว้การเล่นกบพี่นอ้ งในบ้านั การไปเที่ยวตลาดและสถานที่ต่างๆในชุมชนการเล่นที่สนาม
เด็กเล่นการเข้าร่ วมกิจกรรมทางศาสนา วัฒนธรรมและประเพณี

(๑๗)
ประสบการณ์
ด้ านร่ างกาย
- การเคลื่อนไหวกบที่และการเคลื่อนไหวั เคลื่อนที่
- การเคลื่อนไหวพร้อมอุปกรณ์
- การเล่นเครื่ องเล่นสนาม
- การเล่นเครื่ องเล่นสัมผัส
- การเขียนภาพและการเล่นกบสีั
- การปั้ นและการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ
- การปฏิบตั ิตามสุ ขภาพอนามัย
- การรักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ้ ื่น
ด้ านอารมณ์จิตใจ
- การแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสี ยงดนตรี ง่ายๆ เช่น เครื่ องดนตรี ประเภทเคาะประเภทตีฯลฯ
- การร้องเพลง
- การชื่นชมและสร้างสรรค์ทีิ ่สวยงาม
- การแสดงออกอยางสนุกสนานก่บเรื่ องสนุกตลกขบขันและเรื่ องราวั เหตุการณ์
ที่สนุกต่าง ๆ
- การเล่นอิสระ
- การเล่นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม
- การเล่นในห้องเรี ยน และนอกห้องเรี ยน
ด้ านสั งคม
- การปฏิบตั ิกิจวัตรประจาวันของตนเอง
- การเล่นและการทางานร่ วมกบผูอ้ ื่นั
- การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความเคารพความคิดเห็นของผูอ้ ื่น
- การแกปัญหาในการเล้น่
- การปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมตามท้องถิ่นที่อยูอาศัย่ อยูและความเป็ นไทย่
ด้ านสติปัญญา
- การรู ้จกั สิ่ งต่าง ๆ ด้วยการฟังการมอง การสัมผัสชิมรส ดมกลิ่น
- การเชื่อมโยงภาพภาพถ่าย และรู ปแบบต่าง ๆ กบสิั่ งของหรื อสถานที่จริ ง
- การรับรู ้และแสดงความรู ้สึกผานสื่ อ่ วัตถุของเล่นและผลงาน
- การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผานสื่ อ่ วัสดุ
- การพูดกบผูอ้ ื่นเกัียวกบประสบการณ์
่ ของตนเองหรื อเลัา่ เรื่ องเก่ียวกบตนเองั
- การอธิ บายเก่ียวกบสิั่ งของเหตุการณ์และความสัมพันธ์ของเรื่ องราวที่สนใจ
- การเพิมขึ้ ่ นหรื อลดลงของจานวนหรื อปริ มาณ
(๑๘)
- การอธิ บายในเรื่ องตาแหน่งของสิ่ งของต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กนั
- การเริ่ มต้นและการหยุดกระทาโดยสัญญาณ
- การสารวจและอธิ บายความเหมือนและความแตกต่าง
- การจับคู่ จ าแนก จัดกลุ่ม
- การเปรี ยบเทียบช่น สั้น / ยาว ขรุ ขระ/ เรี ยบ ฯลฯ
- การเปรี ยบเทียบจานวนมากกวา่่ น้อยกวา่่ เท่ากนั
- การนับสิ่ งต่าง ๆ
- การจัดคู่ หนึ่งต่อหนึ่ง
- การฟังเรื่ องราวนิทานค าคล้องจองค ากลอน
- การเขียนในหลายรู ปแบบผานประสบการณ์่ ที่สื่อความหมายต่อเด็ก

สาระย่อย
1. ลักษณะของบ้าน
2. ความส าคัญความหมายของครอบครัว
3. ชื่อบุคคลในครอบครัว
4. ชื่อรู ปร่ าง ลักษณะหน้าตาของบุคคลในครอบครัว
5. ชื่อของโรงเรี ยนที่ต้ งั
6. บุคคลในโรงเรี ยน
7. หน้าที่ของบุคคลที่อยูในโรงเรี ยน่
8. กฎระเบียบของโรงเรี ยน
9. อาชีพในชุมชน

๒.๓ ธรรมชาติรอบตัว เด็กควรได้เรี ยนรู ้เก่ียวกบการสัารวจสิ่ งต่าง ๆ ในธรรมชาติรอบตัวเช่นสัตว์


พืชดอกไม้ใบไม้ผานการใช้ประสารทสัมผัสทั้ง่ ห้า การเล่นน้า การเล่นทราย การเลี้ยงสัตว์ต่าง ๆ ที่ไม่เป็ นอันตราย
การเดินเล่นในสวน การเพาะปลูกอยางง่่าย
ประสบการณ์
ด้ านร่ างกาย
- การเคลื่อนไหวกบที่และการเคลื่อนไหวั เคลื่อนที่
- การเคลื่อนไหวพร้อมอุปกรณ์
- การเล่นเครื่ องเล่นสนาม
- การเล่นเครื่ องเล่นสัมผัส
(๑๙)
- การเขียนภาพและการเล่นกบสีั
- การปั้ นและการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ
- การปฏิบตั ิตามสุ ขภาพอนามัย
- การรักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ้ ื่น
ด้ านอารมณ์จิตใจ
- การแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสี ยงดนตรี ง่าย ๆ เช่น เครื่ องดนตรี ประเภทเคาะ
ประเภทตีฯลฯ
- การร้องเพลง
- การชื่นชมและสร้างสรรค์ทีิ ่สวยงาม
- การแสดงออกอยางสนุกสนานก่บเรื่ องสนุกตลกขบขันและเรื่ องราวั เหตุการณ์ ที่สนุก
ต่าง ๆ
- การเล่นอิสระ

- การเล่นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม
- การเล่นในห้องเรี ยน และนอกห้องเรี ยน

ด้ านสั งคม
- การปฏิบตั ิกิจวัตรประจาวันของตนเอง
- การเล่นและการทางานร่ วมกบผูอ้ ื่นั
- การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความเคารพความคิดเห็นของผูอ้ ื่น
- การแกปัญหาในการเล้น่
- การปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมตามท้องถิ่นที่อยูอาศัย่ อยูและความเป็ นไทย่
ด้ านสติปัญญา
- การรู ้จกั สิ่ งต่าง ๆ ด้วยการฟังการมอง การสัมผัสชิมรส ดมกลิ่น
- การเชื่อมโยงภาพภาพถ่าย และรู ปแบบต่าง ๆ กบสิั่ งของหรื อสถานที่จริ ง
- การรับรู ้และแสดงความรู ้สึกผานสื่ อ่ วัตถุของเล่นและผลงาน
- การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผานสื่ อ่ วัสดุ
- การพูดกบผูอ้ ื่นเกัียวกบประสบการณ์
่ ของตนเองหรื อเลัา่ เรื่ องเก่ียวกบตนเองั
- การอธิ บายเก่ียวกบสิั่ งของเหตุการณ์และความสัมพันธ์ของเรื่ องราวที่สนใจ
- การเพิมขึ้ ่ นหรื อลดลงของจานวนหรื อปริ มาณ
- การอธิ บายในเรื่ องตาแหน่งของสิ่ งของต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กนั
- การเริ่ มต้นและการหยุดกระทาโดยสัญญาณ
- การสารวจและอธิ บายความเหมือนและความแตกต่าง
- การจับคู่ จ าแนก จัดกลุ่ม
(๒o)
- การเปรี ยบเทียบช่น สั้น / ยาว ขรุ ขระ/ เรี ยบ ฯลฯ
- การเปรี ยบเทียบจานวนมากกวา่่ น้อยกวา่่ เท่ากนั
- การนับสิ่ งต่าง ๆ
- การจัดคู่ หนึ่งต่อหนึ่ง
- การฟังเรื่ องราวนิทานค าคล้องจองค ากลอน
- การเขียนในหลายรู ปแบบผานประสบการณ์่ ที่สื่อความหมายต่อเด็ก

สาระย่อย
1. สิ่ งมีชีวติ - ชื่อ - รู ปร่ าง ลักษณะ
- ความเหมือนและความแตกต่าง
- ความเมตตา

๒. สิ่ งไม่มีชีวติ - ชื่อ - ลักษณะ


- ความเหมือนและความแตกต่าง
๓.ฤดูกาล - ชื่อฤดูกาล-การปฏิบตั ิตนให้เหมาะสมกบฤดู ั
- การรักษาสุ ขภาพ
๔. กลางวัน กลางคืน - รู ปร่ าง ลักษณะของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์
- ข้อแตกต่างของกลางวัน และกลางคืน
- การปฏิบตั ิตนในเวลากลางวันกลางคืน

๒.๔ สิ่ งต่ างๆรอบตัวเด็กด็กควรเรี ยนรู ้เก่ียวกบชื่อและของเลัน่ ของใช้ที่อยูรอบตัว่ การเชื่ อมโยง


ลักษณะหรื อคุณสมบัติอยางง่่าย ๆ ของสิ่ งต่าง ๆ ที่อยูใกล้ตวั เด็ก่ เช่น สี รูปร่ าง รู ปทรงขนาด ผิวสัมผัส
ประสบการณ์
ด้ านร่ างกาย
- การเคลื่อนไหวกบที่และการเคลื่อนไหวั เคลื่อนที่
- การเคลื่อนไหวพร้อมอุปกรณ์
- การเล่นเครื่ องเล่นสนาม
- การเล่นเครื่ องเล่นสัมผัส
- การเขียนภาพและการเล่นกบสีั
- การปั้ นและการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ
- การปฏิบตั ิตามสุ ขภาพอนามัย
- การรักษาความปลอดภัยของตนเองและผูอ้ ื่น
ด้ านอารมณ์จิตใจ
- การแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเสี ยงดนตรี ง่าย ๆ เช่น เครื่ องดนตรี ประเภทเคาะประเภทตีฯลฯ
- การร้องเพลง
- การชื่นชมและสร้างสรรค์ทีิ ่สวยงาม
- การแสดงออกอยางสนุกสนานก่บเรื่ องสนุกตลกขบขันและเรื่ องราวั เหตุการณ์
ที่สนุกต่าง ๆ
- การเล่นอิสระ
- การเล่นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม
- การเล่นในห้องเรี ยน และนอกห้องเรี ยน
ด้ านสั งคม
- การปฏิบตั ิกิจวัตรประจาวันของตนเอง
- การเล่นและการทางานร่ วมกบผูอ้ ื่นั
- การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความเคารพความคิดเห็นของผูอ้ ื่น
- การแกปัญหาในการเล้น่
- การปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมตามท้องถิ่นที่อยูอาศัย่ อยูและความเป็ นไทย่
ด้ านสติปัญญา
- การรู ้จกั สิ่ งต่าง ๆ ด้วยการฟังการมอง การสัมผัสชิมรส ดมกลิ่น
- การเชื่อมโยงภาพภาพถ่าย และรู ปแบบต่าง ๆ กบสิั่ งของหรื อสถานที่จริ ง
- การรับรู ้และแสดงความรู ้สึกผานสื่ อ่ วัตถุของเล่นและผลงาน
- การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผานสื่ อ่ วัสดุ
- การพูดกบผูอ้ ื่นเกัียวกบประสบการณ์
่ ของตนเองหรื อเลัา่ เรื่ องเก่ียวกบตนเองั
- การอธิ บายเก่ียวกบสิั่ งของเหตุการณ์และความสัมพันธ์ของเรื่ องราวที่สนใจ
- การอธิ บายในเรื่ องตาแหน่งของสิ่ งของต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กนั
- การสารวจและอธิ บายความเหมือนและความแตกต่าง
- การจับคู่ จ าแนก จัดกลุ่ม
- การเปรี ยบเทียบช่น สั้น / ยาว ขรุ ขระ/ เรี ยบ ฯลฯ
- การเปรี ยบเทียบจานวนน้อยกวา่่ มากกวาเท่่ากนั
- การนับสิ่ งต่าง ๆ
- การจัดคู่ หนึ่งต่อหนึ่ง
- การฟังเรื่ องราวนิทานค าคล้องจองค ากลอน
- การเขียนในหลายรู ปแบบผานประสบการณ์่ ที่สื่อความหมายต่อเด็ก
สาระย่อย

๑. เครื่ องใช้ในชีวติ ประจ าวัน


- ชื่ อ

- ลักษณะรู ปร่ าง สี ขนาด ผิวสัมผัส

- วิธีการใช้ประโยชน์

- การเก็บรักษา การท าความสะอาด

๒. การคมนาคม
- ประเภท

- ชื่ อของยานพาหนะแต่ละประเภท

- วิธีการเลือกใช้ยานพาหนะที่เหมาะสม

๓. การสื่ อสาร
- ชื่ อเครื่ องมือการสื่ อสาร

- รู ปร่ าง, ลักษณะ

นอกจากสาระที่ควรเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช๒๕๖๐ จ านวน๔ สาระที่ควร


เรี ยนรู ้แล้วศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระสังกดเทศบาลตัาบลปะนาเระ ได้กาหนดสาระที่ควรเรี ยนรู ้
เพิมเติม่ เก่ียวกบนโยบายั และจุดเน้นที่กรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย กาหนดเพิมขึ้ ่ น ทั้งนี้
เพื่อให้เด็กได้เรี ยนรู ้เก่ียวกบวิถีชีวติ ั ศาสนา และขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรมและความเป็ นไทยโดยมีสาระ
รายละเอียดสาระที่ควรเรี ยนรู ้เพิมเติม่ ดังนี้
๒.๕ วันส าคัญเด็กควรเรี ยนรู ้เก่ียวกบวันสัาคัญเก่ียวกบวิถีชีวติ ั ศาสนาและขนบธรรมเนียมประเพณี
วัฒนธรรมและความเป็ นไทยทั้งของชาติและของชุมชนท้องถิ่น
(๒๓)
ล าดับท ่ีสาระทีค่ วรเรียนร้ ู่ ตัวอย่างวันส าคัญต่ างๆ หมายเหตุ
เรื่ องวันส าคัญ
๑ วันส าคัญทางศาสนา
(๑)วันส าคัญทางศาสนาพุทธ ๑.วันมาฆบูชา
๒.วันวิสาขบูชา
๓.วันอาสาฬหบูชา
๔.วันเข้าพรรษา
๕.วันออกพรรษา
๖.วันพระฯลฯ

(๒) วันส าคัญทางศาสนาอิสลาม ๑.วันฮารี รายอ


๒.วันเมาลิด
๓.วันถือศีลอดฯลฯ
(๓) วันส าคัญทางศาสนาคริ สต์
(๔) วันส าคัญทางศาสนาอื่น วันคริ สต์มาสฯลฯ

แต่ละท้องถิ่นพิจารณาตามความเหมาะสม
๒ วันส าคัญของชาติ ๑.วันเฉลิมพระชนมพรรษา
๒.วันปิ ยมหาราช
๓.วันรัฐธรรมนูญ
๓ วันส าคัญของท้องถิ่น ๑.วันลอยกระทง ๒.วันสงกรานต์
๓.วันสาคัญในแต่ละภาค เช่น
* ภาคใต้-วันงานประเพณี ชกั พระ
ฯลฯ
* ภาคเหนือ-วันงานประเพณี ยเี่ ป็ ง
ฯลฯ
* ภาคกลาง -วันงานประเพณี แข่ง-เรื อพาย/
แห่นางแมว ฯลฯ
* ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
-วันงานประเพณี บุญบั้งไฟ ฯลฯ
๔ วันส าคัญอื่นๆ ๑.วันเด็ก๒. วันครู ฯลฯ
(๒๔)
๒.๖ ท้องถิ่นของเรา
(๑) ประวัติความเป็ นมา
(๒) ศิลปะวัฒนธรรมประเพณี
(๓) แหล่งการท่องเที่ยว
(๔) บุคคลส าคัญ
(๕) การประกอบอาชีพ
(๖) สภาพภูมิประเทศ/ภูมิอากาศ
(๗) สภาพปัญหาในชุมชน/สังคม/ พิบตั ิภยั
(๘) สภาพเศรษฐกิจและสังคม
(๙) ทรัพยากรสิ่ งแวดล้อม
(๑๐) พระราชกรณี ยกิจในท้องถิ่น
(๑๑) ภูมิปัญญา/สิ นค้า/OTOP

๒.๗ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดกิจกรรมตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสาหรับเด็กปฐมวัย

แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาที่ต้ งั อยูบนพื้ นฐานของทางสายกลาง
่ และความ
ไม่ประมาท โดยค านึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลการสร้างภูมิคุม้ กนที่ดีในตัว ั ตลอดจนใช้ความรู ้ความ
รอบคอบ และคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสิ นใจและการกระท าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลัก
พิจารณาอยู๕ ่ ส่ วน ดังนี้
๑. กรอบแนวคิดเป็ นปรัชญาที่ช้ ีแนะแนวทางการดารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิตนในทางที่ควรจะเป็ โดยมีน
พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถน ามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวและเป็ า นการมองโลกเชิงระบบที่มี
การเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา่่ และเป็ นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา่่
มุ่งเน้นการรอดพ้นจาก
ภัยและวิกฤตเพื่อความมันคง่ และความยังยืนของการพัฒนา่่
๒. คุณลักษณะเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กบการปฏิบตั ิตนได้ในทุกระดับ ั โดยเน้น
การปฏิบตั ิบนทางสายกลางและการพัฒนาอยางเป็ นขั้น่ ตอน
๓. ค านิยามความพอเพียงจะต้องประกอบด้ว๓ คุณลักษณะพร้อมๆ กนดังนี้ ั
(๑) ความพอประมาณ หมายถึงความพอดีที่ไม่นอ้ ยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียน
ตนเอง และผูอ้ ื่นเชการผลิต และการบริ โภคที่อยูในระดับพอประมาณ่
(๒) ความมีเหตุผล หมายถึงการตัดสิ นใจเก่ียวกบระดับของความพอเพียงนั้ นั จะต้องเป็ นไป
อยางมีเหตุผล่ โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เก่ียวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดวาจะเก่ิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ
อยาง่ รอบคอบ
(๓) การมีภูมิค้มกันทีด่ ีในตัวุ หมายถึงการเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง
ด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่ง ๆ ที่คาดวาจะเก่ิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และ ไกล

เงื่อนไขการตัดสิ นใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยูในระดับพอเพียงนั้ น่ ต้องอาศัยทั้งความรู ้


และคุณธรรมเป็ นพื้นฐาน กล่าวคือ
- เงื่อนไขความร้ ู่ประกอบด้วยความรอบรู ้เก่ียวกบวิชาการตัา่ ง ๆ ที่เก่ียวข้องอยางรอบด้าน่

ความรอบคอบที่จะนาความรู ้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่ อมโยงกนั เพื่อประกอบการวางแผนละความระมัดระวังในขั้น


ปฏิบตั ิ
- เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้างประกอบด้วยมีความตระหนักในคุ ณธรรมความ
ซื่อสัตย์สุจริ ตและมีความอดทนมีความเพียรใช้สติปัญญาในการด าเนินชีวิต
แนวทางปฏิบตั ิ/ผลที่คาดวาจะได้รับ่ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้คือการ
พัฒนาที่สมดุลแะยังยืน่ พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมสิ่ งแวดล้อม ความรู ้และ
เทคโนโลยีประการที่สาคัญของเศรษฐกิจพอเพียง
๑. พอมีพอกินปลูกพืชสวนครัวไว้กินเองบ้าง ปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน๒-๓ ต้นพอที่จะมีไว้กินเองใน
ครัวเรื อนเหลือจึงขายไป
๒. พออย่ พอใช้ ู่ทาให้บา้ นน่าอยูป่ ราศจากสารเคมีกลิ่นเหม็น ใช้แต่ของที่เป็ นธรรมชาติ
(ใช้จุลินทรี ยผ์ สมน้าถูพ้นื บ้าน จะสะอาดกวาใช้น่้ายาเคมี) รายจ่ายลดลง สุ ขภาพจะดีข้ ึน (ประหยัดค่า-รักษาพยาบาล)
๓. พออกพอใจ เราต้องรู ้จกั พอรู ้จกั ประมาณตนไใคร่ อยากใคร่ มีเช่นผูอ้ ื่น่ เพราะเราจะหลงติดกบั
วัตถุปัญญาจะไม่เกิด
๒.๘ อาเซียนศึกษา
(๑) บ้านเราและเพื่อนบ้านอาเซียน ๑.
แผนที่ที่ต้ งั /สถานที่สาคัญและแหล่งท่องเที่ยว
๒. ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและฤดูกาล ๓.
ฤดูกาลและภัยพิบตั ิ ๔.
อาชีพและสิ นค้าเศรษฐกิจ ๕. สกุลเงิน

(๒) ประเทศสมาชิกอาเซียน ๑.
ชื่อประเทศและธงชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
๒. ดอกไม้/ ต้นไม้ประจ าชาติ
๓. สัญลักษณ์ตราแผนดิน่ ๔.
สัตว์ประจ าชาติ
๕. เพลงชาติประเทศสมาชิกอาเซียน
(๓) สังคมและวัฒนธรรม
๑. ศาสนาและวันส าคัญ
๒. ชุดแต่งกายประจาชาติ
๓. อาหารประจ าชาติ
๔. ภาษา ประเพณี และวัฒนธรรม
๕. การละเล่น การแสดงและนิทานประจ าชาติ
(๔) อาเซียนที่รัก
๑. ธงอาเซียน
๒. ตราสัญลักษณ์อาเซียน
๓. ค าขวัญอาเซียน
๔. เพลงอาเซียน
๕. ภาษาอาเซียน

๒.๙ สะเต็มศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของยุคสมัยที่มีการเติบโตทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และสังคมมนุษย์ส่งผลต่อ
การดาเนินชีวิตและการเตรี ยมพัฒนาบุคลากรของมนุษย์ให้มีศกั ยภาพสอดคล้องสิ่ งที่เปลี่ยนแปลงไป ความรู ้เก่ียวกบสิั่ ง
ต่าง ๆ มีมากมายจากการศึกษาในรู ปแบบเดิมที่เด็กหรื อผูเ้ รี ยนมักจะเรี โ ครู ผสู ้ อนเป็ นผูท้ ี่ถ่ายทอดวิชาความรู ้ ต่าง ๆ เหล่านั้น
มาเป็ นการศึกษาที่เด็กหรื อผูเ้ รี ยนสามารถที่จะสื บค้นข้อมูลได้ดว้ ยตนเองจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
ไม่วาจะเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะทางในเรื่ องต่่าง ๆ ที่เด็กสนใจสื บค้นข้อมูลจากอินเทอร์ เนตเป็ นต้นดังนั้นสิ่ งที่ครู ผสู ้ อน
ควรจะส่ งเสริ มให้เด็กได้พฒั นาคือ ทักษะการเรี ยนรู ้ที่จะท าให้เด็กรู ้วธิ ี การสื บค้นหาข้อมูลได้ดว้ ยตนเองและมี
วิจารณญาณในการเลือกพิจารณาข้อมูลที่เป็ นความรู ้ที่มีประโยชน์การจัดการศึกษาแบบบูรณาการวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีวศิ วกรรมศาสตร์ และ คณิ ตศาสตร์หรื อSTEM เป็ นรู ปแบบการจัดการศึกษาที่บูรณาการกลุ่มสาระและ
ทักษะกระบวนการของทั้ง ๔ สาระอันได้แก่วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีวศิ วกรรมศาสตร์ และ คณิ ตศาสตร์ โดยน า
ลักษณะธรรมชาติของแต่ละสาระวิชาและกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ให้กบผูเ้ รี ยนมาผสมผสานกันเพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้เกัดิ
การเรี ยนรู ้และพัฒนาทักษะที่สาคัญและจาเป็ นอีกทั้งยังตอบสนองต่อการดารงชีวิตอยูในยุคปั จจุบนั และโลกอนาคต่
อีกด้วยลักษณะของSTEM มีดงั ต่อไปนี้
ตัวอักษรตัวแรกของ STEM คือS มาจากคาวา่่ Science หรื อวิทยาศาสตร์ซ่ ึ งเป็ นสาระที่ศึกษาท าความ
เข้าใจเก่ียวกบั ธรรมชาติรอบตัวในการจัดการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ ให้กบผูเ้ รี ยนั จะเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้เกิดการเรี ยนรู ้โดย
ผานกระบวนการที่เรี ยกว่า่่ กระบวนการสื บเสาะหาความรู ้(Inquiry Process) ที่จะประกอบด้วยขั้นตอน
๑. ขั้นการสร้ างความสนใจ
เป็ นขั้นของการนาเข้าสู่ บทเรี ยน ซึ่ งอาจจะเป็ นข้อสงสัยที่เกิดจากตัวผูเ้ รี ยน หรื ออาจจะเป็ น
ข้อสงสัยที่เกิดขึ้นในขณะอภิปรายหรื อทากิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง ซึ่ งครู ผสู ้ อนไม่ควรบังคับให้เด็กยอมรับประเด็น
ปั ญหาที่ครู สนใจซึ่ งตัวอยางจัดก่ิจกรรมที่ครู ผสู ้ อนสามารถจัดเพื่อกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนเกิดความสนใจมากขึ้นได้แก่สาธิ ต
ทดลอง เล่าเรื่ อง ทัศนศึกษาเป็ นต้น
๒. ขั้นส ารวจและการค้ นหาเมื่อมีขอ้ คาถามแล้วก็มีการวางแผนการหาคาตอบ
- กาหนดแนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูล

- ลงมือเก็บข้อมูล ในการวางแผน

- การลงมือปฏิบต ั ิให้ได้ค าตอบประกอบด้วยการสังเกตการวัด การทดลอง เป็ นต้น ๓.


ขั้นอธิบายและลงข้ อสรุ ป เมื่อได้ขอ้ มูลแล้วก็นาข้อมูล มาแปลผล สรุ ปผล
๔.ขั้นขยายความร้ ู่ เป็ นการนาความรู ้มาเชื่อมโยงกบความรู ้เดิมหรื อแนวคิดที่ได้คน้ คว้าเพิัมเติมขึ้ ่ น
๕. ขั้นการประเมิน่น็ การประเมินการเรี ยนรู ้ดว้ ยกระบวนการต่าง ๆ วาผูเ้ รี ยนได้เก่ิดการเรี ยนรู ้อะไรบ้าง
อยางไร่ และ มากน้อยเพียงใด

บทบาทของวิทยาศาสตร์ในการจัดการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์


และคณิ ตศาสตร์(STEM) นี้นอกจากจะมีส่วนทาให้ผเู ้ รี ยนได้นาความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ในกิจกรรม
STEM แล้วบทบาทของวิทยาศาสตร์ในSTEM ยังมีส่วนในการช่วยพัฒนาให้ผเู ้ รี ยนมีทกั ษะการคิดและแกปั ญหาอย้าง่
เป็ นระบบคิดอยางเป็ นเหตุเป็ นผล่ คิดสร้างสรรค่ิดวิเคราะห์วจิ ารณ์มีทกั ษะที่ส าคัญในการสื บค้นข้อมูลความรู ้
สามารถตัดสิ นใจโดยใช้ขอ้ มูลที่หลากหลายและประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้
ตัวอักษรตัวทีส่ ของง STEM คือT มาจากคาวา่่ Technology หรื อเทคโนโลยี
ซึ่ งเป็ นสาระที่เก่ียวกบกระบวนการแกัปัญหา่้ การพัฒนาสิ่ งต่างๆหรื อกระบวนการต่าง ๆ เพื่อ
ตอบสนองความต้องการของมนุษย์เราดัน้ นั คาวา่่ เทคโนโลยีจึงไม่ได้หมายความถึงเพียงแคผลผลิตที่ได้จาก
กระบวนการแกปั ญหาอย้างเช่่น คอมพิวเตอร์ กล้องถ่ายรู ป โทรศัพท์มือถือเป็ นต้นเท่านั้น แต่ยงั หมายถึงกระบวนการ
แกปั ญหาอีกด้วย้ สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี(๒๕๕๗) ระบุข้ นั ตอนในกระบวนการทาง
เทคโนโลยีประกอบด้วย๗ ขั้นดังนี้
๑. กาหนดปัญหาหรื อความต้องการ
๒. รวบรวมข้อมูลโดยอาจจะรวบรวมข้อมูลจากต าราวรสาร บทความ อินเทอร์ เนต ๓.
เลือกวิธีการป็ นการพิจารณาเลือกวิธีที่เหมาะสมและสอดคล้องกบการแกัปัญหา่้ ๔.
ออกแบบและปฏิบตั ิการ
๕. ทดสอบ เป็ นการตรวจสอบวาชิ้ ่นงานหรื อวิธีที่สร้างขึ้นสามารถแกปั ญหาได้หรื อไม้่
๖. ปรับปรุ งแกไข้ เป็ นการวิเคราะห์วาชิ้ ่นงานหรื อวิธีที่สร้างขึ้นจะปรับ แกไขส้่วนใด
๗. ประเมินผลเป็ นการประเมินผลวาชิ้ ่นงานหรื อวิธีที่สร้างขึ้นสามารถแกปั ญหาได้หรื อไม้ถ่ า้ ยังมี
ปั ญหาก็จะต้องปรับปรุ งแกไขเพื่อให้การท้างานมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น
บทบาทของเทคโนโลยีในการจัดการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีวศิ วกรรมศาสตร์
และคณิ ตศาสตร์(STEM) นี้จะพัฒนาให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาทักษะการคิดแปญา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
คิดวิเคราะห์คิดสร้างสรรค่์่ิดอยางเป็ นเหตุ่เป็ นผลอีกทั้งยังเป็ นการพัฒนานิสัยความรอบคอบ ความเพียรไม่ยอท้อ่
ต่อความล้มเหลวหรื อความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นในขณะทากิจกรรม
ตัวอักษรตัวทีส่ ามของ STEM คือE มาจากคาวา่่ Engineering หรื อวิศวกรรมศาสตร์ ซ่ ึงวิศวกรรมใน
ที่น้ ีหมายถึง * การออกแบบ * การวางแผน เพื่อแกปั ญหา่้ โดยเป็ นการใช้องค์ความรู ้ต่างๆ มาสร้างสรรค์ออกแบบ
ผลงานภายใต้ขอ้ จากดั หรื อเงื่อนไขที่กาหนด ซึ่ งบทบาทของเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ในSTEM จะเก่ียวข้อง
สัมพันธ์กนกระบวนการออกแบบของวิศวกรรมศาสตร์ั ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้
๑. กาหนดปัญหา หรื อความต้องการ
๒. หาแนวทางการแกปั ญหา่้
๓. ลงมือปฏิบตั ิเพื่อแกปั ญหา่้
๔. ทดสอบและประเมินผล
บทบาทของวิศวกรรมศาสตร์ ในการจัดการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วิศวกรรมศาสตร์และคณิ ตศาสตร์(STEM)
จะช่วยส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาความคิดสร้างสรรค์การคิดแกปั ญหา่้ การคิดเป็ นเหตุเป็ นผลการคิดเป็
นระบบอีกทั้งยังเป็ นการฝึ กนิ สัยความเพียร ความรอบคอบ
ตัวอักษรตัวสุ ดท้ าย ใน STEM คือM มาจาก Mathematics หรื อวิทยาศาสตร์เทคโนโลยวิศวกรรม
ศาสตร์และคณิ ตศาสตร์จะครอบคลุมเรื่ อง านวนและกระบวนการการวัด เรขาคณิ ตพีชคณิ ตการวิเคราะห์ขอ้ มูล
และความน่าจะเป็ น และทักษะกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์
บทบาทของคณิ ตศาสตร์ในการจัดการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วิศวกรรมศาสตร์และคณิ ตศาสตร์(STEM) จะช่วยส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาทักษะการคิดแกปั ญหา่้ การคิดเป็ นเหตุ เป็
นผลทักษะการคิดสร้างสรรค์รสื่ อสารและการนาเสนอให้ผอู ้ ื่นเข้าใจได้จะเห็นวาเมื่อผสมผสานสาระและทักษะ่่
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีวศิ วกรรมศาสตร์ และคณิ ตศาสตร์ ลว้ นามาจัดกิจกรรมบูรณาการนั้นจะทา
ให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาด้านต่างๆ ที่สอดคล้องกบทักษะที่จาั เป็ นสาหรับ การด าเนิ นชีวติ ในศตวรรษที่๒๑ที่ผเู ้ รี ยนจะได้น า
ความรู ้ในสาระต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ได้จริ งได้พฒั นาทักษะการคิดและคุณลักษณะที่ผเู ้ รี ยนจะได้มีส่วนร่ วมในการทา
กิจกรรมร่ วมกนั เป็ นการฝึ กให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาทักษะ างานกลุ่ม และทักษะการสื่ อสารรจัดกิจกรรมบูรณาการ
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีวศิ วกรรมศาสตร์และคณิ ตศาสตร์(STEM) สามารถจัดได้ต้ งั แต่ในเด็กปฐมวัย ซึ่ งโดยทัวไป่
การจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ในระดับปฐมวัยลษณะเป็ นการจัดกิจกรรมบูรณาการอยูแล้ว่
* แต่ประเด็นที่ครู ผส ู ้ อนจะต้องเน้นเพื่อให้มีลกั ษณะเป็ นกิจกรรมบูรณาการ STEM ชัดเจนขึ้น คือ
* จะต้องเน้นให้เด็กได้แกปั ญหา่้ โดยใช้องค์ความรู ้และทักษะกระบวนการต่าง ๆ ที่เป็ นทักษะกระบวนการที่ได้กล่าว

มาแล้วในส่ วนประกอบของ ๔ สาระ มาสร้างสรรค์ออกแบบผลงานหรื อออกแบบ


วิธีการภายใต้ขอ้ จากดหรื อเงื่อนไขที่กาั หนด โดยอาจจะมีรายละเอียดที่ปรับเพื่อให้สอดคล้องกบั
พัฒนาการของเด็กในช่วงวัยนี้ เช่น ในสาระวิทยาศาสตร์ ที่จะจัดให้กบเด็กปฐมวัยนั้ นั
สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีได้เสนอแนะวา่่ กระบวนการสื บเสาะหาความรู ้
ทางวิทยาศาสตร์จะประกอบด้วย
๑. การมีส่วนร่ วมในการตั้งคาถามเชิงวิทยาศาสตร์ อยางง่่าย ๆ
๒. การสารวจตรวจสอบเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต ส ารวจสื บค้นหรื อทดลองและบันทึก
ผลการสารวจตรวจสอบด้วยวิธีที่เหมาะสมกบวัย ั
๓. การตอบค าถามที่ต้ งั ขึ้นโดยใช้ผลจากการสารวจตรวจสอบมาสร้างคาอธิ บายที่มีเหตุผล
๔. การนาเสนอผลการสารวจตรวจสอบให้กบผูอ้ ื่นด้วยวิธีที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถั
นอกจากนี้ในสาระ วิทยาศาสตร์ จะเน้นในทักษะกระบวนการที่เด็กปฐมวัยจะได้ใช้ได้แก่ทกั ษะการสังเกตการวัด
การลงความเห็นจากข้อมูลการจ าแนกประเภทการพยากรณ์การค านวณ การหาความสัมพันธ์ระหวางสเปสก่บสเปสั
และสเปสกบเวลา่ั การจัดกระท าและสื่ อความหมายข้อมูล

๒.๑๐ โตไปไม่ โกง


กรอบสาระกิจกรรมโตไปไม่โกง ระดับปฐมวัยประกอบด้วย ๕ สาระ
๑. ความซื่ อสั ตย์ สุจริต คือการยึดมันในความสัตย์จริ งและสิ่ งที่ถูกต้องดีงาม รู ้จกั แยกแยะ
ถูกผิดปฏิบตั ิต่อตนเองและผูอ้ ื่นโดยชอบ ไม่คดโกง
คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
- พูดความจริ ง

- ไม่ลก ั ขโมย
- ทาตัวเป็ นที่น่าเชื่ อถือ ท าตามสัญญา

- กล้าเปิ ดเผยความจริ ง

ั แยกแยะประโยชน์ส่วนตัว ส่ วนรวม
- รู ้จก

๒. การมีจิตสาธารณะคือการมีจิตสานึกเพื่อส่ วนรวม ตระหนักรู ้และค านึงถึงสังคม


ส่ วนรวม มีความรับผิดชอบต่อตนเองในการกระทาใด ๆ เพื่อไม่ให้เกิดผลเสี ยหายต่อส่ วนรวมและพร้อมที่จะเสี ยสละ
ประโยชน์ส่วนตนเพื่อรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม
คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
- ร่ วมดูแลสังคม

- รับผิดชอบส่ วนรวม

- เสี ยสละเพื่อส่ วนรวม

- เอื้อเฟื้ อ เมตตา มีนา้ ใจ

- ไม่เห็นแก่ตว ั
๓. ความเป็ นธรรมทางสั งคมคือการปฏิบตั ิต่อผูอ้ ื่นอยางเสมอภาคและเท่่าเทียมกนอยัางมีเหตุผล่
โดยไม่เลือกปฏิบตั ิต่อเพศ เชื้ อชาติชนชั้น สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม
คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
- นึ กถึงใจเขาใจเรา

- ไม่เอาเปรี ยบผูอ
้ ื่น
- รับฟั งผูอ
้ ื่น
- เคารพและให้เกียรติผอ ู ้ ื่น
- กตัญญูอยางมีเหตุผล่

- ค านึ งถึงความยุติธรรมโดยตลอด

๔. การกระท าอย่างรับผิดชอบคือการมีจิตส านึกในบทบาทและหน้าที่ของตนเองและปฏิบตั ิ


หน้าที่ให้ดีที่สุดเคารพกฎเกณฑ์กติกาพร้อมให้ตรวจสอบการกระท าได้เสมอหากมีการกระท าผิดก็พร้อมที่จะยอมรับ
และแกไข้
คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
- ท าหน้าที่ของตัวเองให้ดีที่สุด

- มีระเบียบวินย ั
- เคารพกฎ กติกา

- รับผิดชอบในสิ่ งที่ทา กล้ายอมรับผิดและรับการลงโทษ

- รู ้จก ั ส านึกและขอโทษไขในสิ้่ งผิด


- กล้าทาในสิ่ งที่ถูกต้อง

๕. เป็ นอย่อย่ างพอเพียงู คือการด าเนินชีวิตโดยยึดหลักพอประมาณซื่ อตรงไม่ละโมบโลภมาก


รู ้จกั ยับยั้งชังใจ่ และไม่เอาเปรี ยบหรื อเบียดเบียนตนเองและผูอ้ ื่น
คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์
- รู ้จก
ั ความพอเพียงความพอดี
- มีความอดทนอดกลั้น

- รู ้จกั บังคับตัวเอง
- ไม่กลัวความยากลาบาก

- ไม่ทาอะไรแบบสุ ดขั้วหรื อสุ ดโต่ง

- มีสติและเหตุผล
ตารางก าหนดกิจกรรมประสบการณ์ ส าหรับเด็กปฐมวัย(สั บเด็กอายตุากว่ าอาย่ ุ่๓ ปี )
กิจกรรมประสบการณ์
๑. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
๒. กิจกรรมเสริ มประสบการณ์ (กิจกรรมในวงกลม)
๓. กิจกรรมสร้างสรรค์
๔. กิจกรรมเสรี
๕. กิจกรรมกลางแจ้ง
๖. เกมการศึกษา

โครงสร้ างหน่ วยประสบการณ์ ( าหรับเด็กอายตุากว่ า่่ ๓ ปี )


-----------------------------
สั ปดาห์ ท๑ี่ -๔ ก้ าวใหม่ ได้ เรียนร้ ู่
- ชื่ อครู ประจาชั้น ศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็กครพี่เลี้ยง
- ของใช้ประจ าตัวเด็ก

- การปฏิบต ั ิตนในการใช้หอ้ งน้าห้องส้วม


- การเก็บของเข้าที่

- การปฏิบต ั ิตนในการรับประทานอาหาร
สั ปดาห์ ท๕ ี่ ชื่ อของหนูกม็ ี
- ชื่ อเล่น / สัญลักษณ์ของเพื่อน

- ชื่ อสกุลของตนเอง/รหัสประจ าตัวประชาชน

- ชื่ อสกุลของเพื่อน

- ค าน าหน้าชื่ อ/เพศ / อายุ

- รู ปร่ าง ลักษณะ หน้าตา

สั ปดาห์ ที่๖ เป็ นเด็กดีมีวนิ ัย


- ปฏิบต ั ิตามกฎของห้องเรี ยน
- การเก็บอุปกรณ์และเครื่ องใช้ในห้องเรี ยน

- การใช้ภาษาสุ ภาพ(สวัสดี,ขอบคุณ, ขอบใจ, ไม่เป็ นไร, ขอโทษ)

- การช่วยเหลือตนเองในการรับประทานอาหาร

- การปฏิบต ั ิตนต่อบุคคลต่าง ๆ ในโรงเรี ยน


สั ปดาห์ ที่๗ สุ ขสดใสในร่ างกาย
- หน้าที่และการดูแลรักษาตา

- หน้าที่และการดูแลรักษาหู

- หน้าที่และการดูแลรักษาจมูก

- หน้าที่และการดูแลรักษาปาก

- หน้าที่และการดูแลรักษามือ,เท้า

สั ปดาห์ ท๘ ี่ แสนสบายกินดีมีสุข
- อาหารดีมีประโยชน์

- การท าความสะอาดมือ

- สุ ขนิ สัยในการขับถ่าย

- การท าความสะอาดปาก/ ฟั น

- การทาความสะอาดร่ างกาย

สั ปดาห์ ท๙ี่ ทุก ๆ วันออกก าลังกาย


- ชนิ ดของการออกกาลังกาย

- การปฏิบต ั ิตนในการออกกาลังกายและการพักผอน่
- การเล่นเครื่ องเล่นสนาม

- ประโยชน์ของการพักผอน่

- ประโยชน์ของการออกกาลังกาย

สั ปดาห์ ท๑ี่ ๐ ความปลอดภัยมีมากหลาย


- ความปลอดภัยในการเล่น

- ความปลอดภัยบนท้องถนน

- ความปลอดภัยในการใช้เครื่ องใช้ไฟฟ้ า

- ความปลอดภัยในการใช้ยา

- ความปลอดภัยในการใช้ของแหลมคม

สั ปดาห์ ท๑ี่ ๑ สั มผัสกายทั้ง๕


- การมองเห็น

- การดมกลิ่น

- การได้ยน ิ
- การรับรู ้

- การสัมผัส

สั ปดาห์ ท๑ี่ ๒ หนูจ๋าหนูทาได้


- การล้างหน้า/แปรงฟั น

- การอาบน้า

- การแต่งตัว
- การรับประทานอาหาร
- การเก็บรักษาสิ่ งของต่าง ๆ

สั ปดาห์ ท๑ี่ ๓ เปล่ งประกายหนูน้อยน่ ารัก


- มารยาทในการพูด

- การทาความเคารพผูใ้ หญ่

- มารยาทในการรับของ

- มารยาทในสังคม(การต้อนรับ/การรับโทรศัพท์/รเดิ นผานผูใ้ หญ่่ฯลฯ)

- มารยาทในการแต่งกาย

สั ปดาห์ ท๑ี่ ๔ บ้ านสุ ขสั นต์


- ความหมายและประโยชน์ของบ้าน

- พื้นที่และบริ เวณรอบบ้าน

- ประเภทและส่ วนประกอบของบ้าน

- ห้องต่าง ๆ ภายในบ้าน

- การรักษาความสะอาด

สั ปดาห์ ท๑ี่ ๕ ครอบครัวหรรษา


- ความสัมพันธ์ของครอบครัว

- หน้าที่ของบุคคลภายในครอบครัว

- การปฏิบต ั ิตนต่อสมาชิกในครอบครัว
- การมีส่วนร่ วมภายในครอบครัว

- สิ่ งที่จาเป็ นสาหรับครอบครัว

สั ปดาห์ ท๑ี่ ๖ เพื่อนบ้ านของหนู


- ความหมายของเพื่อนบ้าน

- ไม่สร้างความเดื อดร้อนให้เพื่อนบ้าน

- การช่วยเหลือซึ่ งกนและกัน ั

- การร่ วมกิจกรรมกบเพื่อนบ้านั

- การอยูร่วมกนอยัางมีความสุ ข่ สั ปดาห์ ท๑ ี่ ๗
เรียนร้ จังหวัดู (จังหวัดปัตตานี)
- ชื่ อลักษณะภูมิประเทศ–ภูมิอากาศจังหวัดของเรา

- ค าขวัญของจังหวัด(ปั ตตานี )

- อาชี พและอาหารพื้นเมืองของจังหวัด (ปั ตตานี )

- ศาสนาและประเพณี ทอ ้ งถิ่น (ปั ตตานี)


- สถานที่ส าคัญของจังหวัด(ปั ตตานี )

สั ปดาห์ ท๑ี่ ๘ ที่พกั อ่ นใจุ (ศูนย์ พฒ ั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระ)


- ชื่ อศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก/ตราสัญลักษณ์
-สถานที่ต้ งั ของศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก
- ห้องต่าง ๆ ภายในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก
- สถานที่ต่าง ๆ ภายในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก
- การดูแลรักษา

สั ปดาห์ ท๑ี่ ๙ สายใยชุ มชน (ชุ มชนบ้ านปะนาเระ)


- สถานที่ใกล้เคียงศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก(รศึกษานอกระบบ)
- ความส าคัญของสถานที่/ความหมาย

- การช่วยกนดูแลรักษา่ั

- การปฏิบต ั ิต่อชุมชน
- การมีส่วนร่ วมในชุ มชน

สั ปดาห์ ที่๒๐ ชื่ นชมอาชีพ


- ชื่ ออาชี พต่าง ๆ เช่น ครู ต ารวจ ทหาร แพทย์พยาบาล ฯลฯ

- หน้าที่และการแต่งกายของแต่ละอาชี พ

- สถานที่ของการปฏิบต ั ิง
- อุปกรณ์ในการประกอบอาชี พ

- ความรู ้สึกที่ดีต่ออาชี พ

สั ปดาห์ ที่๒๑ ชี วติ น่ าร้ ู่


- ความหมายของสิ่ งมีชีวต ิ /สิ่ งไม่มีชีวติ
- คุณลักษณะของสิ่ งมีชีวต ิ /สิ่ งไม่มีชีวติ (ความเหมือน/ ความแตกต่าง )
- ประโยชน์ของสิ่ งมีชีวต ิ /สิ่ งไม่มีชีวติ
- โทษของสงมีชีวต ิ ่/ส่ ไม่มีชีวติ
สั ปดาห์ ที่๒๒ ฤดูกาลหรรษา
- ฤดูหนาว (ประโยชน์/ โทษ)

- ฤดูร้อน(ประโยชน์/ โทษ)

- ฤดูฝน (ประโยชน์/ โทษ)

- การปฏิบต ั ิตามฤดูกาล
- ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ

สั ปดาห์ ที่๒๓ วันคืนชื่ นอราุ่


- ความหมายของกลางวัน- กลางคืน

- ปรากฏการณ์เวลากลางคืน

- ปรากฏการณ์เวลากลางวัน

- การปฏิบต ั ิตนในเวลากลางคืน
- การปฏิบต ั ิตนในเวลากลางวัน
สั ปดาห์ ที่๒๔ นานาสั ตว์โลก
- สัตว์บก
- สัตว์นา้

- สัตว์ครึ่ งบกครึ่ งน้า

- สัตว์เลี้ยง

- สัตว์ป่ า

สั ปดาห์ ที่๒๕ นกน้ อยเริงร่ า


- ลักษณะ, รู ปร่ าง

- ที่อยูอาศัย่

- อาหาร

- การดูแล

- ประโยชน์และโทษ

สั ปดาห์ ที่๒๖ การสรุ ป – ทบทวน


- การประเมินพัฒนาการ

สั ปดาห์ ที่๒๗ ต้ นไม้ คืนป่ า


- ลักษณะ รู ปร่ าง สี

- การปลูก

- การขยายพันธุ ์

- การบ ารุ งรักษา

- ประโยชน์และโทษ

สั ปดาห์ ที่๒๘ ดอกไม้ งามตา


- ลักษณะรู ปร่ าง สี

- การขยายพันธุ ์

- การบ ารุ งรักษา

- ประโยชน์ของดอกไม้

- โทษของดอกไม้

สั ปดาห์ ที่๒๙ สรรหาผีเสื้ อ


- รู ปร่ าง ลักษณะที่

- ที่อยูอาศัย่

- อาหาร

- วงจรชี วิต

- ประโยชน์และโทษ

สั ปดาห์ ท๓ี่ ๐ ขยันเหลือเจ้ ามดน้ อย


- รู ปร่ าง ลักษณะ

- ที่อยูอาศัย่
- อาหาร
- วงจรชี วิต

- ประโยชน์และโทษ

สั ปดาห์ ท๓ี่ ๑ อร่ อยผักผลไม้


- ชนิ ดของผักผลไม้

- รู ปร่ างลักษณะ

- รสชาติของผักผลไม้

- วิธีการท าผักผลไม้ให้สะอาด

- ประโยชน์และโทษ

สั ปดาห์ ท๓ี่ ๒ เติบใหญ่เพราะเมล็ดข้ าว


- ชนิ ด– ลักษณะ

- การปลูกข้าว

- การประกอบอาหารจากข้าว

- การเก็บรักษา

- ประโยชน์ของข้าว

สั ปดาห์ ท๓ี่ ๓ โลกเราน่ าอย่ ู่


- ความหมาย, ประเภท สิ่ งแวดล้อมตามธรรมชาติ

- สิ่ งแวดล้อมที่มนุ ษย์สร้างขึ้น

- การอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม

- ประโยชน์ของสิ่ งแวดล้อม

- โทษของสิ่ งแวดล้อม

สั ปดาห์ ท๓ี่ ๔ สี สดสวยใส


- สี ที่นกั เรี ยนรู ้จกั (ชื่อของสี )
- สี จากพืชดอกไม้ผก ั ผลไม้
- ประเภทของสี

- แม่สีและการผสมสี

- ประโยชน์และโทษของสี

สั ปดาห์ ท๓ี่ ๕ เดินทางทัว่ ไทย


- ความหมายของการคมนาคม

- ประเภทของยานพาหนะ

- การปฏิบต ั ิตนในการใช้ยานพาหนะ
- ประโยชน์ของการคมนาคม

- โทษของการใช้ยานพาหนะ (อุบต ั ิเหตุ,รถติด, มลพิษ, อาการเสี ย)


สั ปดาห์ ท๓ี่ ๖ โลกไร้ พรมแดน
- ความหมายของการสื่ อสาร

- ประเภทของการสื่ อสาร(โทรศัพท์,TV ฯลฯ)

- วิธีการสื่ อสาร

- มารยาทในการสื่ อสาร

- ประโยชน์ของการสื่ อสาร

สั ปดาห์ ท๓ี่ ๗ สิ่ งของเครื่ องใช้


- เครื่ องมือเครื่ องใช้หอ้ งเรี ยน
- เครื่ องมือเครื่ องใช้ในบ้าน

- เครื่ องมือเครื่ องใช้การเกษตร

- เครื่ องมือรื่ องใช้ในการก่อสร้ าง

- การเก็บรักษา / ประโยชน์/ โทษ

- ประโยชน์และโทษ

สั ปดาห์ ท๓ี่ ๘ หัวใจนักคิด


- รู ปทรงเรขาคณิ ต

- การชัง่ การตวง การวัด

- เรี ยงล าดับ

- จ าแนก, เปรี ยบเทียบ

- ค่าของเงิน

- การนับเวลา

- การนับเพิม่ นับลด

สั ปดาห์ ท๓ี่ ๙ นักประดิษฐ์ ตัวน้ อย


- แสง

- เสี ยง

- แม่เหล็ก

- แวนขยาย่

- การทดลอง

สั ปดาห์ ท๔ี่ ๐ ท้ องถิ่นของเรา


- ชื่ อของนายกเทศบาล ของตนเอง

- สถานที่ต้ งั

- ส่ วนราชการต่างๆ

- บุคคลที่ควรรู ้ จก ั ในเทศบาล
- ความส าคัญของเทศบาล
สั ปดาห์ ท๔ี่ ๑ การปลกผักสวนครัวู
- ชนิ ดของผักสวนครัว

- ประโยชน์

- การดูแลรักษา

- สถานที่ภาชนะที่ใช้ปลูก

- รู ปร่ างลักษณะ

สั ปดาห์ ท๔ี่ ๒ หนังตะลงุ


- ประวัติความเป็ นมา

- ตัวละครหนังตะลุง

- ดนตรี หนังตะลุง

- การแสดงหนังตะลุง

- ประโยชน์ของหนังตะลุง

สั ปดาห์ ท๔ี่ ๓ ลอยกระทง


- ความส าคัญของวันลอยกระทง

- การอนุ รักษ์แหล่งน้า

- แหล่งน้า

- วัสดุที่ใช้ประดิษฐ์กระทง

- กิจกรรมที่ปฏิบต ั ิในวันลอยกระทง
สั ปดาห์ ท๔ี่ ๔ อาเซียนที่รัก
- ชื่ อประเทศอาเซี ยน

- ธงประจ าชาติอาเซี ยน

- ค าทักทายประจ าชาติอาเซี ยน

- ชุ ดแต่งกายประจาชาติอาเซี ยน

- ดอกไม้ประจ าชาติอาเซี ยน

สั ปดาห์ ท๔ี่ ๕ โตไปไม่ โกง


- ความซื่ อสัตย์สุจริ ต

- เป็ นอยูอย่างพอเพียงการ่

- กระทาอยางรับผิดชอบ่

- ความเป็ นธรรมทางสังคม

- มีจิตสาธารณะ

สั ปดาห์ ท๔ี่ ๖ หนูน้อยห่ างไกลยาเสพติด


- ความหมายของยาเสพติด

- ชนิ ดของยาเสพติด

- ลักษณะของยาเสพติด
- โทษของยาเสพติด
- การป้ องกนั

สั ปดาห์ ท๔ี่ ๗ ประเพณีชักพระทางทะเล


- ความส าคัญและประวัติความเป็ นมา

- สิ งที่ใช้ในการชักพระ

-พาหนะที่ใช้ในประเพณี
- การลากเรื อพระ

- การวาเพลงเรื อ่

สั ปดาห์ ท๔ี่ ๘ เดินกะลาหรรษา


- แหล่งที่มาของกะลา

- ลักษณะของกะลาการประดิษฐ์ตุก ๊ ตาจากเปลือกไข่
- การประดิษฐ์ของเล่นจากกะลา

- การละเล่นพื้นบ้านเดิ นกะลา

- ประโยชน์ของกะลา

สั ปดาห์ ท๔ี่ ๙ การสรุ ป-ทบทวน


-การประเมินพัฒนาการ
สาระการจัดประสบการณ์ (เพิ่มเติม)การศึกษาปฐมวัย
ชั้ นปฐมวัยปี ๑ที(่ อายตุากว่ า่่ ๓ ปี )

สัปดาห์ที่๑-๔ - การเตรี ยมความพร้อม


- ฝึ กความพร้อมแนะน าสถานที่คุณครู และเพื่อนๆ
- ท่องปากเปล่า 1 – 10
- ท่องพยัญชนะ ก – ฮ เล่านิ ทาน
สัปดาห์ที่๕ - ท่องตัวอักษร A – Z
- รู ้พยัญชนะง, จ
- รู ้จกั ตัวอักษรA
- ค าตรงข้ามสู ง– เตี้ย, ใหญ่– เล็ก
สัปดาห์ที่๖
- รู ้ค่าเลข 1 อารบิก
- รู ้จกั พยัญชนะ, ถ, ภ
- รู ้จกั อักษรB
สัปดาห์ที่๗ - ค าตรงข้ามอ้วน– ผอม, สั้น – ยาว
- รู ้ค่าเลข ๑ ไทย, บน – ล่าง
- รู ้พยัญชนะว, ร, ธ
- ฟังนิทานแล้วเราทวนเรื่ องที่ฟัง
สัปดาห์ที่๘ - รู ้จกั ตัวอักษรC
- รู ้จกั ค่าเลข 2 อารบิก, หน้า– หลัง
- รู ้จกั พยัญชนะ บ, ป, ษ
- ให้รู้จกั เส้น
สัปดาห์ที่๙ - ท่องคากลอนตามหน่วยการเรี ยน
- รู ้จกั ตัวอักษรD
- รู ้จกั ค่าเลข ๒ ไทย, หนัก– เบา
- รู ้จกั พยัญชนะผ, ฝ, ย
สัปดาห์ที่๑๐
- ฝึ กเขียนเส้น
- ฝึ กพูดให้คนอื่นเข้าใจ(ดูแล้วอธิบายภาพ)
- รู ้จกั ตัวอักษรE
สัปดาห์ที่๑๑ - รู ้ค่าเลข 3, รู ปทรง
- รู ้จกั พยัญชนะ, ฟ, ฬ
- ให้รู้จกั เส้น
- รู ้จกั ตัวอักษรF
สัปดาห์ที่๑๒ - รู ้จกั ค่าเลข ๓, รู ปทรง
- ทบทวนพยัญชนะที่เรี ยนมาแล้ว
- ฝึ กเขียนเส้น
- รู ้จกั ตัวอักษรG
สัปดาห์ที่๑๓ - รู ้จกั ค่าเลข 4, รู ปทรง
- รู ้จกั พยัญชนะด, ต, ฒ
- รู ้จกั เส้น
- รู ้จกั ตัวอักษรH
- ค่าเลข ๔, จ านวนมาก– น้อย
สัปดาห์ที่๑๔
- รู ้จกั พยัญชนะค, ศ, ต
- รู ้จกั เส้น
- รู ้จกั ตัวI
- รู ้ค่าเลข 5, ใกล้– ไกล
สัปดาห์ที่๑๕ - ทบทวนพยัญชนะ ด, ต, ฒ, ค, ศ, ต
- ทบทวนการเขียนเส้น
- รู ้จกั ตัวอักษรJ
- รู ้จกั ค่าเลข ๕
- การเรี ยงล าดับ1– 20
สัปดาห์ที่๑๖
- รู ้จกั พยัญชนะ(ค คน)
- รู ้จกั เส้น
- รู ้จกั ตัวอักษรK
- ทบทวนตัวเลข 0 – 5
สัปดาห์ที่๑๗ - จาวนเพิม่ – ลด
- รู ้จกั พยัญชนะข, ช
- รู ้จกั เส้น
- รู ้จกั ตัวอักษรL
- ทบทวนตัวเลข ๐ – ๕
สัปดาห์ที่๑๘
- ความเหมือน– ความต่าง
- ทบทวนพยัญชนะ ข,ช, ซ
- รู ้จกั เส้น
- รู ้จกั ตัวอักษรM
สัปดาห์ที่๑๙ - ทบทวนตัวเลข0 – 5 , ๐ – ๕
- การบอกสิ่ งของ
- ฝึ กหาพยัญชนะที่รู้จกั จากชื่อเพื่อน
- รู ้จกั เส้น
-รู ้จกั ตัวอักษรN
สัปดาห์ที่๒๐- หนูช่างสงสัย เรื่ องที่เด็กสนใจอยากรู ้ - อยากเห็น
- สรุ ป/ ทบทวน

- การประเมินพัฒนาการ

สัปดาห์ที่๒๑ – ๒๔ - การเตรี ยมความพร้อม


- นับปากเปล่า, รู ้ค่าเลข 6
- จานวนเพิม่ – ลด
- ฝึ กหาพยัญชนะที่รู้จกั จากชื่อสัตว์
สัปดาห์ที่๒๕ - ฝึ กเขียนเส้น
- รู ้จกั ตัวอักษรO
- รู ้ค่าเลข ๖
- การเรี ยงลาดับสิ่ งของ 3 ขนาด
- ท่องกลอน ฝนตกพร า พร า
สัปดาห์ที่๒๖
- รู ้จกั ตัวอักษรP
- รู ้ค่าเลข 7
- จานวนเท่ากนั – ไม่เท่ากนั
- ฝึ กการหาพยัญชนะที่รู้จกั จากชื่อผลไม้
สัปดาห์ที่๒๗
- ทบทวนการเขียนเส้น
- รู ้จกั อักษรQ
- รู ้ค่าเลข ๗
- การวัดสิ่ งของ
สัปดาห์ที่๒๘ - รู ้จกั พยัญชนะฌ, ณ
- รู ้จกั เส้น
- รู ้จกั อักษรตัวR
- รู ้จกั ตัวเลข8
สัปดาห์ที่๒๙ - การจับคู่จานวนหนึ่งต่อหนึ่ ง
- รู ้จกั พยัญชนะท, ฑ, ท
- รู ้จกั เส้น
- รู ้จกั ตัวอักษรS
สัปดาห์ที่๓๐ - รู ้จกั ค่าเลข ๘
- จ านวนมากน้อย
- รู ้จกั พยัญชนะล, ส รู ้จกั พยัญชนะ
- รู ้จกั เส้น
- รู ้จกั อักษรตัวT
สัปดาห์ที่๓๑ - รู ้ค่าเลข 9
- การเพิม่ – ลด
- พยัญชนะ ม, ฆ
- รู ้จกั เส้น
- รู ้จกั ตัวอักษรU
สัปดาห์ที่๓๒ - รู ้ค่าเลข ๙
- จานวนเท่ากนั – ไม่เท่ากนั
- รู ้จกั เส้น
- รู ้จกั อักษรV
- รู ้ค่าเลข 0
สัปดาห์ที่๓๓ - การชังสิ่ งของ
- รู ้จกั พยัญชนะอ, ฮ
- รู ้จกั เส้นL
- รู ้จกั ตัวอักษรW
- รู ้ค่าเลข ๑๐ / 10
สัปดาห์ที่๓๔
- การชังสิ่ งของ
- ทบทวนพยัญชนะ ก – ซ
- ฝึ กเขียนเส้นL
- รู ้จกั ตัวอ กษร X
- ทบทวนตัวเลข 6 – 10
สัปดาห์ที่๓๕
- รู ปทรง
- ทบทวนพยัญชนะ ท – ม
- รู ้จกั เส้น
- รู ้จกั ตัวอักษรY
สัปดาห์๓๖ - ทบทวนตัวเลข 1 – 10
- รู ปทรง
- ทบทวนพยัญชนะ ก – ฮ
- ให้รู้จกั เส้นพื้นฐาน 13 เส้น
- ทบทวนตัวอักษรZ
สัปดาห์ที่๓๗ - ทบทวนตัวเลข ๑ – ๑๐
- รู ปทรง
- ทบทวนพยัญชนะก – ฮ
- ทบทวนตัวอักษรA – Z
สัปดาห์ที่๓๘ – ๓๙ - ทบทวนตัวเลข 0 – 10
- ทบทวนพยัญชนะ ก – ฮ

- ทบทวนตัวอักษรA – Z

สัปดาห์ที่๔๐ - สิ่ งที่หนูตอ้ งการเรี ยนรู ้


- สรุ ป/ ทบทวน

- การประเมินพัฒนาการ

การจัดประสบการณ์ การเรี ยนร้ ู่


(ส าหรับเด็กอายตุากว่ า่่ ๓ ปี )
ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระสังกดเทศบาลตัาบลปะนาเระ ได้กาหนดการจัด
ประสบการณ์ให้เด็กอายุอายุต่ากวา่่ ๓ ปี โดยจัดการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการผานการเล่่น เป็ นการบูรณาการทั้งทางด้าน
เนื้อหาสาระและทักษะกระบวนการผานการจัดก่ิจกรรมประสบการณ์๖ กิจกรรม ตลอดจนได้กาหนดการจัดกิจกรรม
ประสบการณ์ที่สอดคล้องกบหนังสื อกรมสัง่ เสริ มการปกครองท้องถิ่น ด่วนที่สุด ที่มท ๐๘๑๖.๔/ว ๒๒๙๖ ลงวันที่
๓๐ ตุลาคม๒๕๖๐ เรื่ องซักซ้อมการจัดกเรี ยนการสอนและกิจกรรมในศูนย์พฒั นาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่น เพื่อให้เด็กได้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์ตรู่ ่้จากการลงมือกระทเกิดความรู ้ามีทกั ษะมีคุณจริ ยธรรม
และเกิดการพัฒนาทางด้านร่ างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาอยางมีคุณภาพและตอเนื่ อง่ได้รับการจัด
ประสบการณ์การเรี ยนรู ้อยางมีความสุ ขและเหมาะสมตามวัย่ มีทกั ษะชีวติ และปฏิบตั ิตนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นคนดีมีวนิ ยั และส านึกความเป็ นไทยโดยความร่ วมมือระหวางสถานศึกษา่่ พอแม่่ครอบครัว
ชุมชนและทุกฝ่ ายที่เก่ียวข้องกบการพัฒนาเด็กในการจัดประสบการณ์ัได้คานึงถึงสิ่ งสาคัญต่อไปนี้
๑.อบรมเลี้ยงดูเด็กและส่ งเสริ มกระบวนการเรี ยนรู ้โดยเน้นเด็กเป็ นสาคัญ
๒.ตระหนักและสนับสนุนสิ ทธิ ข้ นั พื้นฐานที่เด็กพึงได้รับ
๓.ปฏิบตั ิตนต่อเด็กด้วยความรัก ความเข้าใจและใช้เหตุผล
๔.ส่ งเสริ มพัฒนาการของเด็กอยางสมดุลครบทุกด้าน่
๕.ปลูกฝังระเบียบวินยั คุณธรรมและวัฒนธรรมไทย
๖.ใช้ภาษาที่เหมาะสมกบความสามารถและการเรี ยนรู ้ของเด็ก ั
๗.สนับสนุนการเล่นตามธรรมชาติของเด็ก
๘.จัดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและเอื้อต่อการเรี ยนรู ้ของเด็ก
๙.ประเมินการเจริ ญเติบโตและพัฒนาการเด็กอยางต่่อเนื่ อง
๑๐.ประสานความร่ วมมือระหวางพ่อแม่่ผปู ้ กครองูเ้ ลี้ยงดูและชุมชน
ทั้งนี้ ได้กาหนดแนวทางการอบรมเลี้ยงดูและการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กอายุต่ากวา่่ ๓ ปี ไว้ดงั นี้
๑.ดูแลสุ ขภาพอนามัยและตอบสนองความต้องการของเด็กเป็ นรายบุคคล
๒.สร้างบรรยากาศของความรักวามอบอุ่น ความไว้วางใจและความมันคงทางอารมณ์ให้ก่บเด็กในั
วิถีชีวติ ประจ าวัน
๓.จัดประสบการณ์ตรงให้เด็กได้เลงมือกระท และเรี ยนรู ้จากประสาทสัมผัสทัา่้งห้า และการ
เคลื่อนไหวผานการเล่่น
๔.จัดประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กบบุคคลที่แวดล้อมและสิั่ งต่าง ๆรอบตัวเด็กอยางหลากหลาย่
๕.จัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก วัสดุอุปกรณ์เคื่องใช้และของเล่นที่สะอาด หลากหลาย
ปลอดภัยและเหมาะสมกบเด็ก ั เพื่อส่ งเสริ มพัฒนาการอยางรอบด้านรวมถึงมีพ้ นที ื่ ่ในการเล่นน้า เล่นทราย
๖.จัดหาสื่ อการเรี ยนรู ้ที่เป็ นสื่ อธรรมชาติเหะกบวัยและพัฒนาการของเด็ก ั สื่ อที่เอื้อให้เกิดการ
ปฏิสัมพันธ์หลีกเลี้ยงการใช้สื่อเทคโนโลยีเป็ นพี่เลี้ยงเด็ก
๗.จัดรวบรวมข้อมูลและติดตามการเจริ ญเติบโตพัฒนาการและการเรี ยนของเด็กเป็ นรายบุคคลอยาง่
ต่อเนื่อง สม ่่าเสมอ
๘.กระบวนการเรี ยนรู ้โดยให้พอแม่่ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่ วมทั้งการวางแผน การสนับสนุน
สื่ อการเข้าร่ วมกิจกรรม และการประเมินพัฒนาการเพื่อให้เด็กมีพฒั นาตามวัตถุประสงค์ดงั กล่าวข้างต้น ได้กาหนดการ
จัดกิจกรรมประสบการณ์๖ กิจกรรม เพื่อพัฒนาการทางด้านร่ างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญาดังต่อไปนี้
๑. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
๒. กิจกรรมเสริ มประสบการณ์(กิจกรรมในวงกลม)
๓. กิจกรรมสร้างสรรค์
๔. กิจกรรมเสรี
๕. กิจกรรมกลางแจ้ง
๖. เกมการศึกษา
กิจกรรมเคลื่อนไหว และจังหวะ
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เป็ นกิจกรรมที่ให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกายตาม
จังหวะอยางอิสระ่่ โดยใช้เสี ยงเพลงค าคล้องจองเครื่ องเคาะจังหวะและอุปกรณ์อื่นๆประกอบการเคลื่อนไหวเพื่อ
ส่ งเสริ มให้เด็กเกิดจินตนาการความคิดสร้างสรรค์รู้จงั หวะและควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองได้รม ิ
เคลื่อนไหวและจังหวะประกอบไปด้วย
๑. การเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน
๒. การเคลื่อนไหวอิสระ
๓. การเคลื่อนไหวตามค าบรรยาย
๔. การเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
๕. การเคลื่อนไหวตามข้อตกลง
๖. การเคลื่อนไหวเชิงสร้างสรรค์
๗. การเคลื่อนไหวอยูก่บทีั ่
๘. การเคลื่อนไหวเป็ นคู่
๙. การทาท่าทางประกอบเพลง
๑๐. การทาท่าทางตามความหมายของเพลง
๑๑. การเป็ นผูน้ าและผูต้ าม
๑๒. การเป็ นผูน้ าและผูต้ าม
๑๓. การร้องเพลง ฯลฯ
การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ผูด้ ูแลเด็กสามารถจัดให้สัมพันธ์กบเนื้ ัอหาหรื อประสบการณ์
ิ้
ที่ผดู ้ ูแลเด็กต้องการให้เด็กเรี ยนะควรจัดกูจกรรมนี้ อยางน้อยวันละประมาณ่ ๑๕ – ๒๐ นาที ก่อนสิ้ นสุ ด
กิจกรรมทุกครั้งควรให้เด็กได้พกั เช่น นอน นังฟังเพลงเบา่่ ๆ ฯลฯ

จุดมุ่งหมาย
๑. ได้เคลื่อนไหวส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกาย
๒. กล้าแสดงออกและมีวธิ ี คิดเริ่ มสร้างสรรค์
๓. เกิดความซาบซึ้ งและมีสุนทรี ยภาพในการเคลื่อนไหวตามจังหวะ
๔. รู ้จกั ปรับตัวเมื่อทากิจกรรมร่ วมกบเพื่อนั
๕.เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
วัสดุอุปกรณ์
๑.เครื่ องประกอบจังหวะช่น ร ามะนา กลอง กรับ ฉิ่ ง ฯลฯ
๒.แถบบันทึกเสี ยงเพลงครื่ องเล่นเทป
๓.อุปกรณ์ประกอบการเคลื่อนไหวช่น ห่ วงหาย แถบผ้า ถุงทรายฯลฯ
กิจกรรม
๑.ร้องเพลง ท่องคากลอน ค าคล้องจองและเคลื่อนไหวตามบทเพลงค ากลอน ค าคล้อง
จอง
๒.เคลื่อนไหวพื้นฐาน เช่น เดิน วิง่ กระโดด ฯลฯ ตามสัญญาณ-นัดหมายหรื อตาม
จังหวะเพลง
๓.เคลื่อนไหวอิสระตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์โยใช้ส่วนต่าง ๆ ของ
ร่ างกายให้มากที่สุด ขณะเดียวกนให้คาั นึงถึงการใช้พ้นื ที่ ระดับและจังหวะในขณะเคลื่อนไหวของร่ างกาย
๔.เล่นเครื่ องเล่นดนตรี ง่าย ๆ ประเภทเคาะ เช่น กรับ ร ามะนา กลอง ฯลฯ และ
เคลื่อนไหวประกอบ
๕.ให้เด็กเคลื่อนไหวตามความคิดสร้างสรรค์โดยใช้อุปกรณ์
ประกอบในการเคลื่อนไหวช่น ห่วง แถบผ้า ถุงทราย ฯลฯ
ข้อเสนอแนะ
๑.สร้างบรรยากาศให้เด็กเกิดความรู ้สึกเพลิดเพลิน สนุกสนาน และมีความเป็ นกนเองั
๒.ไม่บงั คับถ้าเด็กไม่ยอมเข้าร่ วมกิจกรรม ควรให้เวลา
และให้โอกาสจนกวาเด็กสนใจเข้า่่
ร่ วมกิจกรรม
๓.ควรให้เด็กได้แสดงออกอยางทัว่ ถึง่
กิจกรรมเสริ มประสบการณ์ (กิจกรรมในวงกลม)
จุดมุ่งหมาย
๑.เพื่อให้เด็กเข้าใจเนื้อหาและเรื่ องราวแผนการจัดประสบการณ์
๒.เพื่อให้เด็กมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกบครู ั และครู จะได้ดูแลพฤติกรรมของเด็กอยางใกล้ชิด่
๓.เพื่อให้เด็กได้ฝึ กความมีระเบียบวินยั มารยาทในการฟัง พูดและลักษณะนิสัยที่ดี

บทบาทและหน้าที่ของครู
ก่อนจัดประสบการณ์ครู จะต้องศึกษาการท าแนวทางใ การจัดประสบการณ์น้ ี อยางละเอียดเพื่อได้่
แนวทางในการจัดเตรี ยมประสบการณ์ให้กบเด็ก ั และจัดเตรี ยมสื่ อการจัดประสบการณ์ที่ได้เสนอแนะไว้อยาง่
็ ครู อาจปรับปรุ งเปลี่ยนแปลง
ครบถ้วนเพื่อที่จะทาให้การสอนบรรลุจุดมุ่งหมายที่ได้ต้ งั ไว้อยางสมบูรณ์อย่างไรก่ตาม
ได้ตามความเหมาะสมของท้องถิ่น
การจัดประสบการณ์เนื้ อหาให้เด็กต้องจัดกิจกรรมให้เด็กสนใจ เช่น
๑. ทัศนศึกษาตามแหล่งเรี ยนรู ้
๒. การเล่าเรื่ องให้ผอู ้ ื่นเข้าใจ
๓. การเล่าประสบการณ์ตามเนื้อหาต่าง ๆ
๔. การอภิปราย ซักถาม
๕. การสนทนา ตอบค าถาม
๖. ทักษะกระบวนการกลุ่ม
๗. การทดลอง
๘. การอธิ บายสิ่ งต่าง ๆ
๙. ทักษะการฟังพูด อ่าน เขียน
๑๐. การแกปัญหาสถานการณ์จา้ ลอง
๑๑. การแสดงบทบาทสมมติ
๑๒. การลงมือปฏิบตั ิจริ ง
๑๓. การรับรู ้ดว้ ยประสาทสัมผัสทั้ง 5
๑๔. การทากิจกรรมร่ วมกบผูอ้ ื่นั
๑๕. การนับจ านวนเพิม่ ลด
๑๖. การเปรี ยบเทียบเวลา
๑๗. การจ าแนกเปรี ยบเทียบ
๑๘. การเล่านิทาน
๑๙. การร้องเพลงฯลฯ
กิจกรรมสร้างสรรค์และกิจกรรมเสรี
จุดมุ่งหมาย ศูนย์การเรี ยนกิจกรรมเสรี หรื อมุมประสบการณ์มีความมุ่งหมายที่สาคัญโดยเฉพาะ
ดังนี้
๑. เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงวยารประกอบกิจกรรมที่สอดคล้องกบธรรมชาติั
และสนองความต้องการของเด็กทางการเล่นที่แฝงไว้ซ่ ึ งการศึกษา
๒. เพื่อเปิ ดโอกาสให้เด็กได้ทดลองคิดค้นคว้าและสร้างสรรค์ดว้ ยความสนุกและ
เพลิดเพลินแสวงหาความรู ้ดว้ ยตนเองโไม่ตอ้ งวิตกกงวลั
๓. เพื่อฝึ กทักษะการเตรี ยมความพร้อมด้านประสาทสัมพันธ์ทางตาและมือเกิดพัฒนาการ
ทางการตัดสิ นใจการมีเหตุผลรู ้ขนาดจ านวนสี และรู ปลักษณะทั้งช่วยฝึ กเชาวน์ปัญญา อันเป็ นทางน าหรื อเตรี ยม
เด็กไปสู่ การอ่าน และการเขียนในโอกาสต่อไป
๔. เพื่อฝึ กเด็กให้ทางานเป็ นกลุ่ม เรี ยนรู ้สิทธิ และหน้ความรับผิดชอบของตนและเพื่อนที่
ภายในสังคมเล็กๆ และรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น
๕. เพื่อฝึ กให้รู้จกั ประหยัดวัสดุการศึฝเก่ใ็ ห้รู้จกั การเลษา่่นเครื่ องเล่น การเก็บรักษา
อุปกรณ์เครื่ องเล่น ให้อยูในสภาพที่เรี ยบร้อยและครบถ้วน่
๖. เป็ นวิธีการที่เด็กๆได้รับความรักวามอบอุ่น การอบรมเลี้ยงดู และการปกป้ องให้เกิด
ความปลอดภัยที่จะอยูร่วมกนในสถานศึกษาได้อยัางมีความสุ ข่
๗. เป็ นวิธีการช่วยส่ งเสริ มเด็ก ๆ ได้รับพัฒนาการทางอารมณ์จิตใจและร่ างกาย สติปัญญา
และสังคม ครบถ้วนพร้อมในโอกาสเดียวกนั
๘. เป็ นวิธีการช่วยให้ครู ทราบปั ญหา ความคับข้องใจเด็กทาให้ครู สามารถหาวิธีช่วย
คลี่คลายปั ญหาแก่เด็กได้
๙. เป็ นวิธีการปูพ้ืนฐานประสบการณ์ และความรู ้ให้เด็กมีความพร้อมสามารถช่วยตนเอง
ได้ถูกต้องเหมาะสมกบวัยของเด็ก ั พร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ ได้อยางเป็ นสุ ข่
๑๐. เป็ นวิธีที่ช่วยให้ครู ทราบความสนใจเป็ นพิเศษของเด็ก และสามารถประเมินผล
พัฒนาการ และพฤติกรรมของเด็กแต่ละคนได้พร้อมที่จะรายงานลงในสมุดรายงานประจาวันเด็กแต่ละคนได้อยางมี่
ประสิ ทธิภาพ
๑๑. เป็ นวิธีการช่วยให้ครู ตื่นตัวอยูเสมอ่ ในการที่จะค้นคว้าหาความรู ้เพิมเติม่ สารวจแหล่ง
วัสดุอุปกรณ์และคิดค้นสร้างสรรค์อุปกรณ์ใหม่ๆ ขึ้น เพื่อส่ งเสริ มความพร้อมให้แก่เด็กอยางมีประสิ ทธิ ภาพมาก่ ยิงขึ้ ่ น

๑๒. เป็ นวิธีการช่วยลดการสู ญเปล่าทางการศึกษา ให้ปัญหาเด็กเรี ยนซ้าชั้นประถมศึกษาปี ที่๑


ลดลง ซึ่ งกาหนดการจัดศูนย์การเรี ยนกิจกรรมเสรี หรื อมุมประสบการณ์ไว้ศูนย์การเรี ยนกิจกรรมเสรี หรื อมุม
ประสบการณ์และจัดดาเนินการจัดอยางน้อย่ ๖ ศูนย์การเรี ยนกิจกรรมเสรี หรื อมุมประสบการณ์ และให้เด็กได้เรี ยนรู ้
ในแต่ละวัน อยางน้อยวันละ่่ ๒ ศูนย์การเรี ยนกิจกรรมเสรี หรื อมุมประสบการณ์

กิจกรรมกลางแจ้ง
จุดมุ่งหมาย
๑. เพื่อให้เด็กได้ออกกาลังกายกลางแจ้งซึ่ งจะช่วยให้เด็กมีสุขภาพดีข้ ึน
๒. เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และฝึ กประสาทสัมพันธ์ระหวางมือก่บตา่ั มือ
กบเท้า่ั
๓. เพื่อเป็ นการพัฒนาทางร่ างกาย อารมณ์และจิตใจสังคม สติปัญญาและจินตนาการของ
เด็ก

ลักษณะการจัดกิจกรรมกลางแจ้ง
๑. การละเล่นพื้นเมือง
๒. เกมต่าง ๆ
๓. การเล่นบ้านจาลอง
๔. การเล่นทราย
๕. การเล่นน้า
๖. การเล่นเครื่ องเล่นสนาม
๗. การเดินทรงตัวบนกระดาน
๘. การเดินตามแนว
๙. การเดินถอยหลัง
๑๐. การรับ– ส่ ง บอล
๑๑. การขว้างบอลไกล
๑๒. การเตะบอลเข้าประตู
๑๓. การกลิ้งบอลกระทบเป้ า
๑๔. การปาเป้า
๑๕. การโหนตัวฯลฯ

บทบาทและหน้าที่ครู ในการจัดกิจกรรม การเล่นกลางแจ้ง


การออกกาลังกายของเด็ก ๆ นั้น ได้แก่ การวิง่ การกระโดด การม้วนหน้าม้วนหลังการ กลิ้ง การปี
นป่ ายการวิงแข่่ง การลาก การเข็น เป็ นต้นในการเล่นนั้น บางอยาง่ จ าเป็ นต้องมีสื่อประกอบด้วยแ
บางอยางไม่่จาเป็ นต้องมีสื่อก็ได้แต่ผดู ้ ูแลเด็กจะต้องเตรี ยมตัวเพื่อจัดกิจกรรมให้เด็ก บทบาทและหน้าที่ของผูด้ ูแลเด็ก
ที่ควรปฏิบตั ิในการจัดกิจกรรมกลางแจ้ง คือ
๑. หากจะให้เด็กเล่นเครื่ องเล่นสนาม ผูด้ ูแลเด็กจะต้องทาการตรวจสอบเครื่ องเล่นนั้นวาอยู่
ในสภาพเรี ยบร้อยหรื อไม่ หรื อจะเป็ นอันตรายต่อเด็กหรื อไม่
๒. ผูด้ ูแลเด็กจะต้องแนะนาการเล่นที่ถูกวิธีและปลอดภัยให้กบเด็กทุกครั้ ังจึงให้เล่น
๓. ผูด้ ูแลเด็กจะต้องฝึ กระเบียบวินยั ให้เด็กทุกครั้งที่มีการเล่นกลางแจ้ง ๔.
ปล่อยให้เด็กเล่นอยางอิสระ่่ โดยผูด้ ูแลเด็กคอยดูแลอยางใกล้ชิด่
๕. เมื่อเลิกเล่นแล้ว เก็บสิ่ งของให้เข้าที่และทาความสะอาดบริ เวณที่เล่นให้เรี ยบร้อยทุก
ครั้ง
๖. ให้เด็กทาความสะอาดร่ างกายพร้อมทั้งแต่งกายให้เรี ยบร้อยทุกครั้งหลังจากเลิกเล่น
กลางแจ้งแล้ว
เกมการศึกษา
เกมการศึกษาเป็ นเกมการเล่นที่ฝึกการสังเกต พัฒนากระบวนการคิดและเกิดความคิดรวบยอด เกม
การศึกษามีกฎกติกาง่ายๆ เด็กสามารถเล่นคนเดียวหรื อเล่นเป็ นกลุ่มได้เกมการศึกษาที่เหมาะสมสาหรับเด็กปฐมวัย
เช่น เกมการจับคู่สิ่งที่เหมือนกนั เกมการแยกประเภท จัดหมวดหมู่ เกมการเรี ยงล าดับเกมการสังเกตรายละเอียดของ
ภาพ เกมการหาความสัมพันธ์ฯลฯ
เกมการศึกษาที่จดั ให้เด็กลนควรเริ่ มจากง่ายไปหายาก จากภาพไปสู่ รูปทรงและสัญลักษณ์ที่ซบั ซ้อน
ขึ้น เมื่อครู ให้เด็กเล่นเกมใหม่ควรแนะนาวิธีการเล่น และเมื่อเล่นเสร็ จครู ควรตรวจสอบความถูกต้อง บางเกมเด็กอาจ
ตรวจสอบค าถามได้ดว้ ยตนเอง
เกมการศึกษานี้ครู สามารถผลิตได้ดว้ ยตนเองอยางง่่าย ๆ ให้สอดคล้องกบเนื้ ัอหาหรื อประสบการณ์ที่
ต้องการให้เด็กเรี ยนรู ้ควปิ ดโอกาสให้เด็กเล่นเกมการศึกษาเป็ นรายบุคคล หรื อกลุ่มยอยทุกวัน่ โดยอาจจัดวางไว้ให้
เด็กเลือกเล่นทบทวนตามความต้องการนอกเหนื อจากเวลาที่กาหนด
จุดหมาย
๑.รู ้จกั สังเกตเปรี ยบเทียบและจ าแนก
๒.ส่ งเสริ มการคิด หาเหตุผล และการตัดสิ นใจแกปั ญหา่้
๓.ส่ งเสริ มพัฒนากล้ามเนื้อเล็กและการประสานสัมพันธ์ระหวางมือก่บตา่ั
๔. ส่ งเสริ มการเล่นร่ วมกนั
ตัวอยางเกมการศึกษา่่
เกมจับคู่
* เกมจับคู่ภาพหรื อสิ่ งของ สามารถแบ่งได้หลายแบบ เช่น

- จับคู่ที่เหมือนกนทุกประการั
- จับคู่ภาพกบเงาของสิั่ งเดียวกนั
- จับคู่ภาพกบโครงรั่างของสิ่ งเดียวกนั
- จับคู่ภาพที่ซ่อนอยูในภาพหลัก่
- จับคู่ภาพเต็มกบภาพที่แยกเป็ นสั่วน ๆ
* เกมการแยกประเภท จัดหมวดหมู่ (แผนภาพเกมการแยกประเภท จัดหมวดหมู่)

* เกมการเรี ยงล าดับ(แผนภาพเกมการเรี ยงล่าดับ)

* เกมการสังเกตรายละเอียดของภาพช่น เกมการตัดต่อ (จานวนชิ้น ตามความเหมาะสมของวัยผู ้

เล่น)
* เกมลอตโต (แผนภาพลอตโต่)
* เกมหาความสัมพันธ์ช่น เกมตารางสัมพันธ์(เมตริ กเกม) เกมอุปกมาอุปมัย,เกมหาความสัมพันธ์

ระหวางสิ่ งของเครื่ องใช้ฯลฯ


ตารางกิจกรรมประจาวัน
--------------------------

ช่วงเช้า
เวลา ๐๗.๓๐ – ๐๘.๑๕ น. รับเด็กเป็ นรายบุคคล
๐๘.๑๕ – ๐๘.๓๐ น. เคารพธงชาติ กล่าวดุอา
๐๘.๓๐ – ๐๘.๔๐ น. ตรวจสุ ขภาพเด็ก
๐๘.๔๐ – ๐๙.๐๐ น. การเคลื่อนไหวและจังหวะ
๐๙.๐๐ – ๑๐.๓๐ น. กิจกรรมในวงกลม
๑๐.๓๐ – ๑๐.๕๐ น. กิจกรรมสร้างสรรค์
๑๐.๕๐ – ๑๑.๒๐ น. กิจกรรมเสรี
๑๑.๒๐ – ๑๑.๔๐ น. เล่นกลางแจ้ง
๑๑.๔๐ – ๑๒.๓๐ น. พักรับประทานอาหาร(แปรงฟัน)
ช่วงบ่าย
เวลา ๑๒.๓๐ – ๑๔.๐๐ น. นอนพักผอน่
๑๔.๐๐ – ๑๔.๒๐ น. เก็บที่นอนล้างหน้า
๑๔.๒๐ – ๑๔.๓๐ น. พัก (ดื่มนม,อาหารวาง่)
๑๔.๓๐ – ๑๔.๔๕ น. เกมการศึกษา
๑๔.๔๕ – ๑๕.๐๐น. สรุ ปกิจกรรมประจาวัน / เตรี ยมงานในวันรุ่ งขึ้น

หมายเหตุ อาจปรับได้ตามความเหมาะสม
บทที่๘
การสร้างบรรยากาศการเรี ยนรู ้
---------------------------

ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระสังกดเทศบาลตัาบลปะนาเระ ได้จดั บรรยากาศทั้งภายใน


และภายนอกห้องเรี ยนที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ของเด็ก เพื่อส่ งเสริ มให้เด็กได้เรี ยนรู ้ตามธรรมชาติสอดคล้องกบพัฒนาการั
ของเด็กเพื่อส่ งเสริ มให้เด็กได้เรี ยนรู ้ตามธรรมชาติสอดคล้องกบพัฒนาการของเด็กในแตัล่ ะวัยเรี ยนรู ้ผานการเล่่นที่
น่าสนใจ สนุกสนาน โดยได้กาหนดพัฒนาและปรับปรุ ง ดังนี้
ภายในห้องเรี ยนองเรี ยนแต้ล่ ะห้องจะเน้นความสะอาด สวยงาม ปลอดภัยตกแต่งบอร์ ด ด้วยเนื้ อหา
สาระที่สอดคล้องกบหนัว่ ยที่เด็กกาลังเรี ยนอยูในแต่่ละสัปดาห์ภายในห้องเรี ยนจะมีมุมประสบการณ์พร้อมสื่ อ
อุปกรณ์ที่แข็งแรงสวยงาม ปลอดภัยและเพียงพอกบจัานวนเด็ก เพื่อให้เด็กได้เรี ยนรู ้จาการสัมผัสทั้งห้า เพราะมีความ
เชื่อวา่่ สภาพแวดล้อมที่ดีจะทาให้เด็กเกิดการเรี ยนรู ้ที่ดีจากศูนย์การเรี ยนกิจกรรมเสรี หรื อมุมประสบการณ์เช่น มุม
ร้านค้ามุมหนังสื อมุมบล็อกมุมของเล่นพลาสติก มุมดนตรี มุมแต่งตัว มุมนิทานนอกจากนี้ทางโรงเรี ยนได้จดั ทา ห้องน้า
ห้องส้วมไว้ภายในห้องเรี ยนเพื่อความสะดวกและปลอดภัยของเด็ก
ภายนอกห้องเรี ยนจัดตกแต่งสภาพแวดล้อมภายนอกสถานศึกษาด้วยพันธ์ไม้ต่าง ๆ ได้แก่ ไม้ดอก
ไม้ประดับผักสวนครัวไม้ยนื ต้นหน้าอาคารเรี ยนจัดให้มีสระน้า เพื่อเลี้ยงสัตว์นา้ เช่น ปลา และมีสวนหยอม่
ด้านหน้าเพื่อความสวยงามความเพลิดเพลินพื่อเอื้อต่อการพัฒนาการของเด็กได้ศึกษานอกสถานที่ าให้เด็กได้

สัมผัสธรรมชาติของจริ ง่เสริ มให้เด็กมีสุขภาพจิตดีสนุกสนานกบการเรี ยนรู ้มีคุณครู จดั กัจกรรมให้ กบเด็ก ั ยึด
หลักการสะอาด ร่ มรื่ น สวยงาม เป็ นระเบียบปลอดภัย ทั้งภายในและภายนอกห้องเรี ยน
บทที่๙
สื่ อและแหล่งการเรี ยนรู ้
-------------------------
สื่ อ
สื่ อเป็ นเครื่ องมือของการเรี ยนรู ้ทหที่เป็ นตัวกลางถ่ายทอดความรู ้ความเข้าใจความรู ้สึกเพิมพูน่
ทักษะและประสบการณ์ร้างสถานการณ์การเรี ยนรู ้ให้กบเด็ก ั กระตุน้ ให้เกิดการพัฒนา ทางด้านร่ างกาย อารมณ์
จิตใจ และสติปัญญาตลอดจนเสริ มสร้างคุ ณธรรมิยธรรมและค่านิยมให้แก่เด็กมีระบบในการควบคุมสื่ อยางเป็ น่
ระบบ มีผดู ้ ูแลรับผิดชอบกะบวนการดังนี้
๑. การจัดหา มีการสอบถามความต้องการในการใช้สื่อของครู ผสู ้ อนโดยห้แต่ละห้อง น
าเสนอทุกต้นปี การศึกษา
๒. การจัดเก็บ สื่ อทุกประเภทมีทะเบียนคุมมีเอกสารชัดเจน
๓. การจัดการ เมื่อลงทะเบียนแล้วจะแยกให้ครู ประจาชั้นรับได้เก็บได้โดยให้แต่ละห้อง น
าเสนอทุกต้นปี การศึกษา
๔. การซ่อม จะมีการสารวจสื่ อทุกสิ้ นภาคเรี ยน เพื่อดูวาสื่ อใดช่ารุ ดจะซ่อมบารุ งหรื อ
จาหน่าย

ลักษณะของสื่ อแบ่งออกเป็ น ๕ ประเภท


๑. สื่ อธรรมชาติหมายถึง สิ่ งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น พืช ผัก ผลไม้ดิน หิ น
เป็ นต้น
๒. สื่ อสิ่ งพิมพ์หมายถึง หนังสื อและเอกสารสิ่ งพิมพ์ต่าง ๆ เช่น เอกสาร หนังสื อต ารา
นิตยสาร หนังสื อพิมพ์วารสาร จุลสาร แผนที่แผนภูมิตาราง สถิติกราฟเป็ นต้น
๓. สื่ อวัสดุและอุปกรณ์ หมายถึง วัสดุที่ประดิษฐ์เพื่อประกอบการเรี ยนชบัตรค า
หุ่นจาลอง เกมการศึกษา เครื่ องมืออุปกรณ์ทดลองเป็ นต้น
๔. สื่ อที่ไม่ใช่ความเรี ยง หมายถึง สื่ อที่ไม่มีตวั หนังสื อกากบั เช่น สัญลักษณ์ต่าง ๆ
เครื่ องหมายต่าง ๆ
๕. สื่ อเทคโนโลยีหมายถึง สื่ อการเรี ยนรู ้ที่ได้ผลิตขึ้น เพื่อใช้ควบคูก่ บเครื่ องมือโทรทัศน์ั
วัสดุหรื อเครื่ องมือที่เป็ นเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น เทปบันทึกภาพ(วีดีทศั น์)แถบบันทึกเสี ยงสไลด์ คอมพิวเตอร์ ซีดี วีซีดีเป็
นต้น
แหล่งการเรี ยนรู ้
ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระสังกดเทศบาลตัาบลปะนาเระ ได้จดั บรรยากาศ
ทั้งภายในและภายนอกห้องเรี ยนที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ของเด็ก ซึ่ งเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ให้สอดคล้องกบพัฒนาการของเด็กแตั่
ละวัยบูรณาการการเรี ยนรู ้ผานการเล่่นที่สนุกสนาน โดยได้ดาเนิ นการจัดแหล่งเรี ยนรู ้ดงั นี้
๑. ภายในห้องเรี ยนเน้นความปลอดภัยสะอาด สวยงาม ภายในห้องมีมุมประสบการณ์
หรื อศูนย์การเรี ยนและสื่ ออุปกรณ์ที่แข็งแรงสวยงามปลอดภัย และเพียงพอกบจัานวนเด็ก เพื่อให้เด็กเรี ยนรู ้จากการ
สัมผัสทั้ง ๕ ส าหรับมุมประสบการณ์หรื อศูนย์การเรี ยนได้แก่ มุมบ้านมุมหมอ มุมร้านค้ามุมวิทยาศาสตร์ มุม
หนังสื อมุมบล็อกมุมดนตรี เป็ นต้น
๒. ภายในศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระสังกดเทศบาลตัาบลปะนาเระ จัดให้มี
บรรยากาศที่สะอาดร่ มรื่ น สวยงาม เป็ นระเบียบปลอดภัย มีตน้ ไม้มากมายหลายชนิดพันธุ์ไม้ต่าง ๆ และห้องส าคัญ ต่าง
ๆ ในโรงเรี ยนเช่น ห้องสมุดห้องพยาบาล และอื่นๆ
๓. ภายนอกศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระสังกดเทศบาลตัาบลปะนาเระ คือ
สถานที่ต่างๆ เช่น ศูนย์การศึกษานอกระบบห้องสมุดประชาชนโรงเรี ยนบ้านปะนาเระมัสยิดโรงพยาบาลส่ งเสริ ม สุ ขภาพต
าบลปะนาเระเทศบาลต าบลปะนาเระตลาดสด แหล่งเรี ยนรู ้การทาปลาแห้ง ปากอ่าว ศูนย์โอท็อปแปรรู ปข้าว
เกรี ยบปลาและอื่นๆได้กาหนดพาเด็กไปศึกษาเรี ยนรู ้ตามโอกาสที่สมควร

การส่ งเสริ มพัฒนาการและการเรี ยนรู ้


สาหรับเด็กอายุต่ากวา่่ ๓ ปี
...................................................
ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระสังกดเทศบาลตัาบลปะนาเระ ได้กาหนดแนวปฏิบตั ิการ
อบรมเลี้ยงดูโดยเน้นการอบรมเลี้ยงดูตามวิถีชีวติ ประจาวัน และส่ งเสริ มพัฒนาการทุกด้าน ได้แก่
ด้านร่ างกาย ส่ งเสริ มให้เด็กใช้ร่างกายตามความสามารถ
ด้านอารมณ์จิตใจส่ งเสริ มการตอบสนองความต้องการของเด็กอยางเหมาะสม่ ภายใต้
สภาพแวดล้อมที่อบอุ่นและปลอดภัย
ด้านสังคม ส่ งเสริ มให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กบบุคคลใกล้ชิดั
ด้านสติปัญญา่่งเสริ มให้เด็กได้สังเกตสิ่ งต่าง ๆ รอบตัวเพื่อสร้างความเข้าใจและใช้ภาษา
เพื่อการสื่ อสารงสริ มการคิด และการแกปั ญหาที่เหมาะสมก้บวัย ั
การอบรมเลี้ยงดูตามวิถีชีวิตประจาวันสาหรับเด็กอายุต่ากวา่่ ๓ ปี มีความสาคัญอยางยิง่ ต่่อการ
วางรากฐานชีวติ ของเด็กทั้งทางร่ างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญาการจัดกิจกรรมในแต่ละวัน ควรจัดให้
สอดคล้องกบความต้องการั ความสนใจ และความสามารถตามวัยของเด็กโดยผานการอบรมเลี้ ่ยงดูตามวิถี ชีวติ ประจ
าวันและการเล่นตามธรรมชาติของเด็ก โดยได้กาหนดแนวปฏิบตั ิการอบรมเลี้ยงดูตามวิถีชีวติ ประจาวัน ดังนี้
๑. การฝึ กสุ ขนิสัยและลักษณะนิสัยที่ดีเป็ นการสร้างสุ ขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร การนอน
การทาความสะอาดร่ างกาย การขับถ่าย ตลอดจนปลูกฝังลักษณะนิสัยที่ดีในการดูแลสุ ขภาพอนามัยความปลอดภัย
และการแสดงมารยาทที่สุภาพนุ่มนวล แบบไทย
๒. การเคลื่อนไหวและการทรงตัวป็ นการส่ งเสริ มการใช้กล้ามเนื้อแขนกบขา่ั มือกบนิ้ ัวมือ และ
ส่ วนต่าง ๆ ของร่ างกายในการเคลื่อนไหว หรื อออกกาลังกายทุกส่ วน โดยการจัดให้เด็กได้เคลื่อนไหวทงล้ามเนื้อ
ใหญ่กล้ามเนื้อเล็ก และตามความสามารถของวัยเช่น คว ่่าคลาน ยืนเดินเล่นนิ้วมือ เคลื่อนไหวส่ วนต่าง ๆ ของ
ร่ างกายตามเสี ยงดนตรี ปี นป่ ายเครื่ องเล่นสนามเด็กเล็ก
เล่นม้าโยก ลากจูงของเล่นมีลอ้ ขี่จกั รยานทรงตัวของเด็กเล็กโดยใช้เท้าช่วยไถ
๓. การฝึ กประสานสัมพันธ์ระหวางมือ่ – ตา เป็ นการฝึ กความแข็งแรงของกล้ามเนื้ อมือ นิ้วมือ ให้
พร้อมที่จะหยิบจับฝึ กกากรทางานอยางสัมพันธ์ก่นระหวัางมือและตา่่ รวมทั้งฝึ กให้เด็กรู ้จกั คาดคะเน หรทอกะ
ระยะทางของสิ่ งต่าง ๆ ที่อยูรอบตัวเทียบก่บตัวเองในลักษณะใกล้กบั ไกลั เช่น มองตามเครื่ องแขวนหรื อโมบายที่มี
เสี ยงและสี ร้อยลูปปั ดขนาดใหญ่ เล่นหยอดบล็อกรู ปทรง-ลงกล่อง ตอกหมุด โยนรับลูกบอลเล่นน้า เล่นปั้ นแป้ ง
ใช้สีเทียนแท่งใหญ่วาดเขียนขีดเขี่ย เป็ นต้น
๔. การส่ งเสริ มด้านอารมณ์ เป็ นการส่ งเสริ มการเลี้ยงดูในการตอบสนองความต้องการของเด็กด้าน
จิตใจโดยการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริ มให้เด็กเกิดความอบอุ่นและมีความสุ ข เช่น สบตา อุม้ โอบกอด สัมผัสการ
เป็ นแบบออยางที่ดีในการด้านการแสดงออกทางอารมณ์ตอบสนองต่่อความรู ้สึกที่เด็กแสดงออกอยางนุ่มนวล
อ่อนโยน ปลูกฝังการชื่นชมธรรมชาติรอบตัวเป็ นต้น
๕. การส่ งเสริ มทักษะทางสังคม เป็ นการส่ งเสริ มการสร้างความสัมพันธ์กบพัอแม่่ผเู ้ ลี้ยงดูและ
บุคคลใกล้ชิดโยการพูดคุยหยอกล้อหรื อเล่นกบเด็ก ั เช่น เล่นจ๊ะเอ๋ เล่นจ้าจี้เล่นโยกเยก เล่นประกอบคาร้อง เช่น
จันทร์ เจ้าเอยแมงมุม ตั้งไข่ลม้ หรื อพาเด็กไปเล่นนอกบ้าน พบปะเด็กอื่นหรื อผูใ้ หญ่ภายใต้การดูแลอยางใกล้ชิด่ เช่น
พาไปบ้านญาติาไปร่ วมกิจกรรมที่ศาสนาสถาน เป็ นต้น
๖. การใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า เป็ นการกระตุน้ การรับรู ้ผานประสาทสัมผัสทั้ง่ ห้าในการมองเห็น การ
ได้ยนิ เสี ยงการได้กลิ่น การลิ้มรส และการสัมผัสจับต้องสิ่ งต่าง ๆ ที่แตกต่างกนในด้านั
ขนาด รู ปร่ าง สี นา้ หนัก และผิวสัมผัสเช่น การเล่นมองตนเองกบกระจกเงา่ั การเล่นของเล่นที่มีพ้นื ผิวแตกต่างกนั เป็ น
ต้น
๗. การส่ งเสริ มการสารวจสิ่ งต่าง ๆ รอบตัว เป็ นการฝึ กให้เด็กเรี ยนรู ้ส่ิ งอบตัวผานเหตุการณ์่และ
สื่ อที่หลากหลายในโอกาสต่าง ๆ รู ้จกั ส ารวจและทดลองสิ่ งที่ไม่คุน้ เคย เช่น มองตามสิ่ งของ หันหาที่มาของเสี ยง
ค้นหาสิ่ งของที่ปิดซ่อนจากสายตา กิจกรรมทดลองง่าย ๆ เป็ นต้น
๘. การส่ งเสริ มทักษะทางภาษา เป็ นการฝึ กให้เด็กเปล่งเสี ยง เลียนเสี ยงของผูค้ นียงสัตว์ต่าง ๆ
รู ้จกั ชื่อเรี ยกของตนเ่ื่่ออวัยวะสง่วนต่าง ๆ ของร่ างกาย ชื่อพอแม่่หรื อผูค้ นใกล้ชิดและชื่อสิ่ งต่าง ๆ รอบตัวตลอดจน
ฝึ กให้เด็กรู ้จกั สื่ อความหมายด้วยคาพูดและท่าทาง ชี้ชวนและสอนให้รู้จกั ชื่ อเรี ยกสิ่ งต่าง ๆ จากของจริ งอ่านหนังสื อ
นิทานภาพหรื อร้องเพลงง่าย ๆ ให้เด็กฟังเป็ นต้น
๙. การส่ งเสริ มจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์เป็ นการฝึ กให้เด็กได้แสดงออกทางความคิดและ
ตามจินตนาการของตนเช่น ขีดเขียนวาดรู ปอยางอิสระ่่ การเล่นบล็อกขนาดใหญ่เล่นของเล่นสร้างสรรค์พูดเล่าเรื่ อง
ตามจินตนาการเล่นสมมติเป็ นต้น

บทที่๑๐
การประเมินพัฒนาการ
------------------------
การประเมินพัฒนาการเป็ นกระบวนการต่อเนื่ องให้ครอบคลุมพัฒนาการเด็กทุดา้ น ได้แก่ดา้ น
ร่ างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญาเพื่อนาผลมาใช้วางแผนจัดกิจกรรมประสบการณ์ให้เด็กแต่ละคนได้
พัฒนาอยางเต็มศักยภาพ่
ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระสังกดเทศบาลตัาบลปะนาเระ จัดให้มีการประเมินอยาง่
ต่อเนื่อง ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้านเป็ นการประเมินสถานการณ์ปกติขณะที่เด็กทากิจกรรมประสบการณ์ประจาวัน
และช่วงเวลาต่างๆ ได้แก่การสังเกตการสัมภาษณ์การสนทนา การบันทึกพฤติกรรมเด็กและวิเคราะห์ขอ้ มูล
ผลงานของเด็กที่เก็บอยางเป็ นระบบ่ แล้วน าข้อมูลจากการประเมินพัฒนากาสรุ ปมาเพื่อบันทึกผลพัฒนาการลงใน
สมุดบันทึกพัฒนาการประจาชั้นเรี ยนของเด็กและบันทึกในสมุดรายงานประจาตัวเด็กทุกภาคเรี ยน ตลอดจนรายงาน
ผูบ้ ริ หารศูนย์พฒั นาเด็กเล็กได้รับทราบและรายงานให้ผปู ้ กครองทราบอยางชัดเจน่ และต่อเนื่ องโดยดาเนินการต่อไปนี้
ก่อนเรี ยน จัดท าข้อมูลของเด็กเป็ นรายบุคคลโดยให้ผปู ้ กครองกรอกข้อมูลและสัมภาษณ์ผปู ้ กครองเช่นข้อมูล
ทัวไป่ ประวัติสุขภาพลักษณะนิสัย
ระหวางเรี ยน่ จัดทาเครื่ องประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริ งด้วยวิธีการที่หลากหลายเหมาะสมกบั
เด็ก รวมทั้งใช้แหล่งข้อมูลหลาย ๆ ด้านได้แก่ การสังเกต การบันทึกพฤติกรรมการสนทนา การสัมภาษณ์การ
วิเคราะห์ขอ้ มูลจกผลงานเด็กที่เก็บอยางมีระบบ่ บันทึกผลการเรี ยนบันทึกสุ ขภาพและบันทึกกิจกรรมต่าง ๆ แล้ว
นาข้อมูลที่ได้มาจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กให้สอดคล้องกบความสามารถหรื อพัฒนาการแตัล่ ะด้านของเด็ก
หลังเรี ยน มีการน าข้อมูลจากการประเมินพัฒนาการมารวบรวมสรุ ปและเขียนรายงานผลพัฒนาการลงทุนในสมุด
รายงานประจ าตัวทุกภาคเรี ยน
เกณฑ์การประเมินพัฒนาการ
คือ การน าผลประเมินมาสรุ ปและจัดระดับพัฒนาการง้ี
ระดับ ๓ คือ ดี หมายถึงสามารถแสดงพฤติกรรมหรื อปฏิบตั ิถูกต้องได้คล่องแคล่วชัดเจน และเชื่อมัน่
ระดับ ๒ คือ พอใช้ หมายถึงสามารถแสดงพฤติกรรมถูกต้องแต่ยงั ไม่คล่องแคล่ว ไม่มนั คง่
ระดับ ๑ คือ ควรส่ งเสริ ม หมายถึง ยังแสดงพฤติกรรมได้นอ้ ยหรื อไม่ได้เลย แสดงพฤติกรรมหรื อปฏิบตั ิ
ได้บา้ ง แต่ตอ้ งให้ความช่วยเหลือ

ระยะเวลาการประเมินพัฒนาการ
การประเมินพัฒนาการระดับปฐมวัยแบ่งออกเป็ น ๓ ระยะ ดังนี้คือ
๑. ประเมินพัฒนาการประจาแต่ละกิจกรรม
๒. ประเมินพัฒนาการประจ าวัน
๓. ประเมินพัฒนาการประจ าภาค/ปี
วิธีประเมินพัฒนาการ
๑. การสังเกต ครู สังเกตเด็กตลอดเวลาช่น ขณะเรี ยน เล่น และ-
ร่ วมกิจกรรมต่าง ๆ ของสถานศึกษาการเรี ยนกิจกรรมเสรี ท้ งั เป็ นกลุ่ม และรายบุคคลสม ่่าเสมอ
๒. การสัมภาษณ์คือ การสนทนากบเด็กเป็ นรายบุคคลั และเป็ นกลุ่ม อาจจะมีการ
บันทึกการสนทนาด้วยเพื่อหาวิธีการแกไข้ หรื อทาให้ทราบวาประสบผลส่ าเร็ จหรื อไม่
๓. ตรวจผลงานและวิเคราะห์ขอ้ มูล

บทที่๑๑
การบริ หารจัดการหลักสู ตรสถานศึกษา
การน ากรอบการจัดประสบการณ์ตามหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช๒๕๖๐ ไปใช้และมี
การพัฒนาผูด้ ูแลเด็กให้มีความรู ้ความเข้าใจในหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช๒๕๖๐ สาหรับเด็กอายุต่ากวา่่
๓ ปี และด าเนิ นการจัดท าหลักสู ตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัยด ี ง้ี ๑.
การเตรี ยมความพร้อม
- สร้างความตระหนัก

- พัฒนาบุคลากร

- จัดระบบสารสนเทศ

- จัดระบบบริ หารจัดการในรู ปกรรมการ ๒.

การจัดท าหลักสู ตรสถานศึกษา


- คณะกรรมจัดท าหลักสู ตรสถานศึกษา

- หน่วยประสบการณ์การเรี ยนรู ้

- แผนการจัดประสบการณ์
๓. การสนับสนุนคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา
- ระบบการประเมินพัฒนาการ

- การวิจยั เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา

- การพัฒนาและเลือกใช้สื่อ

- การประกนคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา

่ั ๔. การบริ หารจัดการศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก


- งานวิชาการและกิจกรรมตามหลักสู ตร

- งานธุ รการการเงินและพัสดุ

- งานบุคลากรและการบริ หารจัดการ

- งานอาคารสถานที่และสิ่ งแวดล้อม

- งานการมีส่วนร่ วมและสนับสนุ นจากชุ มชน

๕. การนิเทศ กากบั ติดตาม ประเมินผล


- หน่วยงานต้นสังกดั

- คณะกรรมการบริ หารงานวิชาการและกิจกรรมตามหลักสู ตร

- คณะกรรมการบริ หารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก


๖. สรุ ปและรายงาน
- สรุ ปการประเมินตนเองของศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก
- รายงานคณะกรรมการบริ หารศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก
- รายงานผูป ้ กครอง
- รายงานประชาชน

- รายงานหน่วยงานต้นสังกดั เพื่อขอรับการสนับสนุ น ๗.

การปรับปรุ งและการพัฒนา
- ปรับแผนปฏิบต ั ิงานปี ต่อไป
- ปรับปรุ งหลักสู ตร

- ปรับปรุ งการบริ หารจัดการ

- ปรับปรุ งระบบสนับสนุ นคุณภาพ

- ปรับปรุ งแผนการจัดประสบการณ์

ทั้งนี้หลักสู ตรสถานศึกษาศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระพุทธศักราช๒๕๖๑ มุ่ง


สนองต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อม ชุมชน ท้องถิ่น และปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกบั
ธรรมชาติและการเรี ยนรู ้ของเด็กปฐมวัยโดมีจุดหมายคือุ่งให้เด็กมีพฒั นาทุกด้าน ทั้งด้านร่ างกาย จิตใจวินยั
อารมณ์สังคมและสติปัญญาอยางเหมาะสมก่บวัย ั ตามความสามารถและความแตกต่างของบุคคล เพื่อพัฒนาเด็กให้
เกิดความสุ ขในการเรี ยนรู ้เกิดทักษะที่จาเป็ นต่อการดารงชี วติ รวมทั้งการปลูกฝังคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่พึง
ประสงค์แก่เด็ก
บทที่๑๒
การประเมินหลักสู ตรสถานศึกษา
การน าหลักสู ตรสถานศึกษาพ.ศ.๒๕๖๑ ไปสู่ การปฏิบตั ิ

๑๒.๑ คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการน าหลักสู ตรสถานศึกษาพ..๒๕๖๑ ไปสู่ การปฏิบตั ิ


คาสังศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต่าบลปะนาเระ ที่/๒๕๖๑ ลงวันที่๑๒ มีนาคม๒๕๖๑ โดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระใคาวการประชุมครั้งที่ /๒๕๖๑ เมื่อวันที่….. เดือน
๒๕… ได้แต่งตั้งคณะกรรมการและประเมินผลการนาหลักสู ตรสถานศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ ไปสู่ การปฏิบตั ิดงั นี้
๑.นายเจะรู สลัน เจ๊ะอูมาร์ นายกเทศมนตรี ประธาน
๒.นายยาการี ยา มุกาวี รองนายกเทศมนตรี กรรมการ
๓.นายมุซายาลี สาและ รองนายกเทศมนตรี กรรมการ
๔.นางสาวนที อัตถเจริ ญสุ ข ปลัดเทศบาล กรรมการ
๕.นายนริ นทร์ เบญจสมัย ผูท้ รงคุณวุฒิ กรรมการ
๖.นายสรายุทธ ต่วนมิหนา ผูท้ รงคุณวุฒิ กรรมการ
๗.นายแวสมาแห เจะลี ผูแ้ ทนอปท. กรรมการ
๘.นางสุ ชาดา ด่านทวีลาภ ผูแ้ ทนประชาคม กรรมการ
๙.นางสาวซอลีฮะ๊ สาอิ ผูแ้ ทนผูป้ กครอง กรรมการ
๑๐.นางสาวใยตน ยุโซะ ผูแ้ ทนผูป้ กครอง กรรมการ
๑๑.นายสุ ทศั น์ ค าแฝง หัวหน้าส านักปลัดเทศบาลกรรรมการ
๑๒.นางมัสก๊ะ มะเด็ง ครู ผดู ้ ูแลเด็ก เลขานุการ
ทั้งนี้ให้คณะกรรมการติดตามและประเมินผลการนาหลักสู ตรสถานศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ ไปสู่ การปฏิบตั ิ
มีอานาจดังนี้
๑.กาหนดแนวทาง วิธีการในการติดตามและประเมินผลฯ
๒.ด าเนินการติดตามและประเมินผล๓ระยะ คือ
๑.ก่อนนาหลักสู ตรสถานศึกษาไปใช้
๒.ระหวางน่าหลักสู ตรสถานศึกษาไปใช้
๓.หลังน าหลักสู ตรสถานศึกษาไปใช้รายงานผลและเสนอความเห็นซึ่ งได้จากการติดตาม
และประเมินผลฯต่อหัวหน้าศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก เพื่อให้หวั หน้าศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเสนอต่อคณะกรรมการศูนย์ฯ
คณะกรรมการการศึกษาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ผูบ้ ริ หารท้องถิ่น และประกาศผลการติดตามและการ
ประเมินผลฯให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบโดยทัวก่นอยัางน้อยภาคเรี ยนละ่่ ๑ ครั้ง ทั้งนี้ให้ปิดประกาศโดยเปิ ดเผยไม่
น้อยกวา่่ ๓๐ วัน
๔.แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรื อคณะทางานเพื่อช่วยปฏิบตั ิงานตามที่เห็นสมควร
๑๒.๒ วิธีการติดตามผลและประเมินผลการน าหลักสู ตรสถานศึกษาพ.ศ.๒๕๖๑ ไปสู่ การปฏิบตั ิ
จุดมุ่งหมายสาคัญของการประเมินผลหลักสู ตรสถานศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ คือการประเมินวามีการน่าหลักสู ตร
สถานศึกษาพ.ศ.๒๕๖๑ ไปสู่ การปฏิบตั ิอยางแท้จริ งเพียงใด่ ได้ผลเป็ นอยางไร่ เพื่อที่จะสามารถวัดความสัมฤทธิ์ ของ

หลักสู ตรสถานศึกษาได้ในขณะเดียวกนกัสามารถเก็ บรวบรวมข้อมูล เพื่อใช้เป็ นสมมติฐานในการจัดท าหลักสู ตร
สถานศึกษาฉบับต่อไปได้ดงั นั้นการที่จะประเมินผลหลักสู ตรสถานศึกษาในภาพรวมได้จ าเป็ นต้องประเมินผลการ
ปฏิบตั ิงานในแต่ละแนวทางการพัฒนาก่อน เพื่อนาไปสู่ การวัดความสาเร็ จของหลักสู ตรสถานศึกษา ซึ่ งแสดให้เห็นวา่่
การพัฒนาไปในแนวทางใดบรรลุวตั ถุประสงค์ของการพัฒนาอยางยั้ง่ ยืนและตอบสนองต่อวิสัยทัศน์หรื อไม่
ดังนั้น ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระจึงต้องติดตามและประเมินผลหลักสู ตรสถานศึกษาให้ได้ขอ้ มูล
ข้อเท็จจริ งนจะนัาไปสู่ บทสรุ ปที่ไม่บิดเบือนจากผลการปฏิบตั ิงานจริ งที่เกิดขึ้น

๑๒.๓ ห้วงเวลาในการติดตามผลและประเมินผลการน าหลักสู ตรสถานศึกษาพ..๒๕๖๑ ไปสู่ การ


ปฏิบตั ิประกาศผลการติดตามและประเมินผลฯให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบโดยทัวก่นอยัางน้อยภาคเรี ยนละ่่ ๑ ครั้ง

----------------------

ภาคผนวก

๑. บรรณานุกรมกระทรวงศึกษาธิการ,หลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช๒๕๖๐
๒. ส าเนารายงานการประชุมคณะกรรมการบริ หารศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะนาเระสังกดั
เทศบาลต าบลปะนาเระ เมื่อวันที่.........เดือน.…….พ.ศ......
ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบในการใช้หลักสู ตรสถานศึกษาศูนย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลต าบลปะ
นาเระ พุทธศักราช๒๕๖๑ ตามหลักสู ตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช๒๕๖๐ (สาหรับเด็กอายุต่ากวา่่ ๓ ปี )

You might also like