You are on page 1of 28

คู่มือและขั้นตอนการปฏิบัติ

การจัดซื้อสื่อการเรียนการสอน (รายหัว) ของ


ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองบางรักพัฒนา
กองการศึกษา

สังกัดเทศบาลเมืองบางรักพัฒนา อำเภอบางบัวทอง จังหวัด นนทบุรี


คูมือและขั้นตอนการปฏิบัติ

การจัดซื้อสื่อการเรียนการสอน (รายหัว) ของศูนยพัฒนาเด็กเล็กเทศบาลเมืองบางรักพัฒนา


กองการศึกษา

สังกัดเทศบาลเมืองบางรักพัฒนา อำเภอบางบัวทอง จังหวัด นนทบุรี


คำนำ
คูมือแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดหาวัสดุการศึกษาของศูนยพัฒนาเด็กเล็ก สังกัดกองการศึกษา
เทศบาลเมืองบางรักพัฒนา จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติเกี่ยวกับการพิจารณาคัดเลือก
เพื่ อ จั ด ซื้ อ จั ด หาวั ส ดุ ก ารศึ ก ษาของศู น ย พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ซึ่ งจะมี เนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ แนวทางการบริ ห ารงบประมาณ
เงินอุดหนุนสำหรับสนับสนุนการเรียนการสอน (รายหัว) สำหรับศูนยพัฒนาเด็กเล็กขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
ประจำปงบประมาณ ๒๕๖๑ และมาตรฐานสื่อการเรียนการสอน รายการวัสดุการศึกษา และเครื่องเลนพัฒนาการ
เด็กปฐมวัย (๒-๕ ป) ในศูนยพัฒนาเด็กเล็ก
เนื้อหาตางๆใชหลักเกณฑและแนวทางขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนเกณฑในการพิจารณาคัดเลือก
ในการจัดซื้อจัดหาวัสดุการศึกษาของศูนยพัฒนาเด็กเล็กที่สังกัดกองการศึกษา เทศบาลเมืองบางรักพัฒนา
คณะผู จั ด ทำหวั ง เป น อย า งยิ่ ง ว า คู มื อ เล ม นี้ จ ะเป น ประโยชน ล ะเป น แนวทางในการปฏิ บั ติ เกี่ ย วกั บ
การพิจารณาคัดเลือกเพื่อจัดซื้อจัดหาวัสดุการศึกษาในศูนยพัฒนาเด็กเล็กตอไป

กองการศึกษา เทศบาลเมืองบางรักพัฒนา

สารบัญ
เรื่อง หนา
คำนำ ก
สารบัญ ข
สารบัญภาพ ค
ความสำคัญหรือที่มา ๑
แนวทางการบริหารงบประมาณคาจัดซื้อสื่อการเรียนการสอน และเครื่องเลนพัฒนาการเด็ก 1
มาตรฐานสื่อการเรียนการสอน รายการวัสดุการศึกษา และเครื่องเลนพัฒนาการเด็ก 2
สำหรับเด็กปฐมวัย (2-5ป) ในศูนยพัฒนาเด็กเล็ก
การกำกับติดตามและรายงานผล 13
ภาคผนวก
หนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนมาก ที่ มท 0893.2/ว 801 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2551 15

สารบัญภาพ
หนา
- แผนภูมิรูปภาพแนวทางการจัดซื้อสื่อการเรียนการสอน (รายหัว) ของศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 9
- แผนผังและขั้นตอนการจัดซื้อสื่อการเรียนการสอน (วิธีเฉพาะเจาะจง) 10

ที่มาหรือความสำคัญ
ดวยปจจุบันองคกรปกครองสวนทองถิ่นไดจัดตั้งงบประมาณโครงการเพื่อสนับสนุนสงเสริม การจัดซื้อจัดหา
สื่อการเรียนรูและอุปกรณการเรียนการสอนใหกับสถานศึกษาทั้งในสังกัดและนอกสังกัด ตามศักยภาพการเงินการคลัง
ของแต ล ะองค ก รปกครองส วนท องถิ่ น ซึ งการจัด ซื้อ จัดหาสื่ อการเรีย นรูแ ละอุป กรณ การเรีย นการสอนดังกลาว
องคกรปกครองสวนทองถิ่นและสถานศึกษาจะตองดำเนินการจัดหาสื่อการเรียนรูและอุปกรณการเรียนการสอนที่มี
คุณภาพมาตรฐานเหมาะสมสอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ และหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๔๖ เพื่อใหสถานศึกษามีคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและสงผลใหนักเรียนไดมีโอกาส
เรียนรูไดอยางเต็มศักยภาพ
เทศบาลเมืองบางรักพัฒ นา ไดพิจารณาแลวเห็นวา เพื่อให เทศบาลเมืองบางรักพัฒ นาและสถานศึกษาใน
สังกัดสามารถดำเนิน การในเรื่องการจัดซื้อจัดหาสื่อการเรียนรูและอุป กรณ การเรียนการสอนใหมีความเหมาะสม
มีคุณภาพและมาตรฐานที่สอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ และหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวั ย พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๔๖ จึ ง ได จั ด ทำคู มื อ แนวทางการจั ด ซื้ อ วั ส ดุ ก ารศึ ก ษาของศู น ย พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก
สังกั ด กองการศึ กษา เทศบาลเมื องบางรักพั ฒ นา เพื่ อให เปน แนวทางในการปฏิบั ติเกี่ย วกับ การจัดซื้อจัดหาวัส ดุ
การศึกษาของศูนยพัฒนาเด็กเล็กในสังกัดตอไป
แนวทางการบริหารงบประมาณเงินอุดหนุนสำหรับสนับสนุนคาจัดการเรียนการสอย (รายหัว) สำหรับ
ศูนยพัฒนาเด็กเล็กขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
เกณฑการจัดสรรงบประมาณ
๑.จัดสรรตามจำนวนเด็ก ณ วันที่ ๑ มิถุนายน ของปที่มีการจัดทำงบประมาณ
๒.จัดสรรในอัตรา ๑,๗๐๐ บาทตอป
จั ด สรรในลั กษณะเงิ น อุ ด หนุ น ทั่ ว ไป งบประมาณเงิ น อุ ด หนุ น สำหรับ สนั บ สนุ น ค าจั ด การเรี ย นการสอน
(รายหัว) กรณีศูนยพัฒนาเด็กเล็กขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เปนรายการเงินอุดหนุนทั่วไปที่ตองจัดทำเปนเทศ
บัญญัติ
แนวทางการดำเนินงาน
๑ .การใชเงินอุดหนุนสำหรับสนับสนุนคาจัดการเรียนการสอน (รายหัว) กรณีเปนศูนยพัฒ นาเด็กเล็กของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น และศูนยพัฒ นาเด็กเล็กที่ถายโอนจากกรมการศาสนา ที่เลือกรูปแบบการบริหารการ
จัดการศูนย แบบที่ ๑ (อปท.บริหารจัดการทั้งหมด) และแบบที่ ๒ (อปท.และศาสนสถานบริหารจัดการรวมกัน)
๑.๑ ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นตรวจสอบจำนวนเด็กที่มีอยูจริงของแตละศูนยพัฒนาเด็กเล็กเพื่อใชในการ
คำนวณยอดเงินที่จะตองใชจาย โดยใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นเบิกหักผลักสงเงิน คาจัดการเรียนการสอน (ราย
หัว) เขาบัญชีเงินฝากธนาคารของศูนยพัฒนาเด็กเล็ก แยกเปนรายศูนย

๑.๒ การกำหนดรายการใชจายงบประมาณคาจัดการเรียนการสอน (รายหัว) สำหรับศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ซึ่ง
ตองปรากฏรายการในแผนปฏิบัติการประจำปงบประมาณของแตละศูนยพัฒ นาเด็กเล็ก โดยถือปฏิบัติตามหนังสือ
กระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0893.2/ว 801 ลงวั น ที่ 11 มี น าคม 2551 ในการแต งตั้ งคณะกรรมการเพื่ อ
ดำเนินการพิจารณาคัดเลือกและกำหนดรายการที่จะจัดหา ประกอบดวยสื่อการเรียนการสอน วัสดุการศึกษา และ
เครื่องเลนพัฒนาการเด็ก โดยใหคำนึงถึงประโยชน คุณภาพและความปลอดภัย ในการนำไปใชจัดการเรียนการสอน
ตามแผนการจัดประสบการณและหนวยการเรียนรู ใหมีความเหมาะสมกับเด็กแตละวัย
1.3 ให หั วหน าสถานศึกษาของศู น ยพัฒ นาเด็กเล็ก ตามระเบีย บกระทรวงมหาดไทย วาดวยรายไดและ
จายเงินของสถานศึกษาสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2562 ใชจายเงินคาจัดการเรียนการสอน (รายหัว) ให
เปนไปตามแผนปฏิบัติการประจำปงบประมาณของแตละศูนยพัฒนาเด็กเล็ก กรณีที่มีความจำเปนตองเปลี่ยนแปลง
รายการคาใชจายการจัดการเรียนการสอน (รายหัว) ใหหัวหนาสถานศึกษาเสนอคณะกรรมการบริหารศูนยพัฒนาเด็ก
เล็กพิจารณาใหความเห็นชอบกอนการดำเนินการ
1.4 ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนหนวยควบคุมดูแลการเบิกจายเงินคาจัดการเรียนการสอน (รายหัว)
ของศูนยพัฒนาเด็กเล็กใหเปนไปตามแผนปฏิบัติการประจำปงบประมาณของแตละศูนยพัฒนาเด็กเล็ก
2. การใชเงินอุดหนุนสำหรับสนับสนุนคาจัดการเรียนการสอน (รายหัว) กรณีเปนศูนยพัฒนาเด็กเล็กที่ถาย
โอนจากกรมการศาสนาที่เลือกรูปแบบการบริหารการจัดการศูนย แบบที่ 1 (ศาสนสถานบริหารจัดการทั้งหมด)
ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นตรวจสอบจำนวนเด็กที่มีอยูจริงของแตละศูนยพัฒนาเด็กเล็กที่เลือกรูปแบบ
การบริหารการจัดการศูนย แบบที่ 3 เพื่อใชในการคำนวณยอดที่จะตองใชจาย โดยใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น
พิจารณาใหเปนไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยเงินอุดหนุนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และหนังสือ
กระทรวงมหาดไทย ดวนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว 3616 ลงวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2561 โดยตั้งงบประมาณเงินคา
จัดการเรียนการสอน (รายหัว) ในหมวดเงินอุดหนุนใหแก ศาสนสถานซึ่งศาสนสถานตองดำเนินการกำหนดรายการที่
จะจั ด หา ตามมาตรฐานสื่ อ การเรี ย นการสอน วั ส ดุ ก ารศึ ก ษา และเครื่ อ งเล น พั ฒ นาการเด็ ก ตามหนั ง สื อ
กระทรวงมหาดไทย ที่มท 0893.2/ว 801 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2551 โดยใหคำนึงถึงประโยชน คุณภาพ และ
ความปลอดภัยในการนำไปใชในการจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดประสบการณและหนวยการเรียนรูใหมีความ
เหมาะสมกับเด็กแตละวัย
ม าต รฐาน สื่ อ การเรี ย น ก ารส อน ราย การวั ส ดุ ก ารศึ กษ า แ ล ะเค รื่ อ งเล น พั ฒ น าการเด็ ก
สำหรับเด็กปฐมวัย (2-5ป) ในศูนยพัฒนาเด็กเล็ก
1. มาตรฐานสื่อการเรียนการสอน
เด็กปฐมวัยในศูนยพัฒนาเด็กเล็กตองมีพัฒนาการที่สมบูรณ ทั้งดานรางกาย อารมณ สังคมและสติปญญา
ดังนั้น เพื่อใหศูนยพัฒนาเด็กเล็กขององคกรปกครองสวนทองถิ่นสามารถพัฒนาเด็กปฐมวัย ในศูนยพัฒนาเด็กเล็กให
ครบทั้ง 4 ดาน องคกรปกครองสวนทองถิ่นจึงควรจัดหาหรือจัดทำสื่อการเรียนการสอนตามมาตรฐานสื่อการเรียน
การสอน ดังนี้
1.1 สื่อการเรียนการสอน ดานรางกาน ควรประกอบไปดวย
1. คอนตอกหมุด หรือดานอื่น
2. รูปทรงตางระดับ
3. สี่เหลี่ยมสามเหลี่ยมตางระดับ

4. กลองรูปทรงเรขาคณิต
5. กลองรูปทรงปริศนา
6. อุปกรณฝกลากเสน
7. รางฝกความสัมพันธกลามเนื้อมือกับตา หรือกลามเนื้ออื่นๆ
8. โตะเตรียมความพรอม (โตะกิจกรรมกลุม)
9. อุปกรณรอยวัสดุ (ขนาดไมนอยกวา 1 นิ้วขึ้นไป)
10. กรรไกรปลายงอน ขนาด 4 นิ้วขึ้นไป , กระดาษ
11. ไมหนีบผา
12. ภาพตอมีจุด
13. ฟองน้ำ
14. อุปกรณทำความสะอาด
15. กะละมัง , แปรงซักผา
16. ลูกบอลขนาดเล็ก / หวงยาง
17. ตุกตารอยเชือก
18. ชุดสรางจินตนาการดวยเชือกแบบตางๆ
19. สื่ออื่นๆ
1.2 สื่อการเรียนการสอน ดานอารมณ ควรประกอบดวย
1. ระนาดประเภทตางๆ เชน ระนาดสีรุง ระนาดเล็กฯ
2. เครื่องเคาะจังหวะ / กรับมือ
3. กลอง
4. ชุดบูรณาการดานดนตรี / เทปหรือซีดีเพลงสำหรับเด็ก
5. กระดานสำหรับวาดภาพ
6. ชั้นวางอุปกรณศิลปะ
1.3 สื่อการเรียนการสอน ดานสังคม ควรประกอบดวย
1. บอทรายหรือกระบะทราย
2. เครื่องเลนทราย
3. อุปกรณสำหรับเลนน้ำ
4. ชุดเครื่องครัว
5. เตาแกส
6. เครื่องซักผา
7. ตูเย็น
8. จาน ชาม ชอน / ภาชนะใสอาหาร
9. บานตุกตา
10. โทรศัพท /เตารีด /ที่รองรีด (จำลอง)
11. ผักผลไมจำลอง อาหารชนิดตางๆ ของจำลองตางๆ

12. เครื่องชั่ง
13. ชุดเครื่องแตงกายบุคคลอาชีพตางๆ เชน ทหาร ตำรวจ แพทย พยาบาล ครู วิศวกร ฯลฯ
14. ชุดเครื่องมือเครื่องใชในอาชีพตางๆ เชน ชางยนต ชางไม แพทย ฯลฯ
15. เครื่องหมายจราจร
16. ยานพาหนะจำลอง รถตางๆ เครื่องบิน เรือ ฯลฯ
17. สื่ออื่นๆ
1.4 สื่อการเรียนการสอน ดานสติปญญา ควรประกอบดวย
1. บล็อกไมชนิดและรูปรางตางๆ
2. ชิ้นสวนปูพื้นสถาปตยกรรม
3. บล็อกมหัศจรรย
4. ตัวตอสรางสรรค
5. ชุดจิ๊กซอวตางๆ
6. ชุดจับคูที่เหมาะสม
7. ชิ้นสวนสรางภาพ
8. ชุดสำรวจรส / สำรวจกลิ่น
9. ถุงลึกลับ
10. ถาดแยกพวก
11. แทงรูปทรงตางๆ
12. บันไดสี
13. กลองเสียงตางๆ
14. แผนไมประมาณน้ำหนัก
15. จับคูตัวเลข / อานตัวเลข
16. ลูกปดหลักเลขตางๆ
17. กระดานหลักเลขตางๆ บวก – ลบ เลขอยางงาย
18. เกมจุด / ลูกคิด /กระปุกเรียงเลข
19. เศษสวนหลากสี / โดมิโนจำนวน
20. ตัวอักษรเคลื่อนที่ บัตรอักษร
21. รถบรรทุก รถไฟ อักษรตางๆ
22. สื่ออื่นๆ
1.5 สื่อการเรียนการสอน หนังสือสำหรับเด็กปฐมวัย หนังสือนิทาน ควรประกอบดวย
1. หนังสือนิทานอีสป
2. หนังสือนิทานอื่นๆ
1.6 สื่อการเรียนการสอน หนังสือสำหรับผูดูแลเด็ก ควรประกอบดวย
1. การเรียนรูอวัยวะสวนตางๆของรางกาย
2. การเรียนรูในการสรางสุขนิสัยที่ดี

3. การเรียนรูการรักษาความสะอาดของรางกาย
4. การใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของรางกายดานตางๆ
5. การสรางนิสัยสำคัญในการออกกำลังกาย
6. การเรียนรูเกี่ยวกับประโยชนของอาหารและการรับประทานอาหารที่มีประโยชนตอรางกาย
7. การเรียนรูพัฒนาการและการเจริญเติบโตของรางกาย
8. การเรียนรูในการชวยเหลือตนเอง
9. การเรียนรูมารยาทที่สำคัญตางๆในสังคม
10. การเรียนรูบทบาทหนาที่ของสมาชิกในครอบครัว
11. การรูจักบุคคลที่สำคัญตางๆ
12. การรูจักเรียนรูธรรมชาติและการอนุรักษธรรมชาติหรือปรากฏการณธรรมชาติ
13. การเรียนรูเครื่องมือเครื่องใชตางๆ และวิธีการเก็บรักษา
14. การเรียนรูดานคุณธรรมจริยธรรมและวัฒนธรรม ประเพณีตางๆ
15. การเรียนรูการแตงกายที่สำคัญในวัฒนธรรมไทยหรือวัฒนธรรมอื่นๆ ที่สำคัญตางๆ
16. องคความรูทางดานศาสตรตางๆ
17. การเรียนรูเกี่ยวกับอาชีพที่สำคัญตางๆ
18. การเรียนรูทางดานศิลปะในลักษณะตางๆ
19. การรูจักภูมิศาสตร สภาพแวดลอม
20. การเรียนรูที่สำคัญอื่นๆที่เหมาะสมกับการพัฒนาองคความรูในดานตางๆของเด็กและเพื่อใหการ
จัดหาหรือจัดทำสื่อการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัย และเด็กปฐมวัย ไดรับประโยชนในการเรียนรูอยาง
มีประสิทธิภาพ
ดานวัสดุที่ใชและความปลอดภัยของสื่อการเรียนการสอน
1. ใช วั ส ดุ ที่ ท ำจากไม ฟองน้ ำ พลาสติ ก กระดาษ หรื อโลหะ (ที่ ไม เป น อั น ตรายกั บ เด็ ก ในส ว น
ผิวสัมผัส ไมแหลมคม)
2. สวนประกอบตางๆของสื่อ จะตองเปนชิ้นสวนที่ทนทานมั่นคงแข็งแรง ไมหลุดหรือแตกหักงาย
3. ผิ ว สั มผั ส ของสื่ อต องเปน ผิว ขัดเนีย น ไม มีเสี้ย นหนาม หรือเศษวัส ดุเจือปน ไมแหลมคมหรือ
ลักษณะใดๆ ที่อาจเปนอันตรายตอการเลนของเด็กได
4. สีที่ใชทาหรือเปนสวนประกอบของสื่อ จะตองเปนสีประเภท non-toxic ไมเปนอันตรายตอเด็ก
(ซึ่งควรมีใบรับรองคุณภาพสีจากโรงงานผูผลิตสีวาผานการทดสอบคุณสมบัติดวย)
5. ขนาดชิ้นสวนที่ประกอบเปนสื่อจะตองมีขนาดไมเล็กจนเกินไป จะทำใหเด็กกลืนหรือหยิบใสรู
จมูกหรือเขาปากๆได รวมทั้งน้ำหนักของสื่อควรมีความพอเหมาะกับวัยของเด็กที่สามารถหยิบเลนไดเอง
6. ควรมี ภ าชนะจั ด เก็ บ ที่ เป น สัดส วนของสื่อ แตล ะชนิด ที่ ชัดเจนเพื่ องายตอการเก็บ รักษา และ
นำไปใช
ดานประโยชนและประสิทธิภาพที่ไดรับจากการเรียนรูและการใชสื่อ
1. สื่อแตละชนิดตองไดรับการออกแบบโดยมีองคประกอบตางๆที่เหมาะสมกับวัยและกระตุนความ
สนใจอยากรูอยากเห็นของเด็กในการเลนและการเรียนรู

2. สีสันควรเปนสีธรรมชาติหรือหากใชสีอื่นๆ ตองเปนสีสันที่สวยงามสะดุดตาชัดเจน ภาพลายเสน
รูปราง รูปทรงที่เลือกใชสื่อความหมายไดชัดเจน ไมบีบบังคับการทำงานของกลามเนื้อสายตาของเด็กมากจนเกินไป
3. สื่อตางๆ ตองสามารถกระตุนประสาทสัมผัสและพัฒนาการดานตางๆ ทั้งทางดานอารมณ สังคม
และสติปญญา อยางชัดเจน
4. สื่อตางๆตองสงเสริมการเรียนรูทักษะการคิด สอดคลองกับการทำงานของสมอง การพัฒนาเซลล
สมอง การพัฒนาความสามารถ ทักษะ และวัยของเด็ก สงเสริมการสรางสรรคจินตนาการ ความคิดสรางสรรคและ
การแกปญหาของเด็กใหมีอิสระในการคิดไดอยางเต็มที่
5. สื่อตางๆตองสงเสริมพัฒนาการใชประสาทสัมผัสและกลามเนื้อยอย กลามเนื้อใหญและกลามเนื้อ
สวนตางๆที่เกี่ยวของเกี่ยวกับการพัฒนาทั้งรางกายของเด็ก
6. สื่ อต างๆ ต องส งเสริมทั กษะการเรีย นรูดว ยตนเองและการแก ป ญ หาตามประสบการณ ตางๆ
ตลอดจนเอื้อตอการพัฒนาและการสรางพื้นฐานในการเรียนรูทางวิชาการตอไปในอนาคต ทั้งทางดานภา การอาน
การเขียน คณิตศาสตร เปนตน
7. สื่อตางๆจะตองเอตอการทำแผนการจัดประสบการณของครูพี่เลี้ยงที่ดูแลเด็กและงายตอการ
นำไปใชไดอยางหลากหลาย
8. สื่อตางๆตองมีความหลากหลายสามารถใชควบคูกันไดอยางสอดคลองและกลมกลืนกัน ในการจัด
กิจกรรมตางๆใหมีความหลากหลายในการจัดการเรียนการสอนใหกับเด็ก อีกทั้งสามารถจัดแยกสื่อตามมุมตางๆได
เชน มุมประสาทสัมผัส มุมบทบาทสมมุติ มุมพัฒนากลามเนื้อใหญ กลามเนื้อยอย มุมความคิดสรางสรรค มุมบล็อก
มุมทักษะพื้นฐานการเรียนรู เพื่อสามารถนำไปใชสงเสริมพัฒนาการ และการเรียนรูของเด็กไดอยางเปนลำดับชั้น และ
มีความตอเนื่องในการพัฒนาเด็ดไดอยางเหมาะสมตามวัยของเด็ก
9. หนังสือที่เหมาะสมตอเด็กปฐมวัย ควรเปนหนังสือนิทาน เรื่องสั้น การตูน ในลักษณะหนังสือภาพ
(picture books) และหนังสือภาพประกอบเรื่อง (picture story books) ที่มีขนาดตัวหนังสือโตไมนอยกวา 24-30
พอยท (ประมาณ 0.5 เซนติเมตร) รูปเลมมีตัวหนังสือนอย เนนรูปภาพ ใชภาษางายๆและถูกตอง เนื้อเรื่องไมยาวมาก
จะจัดในแนวตั้งอหรือแนวนอนก็ได ขนาดเลม 8 หนายก (18.5 คูณ 26 เซนติเมตร) จำนวนหนาประมาณ 6-8 หนา
หนาปก ปกแข็ง มีภาพ สีสันสวยงามสะดุดตา และสีสันในเลมตองสวยสดใสไมเขมบาดตา หรือมืดดำเกินไป เพราะวา
เด็กในวัยนี้ยังไมสามารถอานหนังสือได แตสามารถดูรูปภาพและฟงเรื่องราวได ไดแก หนังสือที่สงเสริมการเรียนรู
ทางดานรางกาย สงเสริมพัฒนาการเด็กดานอารมณ สงเสริมพัฒนาการเด็กดานสังคม และสงเสริมพัฒนาการเด็กดาน
สติปญญา
2. รายการวัสดุการศึกษา
การเลือกซื้อวัสดุการศึกษา เพื่อใชในศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ควรคำนึงถึงประโยชนที่เด็กปฐมวัยจะไดรับและ
สอดคลองกับมาตรฐานสื่อการเรียนการสอน โดยควรเลือกซื้อวัสดุการศึกษาตามรายการ ดังนี้
2.1 วัสดุสื่อการเรียนการสอน ใหสอดคลองตามมาตรฐานสื่อการเรียนการสอนดานตาง ๆ
2.2 วัสดุหนังสือพัฒนาเด็ก ใหสอดคลองตามมาตรฐานสื่อการเรียนการสอนดานตาง ๆ ไดแก
- หนังสือนิทานอีสป
- หนังสือนิทานอื่นๆ

2.3 วัสดุสำนักงาน เชน
- กระดาษ - หมึก
- ดินสอ - ปากกา
- ไมบรรทัด - ยางลบ
- คลิป - เปก
- เข็มหมุด - เทป พี วี ซี แบบใส
- กาว - แฟม
- ลวดเย็บกระดาษ - ชอลก
- แปรงลบกระดาน - ตรายาง
- กระดาไข - ซอง
ฯลฯ
2.4 วัสดุคอมพิวเตอร เชน
- แผนหรือจานบนทึกขอมูล (Diskette, Floppy Disk, Removable Disk, Compact Disk,
Digital video Disk)
- เทปบันทึกขอมูล (Reel Magnetic Tape, Cassette Tape, Cartridge Tape)
- หัวพิมพหรือแถบพิมพสำหรับเครื่องพิมพคอมพิวเตอร
- ตลับหมึกสำหรับเครื่องพิมพแบบเลเซอร - แผนกรองแสง ฯลฯ
2.5 วัสดุเผยแพรประชาสัมพันธ
- กระดาษเขียนโปสเตอร
- พูกันและสี
- ฟลม
- ฟลมสไลด
- แถบบันทึกเสียงหรือภาพ (ภาพยนตร, วิดีโอเทป, แผนซีดี) ฯลฯ
3. เครื่องเลนพัฒนาการเด็ก
เพื่ อ พั ฒ นาเด็ ก ปฐมวั ย ให มี พั ฒ นาการทางดด านรางกาย ทั้ งกล ามเนื้ อ ใหญ และกล ามเนื้ อ เล็ ก
ศูนยพัฒนาเด็กเล็กควรจัดใหมีเครื่องเลนพัฒนาทางดานรางกายแกเด็ก โดยแบงออกเปน 2 ประเภท คือ
3.1 เครื่องเลนพัฒนาการเด็กปฐมวัยที่อยูนอกอาคาร เชน
- อุโมงคลอด - ขั้นบันไดตางระดับ
- กระดานหก - ชิงชา
- มาหมุน - โกลฟุตบอล (ขนาดเล็ก)
- บารโหนตางระดับ - เครื่องเลนอื่น ๆ
3.2 เครื่องเลนพัฒนาการเด็กปฐมวัย ที่อยูในอาคาร เชน
- เชือกกระโดด - มาโยกเยก
- บานลม - เครื่องเลนอื่น ๆ
ที่มา : หนังสือกระทรวงมหาดไทยดวนมาก เลขที่ มท 0893.2/ว 801

ขัน้ ตอนการดําเนินการจัดซื้อจัดหาวัสดุการศึกษา
1. จัดทำโครงการเสนอผูบริหารเพื่อขออนุมัติ
2. แตงตั้งคณะกรรมการพิจารณาจัดซื้อจัดหาวัสดุการศึกษา
3. ประชุมคณะกรรมเพื่อพิจารณาคัดเลือกวัสดุการศึกษาที่ตองการจัดซื้อ
4. ดำเนินการจัดซื้อจัดหาวัสดุการศึกษาตามโครงการ
5. รายงานผลการดำเนินโครงการภายใน 30 วัน หลังเสร็จสิ้นโครงการ ตามรูปแบบที่กองการศึกษา
เทศบาลเมืองบางรักพัฒนากำหนด

แผนภูมิรูปภาพแนวทางการจัดซื้อสื่อการเรียนการสอน (รายหัว) ของศูนยพัฒนาเด็กเล็ก
แผนผังขั้นตอนการจัดซื้อสื่อการเรียนการสอนฯ ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ๑๐
ดวนมาก ที่ มท 0893.2/ว 801 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2551

ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจางโดยวิธีเฉพาะเจาะจง
ตามระเบียบพัสดุฯ 2560 ประกอบหนังสือกระทรวงมหาดไทย ดวนมาก ที่ มท 0893.2/ว 801 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2551 เรื่องการจัดซื้อสื่อการเรียนการสอน
ผังกระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียด ผูรับผิดชอบ
2 วันทำการ 1. หัวหนาสถานศึกษาจัดทำบันทึกเสนอราง TOR โดยมีรายละเอียดดังนี้ หัวหนาสถานศึกษา/
นับแตวันไดรับบันทึก - รายละเอียดของพัสดุที่จะซื้อ หรือจาง หนวยงานเจาของ
บันทึกแจงความตองการ - ระบุหมวด แผนงาน งาน ประเภท รายการโครงการ งบประมาณ
- เหตุผลความจำเปนที่ตองซื้อหรือจางโดยระบุใหชัดเจนถูกตองสัมพันธ
สอดคลองกัน ระหวางพัสดุ แผนงาน และงาน
- วงเงินงบประมาณ
- รายชื่อผูต รวจรับ/คณะกรรมการตรวจรับ
- ใบรายการงบประมาณ /การตรวจสอบงบประมาณ (ถามี)
- บันทึกการประชุมคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือกสื่อการเรียนการสอน
/คณะกรรมการบริหาร ศพด. (ถามี)
- โครงการจัดซื้อสื่อการเรียนการสอน ที่ผูบริหารอนุมัติแลว
- อื่น ๆ ตามที่หัวหนาพัสดุกำหนด

3 วันทำการ - ติดตอผูซื้อผูขาย เพื่อตอรองราคา และตรวจสอบราคา เจาหนาที่พัสดุ

คัดเลือกผูขาย/ผูร ับจาง และ


ตอรองราคา
๑๑
ผังกระบวนการ ระยะเวลา รายละเอียด ผูรับผิดชอบ
2 วันทำการ 1. จัดทำรายงานขอซื้อ/ขอจางตามระเบียบพัสดุฯ 2560 ในระบบ e-GP เจาหนาที่พัสดุ
จัดทำรายงานขอซื้อขอจางแตงตั้ง
2. แตงตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ผูตรวจรับพัสดุ
คณะกรรมการ 3. เสนอผูบริหาร (นายกเทศมนตรีเมืองบางรักพัฒนา) อนุมัติ
2 วันทำการ 1. จัดทำสัญญาหรือใบสั่งซื้อตามระเบียบพัสดุฯ 2560 ในระบบ e-GP เจาหนาที่พัสดุ
ดำเนินการจัดซื้อจัดจางตาม 2. ผูขายลงนามในสัญญาหรือใบสั่งซื้อ/สงจาง
ระเบียบ พัสดุฯ 2560 3. เสนอสัญญาหรือใบสั่งจางใหผูบริหารลงนาม
ตามลักษณะของพัสดุ ผูขาย/ผูรับจาง สงมอบพัสดุ (ตามระเบียบฯ 2560) เจาหนาที่พัสดุ
สงมอบพัสดุ

ผูซื้อโดยผูตรวจรับพัสดุ/ - แจงคณะกรรมการ/ผูตรวจรับดำเนินการตรวจรับพัสดุ เจาหนาที่พัสดุ


ตรวจรับพัสดุ คณะกรรมการตรวจรับ - คณะกรรมการ/ผูตรวจรับ ตรวจรับพัสดุตามระเบียบฯ ขอ 175
ภายใน 3 วั น นั บ แต
วันที่สงมอบ
รวบรวมเอกสารเพื่ อ จั ด ส ง ให 1 วันทำการ สงเอกสารจัดซื้อจัดจางใหสวนราชการ (จนท.การเงิน ศพด.) เพื่อดำเนินการ เจาหนาที่พัสดุ
จนท.การเงินทำฎีกาเบิกจายเงินฯ จัดทำฎีกาเบิกจายเงิน คณ ะกรรมการตรวจ
รับ/ผูตรวจรับพัสดุ
การควบคุม 1 วันทำาการ - ทำบัญชีวัสดุ เจาหนาที่พัสดุ
- ทำใบเบิกพัสดุ
๑๒
สรุปแนวทางการบริหารจัดการงบประมาณการจัดหาสื่อการเรียนการสอน และเครื่องเล่นพัฒนาการเด็ก อายุ 2-5 ปี ดังนี้
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แนวทางการดำเนินการ/หรือวิธีการดำเนินการ กฎหมาย/ระเบียบ/หนังสือสั่งการ
กิจกรรมการจัดหาสื่อ การผลักส่งงบประมาณ 1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่า
การเรียน การสอน และ 1. เมื่ อ อปท.ได้รั บแจ้ งยอดการจัดสรรงบประมาณแล้ ว ให้ ด้ ว ยรายได้ แ ละการจ่ า ยเงิ น ของ
เครื่องเล่น พัฒนาการ อปท.ดำเนินการผลักส่งเงินงบประมาณทั้งเข้าบัญชีสถานศึกษา สถานศึกษาสั งกัดองค์กรปกครอง
เด็ก 2. การผลักส่งเงินให้ผลักเข้าบัญชีตามจำนวนเด็กที่มีอยู่จริง ส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2562
(อายุ 2-5 ปี) ณ วันที่ 16 พ.ค.ของปีเท่านั้น 2. หนั งสื อ กระทรวงมหาดไทยที่
รายหัวๆ ละ 1,700 บาท ด่วนมาก มท 0893 .2 /ว 801
3. การจ่ ายเงิ นต้ องทำเป็ นโครงการบรรจุ ในแผนพั ฒ นา ลงวันที่ 11 มีนาคม 2551
การศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ
4. สถานศึกษาต้องเขียนโครงการเสนอขอรับการ อนุมั ติจาก
ผู้บริหารตามระเบียบข้อ 14
5. การเสนอโครงการต้องเสนอตามแผนปฏิบัติการ ประจำปี
งบประมาณ ของสถานศึกษา โดยต้องขออนุมัติจากผู้มีอำนาจ
(ของ ศพด.ผู้ มี อำนาจอนุ มั ติ โครงการคื อ ผู้ บริ หารท้ องถิ่ น
เท่านั้น)
6. รูปแบบการเขียนโครงการ ต้องมีรูปแบบตามที่กรม ส่งเสริม
การปกครองท้องถิ่นกำหนดโดยให้ นำมาตรฐานสถานพัฒนา
เด็กปฐมวัยแห่ งชาติใช้เป็ นมาตรฐานในการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายใน ของ อปท.ตั้งแต่ปี 2562 เป็นต้นไป
การดำเนินการจัดซื้อสื่อการเรียนการสอนฯ
1. ครูผู้สอนจัดทำโครงการจัดซื้อสื่อการเรียนการสอน ตาม
แนวทางหนังสือสั่งการ
2. อปท.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณา คัดเลือก
สื่อการเรียนการสอน
3. สถานศึกษาจัดส่งโครงการที่ได้รับความเห็นชอบจากข้อ 2
เสนอนายกเทศมนตรีเมืองบางรักพัฒนาอนุมัติตามระเบียบ
ข้อ 14
4. อปท.ผู้ได้รับมอบหมาย ดำเนินการจัดซื้อสื่อการเรียนการ
สอน /กรรมการตรวจรับพัสดุตามระเบียบฯ5. อปท.ส่งมอบ
พัสดุให้สถานศึกษา โดยจัดทำบัญชีส่ง มอบไว้เป็นหลักฐาน
6. สถานศึกษาลงทะเบียนคุมวัสดุสื่อการเรียนการสอน
7. สถานศึกษารายงานผลการดำเนินโครงการ ภายใน 30 วัน
นับจากวันเสร็จสิ้นโครงการ (นับจากที่ อปท. ส่งมอบพัสดุให้
สถานศึกษา
หมายเหตุ การจั ดซื้ อสื่ อการเรี ยนการสอนฯ ต้ องดำเนิ นการจัดหาพั สดุ หรือเบิ กจ่ ายเงินให้ เสร็จสิ้ นก่ อนวันที่ 30 กั นยายน ของ
ปีงบประมาณ หากดำเนินการไม่ทันจะตกเป็นรายได้สะสมของสถานศึกษาฯ
๑๓

การกำกับ ติดตามและการรายงานผล
เพื่อใหการดำเนินงานเปนไปตามแนวทางที่กำหนด บรรลุตามเปาหมายที่กำหนดไวตามแผนงานหรือ
โครงการที่ขออนุมัติจากผูบริหารทองถิ่น จึงกำหนดแนวทางการกำกับและติดตาม 2 ขั้นตอน ดังนี้
1. การกำกับ ติดตาม โดยการติดตามผลการดำเนินงานใหเปนไปตามแผน มีหวงระยะเวลาในการ กำกับ
ติดตาม เครื่องมือที่ ใชในการกำกับ ติดตาม คือ บั นทึกการประชุมการพิจารณาคัดเลือกเพื่ อจัดซื้อ จัดหาวัสดุ
อุปกรณการศึกษา ฯลฯ
2. การรายงานผลการดำเนินโครงการ เมื่อโครงการเสร็จสิ้นแลว ใหผูรับผิดชอบโครงการดำเนิน รายงาน
ผลหลังเสร็จสิ้นโครงการภายใน 30 วัน ประกอบดวย บันทึ กรายงานผล การรายงานผลการจัดซื้อ/จาง การ
รายงานผลการประเมิ น ความพึ ง พอใจ (ถ า มี ) ภาพถ า ยการจั ด กิ จ กรรม ลายมื อ ผู เข า ร ว มกิ จ กรรม ฯลฯ
ภาคผนวก



กองการศึกษา เทศบาลเมืองบางรักพัฒนา
อำเภอบางบัวทอง จังหวัด นนทบุรี

You might also like