You are on page 1of 297

บทบาทของเกลือ ทีม่ ีต่อนิเวศวัฒนธรรมและสุ ขภาวะ ของชุ มชนในลุ่มนา้ สงคราม

โดย
นางสาวบาเพ็ญ ไชยรักษ์

วิทยานิพนธ์ นีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชามานุษยวิทยา
ภาควิชามานุษยวิทยา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี การศึกษา 2554
ลิขสิ ทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
บทบาทของเกลือ ทีม่ ีต่อนิเวศวัฒนธรรมและสุ ขภาวะ ของชุ มชนในลุ่มนา้ สงคราม

โดย
นางสาวบาเพ็ญ ไชยรักษ์

วิทยานิพนธ์ นีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชามานุษยวิทยา
ภาควิชามานุษยวิทยา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี การศึกษา 2554
ลิขสิ ทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
THE ROLE OF SALT ON CULTURAL ECOLOGY AND HEALTH IN THE
COMMUNITIES OF SONGKRAM RIVER BASIN, NORTHEASTERN THAILAND

By
Miss Bampen Chaiyarak

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree


Master of Arts Program in Anthropology
Department of Anthropology
Graduate School, Silpakorn University
Academic Year 2011
Copyright of Graduate School, Silpakorn University
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมตั ิให้วทิ ยานิพนธ์เรื่ อง “ บทบาทของเกลือ ที่มี
ต่อนิ เวศวัฒนธรรมและสุ ขภาวะ ของชุมชนในลุ่มน้ าสงคราม ” เสนอโดย นางสาวบาเพ็ญ ไชยรักษ์
เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรปริ ญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา

……...........................................................
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์)
คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย
วันที่..........เดือน.................... พ.ศ...........

อาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.มณี วรรณ ผิวนิ่ม

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์

.................................................... ประธานกรรมการ
(รองศาสตราจารย์ชนัญ วงษ์วภิ าค)
............/......................../..............

.................................................... กรรมการ
(อาจารย์ ดร.กฤษฎา บุญชัย )
............/......................../..............

.................................................... กรรมการ
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.มณี วรรณ ผิวนิ่ม)
............/......................../..............
51108202: สาขาวิชามานุษยวิทยา
คาสาคัญ: เกลือ/ นิเวศวัฒนธรรม/นิเวศวิทยาสุ ขภาวะ/ลุ่มน้ าสงคราม
บาเพ็ญ ไชยรักษ์ : บทบาทของเกลือ ที่มีต่อนิเวศวัฒนธรรมและสุ ขภาวะ ของชุมชนใน
ลุ่มน้ าสงคราม. อาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์ : ผศ.ดร.มณี วรรณ ผิวนิ่ม. 283 หน้า.

ลุ่ ม น้ า สงครามนั้นมี เ กลื อเป็ นองค์ประกอบในโครงสร้ างทางธรณี วิทยาซึ่ ง เกิ ดจาก


กระบวนการธรณี สัณฐานเมื่ อหลายล้านปี มาแล้ว ผูค้ นได้พฒั นาการผลิ ตเกลื อมายาวนาน เดิ มที
ชุ ม ชนถื อว่า แหล่ งเกลื อเป็ นพื้ นที่ ศกั ดิ์ สิ ทธิ และเกลื อเป็ นของส่ วนรวม การผลิ ตเกลื อท าภายใต้
ระเบียบประเพณี ที่เคร่ งครัด โดยการขูดดินเอียดหรื อ นาน้ าเค็มในธรรมชาติมาต้มเป็ นเกลือ เพื่อใช้
ถนอมอาหาร ในวัฒนธรรมปลาแดก หรื อวัฒนธรรมการบริ โภคของคนในภูมิภาคลุ่มน้ าโขง
เมื่อประมาณ 30 ปี ที่ผา่ นมามีการค้นพบแหล่งน้ าเค็มใต้ดินจึงเริ่ มสู บขึ้นมาผลิตเกลือโดย
การต้ม ด้ว ยฟื น และแกลบ ก่ อ นพัฒ นาเป็ นการนาน้ า เค็ม ขึ้ น มาตากในนาเกลื อ เพื่อ ส่ ง ให้ภ าค
อุตสาหกรรมเคมีที่ใช้เกลื อเป็ นวัตถุดิบ ส่ งผลให้ทรัพยากรในชุ มชนแหล่งผลิตเกลือถูกผนวกเป็ น
ปั จจัยการผลิต อีกทั้งการขยายพื้นที่อุตสาหกรรมเกลือได้ส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ของคนกับ
นิเวศวัฒนธรรม และสุ ขภาวะ เกิดความเสื่ อมโทรมของสภาพแวดล้อม ความไม่มน่ั คงในชีวิตและ
ทรัพย์สินจากปั ญหาดินยุบ บ้านเรื อนแตกร้าว เหล่านี้ สะท้อนให้เห็นสุ ขภาพของระบบนิ เวศที่เค็ม
จัดนั้นได้ส่งผลต่อสุ ขภาพของมนุษย์
ในพื้นที่นิเวศชุ มชนแหล่งผลิตเกลือ พลังของเทคโนโลยีในการนาทรัพยากรเกลือมาใช้
โดยเชื่อมโยงกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคลุ่มน้ าโขงและอาเซี ยน ได้มีการ
นาเสนอเทคโนโลยีการทาเหมืองใต้ดินเพื่อ ผลิตเกลือและโพแทช หวังยึดตลาดเกลือข้ามพรมแดน
อีกทั้งเมื่อสังคมก้าวสู่ ความเป็ นอุตสาหกรรมมากขึ้นก็คาดว่าโพรงเหมืองใต้ดิน หลังปิ ดเหมืองแล้ว
สามารถใช้เก็บขยะอุตสาหกรรมได้ในระยะยาว ปรากฏการณ์เหล่านี้ สะท้อนนโยบายจากศูนย์กลาง
และเศรษฐกิจทุนนิ ยม ที่เชื่ อว่าเทคโนโลยีคือกลจักรที่จะดึงเอาพลังแห่ งเกลือและแร่ โพแทชใต้ดิน
มาสร้ างเศรษฐกิ จ โดยออกแบบให้พ้ืนที่นิเวศชุ มชนท้องถิ่ นเป็ นแหล่งรองรับขยะของเสี ยจากการ
ผลิตภาคอุตสาหกรรม พลังของเทคโนโลยีเศรษฐกิจเกลือภายใต้นโยบายเศรษฐกิจข้างเดียว อย่างที่
เป็ นอยู่ และมีแนวโน้มจะเป็ นไปนี้ นบั เป็ นพลังที่ขาดความเป็ นธรรมและไม่เอื้อให้ชุมชนในลุ่มน้ า
สงครามเป็ นพื้นที่นิเวศชุมชนที่มีสุขภาวะดี

ภาควิชามานุษยวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร


ลายมือชื่อนักศึกษา........................................ ปี การศึกษา 2554
ลายมือชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์ ........................................

51108202: MAJOR: ANTHROPOLOGY
KEY WORDS: SALT/CULTURAL ECOLOGY/ECOLOGICAL HEALTH/SONGKRAM RIVER BASIN
BAMPEN CHAIYARAK: THE ROLE OF SALT ON CULTURAL ECOLOGY AND HEALTH IN THE
COMMUNITIES OF SONGKRAM RIVER BASIN, NORTHEASTERN THAILAND.THESIS ADVISOR: ASSIST
PROF. MANEEWAN PHIWNIM, Ph.D. 283 pp.

Due to the large amounts of rock salt in the Songkram River basin, the local
communities have simply relied on the salt as common property, using it for home consumption
and local bartering. Salt is essential for cooking as it is the main food preservative used locally,
particularly for the traditional processing of fermented fish (called ‘Pla Daek’), which is a notable
local source of protein. In the past, the process of salt production was done in the dry season,
when families would stock up salt for home use and for bartering with other goods during the rest
of the year. Salt is available from ‘Din laed’ or saline soil commonly found in the region. The
production is done by boiling the substance or leaving the saline solution to dry in the sun until it
becomes crystallized. In some areas, local people gather salty water from natural sources, and
retain the salt after boiling the water. Therefore, locally harvested salt is very important to the
economic well-being of the community in this region.
About 30 years ago, after underground water wells were drilled by salt industry
operators, the saline water was found to produce very high quality salt when boiled. As a result, the
salt industry has heavily invested in the area, using this watershed to supply the related chemical
industries. The high quality and purity of rock salt are advantageous to the salt industry and is
therefore in high demand. The salt-mining entrepreneurs have also found ways to reduce
production costs by applying low cost solar evaporation to the salt pans. The marketing of salt has
also become more profitable by relying on complicated technology to pump more and more saline
water from underground to increase the supplies available for the crystallization process. Most of
the land relied upon by villages, including their rice paddies, have become infertile due to the
increased salinity. People in the community have instead become involved in salt production as an
employee, having to rely on loans and other borrowing arrangements to get salt in advance. Today
the increased boiling and sun-drying of salt production have caused devastating impacts to the
natural resources and environment, including land subsidence and severe soil as well as water
contamination. Ecosystems have been contaminated along the creeks and rivers, while the
surrounding watershed has also been severely devastated. Degradation of the natural environment
is evidenced by the total failure of rice and other crop harvests, as well as by the serious toll it has
taken on local fish stocks. The saline soil and water have caused devastation to the livelihood of
the community. Alarmingly, the rapid expansion of the salt industry has had destructive effects on
the cultural and ecological health of the local communities. Now that the environment has been
destroyed by salinity, it can no longer be relied upon for either agricultural production or harvesting
wild foods. The native communities have lost their food insecurity, while their life’s assets are also
being lost due to land subsidence and the cracking of their housing structures that have result from
the continous vibrations from the salt mining machinery.
Now, the technique used to develop the underground mining to extract salts is also
being applied to mine potash (or potassium, the major ore for chemical fertilizer. Potash mining
produces large quantities of by-product salt wastes. The plans to intensify the production of salt
have gone hand-in-hand with the hidden objectives of potash mining industry. It now appears that
in this area, once the mineral extraction has been exhausted, the industry is planning to develop a
hazardous and nuclear waste dump.The high interest in developing potash mining, not only for the
potash ore, but also the very large quantity of salt, has advanced for the purposes of exporting to
the Mekong region countries and ASEAN. These phenomena reflect the top-down capitalist
economic political ideology in Thailand and an apparent willingness to follow policies that increase
reliance on mining extraction, while risking communities’ ecological health and well-being in order
to accommodate waste from the manufacturing industries. These industrial developments and
economic policies end up leading to injustice for the majority of the Thai population, and in the
instance researched in this study, have caused devastating impacts on the health and livelihoods
of the communities in the Songkram River basin.

Department of Anthropology Graduate School, Silpakorn University


Student's signature ........................................ Academic Year 2011
Thesis Advisor's signature ........................................


กิตติกรรมประกาศ

การเสี ยสมดุลเกลือในร่ างกายอาจยังผลให้คนผูน้ ้ นั เสี ยชีวิตได้ ทานองเดียวกับในธรรมชาติ


เกลือมีบทบาทธารงไว้ซ่ ึ งสมดุลในโครงสร้างธรณี วิทยาและระบบนิ เวศ ในขณะเดียวกันก็มีส่วน
พัฒนาสังคม และวัฒนธรรม เมื่อเราก้าวสู่ ยุคที่เศรษฐกิจคือปั จจัยผลักดันการนาเกลือขึ้นมาใช้มาก
ขึ้นมากขึ้นด้วยเทคโนโลยีที่กา้ วหน้าขึ้น แล้วจุดสมดุลของการนาเกลือขึ้นมาใช้ควรจะอยูต่ รงไหน
คือคาถามที่เกิดตลอดเวลาที่ได้เรี ยนรู้เรื่ องเกลือมา
ขอขอบคุณทุกคนที่ทาให้มีโอกาสได้รู้จกั แม่น้ าสงคราม ได้พบเห็นความจริ งหลายประการ
เรื่ องความเค็มและเกลือ ขอขอบคุณกลุ่มนิ เวศวัฒนธรรมศึกษา ที่อนุเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น และ
จุดชนวนความคิดต่างๆ ขึ้นมา อีกทั้งความรู้เรื่ องเกลือในแง่มุมต่างๆ ที่กลุ่มนิ เวศวัฒนธรรมศึกษา
รวบรวมไว้ ตลอดจนความรู ้ที่มีผศู ้ ึกษาไว้ก่อนหน้านี้
ขอขอบคุ ณชาวบ้านในชุ มชนแหล่งผลิ ตเกลือต่างๆ ในภาคอีสานโดยเฉพาะชุ มชนแหล่ ง
ผลิตเกลือในลุ่มน้ าสงคราม ที่อนุเคราะห์ที่พกั พิง น้ าใจกว้าง ที่เปิ ดโอกาสให้ผศู้ ึกษาได้เห็นได้เรี ยนรู้
เรื่ องความเค็มในหลายๆ ด้าน ทั้งรุ่ งเรื อง ขมขื่น ทุกข์เศร้า และขัดแย้ง
ขอขอบพระคุณ คุณตา คุณยาย คุณพ่อ คุณแม่ แพรวา กอไผ่ ผักบุง้ และทุกคนในครอบครัว
ที่ส่งเสริ มกาลังใจให้ได้ศึกษาอย่างอิสระ โดยเฉพาะอย่างยิง่ คุณตา ผูอ้ อกปากเคี่ยวเข็ญให้มาศึกษา
ในครั้งนี้ และจากไปก่อนจะทันได้เห็นงานศึกษานี้เสร็ จ
ขอขอบคุณศูนย์ประสานงานการพัฒนาระบบและกลไกการประเมินผลกระทบทางสุ ขภาพ
สานักงานคณะกรรมการสุ ขภาพแห่งชาติ (สช.) สาหรับข้อเสนอแนะและโอกาสในการเรี ยนรู้ที่ดีถึง
ความหมายของสุ ขภาวะทั้งทางทฤษฎี และปฏิบตั ิ ด้วยกรุ ณาเสมอมา
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากศูนย์ประสานงานการพัฒนาระบบ และกลไก
การประเมินผลกระทบทางสุ ขภาพ สานักงานคณะกรรมการสุ ขภาพแห่งชาติ (สช.)

บาเพ็ญ ไชยรักษ์
พฤษภาคม 2555


สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย................................................................................................................. ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ............................................................................................................ จ
กิตติกรรมประกาศ................................................................................................................. ฉ
สารบัญ.................................................................................................................................. ช
สารบัญตาราง ........................................................................................................................ ฏ
สารบัญภาพ .......................................................................................................................... ฎ
บทที่
1 บทนา ....................................................................................................................... 1
ความสาคัญของปั ญหา................................................................................ 1
วัตถุประสงค์ของการศึกษา ........................................................................ 10
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ......................................................................... 11
ขั้นตอนและวิธีการศึกษา............................................................................. 11
ขอบเขตการศึกษา........................................................................................ 15
ข้อจากัดของการศึกษา................................................................................ 15
แนวคิดที่ใช้ในการศึกษา............................................................................. 16
วรรณกรรมและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง............................................................. 28
นิยามศัพท์ที่ใช้ในการศึกษา........................................................................ 50
2 พัฒนาการการผลิตเกลือในลุ่มน้ าสงคราม................................................................ 51
ลักษณะธรณี วทิ ยาเกลือในลุ่มน้ าสงคราม.................................................... 51
พัฒนาการการผลิตเกลือในภาคอีสาน......................................................... 53
พัฒนาการการผลิตเกลือในลุ่มน้ าสงคราม.................................................. 60
การผลิตเกลือในยุคโบราณ............................................................ 60
การผลิตเกลือในยุคเริ่ มก่อตั้งชุมชนถาวรในลุ่มน้ าสงครามตอนล่าง 63
การทาเกลือจากน้ าเกลือใต้ดินเพื่ออุตสาหกรรม............................ 69
แนวโน้มการทาเกลือในยุคเทคโนโลยีทนั สมัย.............................. 74
3 ความเปลี่ยนแปลงของชุมชนแหล่งผลิตเกลือในลุ่มน้ าสงคราม............................... 85

บทที่ หน้า
นาเกลือบ้านโนนดอกไม้แดง....................................................................... 86
ประวัติความเป็ นมาของชุมชนบ้านโนนดอกไม้แดง..................... 86
นิเวศชุมชนบ้านดอกไม้แดง.......................................................... 94
นิเวศชุมชนก่อนการพัฒนาอุตสาหกรรมเกลือ................. 96
นิเวศชุมชนหลังการพัฒนาอุตสาหกรรมเกลือ.................. 99
ระบบการคมนาคม......................................................................... 100
อาชีพและการทามาหากินของชาวโนนดอกไม้แดง....................... 101
ความสัมพันธ์ทางสังคมและชาติพนั ธุ์........................................... 102
ภาวะเศรษฐกิจชุมชน..................................................................... 107
ความสัมพันธ์ภายในชุมชน............................................................ 108
ครอบครัวและการขัดเกลาทางสังคม………….............................. 110
ความเชื่อและศาสนา...................................................................... 112
ความเชื่อใน “เอาะนาย” หรื อ “ผีปู่ย่า”.............................. 112
ความเชื่อในพุทธศาสนา................................................... 115
ผีกบั การทานาเกลือ.......................................................... 116
ความเจ็บป่ วยและการรักษาพยาบาล.............................................. 117
การประกอบกิจการเกลือที่บา้ นโนนดอกไม้แดง........................... 118
ประวัติความเป็ นมา.......................................................... 118
กรรมวิธีการผลิตเกลือ...................................................... 119
สถานการณ์นาเกลือในชุมชนบ้านโนนดอกไม้แดง.......... 124
บ่อหัวแฮด บ่อเกลือโบราณ......................................................................... 135
ประวัติการตั้งถิ่นฐานของชุมชน.................................................... 135
ตานานการค้นพบบ่อเกลือหัวแฮด.................................................. 136
สถานการณ์การผลิตเกลือที่บ่อหัวแฮดในปั จจุบนั .......................... 143
กรรมวิธีการผลิตเกลือที่บ่อหัวแฮด................................................ 144
การผลิตเกลือแบบต้มเด้วยแกลบบ้านกุดเรื อคา.......................................... 147
ประวัติการตั้งถิ่นฐานของชาวบ้านกุดเรื อคา.................................. 147
ความเป็ นมาของการประกอบกิจการต้มเกลือบ้านกุดคา................ 148

บทที่ หน้า
ขั้นตอนการต้มด้วยเชื้ อเพลิงแกลบ................................................ 150
โครงการเหมืองแร่ โพแทชสกลนคร............................................................ 153
4 ผลกระทบจากการผลิตเกลือในลุ่มน้ าสงคราม.......................................................... 156
วิกฤตการณ์ผลกระทบจากนาเกลือที่บา้ นโนนดอกไม้แดง.......................... 157
ผลกระทบจากการผลิตเกลือในลุ่มน้ าสงคราม............................................ 165
ผลกระทบต่อนิเวศวิทยา................................................................ 165
การแพร่ กระจายของดินเค็ม............................................. 165
การแพร่ กระจายความเค็มสู่ แหล่งน้ าธรรมชาติ................. 168
การยุบตัวของแผ่นดิน....................................................... 171
ผลกระทบด้านสังคมและวัฒนธรรม.............................................. 177
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ................................................................. 182
ผลกระทบด้านสุ ขภาวะ.................................................................. 185
บทเรี ยนวิกฤตความเค็มจากลุ่มน้ าเสี ยว.......................................... 188
5 บทวิเคราะห์: ชุมชนในนิเวศแหล่งผลิตเกลือ............................................................ 196
นิเวศชุมชนแหล่งเกลือมิติทางความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลง.............. 196
นิเวศสุ ขภาวะในชุมชนแหล่งผลิตเกลือ....................................................... 200
ปั จจัยกาหนดความเปลี่ยนแปลงการผลิตเกลือในลุ่มน้ าสงคราม................. 201
ปัจจัยด้านนิเวศวิทยา...................................................................... 201
ปัจจัยด้านเทคโนโลยี..................................................................... 202
ปั จจัยด้านเศรษฐกิจ........................................................................ 202
ปัจจัยด้านการเมือง......................................................................... 203
ปัจจัยด้านสังคม.............................................................................. 203
ปัจจัยด้านวัฒนธรรม....................................................................... 204
บทบาทของเกลือต่อชุมชนลุ่มน้ าสงคราม................................................... 208
บทบาทของเกลือกับนิเวศ.............................................................. 208
บทบาทเกลือกับวัฒนธรรม............................................................ 210
บทบาทเกลือกับสุ ขภาพ................................................................. 218
เกลือกับอนาคตของชุมชนลุ่มน้ าสงคราม.................................................... 220

บทที่ หน้า
6 บทสรุ ปและอภิปรายผล............................................................................................ 226
บทสรุ ป........................................................................................................ 226
บทเรี ยนจากชุมชนแหล่งผลิตเกลือในลุ่มน้ าสงคราม.................................. 240
ข้อเสนอแนะต่อปัญหา และอนาคตของชุมชนแหล่งผลิตเกลือ.................. 244
บ่อหัวแฮด: มรดกวัฒนธรรมมีชีวติ ............................................... 244
ดินยุบ: ภัยพิบตั ิระเบิดเวลานาเกลือบ้านโนนดอกไม้แดง............... 245
เกลือบ้านกุดเรื อคา กับเศรษฐกิจชุมชน......................................... 245
เหมืองแร่ โพแทชสกลนครกับความรู้ที่ยงั ขาดหาย......................... 245
ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาครั้งต่อไป.................................................... 246
รายการอ้างอิง......................................................................................................................... 247
ภาคผนวก............................................................................................................................... 263
ภาคผนวก ก แหล่งโบราณคดีเกลือในลุ่มน้ าสงคราม.............................................. 264
ภาคผนวก ข ตัวอย่างกลอนลาต่อสู้กบั อุตสาหกรรมเกลือในลุ่มน้ าเสี ยว................. 267
ภาคผนวก ค ตารางผลการเจาะสารวจแร่ โพแทชใน อาเภอวานรนิวาส ................. 275
ภาคผนวก ง ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม เรื่ องให้ยนื่
อาชญาบัตรพื้นที่ที่กาหนดให้เป็ นเขตสาหรับดาเนินการสารวจ
การทดลองการวิจยั เกี่ยวกับแร่ เป็ นกรณี พิเศษ................................ 280
ประวัติผวู้ ิจยั ........................................................................................................................... 283


สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1 ลักษณะประเด็นการศึกษาและลักษณะของข้อมูลที่ตอ้ งการ........................................ 12
2 แผนการดาเนินการศึกษาระยะเวลา 1 ปี ....................................................................... 16
3 ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินในบ้านโนนดอกไม้แดง............................................... 95
4 ปฏิทินการทางานเกษตรกรรมและงานทัว่ ไปในชุมชนบ้านโนนดอกไม้แดง.............. 103
5 ตารางรายได้รวมและเฉลี่ยต่อครัวเรื อนต่อคนต่อปี ในบ้านโนนดอกไม้แดง............... 109
6 ตารางภาระหนี้สินของประชาชนในหมู่บา้ นโนนดอกไม้แดง.................................... 109
7 ปฏิทินการทางานนาเกลือในหมู่บา้ นโนนดอกไม้แดง................................................ 120
8 รายชื่อผูผ้ ลิตเกลือในเขตพื้นที่บา้ นโนนดอกไม้แดง................................................... 128
9 รายชื่อสมาชิกกลุ่มผูผ้ ลิตเกลือสิ นเธาว์บ่อหัวแฮดและกาลังการผลิต.......................... 147
11 ตารางแสดงราคาเกลือ ณ แหล่งผลิต........................................................................... 184
12 ผลการเจาะสารวจแร่ โพแทชหลุม K-48 วัดโนนวิเวกศรี เมือง จังหวัดสกลนคร.......... 276
13 ผลการเจาะสารวจแร่ โพแทชหลุม K-55 วัดอัมพวา บ้านกุดจิก จังหวัดสกลนคร........ 278


สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
1 แผนภาพแสดงอัตราการผลิตและใช้เกลือในประเทศไทย.......................................... 83
2 แผนที่สังเขปพื้นที่ลุ่มน้ าสงคราม............................................................................... 86
3 แผนที่ลกั ษณะภูมิประเทศและที่ต้ งั บ้านโนนดอกไม้แดง.......................................... 89
4 แผนที่สังเขปแสดงระบบนิเวศชุมชนบ้านโนนดอกไม้แดง....................................... 97
5 ลักษณะนิเวศแบบ “โคก - ทาม”................................................................................. 98
6 ลักษณะของ “นาบะ” บริ เวณอาเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร................................... 98
7 ลักษณะของป่ าทามริ มห้วยซาง อาเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร............................... 99
8 การปนเปื้ อนน้ าเค็มที่หว้ ยบ่อแดง บริ เวณที่ไหลผ่านนาเกลือบ้านโนนดอกไม้แดง.... 99
9 ข้าวไร่ ที่เพิง่ หว่านบริ เวณป่ าโคกบ้านโนนดอกไม้แดง............................................... 100
10 นาโคกและป่ าโคกหัวไร่ ปลายนาบ้านโนนดอกไม้.................................................... 100
11 แผนผังแสดงที่ต้ งั บ้านเรื อนภายในชุมชนบ้านโนนดอกไม้แดง................................. 101
12 คนงานกวาดเกลือในนาเกลือ..................................................................................... 131
13 คนงานตักเกลือใส่ เข่ง................................................................................................ 131
14 คนงานหาบเข่งเกลือ.................................................................................................. 132
15 คนงานเก็บเกลือในนาเกลือ....................................................................................... 132
16 คนงานขนเกลือเข้าฉาง.............................................................................................. 132
17 คนงานเก็บและขนเกลือในนาเกลือ........................................................................... 132
18 เครื่ องจักรทางานในลานกลองเกลือ.......................................................................... 132
19 เครื่ องจักรโกยเกลือขึ้นรถบรรทุก.............................................................................. 132
20 การเตรี ยมเครื่ องไหว้ปู่คาแดง ที่เกลือบ่อหัวแฮด....................................................... 136
21 เครื่ องไหว้ปู่คาแดง ที่เกลือบ่อหัวแฮด....................................................................... 136
22 บ่อหัวแฮด บ่อเกลือกลางบาน้ าสงคราม.................................................................... 138
23 บ่อสู บน้ าบาดาลเค็ม บริ เวณบ่อหัวแฮด..................................................................... 138
24 โรงต้มเกลือบ่อหัวแฮด............................................................................................... 139
25 การตักเกลือต้มในกะทะต้มเกลือที่บ่อหัวแฮด............................................................ 139
26 แผนผังแสดงที่ต้ งั โรงต้มเกลือบริ เวณบ่อหัวแฮด อาเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ............ 146
27 สภาพภายนอกบริ เวณโรงต้มเกลือด้วยแกลบ บ้านกุดเรื อคา...................................... 150

ภาพที่ หน้า
28 สภาพภายในโรงต้มเกลือด้วยแกลบ บ้านกุดเรื อคา.................................................... 150
29 เตาเชื้ อเพลิงแกลบสาหรับต้มเกลือ โรงต้มเกลือบ้านกุดเรื อคา................................... 152
30 ช่องใส่ แกลบสาหรับต้มเกลือ...................................................................................... 152
31 คนงานกาลังตักเกลือขึ้นจากกระทะต้ม......................................................................... 152
32 เกลือที่พร้อมจะบรรจุถุงจาหน่าย................................................................................ 152
33 คนงานบรรจุเกลือใส่ ถุง.............................................................................................. 152
34 เกลือบรรจุถุงพร้อมจาหน่าย....................................................................................... 152
35 นิเวศนาเกลือรอบบ้านโนนดอกไม้แดง...................................................................... 174
36 ตอต้นยางเหียน บริ เวณบะดอกไม้แดง ที่กลายเป็ นนาเกลือในปัจจุบนั ...................... 174
37 สภาพการปนเปื้ อนเกลือในห้วยบ่อแดง บริ เวณไหลผ่านนาเกลือ............................. 174
38 หลุมยุบขนาดใหญ่ ใกล้หมู่บา้ นโนนดอกไม้แดง...................................................... 175
39 หลุมยุบขนาดใหญ่ในบริ เวณนาเกลือทุ่งดอกไม้แดง................................................ 175
40 หลุมยุบกว้างกว่า 20 เมตร ลึกกว่า 15 เมตร บริ เวณนาเกลือทุ่งดอกไม้แดงหลุมยุบลึก
กว่า20 x 15 เมตร บริ เวณนาเกลือทุ่งดอกไม้แดง ...................................................... 175
41 หลุมยุบขนาดใหญ่บริ เวณนาเกลือทุ่งดอกไม้แดง..................................................... 175
42 แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของนิเวศ วัฒนธรรม และสุ ขภาวะ.............................. 226


บทที่ 1 บทนา

1.ความสาคัญของปัญหา
ภาคอีสาน หรื อภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เป็ นดินแดนในทวีป ห่ างไกล
จากทะเล มีลกั ษณะเป็ นพื้นที่ราบสู งกว้างใหญ่ที่สุดในภูมิภาคลุ่มแม่น้ าโขง
ภาคอีสานตั้งอยูต่ อนกลางของคาบสมุทรอินโดจีนในส่ วนที่เป็ นภาคพื้นทวีป(Mainland
Peninsula) บริ เวณตอนกลางของภาคมีลกั ษณะเป็ นแอ่งแบบกระทะหงาย (Syncline) 2 แอ่งใหญ่ คือ
แอ่งโคราช (Khorat Basin) และแอ่งสกลนคร (Sakhon Nakhon Basin) โดยที่เทือกเขาภูพาน
(Phuphan Rang) จะทอดยาวค่อนไปในแนวตะวันออกเฉี ยงใต้ - ตะวันตกเฉี ยงเหนือ เป็ นแนวรู ป
โค้งพระจันทร์ เสี้ ยวตั้งแต่จงั หวัดอุบลราชธานีไปทางเหนือของจังหวัดกาฬสิ นธุ์ ห่ างไปทางใต้ของ
สกลนครและนครพนม (อภิศกั ดิ์ โสมอินทร์ , 2525: 1)
พื้นที่ราบสู งภาคอี สานมิได้ราบเรี ยบเสมอกันเป็ นหน้ากลอง แต่มีลกั ษณะภูมิประเทศ
สู งๆ ต่าๆ แบบโคกสลับแอ่งน้ า หรื อพื้นที่ราบลอนลาด (Rolling Plain) พื้นที่เนินกลมบ้าง รี บา้ ง
สลับกับแอ่งน้ า คื อหนอง บึ ง ลักษณะเหล่ านี้ เกิ ดจากการละลายของเกลื อหิ นใต้ผิวดินจากการ
กระทาของน้ าใต้ดิน ทาให้พ้ืนที่ยุบตัวลงเป็ นแอ่ง และบางแห่ งเกิ ดการอัดตัวของเกลือดันพื้นดิน
ให้สูงขึ้น และมีภูมิประเทศแบบที่ราบลุ่มน้ า (Alluvial Plain) ปรากฏอยูบ่ ริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ าใน
แอ่งโคราช คื อ ที่ ราบลุ่ มน้ าชี และที่ราบลุ่ มน้ ามูน ส่ วนแอ่งสกลนคร คือที่ราบลุ่ มน้ าสงคราม
และทั้งหมดนี้จะไหลลงสู่ แม่น้ าโขง ทางทิศตะวันออกของภาค (ธาดา สุ ทธิธรรม, 2544: 31- 32 )
ลุ่มน้ าสงคราม ตั้งอยูใ่ นแอ่งเหนือ หรื อ แอ่งสกลนคร ในเขตจังหวัดสกลนคร จังหวัด
อุดรธานี จังหวัดบึงกาฬ (เดิมอยูใ่ นเขตจังหวัดหนองคาย) และจังหวัดนครพนม ซึ่ งเป็ นพื้นที่รับน้ า
จากเทือกเขาภูพานและโคกเนิ นโดยรอบแล้วไหลสู่ แม่น้ าโขงที่อาเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม
นอกจากนี้ ยงั มีหนองหานทะเลสาบน้ าจืดธรรมชาติขนาดใหญ่เป็ นพื้นที่รับน้ าจากเทือกเขาภูพาน
ไหลสู่ ลาน้ าก่าออกสู่ แม่น้ าโขง ทั้งนี้ เทือกเขาภูพานยังเป็ นต้นกาเนิ ดธารน้ าหลายสายที่ไหลลงสู่ ที่
ราบลุ่มแอ่งสกลนคร ซึ่ งลาดเอียงไปสู่ ที่ราบลุ่มริ มฝั่งแม่น้ าโขง
สายธารที่เป็ นต้นน้ าสงครามอยูต่ ามแนวเทือกเขาภูพาน และโคกเนินต่างๆ ตามไหล่เขา
นับจากภูผาหัก ภูผาเพลิน ภูผาเหล็ก ซึ่ งอยู่ในเขตรอยต่อระหว่างอาเภอส่ องดาว จังหวัดสกลนคร

1
2

และอาเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี ภูผาที่กล่าวมานั้นเป็ นแหล่งต้นธารหลายสายที่จะไหลรวม


เป็ น ‚ลาห้วยสงคราม‛ ลาห้วยที่ ไ ม่ก ว้า งนัก ก่ อนจะไหลลงสู่ ‚แม่ น้ า สงคราม‛ สายน้ า หลัก ที่
ประกอบด้วยลาน้ าสาขาอีกหลายสาย จากภูเขา โคก เนินต่างๆ ที่ลดหลัน่ ลงมาแล้วไหลผ่านอาเภอ
ไชยวาน อาเภอหนองหาน อาเภอบ้านดุง ในเขตจังหวัดอุดรธานี อาเภอบ้านม่วง อาเภอคาตากล้า
อาเภออากาศอานวย จังหวัดสกลนคร อาเภอโซ่ พิสัย อาเภอพรเจริ ญ อาเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ
อาเภอนาทม อาเภอศรี ส งคราม แล้ว ไหลไปบรรจบกับ แม่ น้ า โขง ที่ อ าเภอท่ า อุ เ ทน จัง หวัด
นครพนม ความยาวลาน้ าประมาณ 420 กิโลเมตร
เมื่ อ หลายล้า นปี มาแล้ว ภาคอี ส านเคยเป็ นทะเลหรื อ มี น้ า ทะเลรุ ก เข้า มาก่ อ น ต่ อ มา
แผ่นดินอีสานยกตัวขึ้นและน้ าทะเลถดถอยไป จึงกลายเป็ นทะเลสาบน้ าเค็มขนาดใหญ่ เมื่อน้ าทะเล
เริ่ ม แห้ง มี ก ารตกตะกอนของเกลื อและแร่ ธ าตุ ต่า งๆ ซึ่ ง จมลงตกผลึ ก และแห้ง อยู่ก้นทะเลสาบ
ประกอบกับมีการยกตัวของเทือกเขาภูพานทาให้ภาคอีสานกลายเป็ นพื้นที่ที่มีลกั ษณะธรณี วิทยา
เป็ นที่ราบสู งอันประกอบด้วยแอ่งเกลือขนาดใหญ่ 2 แอ่ง คือ แอ่งสกลนคร และแอ่งโคราช กินพื้นที่
เกื อบร้ อยละ 70 ของพื้นที่ท้ งั ภาค จนเวลาผ่านไปเนิ่ นนาน เกลือจึงถูกปิ ดทับด้วยการสะสมของ
ตะกอนดินและหิ นจากพื้นทวีป กลายเป็ นเกลือหิ นปริ มาณมหาศาลฝังตัวอยูใ่ ต้พ้ืนดินทัว่ ภาคอีสาน
มีปริ มาณสารองกว่า 18 ล้านล้านตัน ซึ่ งอยูใ่ นระดับตื้นและลึกแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ มีความ
หนาของชั้นเกลือเฉลี่ยนับร้อยเมตร (ปกรณ์ สุ วานิช, 2546: 14 - 21) สอดคล้องกับความเห็นของ
Sattayarak (1985) ที่อธิบายว่าบางส่ วนของที่ราบสู งโคราชกลายเป็ นทะเล เรี ยกว่า ทะเลอีสาน ซึ่ งมี
ลักษณะเป็ นทะเลตื้นตั้งอยูด่ า้ นตะวันตกของจุลทวีปอินโดจีน น้ าทะเลรุ กเข้าสู่ แผ่นดินจนปกคลุม
บริ เวณเกือบทั้งหมดของที่ราบสู งโคราช ต่อมาน้ าทะเลจึงเริ่ มถดถอยออกไป
ปกรณ์ สุ วนิช(2546: 14 - 21) อธิ บายว่าแอ่งทั้ง 2 เป็ นแอ่งเดียวกันมาก่อนจะมีน้ าทะเล
ไหลเข้า มาในแอ่ ง ตื้ น ๆ ที่ รองรั บ ไว้ และน้ า ทะเลบางส่ วนไหลกลับ ไม่ ไ ด้ ประกอบกับ สภาพ
ภูมิอากาศแห้งแล้ง ฝนตกน้อยมาก น้ าทะเลแห้งงวดจนเกิดการตกตะกอนของเกลือและแร่ โพแทช


แร่ โพแทชที่พบมี 2 ชนิ ดใหญ่ ๆ ได้แก่ แร่ คาร์ นลั ไลต์ (Carnallite) ซึ่งเป็ นแร่ โพแทชที่มีคุณภาพต่าเนื่ องจากเป็ นแร่
ที่มีส่วนผสมของแมกนี เซี ยมอยูด่ ้วยโดยมี ส่วนประกอบทางเคมี เป็ น KClMgCl6H2O เป็ นแร่ โพแทชเปอร์ เซ็นต์ต่า คือ มีปริ มาณ
โพแทสเซี ยม (K) เพียงร้อยละ 14.07 หรื อโพแทสเซี ยมออกไซด์ (K2O) สู งเพียงร้อยละ 16.95 หรื อคิดเป็ นโพแทสเซี ยมคลอไรด์
(KCl) ร้อยละ 26.83 อีกชนิ ดหนึ่ ง ได้แก่ แร่ ซิลไวต์ (Sylvite) มีส่วนประกอบทางเคมีเป็ น KCl เป็ นแร่ โพแทชที่มีความสาคัญมาก
ที่สุดหรื อดีที่สุดในโลก เพราะมีปริ มาณของโพแทสเซียม (K) สูงสุดถึงร้อยละ 52.44 หรื อโพแทสเซียมออกไซด์ (K2O) สู งถึงร้อยละ
63.17 หรื อโพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl) ร้อยละ 100 ซึ่งสู งที่สุดในโลกในบรรดาแร่ โพแทชด้วยกัน (ปกรณ์ สุวนิช, 2546: 15-16)
3

มีช้ นั หิ นปกปิ ดตอนบนกันการถู กละลาย แอ่งอีสานจึงกลายเป็ นที่เก็บกักแร่ ระเหยน้ าที่สาคัญ 2


ชนิดคือ แร่ เกลือหิ นและโพแทช มาตั้งแต่เมื่อเกือบ 100 ล้านปี มาแล้ว
ชั้นเกลื อหิ นและโพแทชที่ทบั ถมอยู่ใต้ดินอีสานนี้ พบใน ‚หมวดหิ นมหาสารคาม‛ ซึ่ ง
ถูกปกปิ ดด้วยชั้นหิ นทราย หิ นทรายแป้ ง และหินดินดาน ของ ‚หมวดหิ นภูทอก‛ ที่ช่วยป้ องกันการ
ถูกละลายด้วยน้ าบนผิวดิ น ส่ วนหิ นที่รองรับโพแทช-เกลือหิ นอยู่ขา้ งล่างจะเป็ นหิ นทรายและหิ น
กรวดมนของ ‚หมวดหินโคกกรวด‛
เกลือหิ น คือ เกลือโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ที่มนุษย์บริ โภคทัว่ ไป ส่ วนแร่ โพแทช คือ
แร่ โพแทสเซียม(K) การสารวจโพแทชและเกลือหิ นของกรมทรัพยากรธรณี ต้ งั แต่ปี 2516 ที่เจาะทัว่
อีสานทั้งแอ่งเหนื อและแอ่งใต้ ประมาณ 200 หลุม และพบเกลือหิ นเป็ นหลักทัว่ ทั้งแอ่ง พบแร่ โพ
แทชชนิ ดคาร์ นลั ไลต์รองลงไป กระจายเกือบทั้งแอ่ง (ยกเว้นบริ เวณโดมเกลือ) พบแร่ โพแทชชนิด
ซิ ลไวต์บริ เวณที่เป็ นไหล่ โดมเกลื อ เมื่อสิ้ นสุ ดโครงการสารวจประมาณปี 2526 รวมระยะเวลา
สารวจ 10 ปี ซึ่ งมีผลการสารวจสรุ ปว่าบนที่ราบสู งโคราชทั้งแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีเกลือ
หิน 1-3 ชั้น ได้แก่ เกลือชั้นบน เกลือชั้นกลาง เกลือชั้นล่าง มีช้ นั ดินเหนียวคัน่ ระหว่างชั้นเกลือ พบ
ชั้นแร่ โพแทชเกิดขึ้นเหนื อเกลือหิ นชั้นล่างเท่านั้น แร่ โพแทชที่สาคัญ ได้แก่ แร่ คาร์ นลั ไลต์ และแร่
ซิ ลไวต์ ส่ วนแร่ แมกนี เซี ยมที่สาคัญคือแทคคีไฮไดรต์ โครงสร้างของหมวดหิ นมหาสารคามมีท้ งั ที่
เป็ นชั้นและโดมเกลือ ในแอ่งมักมีเกลือหิ น 2-3 ชั้น ในขณะที่โดมเกลือมีเกลือหิ นชั้นเดียว บนโดม
เกลือมักไม่มีแร่ โพแทช(ปกรณ์ สุ วนิช, 2552: 61-86) โดยสรุ ปว่าในหมวดหิ นมหาสารคาม ในภาค
อีสานมีปริ มาณสารองของแร่ เกลือหินอย่างน้อยที่สุด 18 ล้านล้านตัน รองลงมาได้แก่แร่ คาร์ นลั ไลต์
มีปริ มาณสารอง 4 แสนล้านตัน แร่ แทคคิไฮไดรต์มีปริ มาณสารอง 2 แสนล้านตัน แร่ ซิลไวต์มี
ปริ มาณสารอง 7 พันล้านตัน(ปกรณ์ สุ วนิช, 2552: 96 -107)
จากปั จจัยทางธรณี วทิ ยาอีสานที่ประกอบด้วยเกลือ และแร่ โพแทชเป็ นจานวนมากอย่าง
ที่กล่าวมานี้เป็ นสิ่ งที่มีอิทธิ พลและส่ งผลต่อลักษณะทางนิเวศวิทยา สังคม และวัฒนธรรมของผูค้ น
ในภูมิภาคนี้อย่างสาคัญมาตั้งแต่สมัยโบราณสื บเนื่องมาจนปั จจุบนั กล่าวคือพื้นที่ภาคอีสานมีการ
พัฒนาการทาเกลืออย่างต่อเนื่ องมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงมาสู่ การผลิต
เพื่ อการค้า และอุ ตสาหกรรมยุค ใหม่ หลัง เริ่ ม พัฒนาอุ ตสากรรมในสัง คม และตั้ง แต่ ประมาณปี
พ.ศ.2513 หลังภาวะน้ าท่วมหนักในภาคกลางทาให้ราคาเกลือสู งขึ้นเกือบสิ บเท่า
การทาเกลื อเพื่ออุตสาหกรรมโดยใช้วิธีขุดเจาะน้ าเกลือใต้ดินและสู บขึ้นมาต้มและตาก
เป็ นครั้งแรกในภาคอีสานที่บริ เวณรอบอ่างเก็บน้ าหนองบ่อ อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ซึ่ ง
เป็ นพื้นที่ตน้ น้ าเสี ยว สายน้ าสาขาของแม่น้ ามูน
4

ได้มีการตั้งโรงงานเกลือพิมาย ของบริ ษทั อาซาฮีโซดาไฟ จากัด ที่จงั หวัดนครราชสี มา


เมื่อปี พ.ศ.2515 ซึ่ งในปั จจุบนั ได้เปลี่ยนแปลงมาใช้กรรมวิธีการสู บอัดน้ าจืดลงไปละลายชั้นเกลือ
หิ นใต้ดิน (Solution Mining) และนาเข้ากระบวนการทาให้น้ าเกลือบริ สุทธิ์ (Purified Unit) จากนั้น
ผ่านน้ าเกลื อเข้าเครื่ องตกผลึ กเกลื อ (Vacuum Evaporator) อบแห้งเป็ นเม็ดเกลื อพร้ อมเติมสาร
ป้ องกันการจับตัวเป็ นก้อน (เลิศศักดิ์ คาคงศักดิ์ และเบญจรัชต์ เมืองไทย, 2549 : 10-13) ต่อมาราว
ปี 2520 ได้เกิ ดวิกฤตดิ นเค็มน้ าเค็มในลุ่ มน้ าเสี ยว จนประชาชนออกมาคัดค้านการทาเกลืออย่าง
กว้างขวางและต่อเนื่องเกือบยีส่ ิ บปี ก่อนที่ คณะรัฐมนตรี จะมีมติห้ามการประกอบกิจการเกลือที่ลุ่ม
น้ าเสี ยว หากแต่เป็ นผลให้เกิดการกระจายตัวของอุตสาหกรรมเกลือไปยังพื้นที่อื่น ๆในภาคอีสาน
ประกอบกับเงื่อนไขในการขยายตัวของอุตสาหกรรมของประเทศที่ใช้เกลือเป็ นวัตถุดิบ
คือ มีอตั ราเฉลี่ยประมาณ 1.7 ล้านตัน/ปี  คนไทยประมาณ 63 ล้านคนในปั จจุบนั บริ โภคเกลือ
ประมาณ 27 กิโลกรัมต่อคนต่อปี หรื อประมาณ 1.5 – 2 ล้านตันต่อปี โดยแบ่งเป็ นการบริ โภคใน
ครัวเรื อนและอุตสาหกรรมอาหาร (รวมถึงอุตสาหกรรมอาหารสัตว์) ประมาณ 7.5 กิโลกรัมต่อคน
ต่อปี หรื อประมาณร้ อยละ 28 อีก 19.5 กิ โลกรัมต่อคนต่อปี เป็ นการบริ โภคผ่านกระบวนการ
อุตสาหกรรม(ประมาณร้อยละ 65) คืออุตสาหกรรมผลิตคอร์ อ ลั คาไลน์ (Chlor-Alkaline) และ
อุ ต สาหกรรมอื่ น ๆ เช่ น ห้ องเย็น ฟอกย้อม โซดาไฟ ฟอกหนัง ฯลฯ และใช้ใ นด้านอื่ น ๆ อี ก
ประมาณร้อยละ 7 - 10 ส่ วนในสังคมอเมริ กนั ใช้เกลือสู งถึง 214 กิโลกรัมต่อคนต่อปี จะเห็นได้วา่
ยิ่งสังคมบริ โภคมาก ความต้องการใช้เกลือยิ่งมาก เพราะเกลือหิ นใต้ดินในภาคอีสานเป็ นเกลือที่มี
โซเดียมสู งกว่าเกลือทะเล มีความบริ สุทธิ์ ร้อยละ 90 ขึ้นไป จึงมีความต้องการใช้ในอุตสาหกรรม
มากยิง่ ขึ้นเรื่ อย ๆ (เลิศศักดิ์ คาคงศักดิ์ และเบญจรัชต์ เมืองไทย, 2549: 14 – 15)
การผลิตเกลือพื้นที่จงั หวัดอุดรธานี จังหวัดสกลนคร จังหวัดหนองคาย (ปั จจุบนั คืออยู่
ในเขตจังหวัดบึงกาฬ) และจังหวัดนครพนม พบว่า 3 จังหวัดในลุ่มน้ าสงคราม มี 23 หมู่บา้ น 10
ตาบลที่มีการสู บน้ าเกลือใต้ดินขึ้นมาผลิตเป็ นเกลือสิ นเธาว์และส่ งจาหน่ายทัว่ ประเทศ โดยมีวิธีการ
ผลิตเกลือทั้งแบบต้ม และตาก หรื อทานาเกลือ โดยมีท้ งั ได้รับอนุญาตในการประกอบกิจการจาก
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับลงวันที่ 9


เกลือที่บริ โภคภายในประเทศประกอบด้วยเกลือสมุทรประมาณ 0.2 - 0.3 ล้านตันต่อปี เกลื อสิ นเธาว์จากผูผ้ ลิ ตราย
ย่อยในภาคอี สานประมาณ 0.4 - 0.5 ล้านตันต่อปี และเกลื อจากการทาเหมื องละลายแร่ เกลื อหิ นของบริ ษทั เกลื อพิมาย จากัด
ประมาณ 1 ล้านตัน ต่อปี (เลิศศักดิ์ คาคงศักดิ์ และเบญจรัชต์ เมืองไทย, 2549: 14 )
5

ตุลาคม 2534 และมี ผูป้ ระกอบกิ จการไม่ได้ขออนุ ญาตตามกฎหมาย ดัง นี้ (กรมอุ ตสาหกรรม
พื้นฐานและการเหมืองแร่ . (2548). อ้างถึงใน สานักงานสิ่ งแวดล้อมภาคที่ 9, 2549).
1. พื้นที่จงั หวัดอุดรธานี มีการประกอบการเกลือสิ นเธาว์ที่กว้างใหญ่ที่สุดในประเทศ
ไทย ในอาเภอบ้านดุง มีท้ งั การทาเกลือแบบต้มและเกลือตาก ในปี 2546 ผลิตเกลือทั้งสิ้ น 194,500
ตัน ต่อมาในปี 2548 ผลิต 155,308 ตัน มีผปู้ ระกอบการทั้งสิ้ น 181 ราย
2. พื้นที่จงั หวัดสกลนคร มีการประกอบกิจการเกลือสิ นเธาว์ท้ งั เกลือต้มและเกลือตาก
ในเขตอาเภอบ้านม่วง และอาเภอวานรนิ วาส มีผปู้ ระกอบการต้มเกลือ 38 ราย ผูป้ ระกอบการนา
เกลือ 18 ราย และเป็ นผูป้ ระกอบการทั้งการตากและต้ม 2 ราย เงินลงทุน 75,222,000 บาท คนงาน
รวม 481 คน มีกาลังการผลิต 60,075 ตัน / ปี นอกจากนี้ ยงั มีการประกอบกิจการป่ นเกลือสิ นเธาว์
ผสมไอโอดีนจานวน 3 ราย เงินลงทุน 1,850,000 บาท กาลังการผลิตเกลือไอโอดีน 1,121 ตัน / ปี
และประกอบกิจการเกลือเม็ด 3 ราย กาลังการผลิต 2,600 ตัน / ปี
การทาเกลือแบบตาก หรื อนาเกลือบริ เวณบ้านหนองน้ าใส-บ้านโนนดอกไม้แดง และ
บ้านบ่อแดง ตาบลหนองน้ าใส อาเภอสี ส วย จังหวัดสกลนคร ท าเกลื อโดยวิธีการตากและต้ม
ประกอบด้วย 2 พื้นที่ยอ่ ย รวมพื้นที่ประมาณกว่า 3,000 ไร่ อยูร่ ะหว่างบ้านหนองน้ าใสและบ้าน
โนนดอกไม้แดง เป็ นพื้นที่ผลิตเกลือที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดสกลนคร แหล่งผลิตเกลือตั้งอยูใ่ นพื้นที่
แหล่งน้ าธรรมชาติที่สาคัญ ได้แก่ ลาห้วยบ่อแดง ไหลผ่านพื้นที่นาเกลือ บ้านโนนอกไม้แดง บ้าน
หนองน้ าใส และอื่น ๆ ก่อนจะไหลลงสู่ ลาห้วยซางที่บา้ นน้ าจัน่ ก่อนไหลลงสู่ แม่น้ าสงคราม มีความ
ยาวประมาณ 17 กิโลเมตร ในบริ เวณนี้พบการกระจายของพื้นที่ทาเกลือในลาห้วยบ่อแดง
ปั ญหาสาคัญอีกอย่างหนึ่ งในชุมชนแหล่งผลิตเกลือคือการเกิดหลุมยุบบริ เวณบ้านโนน
สะแบงซึ่ งมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นเรื่ อยทั้งจานวนหลุมหยุบ และขนาดของหลุมยุบบริ เวณใกล้หมู่บา้ น
มีหลุมยุบในบริ เวณพื้นที่นาเกลือ ไม่นอ้ ยกว่า 10 หลุม และพบว่ามีปัญหาคันทานบดินบริ เวณบ้าน
โนนสะแบงมีสภาพชารุ ดทาให้น้ าเค็มจากพื้นที่นาเกลือซึ มแพร่ กระจายลงสู่ ห้วยบ่อแดง มีปัญหา
ความขัดแย้งและเกิ ดการร้ องเรี ยนกรณี ผปู้ ระกอบการเกลือสิ นเธาว์ปล่อยน้ าเสี ยลงสู่ ห้วยบ่อแดง
และพบว่า มี ก ารลัก ลอบท าเกลื อนอกฤดู ก ารผลิ ตซึ่ ง ปกติ จะอนุ ญาตให้ป ระกอบการได้ใ นช่ วง
ตุลาคม-มีนาคม อีกทั้งมีผปู ้ ระกอบการที่ไม่ได้รับอนุญาตเป็ นจานวนมาก
ไม่ไกลจากแหล่งเกลื อบ้านหนองน้ าใส-บ้านโนนดอกไม้แดง มี พ้ืนที่ทาเกลือแบบตั้ง
โรงต้มเกลือ บริ เวณตาบลกุดเรื อคา อาเภอวานรนิวาส ประกอบด้วย 2 พื้นที่ยอ่ ยประมาณ 840 ไร่


ชื่ อหมู่บา้ น ตาบล อาเภอนี้ เป็ นชื่ อสมมุติแทนชุมชนแหล่งผลิตเกลือแห่ งหนึ่งในจังหวัดสกลนคร
6

ส่ วนใหญ่ทาเกลือโดยวิธีการต้มตั้งอยูบ่ ริ เวณสองข้างทาง ทางหลวงหมายเลข 2092 ด้านหลังติดนา


ข้าว มีลาห้วยซางไหลผ่านบริ เวณบ้านกุดเรื อคา บ้านดอกนอ บ้านจาปาดง บ้านโคกก่ อง บ้านนา
ดอกไม้ บ้านโพธิ์ ศิลา บ้านลือบอง บ้านดงยางจนถึงฝายน้ าล้นห้วยซางบ้านโนนสะอาด อาเภอบ้าน
ม่ ว ง ก่ อนบรรจบห้ ว ยบ่ อแดง ที่ บ ้า นน้ า จั่นแล้ว ไหลสู่ แ ม่ น้ า สงคราม มี ค วามยาวประมาณ 30
กิโลเมตร มีเตาต้มเกลือ ประมาณ 100 เตา ใช้แกลบเป็ นเชื้ อเพลิง มีบ่อสู บน้ าเกลือทั้งหมด 12 บ่อ
ความลึ กอยู่ในช่ วง 80-100 เมตร นอกจากนี้ ก็พบว่ามีทาเกลือตากเล็กน้อยที่บา้ นจาปาดง ตั้งอยู่
บริ เวณสองข้างทางหลวงสาย 2229 มีลาห้วยซางไหลผ่าน สภาพพื้นที่เป็ นพื้นที่ลุ่ม ทาทั้งเกลือตาก
และเกลื อต้มรวมทั้งบริ เวณพื้นที่บา้ นดอกนอ ตาบลอินทร์ แปลง อาเภอวานรนิ วาส ซึ่ งพบปั ญหา
การจัดการขี้เถ้าแกลบจากการต้มเกลือ ที่กองทิ้งไว้ พื้นที่อยูต่ ิดกับพื้นที่เกษตรกรรมทาให้ความเค็ม
แพร่ กระจายออกสู่ พ้ืนที่เกษตรกรรม บ่อสู บน้ าเกลือบางส่ วนอยูห่ ่ างจากถนนสายหลักน้อยกว่า 300
เมตร ซึ่ งไม่ตรงตามหลักเกณฑ์ในเงื่อนไขใบอนุญาตและผูป้ ระกอบการบางรายมีการต้มเกลือนอก
ฤดูการผลิตและลักลอบปล่อยน้ าเสี ยจากลานเกลือลงสู่ หว้ ยซาง
นอกจากนี้ ยงั พบ การทาเกลือที่บริ เวณบ้านคาอ้อ-ดอนแดง ตาบลดงเหนื อ อาเภอบ้าน
ม่วง จังหวัดมีพ้ืนที่ประมาณ 504 ไร่ ทาเกลือตาก เป็ นพื้นที่ลุ่ม บริ เวณโดยรอบพื้นที่เป็ นป่ าบุ่ง ป่ า
ทาม ตามแนวแม่ น้ าสงคราม ในฤดูฝนพื้นที่ บ ริ เวณนี้ จะถู ก น้ าท่ วมซึ่ ง พบว่า เป็ นพื้นที่ ที่ มีค วาม
ขัดแย้ง มายาวนานนับ ตั้ง แต่ เริ่ ม มี ก ารท านาเกลื อและล่ า สุ ด ในเดื อนมกราคม 2554 ได้มี ก าร
เคลื่อนไหวให้ ยกเลิกและไม่ต่ออายุใบอนุญาตทาเกลือในบริ เวณดังกล่าวโดยมีการชุมนุมประท้วง
อย่างต่อเนื่องที่ศาลากลางจังหวัดสกลนคร เพื่อต่อรองให้ยกเลิกการทาเกลืออย่างถาวร
3.พื้นที่จงั หวัดบึงกาฬ มีพ้ืนที่ผลิตเกลือสิ นเธาว์ จานวน 3 พื้นที่ใหญ่ๆ คือบริ เวณบ้าน
เซิ มทุ่ง ตาบลเซิ ม อาเภอโพนพิสัย จังหวัดบึงกาฬ มีพ้ืนที่ประมาณ 67 ไร่ เป็ นพื้นที่โล่ง มีห้วยพอก
และห้วยยางไหลผ่าน มี การทาเกลือโดยวิธีตม้ ในปี 2549 พบว่า มีเตาต้มเกลืออยู่ 2 จุดใหญ่ๆ
ประมาณ 40 เตา บริ เวณบ้านคาแวง ตาบลคาแก้ว อาเภอโซ่ พิสัย มีพ้ืนที่ประมาณ 51 ไร่ เป็ นพื้นที่
ลุ่มห่างจากแม่น้ าสงครามประมาณ 2 กิโลเมตร มีลาน้ าสาธารณะที่อยูใ่ กล้เคียงได้แก่ ลาห้วยเสน่ห์
ไหลผ่านพื้นที่นาเกลื อและไหลลงสู่ แม่น้ าสงคราม เดิ มทาเกลือตากปั จจุบนั พื้นที่แห่ งนี้ ไม่ได้รับ
อนุ ญาตให้ประกอบกิจการจากอุตสาหกรรมจังหวัดตั้งแต่ปี 2547 เพราะมีผลกระทบต่อปลาในลา
น้ าและพื้นที่เกษตร
บริ เวณบ้านท่าสะอาด ตาบลท่าสะอาด อาเภอเซกา ซึ่ งเป็ นบ่อเกลือโบราณที่เกี่ยวเนื่อง
กับประวัติศาสตร์ การขยายตัวของชุ มชนในลุ่มน้ าสงคราม ปั จจุบนั กระทรวงอุตสาหกรรมเห็นว่า
เป็ นการประกอบกิจการเกลือสิ นเธาว์นอกเขตพื้นที่ที่อนุญาตให้ต้ งั โรงงานทาเกลือสิ นเธาว์และโรง
7

สู บหรื อนาน้ าเกลื อขึ้นมาจากใต้ดินตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม มีเตาต้มเกลือ จานวน 13


เตา โดยใช้ฟืนเป็ นเชื้ อเพลิงต้มเกลือ น้ าที่นามาต้มเกลือผูป้ ระกอบการจะขุดเจาะทาบ่อบาดาล ใน
บริ เวณก้นแม่น้ าสงครามจานวน 2 บ่อ ความลึกบ่อละประมาณ 40 เมตร ทั้งนี้ ไม่ได้ขออนุญาตจาก
อุตสาหกรรมจังหวัด แต่มีการจ่ายค่าธรรมเนียมรายปี ให้กบั องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
สภาวะในปั จ จุ บ ัน พบว่ า ในแต่ ล ะพื้ น ที่ แ หล่ ง ผลิ ต เกลื อ ในลุ่ ม น้ าสงครามมี ค วาม
เปลี่ยนแปลงสภาพนิเวศวิทยา และวัฒนธรรมของชุมชนในพื้นที่ทาเกลืออย่างมากและต่อเนื่องมา
เป็ นเวลานาน ประกอบกับปั ญหาผลกระทบ และความขัดแย้งหลายประเด็นได้แก่
1. ผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้ อมทางกายภาพ ได้แก่ปัญหาดินทรุ ดตัว โดยเฉพาะพื้นที่บา้ น
หนองน้ าใส-บ้านโนนดอกไม้แดง พบปัญหาการยุบตัวของแผ่นดินมีความรุ นแรงมากขึ้นในปี 2547
เป็ นเหตุให้ราษฎรที่มีบา้ นเรื อนตั้งอยูใ่ กล้กบั บริ เวณที่มีแผ่นดินทรุ ดตัวเกิดความหวาดกลัวอันตราย
2. ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อมทางชี วภาพ ได้แก่น้ าเค็มจากนาเกลือซึ มหรื อไหลทะลักลงสู่
แหล่งน้ าธรรมชาติจนเกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศของแหล่งประมงน้ าจืด ทาให้สัตว์น้ าและความ
หลากหลายทางชี วภาพในแหล่งน้ าธรรมชาติลดลง เนื่ องจากการกระจายน้ าเค็มลงสู่ แหล่งน้ า ซึ่ ง
ล้วนเป็ นลาน้ าสาขาของแม่น้ าสงครามทั้งสิ้ น ซึ่ งส่ งผลทาให้พ้ืนที่เกษตรกรรมท้ายน้ าเกิดดินเค็ม
3.ผลกระทบต่ อคุณภาพชี วิต ได้แก่ การเกิดความขัดแย้งในชุมชน ระหว่างเกษตรกรรม
และผูผ้ ลิ ตเกลื อสิ นเธาว์ ปั ญหาผลกระทบต่อสิ่ ง แวดล้อมที่เกิ ดจากการผลิ ตเกลื อท าให้เกิ ดการ
ต่อต้านจากชุ มชนที่อยูใ่ กล้เคียง นาไปสู่ ปัญหาสังคม ปั ญหาผลกระทบต่อทัศนียภาพจากกองขี้เถ้า
แกลบรอบเตาต้มเกลือ
อย่างไรก็ตามในทางเศรษฐกิจสังคมอีสานมีเกลือผลักเคลื่อนมาตั้งแต่โบราณ ขณะที่อีก
ด้านหนึ่งเกลือก็ได้สร้างบาดแผลในด้านผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม และความขัดแย้งทางสังคมอย่าง
ต่อเนื่ องเรื่ อยมา ปั จจุบนั ในหลายจังหวัดภาคอีสานพบปั ญหาจากอุตสาหกรรมเกลือที่ขยายตัวมาก
ขึ้ นเมื่ อประเทศไทยพัฒนาอุ ตสาหกรรมมากขึ้ นและมีความต้องการใช้เกลื อมากขึ้ น กรณี วิกฤต
ความเค็มที่ลุ่มน้ าเสี ยว อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ซึ่ งได้เกิดการแพร่ กระจายน้ าเค็มจนทาให้
หนองบ่อบริ เวณต้นสาเสี ยวเค็มกว่าน้ าทะเลสองเท่า และกระจายไปตามลาน้ าเสี ยว ทาให้เกษตรกร
เดือดร้อน พืชพรรณสัตว์น้ าตาย ปั ญหานี้ ก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวทางด้านสิ่ งแวดล้อมครั้งใหญ่ใน
ประวัติศาสตร์ อีสาน โดยประชาชนที่เดือดร้อน นักศึกษา นักวิชาการ และสื่ อมวลชน รัฐบาลใน
ขณะนั้นต้องมีคาสั่งคณะรัฐมนตรี ให้ยุติการทาเกลือในเขตอาเภอบรบือ ปั ญหาลักษณะเดียวกันนี้
8

เกิ ดขึ้ นในพื้นที่ อื่นที่ การท าเกลื อขยายออกไป เช่ น อาเภอพิมาย อาเภอโนนไทย อาเภอโนนสู ง
อาเภอพระทองคา จังหวัดนครราชสี มา
ล่าสุ ดในเดือนธันวาคม 2553 พบว่ามีการเคลื่อนไหวของประชาชนในหมู่บา้ นต่าง ๆ ใน
เขตตาบลดงเหนื อ-อาเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร เรี ยกร้องให้หยุดต่อใบอนุญาตทาเกลือในเขต
ป่ าทามลุ่มน้ าสงครามที่ส่งผลกระทบต่อพื้นที่เกษตรกรรมและลาห้วยซาง ลาน้ าสาขาของแม่น้ า
สงคราม ปั ญหาเช่ นนี้ เกิดขึ้นหลายครั้งในพื้นที่วิกฤตผลกระทบจากการผลิตเกลือในชุ มชนต่าง ๆ
ของลุ่มน้ าสงครามซึ่ งมีแนวโน้มรุ นแรงขึ้น
จากการสารวจของกรมทรัพยากรธรณี พบว่าในแอ่งโคราชและแอ่งสกลนครมีปริ มาณ
ของแร่ เกลือหิ นประมาณ 18 ล้านล้านตันอยูใ่ ต้ดิน ปั จจุบนั พบว่าภาคอีสานมีพ้ืนที่ดินเค็มประมาณ
17.8 ล้านไร่ แบ่งเป็ นดินเค็มจัดประมาณ 1.5 ล้านไร่ ดินเค็มปานกลาง 3.7 ล้านไร่ และดินเค็มน้อย
12.6 ล้านไร่ และดินที่มีศกั ยภาพที่จะเป็ นดินเค็มอีกประมาณ 19.4 ล้านไร่ (กรมพัฒนาที่ดิน. 2540)
รวมทั้งหมด 37.2 ล้านไร่ พบกระจายอยูท่ ว่ั ไปในที่ราบลุ่มของแอ่งทั้งสอง คิดเป็ นสัดส่ วนพื้นที่ดิน
เค็มคิดเป็ น 1 ใน 3 ของพื้นที่ภาคอีสานทั้งหมด
ปั จจุ บ นั สั ง คมไทยมี ก ารพัฒนาภาคอุ ตสาหกรรมเพิ่ ม มากขึ้ น มี ค วามต้องการเกลื อ
บริ สุทธิ์ ใต้ดินอีสานมากขึ้น นอกเหนือจากการทาเกลือแบบต้มและตาก และการทาเหมืองละลาย
เกลื อหิ น แล้วปั จจุ บนั รั ฐบาลไทยได้มีการวางแผนเพื่อนาเกลื อใต้ดินในภาคอีสานขึ้ นมาใช้เพื่อ
อุ ตสาหกรรม โดยกรมอุ ตสาหกรรมพื้ นฐานและการเหมื องแร่ กระทรวงอุ ตสาหกรรม ได้เริ่ ม
สารวจแหล่งเกลื อหิ นและแร่ โพแทชในภาคอีสาน ทั้งในแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มาตั้งแต่ปี
พ.ศ.2516 และปั จจุบนั รัฐบาลไทยโดยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้กาหนดให้มี
การจัดทาแผนแม่บท ‘ยุทธศาสตร์ อุตสาหกรรมเหมืองแร่ และอุตสาหกรรมต่ อเนื่อง’ เมื่อปี 2547


แผนแม่บท‘ยุทธศาสตร์ อุตสาหกรรมเหมืองแร่ และอุตสาหกรรมต่ อเนื่อง’ ได้วางกลยุทธ์การพัฒนาแหล่งแร่ โพ
แทชในภาคอีสานเอาไว้ดงั นี้ กลยุทธ์ ที่ 1 – เพื่อสนับสนุนให้มีการเพิ่มมูลค่าของเกลื อที่เป็ นผลพลอยได้จากเหมืองแร่ โพแทชให้เป็ น
เกลืออุตสาหกรรมภายในเวลา 4 ปี (2548 – 2551) กลยุทธ์ ที่ 2 - เพื่อสนับสนุ นให้มีการส่ งออกเกลื อบริ โภคและเกลื ออุตสาหกรรม
เพิ่มขึ้น ทาให้เกิ ดการระบายเกลื อจากระบบสู่ ตลาดต่างประเทศภายในเวลา 4 ปี (2548 – 2551) กลยุทธ์ ที่ 3 – เพื่อให้ประชาชนและ
ผูบ้ ริ โภคต่างๆ มีความเข้าใจ ยอมรับและนิ ยมบริ โภคเกลือเสริ มไอโอดี นภายใน 4 ปี (2548 – 2551) กลยุทธ์ ที่ 4 – เพื่อให้มีการแบ่งส่ วน
ตลาดระหว่างเกลื อจากเหมืองละลายแร่ และเกลื อที่เป็ นผลพลอยได้จากเหมืองแร่ โพแทชเพื่อให้ผูป้ ระกอบการสามารถดาเนิ นการ
ผลิตร่ วมกันต่อไปได้อย่างมีดุลยภาพภายในเวลา 4 ปี กลยุทธ์ ที่ 5 – เพื่อให้ผปู้ ระกอบการเกลือสิ นเธาว์และเกลือทะเลมีประสบการณ์
ความรู ้ และเทคโนโลยีในการเพิ่มมูลค่าของเกลื อให้เหมาะกับความต้องการของตลาดภายใน 4 ปี กลยุทธ์ ที่ 6 – เพื่อให้บุคลากร
ภาครัฐและเอกชนมีประสบการณ์และความรู ้ความสามารถในการเพิ่มมูลค่าเกลือให้เป็ นเกลื ออุตสาหกรรมภายใน 4 ปี กลยุทธ์ ที่ 7 –
9

โดยตั้งเป้ าผลักดันโครงการเหมื องแร่ โพแทชอย่างน้อย 3 แห่ ง คือ โครงการเหมืองแร่ โพแทช


จังหวัดอุดรธานี ของบริ ษทั เอเชี ย แปซิ ฟิค โพแทช คอร์ ปอเรชัน่ จากัด ในเครื อบริ ษทั อิตาเลียน
ไทย จากัด มหาชน โครงการเหมืองแร่ โพแทชบาเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ ของบริ ษทั เหมืองแร่
โพแทชอาเซี ยน จากัด เป็ นโครงการความร่ วมมือของประเทศในอาเซี ยน และโครงการเหมืองแร่
โพแทชจังหวัดสกลนคร โดยบริ ษทั ไชน่า หมิงต๋ า โพแทช คอร์ ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จากัด เป็ น
บริ ษทั จากประเทศจีน โดยตั้งเป้ าจะให้ไทยเป็ นศูนย์กลางการผลิตและจาหน่ายปุ๋ ยโพแทชและเกลือ
ในภูมิภาคอาเซี ยน ตลอดจนส่ งเสริ มให้มีการผลิตและใช้เกลือที่ได้จากเหมืองละลายแร่ (ของบริ ษทั
เกลือพิมาย จากัด) และเกลือที่เป็ นผลพลอยได้จากเหมืองแร่ โพแทชทั้ง 3 แห่งในอุตสาหกรรม
ตามยุทธศาสตร์ อุตสาหกรรมเหมืองแร่ และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เพื่อส่ งเสริ มให้มีการ
ผลิ ตและใช้เกลื อที่ได้จากเหมืองละลายแร่ และเกลือที่เป็ นผลพลอยได้จากเหมืองแร่ โพแทชทั้ง 3
แห่ ง นอกจากนี้ ยัง มี แนวทางการพัฒ นาแหล่ ง แร่ เกลื อและโพแทชในพื้น ที่ ใ นเขตอี ส านใต้คื อ
จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดนครราชสี มา จังหวัดขอนแก่น อีก 5 โครงการรวมแล้วต้องการผลักดัน
โครงการเหมืองแร่ โพแทชอย่างน้อย 8 โครงการใน 6 จังหวัด โดยมุ่งให้ภาคอีสานของไทยเป็ น

เพื่อควบคุ มไม่ให้มีผลผลิ ตเกลื อจากเหมื องละลายแร่ ให้มีสัดส่ วนไม่เพิ่มขึ้นและลดลงในตลาด ภายใน 4 ปี ( กรมอุตสาหกรรม


พื้นฐานและการเหมืองแร่ , 2547)

จากการประชุมสุ ดยอดของผูน้ ารัฐบาลอาเซี ยน เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2519 ณ เมืองบาหลี ประเทศอินโดนี เซี ย
ผูน้ ารัฐบาลอาเซี ยนได้ลงนามในปฏิญญาสมานฉันท์อาเซี ยน (Declaration of ASEAN Concord) โดยเห็ นพ้องต้องกันว่าประเทศ
สมาชิ กควรจะร่ วมมื อจัดตั้งโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ของอาเซี ยน ประเทศละ 1 โครงการ โดยใช้วตั ถุ ดิบที่มีอยูใ่ นประเทศ
สมาชิ ก เพื่อสนองความต้องการผลิ ตภัณฑ์ที่สาคัญทางอุ ตสาหกรรมของภู มิภาคนี้ และเป็ นการเพิ่มรายได้และประหยัดเงิ นตรา
ต่างประเทศ รวมทั้งการสร้างงานให้กบั คนในชาติดว้ ย ปั จจุบนั ประเทศอินโดนี เซี ยและมาเลเซีย มีโครงการผลิตปุ๋ ยยูเรี ยประเทศละ 1
โครงการ ประเทศฟิ ลิปปิ นส์มีโครงการแปรรู ปทองแดง ประเทศไทยในตอนแรกได้เสนอโครงการผลิตเกลือหิ นและโซดาแอช เมื่อ
ปี 2519 แต่มีเหตุให้ตอ้ งล้มเลิกไป แล้วจึงได้เปลี่ยนมาเป็ นโครงการเหมืองแร่ โพแทชบาเหน็จณรงค์ เมื่อปี 2532 (เลิ ศศักดิ์ คาคงศักดิ์
และเบญจรัชต์ เมืองไทย, 2549 : 20)

โครงการพัฒนาเหมื องแร่ โพแทชในภาคอี สาน ได้แก่ โครงการเหมื องแร่ โพแทชจังหวัดอุดรธานี ของบริ ษทั
เอเชีย แปซิ ฟิค โพแทช คอร์ ปอเรชัน่ จากัด ในเครื อบริ ษทั อิตาเลี ยนไทย จากัด มหาชน, โครงการเหมืองแร่ โพแทชบาเหน็จณรงค์
จังหวัดชัยภูมิ ของบริ ษทั เหมืองแร่ โพแทชอาเซี ยน จากัด ของอาเซี ยน,โครงการเหมืองแร่ โพแทชจังหวัดสกลนคร ของบริ ษทั ไชน่ า
หมิงต๋ า โพแทช คอร์ ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จากัด ของบริ ษทั จากประเทศจีน ,โครงการเหมืองแร่ โพแทชจังหวัดนครราชสี มา ของ
บริ ษทั เหมืองไทยสิ นทรัพ ย์ จากัดและบริ ษทั ธนสุ นทร (1997) จากัด ,โครงการเหมื องแร่ โพแทชจังหวัดขอนแก่ น ของบริ ษทั
กรุ งเทพโยธาอุตสาหการ จากัด และโครงการเหมืองแร่ โพแทชจังหวัดมหาสารคาม ของบริ ษทั ไทยสารคาม อะโกร โพแทช จากัด
(กลุ่มนิ เวศวัฒนธรรมศึกษา, 2549) และโครงการเหมืองแร่ โพแทชอาเภอด่านขุนทด ของบริ ษทั ไทคาลิ จากัด
10

ศูนย์กลางการผลิตและจาหน่ายปุ๋ ยโพแทชและเกลือในเอเซีย และส่ งเสริ มให้มีการผลิตและใช้เกลือ


ที่เป็ นผลพลอยได้จากเหมืองแร่ โพแทช ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ
จะเห็ นได้ว่า แนวทางการพัฒนาการนาเกลื อและแร่ โพแทชมาใช้ ดังกล่ าวมาย่อมจะ
ส่ งผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยา ตลอดจนสังคม วัฒนธรรม และสุ ขภาวะ ของคนในชุมชนอีสาน
อย่างมาก หากกล่ าวเฉพาะพื้นที่ ลุ่มน้ าสงครามก็พบว่าได้มีโครงการเหมืองแร่ โพแทชสกลนคร
อาเภอวานรนิ วาส จังหวัดสกลนคร และโครงการเหมืองแร่ โพแทชอุดรธานี ที่เกี่ยวข้องใกล้ชิดกับ
ระบบนิ เวศวิทยาในลุ่มน้ าสงครามตอนบนดังนั้นหากมีการพัฒนาโครงการเหมืองแร่ ใต้ดินขนาด
ใหญ่น้ ี ซ่ ึ งถือได้วา่ เป็ นแนวทางปฏิวตั ิอุตสาหกรรมเกลือและแร่ โพแทชในพื้นที่อีสานตอนบนแล้ว
มันจะทาให้ชุมชนในลุ่มน้ าสงครามจะมีโฉมหน้าที่เปลี่ยนแปลงไปเช่นไรในอนาคต
เมื่ อเกลื อเป็ นองค์ประกอบใหญ่ ในระบบนิ เวศ เป็ นแร่ ธาตุจาเป็ น ทาให้มนุ ษย์ได้ก่ อ
ความสัมพันธ์ ระหว่างระบบนิเวศ-เกลือ – คน- ชุมชน-สังคม ทั้งในแง่ความรู้ เทคโลโลยี ตลอดจน
ความคิด ความเชื่อ หรื อการให้คุณค่าเกี่ยวกับเกลือ ดังนั้นอธิ บายว่าเกลือเข้ามามีบทบาทอย่างไรกับ
ชุมชน ในทางนิเวศ วัฒนธรรม และบทบาทนั้นมีผลอย่างไรกับสุ ขภาวะของคนในชุมชน ท่ามกลาง
พัฒนาการทางเทคโนโลยีและเศรษฐกิจ สังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว งานศึกษานี้ จึงมุ่งค้นหา
ว่าที่ผา่ นมาในชุมชนที่มีระบบนิเวศซึ่ งมีโครงสร้างทางธรณี วทิ ยาที่ประกอบด้วยเกลือ –โพแทช นั้น
ได้มี ก ารพัฒ นาหรื อ รู ป แบบความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่า งคนในชุ ม ชนกับ เกลื อ ในระบบนิ เ วศ และ
ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนในชุ มชน รวมทั้งระหว่างคนในชุ มชนกับสังคมภายนอกอย่างไร
เพื่อที่จะอธิ บายว่าความสัมพันธ์กบั เกลือดังกล่าวก่อความเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ สังคม
วัฒนธรรม และระบบนิ เวศในชุ มชนอย่างไร และส่ งผลอย่างไรต่อสุ ขภาวะของผูค้ น ระบบนิ เวศ
รวมทั้งอธิ บายถึงคนในชุมชนว่ามีการปรับตัวกับรู ปแบบการใช้ประโยชน์จากเกลืออย่างไร
2. วัตถุประสงค์
2.1. อธิบายพัฒนาการของรู ปแบบการผลิตและใช้เกลือที่สัมพันธ์กบั ชุมชนต่างๆ ในลุ่ม
น้ าสงครามตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั
2.2. วิเคราะห์ปัจจัยที่ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงบทบาทของเกลือ และผลกระทบของ
การเปลี่ยนนั้นต่อความสัมพันธ์ของคนกับนิเวศวิทยา วัฒนธรรม และสุ ขภาวะของชุมชนในลุ่มน้ า
สงคราม
11

3. ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ


ชี้ ให้เห็นความเปลี่ยนแปลงของรู ปแบบการผลิตเกลือที่มีผลต่อความสัมพันธ์ของเกลือ
กับผูค้ น ในทางนิเวศวิทยา วัฒนธรรม และสุ ขภาวะชุมชนลุ่มน้ าสงครามในฐานะที่เป็ นระบบนิเวศ
ย่อยระบบหนึ่งของภาคอีสาน
4. ขั้นตอนและวิธีการศึกษา

การวิจยั นี้เป็ นงานวิจยั เชิ งคุณภาพทางมานุษยวิทยา (Qualitative Methods in Cultural


Anthropology) เพื่อศึกษาปรากฏการณ์ทางสังคม วัฒนธรรม และนิเวศวิทยาในชุมชน มีข้ นั ตอน
การดาเนินการศึกษาดังนี้

4.1. การค้ นคว้ าจากเอกสารและตาราที่เกี่ยวข้ อง(Pre-existing information review)


เป็ นการค้นคว้าข้อมูลชั้นสองจากหนังสื อ งานวิจยั ข้อมูลทางอินเตอร์ เน็ต เพื่อรวบรวมติดตามและ
วิเคราะห์ขอ้ มูลในเรื่ องเกลือด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี , ความรู้ทางธรณี วิทยาเกี่ ยวกับเกลือ,
เทคโนโลยีการผลิตเกลือในภาคอีสาน, ผลกระทบของอุตสาหกรรมเกลือกับสิ่ งแวดล้อมและสังคม
ในภาคอีสาน,นโยบายและแผนการพัฒนาของภาครัฐ รวมถึงการศึกษาสารวจแนวคิดทฤษฎีดา้ น
นิเวศวิทยาวัฒนธรรม (Cultural Ecology) และนิเวศวิทยาสุ ขภาวะ (Eco-Health) เพื่อค้นหาความรู้
พื้นฐาน และแนวคิดทฤษฎีเป็ นข้อมูลเพื่อหาข้อสังเกตเบื้องต้น ก่อนลงศึกษาภาคสนาม

4.2. การเก็บข้ อมูลภาคสนาม เน้นการเก็บข้อมูลภาคสนามในชุมชนที่ใช้เป็ นกรณี ศึกษา


ในช่วงทาการผลิตเกลือ หลังฤดูฝนประมาณช่วงเดือนตุลาคม- เมษายนของทุกปี นอกเหนือจากนั้น
จะเป็ นการศึกษาสังเกตการณ์ ในบริ บททางฤดูกาลที่เกี่ ยวข้อง การศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล
ภาคสนามในชุ มชนทาโดยอาศัยแนวประเด็น การศึกษาประกอบกับเทคนิ คการทางานภาคสนาม
ทางมานุษยวิทยาดังนี้
การสั งเกตการณ์ อย่ างมีส่วนร่ วม (Participatory Observation) ในพิธีกรรมเกี่ยวกับ
เกลือ หรื อการทางานในแหล่งทาเกลือแบบต่างๆ ในพื้นที่ศึกษา โดยการเข้าร่ วมในกิจกรรมและ
ร่ วมงานต่างๆ กับชาวบ้านนับตั้งแต่ข้ นั เตรี ยมการระหว่างดาเนิ นการและภายหลังสิ้ นสุ ดกิ จกรรม
เพื่ อเรี ย นรู้ จากปรากฏการณ์ หรื อสถานการณ์ จริ ง ในบริ บทที่ แวดล้อมจริ ง ตลอดจนการแสดง
บทบาทของผูเ้ ข้าร่ วมกิ จกรรมหรื อสมาชิ กในชุ มชน รวมทั้งสังเกตอย่างมีส่วนร่ วมในการทางาน
ของคนงานทาเกลือแบบต่างๆ ตลอดจนกิจกรรมภายในชุมชน
12

สั มภาษณ์ (Interview) เป็ นการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง(semi-structured interview)


โดยมีประเด็นศึกษาซึ่ งเป็ นแนวคาถามอย่างกว้างๆ (ดังรายละเอียดในตารางที่ 1 ) เป็ นเครื่ องมือ
ประกอบการสัมภาษณ์ โดยเลือกผูใ้ ห้ขอ้ มูล (Key Informants) ให้ครอบคลุมประเด็นคาถามให้มาก
ที่สุด ได้แก่ผปู ้ ระกอบการเกลือ คนงานทาเกลือ ผูน้ าชุมชน ผูใ้ หญ่บา้ น เจ้าจ้ า เป็ นต้น

ตารางที่ 1 ลักษณะประเด็นการศึกษาและลักษณะของข้อมูลที่ตอ้ งการ

ประเด็นการศึกษา ลักษณะข้ อมูลทีต่ ้ องการ


1. ประวัติศาสตร์และสภาวะชุมชน ความเป็ นมาของชุ มชน เรื่ องเล่าถึงความเป็ นมาของ
บรรพบุรุษ สภาวะทางเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ
การรวมกลุ่ม การจัดองค์กรภายในชุมชน
2.สภาพนิเวศวิทยาในชุมชน ลักษณะพืน้ ที่ รู ปแบบของระบบนิเวศ การใช้ประโยชน์
ทรัพยากรธรรมชาติ(เกลือ) สภาพปริ มาณ สถานการณ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม การดูแลรักษา
องค์กรชุมชนที่เกี่ยวข้อง สภาพความเปลี่ยนแปลง
3. ความเชื่อ ศาสนาและพิธีกรรมที่ ความเชื่อ เกี่ยวกับสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ผี ตานาน หรื อนิทาน
เกี่ยวกับเกลือ เรื่ องเล่าเกี่ยวกับที่มาประวัติความเป็ นมาของเกลือ
พิธีกรรม เกี่ยวกับความสาคัญของพิธีกรรม เหตุผลใน
การทาพิธีกรรม ช่วงเวลา ผูน้ า ผูเ้ ข้าร่ วม พฤติกรรมหรื อ
คาพูดที่ใช้ในพิธีกรรม สัญลักษณ์ที่ใช้ อุปกรณ์เครื่ องมือ
สถานที่ ความสัมพันธ์ของพิธีกรรมกับระบบนิเวศ
4. ความเป็ นมาของการทาเกลือแบบ ประวัติพฒั นาการการทาเกลือแบบต่าง ๆ ได้แก่การทา
ต่าง ๆ เกลือพื้นบ้าน,การทาเกลือแบบต้ม,การทาเกลือแบบตาก,
และแนวโน้มการทาเหมืองแร่ ใต้ดิน
13

ตารางที่ 1 ลักษณะประเด็นการศึกษาและลักษณะของข้อมูลที่ตอ้ งการ (ต่อ)

ประเด็นการศึกษา ลักษณะข้ อมูลทีต่ ้ องการ


5. สภาพการผลิตเกลือในปัจจุบนั วิธีการทาเกลือ เทคโนโลยีที่ใช้ ปริ มาณกาลังการผลิต
ตลาด การรวมกลุ่มของผูผ้ ลิต ลักษณะการทางานของ
คนงานทาเกลือ รายได้จากการทางานผลิตเกลือ รายได้
จากการผลิตเกลือ เส้นทางค้าขายเกลือ กฎหมาย
นโยบายที่เกี่ยวข้อง

6. สภาพปัญหาในการผลิตเกลือแต่ละ ปัญหาสิ่ งแวดล้อม ดินทรุ ด การกระจายของดินเค็ม


แบบ น้ าเค็ม ความเสื่ อมโทรมของดิน ฯลฯ
ปัญหาสั งคม เช่น ความขัดแย้ง และการแก้ไขปัญหา
ปัญหาเศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิต เทคโนโลยี การตลาด
ตลอดจนแนวทางหรื อวิธีการรับมือ หรื อแก้ไขปัญหา
กลุ่มคนที่เข้ามาเกี่ยวข้อง เป็ นต้น
ปัญหาสุ ขภาวะ ของคนงานนาเกลือ และคนในชุมชน

การสั มภาษณ์ เชิ งลึก (In Depth Interview) เป็ นการสัมภาษณ์ที่ไม่มีการกาาหนดกฎ


เกณฑ์เกี่ ยวกับคาถามและลาดับขั้นตอนของการสัมภาษณ์ไว้ล่วงหน้า เป็ นการพูดคุยสนทนาตาม
ธรรมชาติ(Naturalistic Inquiry) การสัมภาษณ์แบบนี้ใช้ในกรณี ที่พบสถานการณ์ความขัดแย้ง เช่น
ผูไ้ ด้รับผลกระทบจากการทานาเกลือบางราย หรื อ ผูป้ ระกอบการรายใหญ่ในชุมชน เป็ นต้น

สนทนากลุ่ม(Focus Group) ชาวบ้านทัว่ ไป คนทาเกลือ เจ้าของกิจการทาเกลือหรื อ


ผูป้ ระกอบการ เช่น สหกรณ์ผผู ้ ลิตและค้าเกลือ กลุ่มผูห้ ญิง กลุ่มผูน้ าชุมชน กลุ่มวัยแรงงาน เพื่อให้
ทราบถึงทัศนะของพวกเขาต่อสภาพนิเวศวิทยาและวัฒนธรรมของชุมชน

4.3. สั งเคราะห์ ข้อมูล โดยการจัดระบบข้อมูลที่ได้เพื่อใช้ในการวิเคราะห์และนาเสนอ


ผลการศึกษาต่อไป
14

4.4. การวิเคราะห์ และนาเสนอผลการศึกษา ข้อมูลที่ได้จากการทางานศึกษาภาคสนาม


จะนามาสังเคราะห์ และวิเคราะห์เชิงระบบโดยยึดเอาชุมชนที่ต้ งั อยูใ่ นลุ่มน้ าเป็ นหน่วยการวิเคราะห์
เพื่อให้สามารถมองเห็ นรู ปแบบการปรับตัวและแบบแผนความสัมพันธ์ระหว่างชุ มชนกับระบบ
นิ เวศลุ่มน้ าสงครามซึ่ งมีเกลื อประกอบอยู่ในชุ มชนที่ศึกษานั้น โดยใช้วิธีการนาเสนอข้อมูลเป็ น
การอธิบายแบบบรรยายหรื อพรรณนาให้เห็นภาพรวม เงื่อนไข และพัฒนาการ และปรากฏการณ์ที่
เกี่ยวข้องเฉพาะของชุมชนทาเกลือในลุ่มน้ า (Watershed) โดยการศึกษาสารวจภาคสนามแบบศึกษา
สังเกตครอบคลุ ม ชุ ม ชนหลายชุ มชนที่มี การผลิ ตเกลื อแบบต่างๆ แต่ จะเน้นการศึ กษาเชิ งลึ กใน
ชุมชนบ้านโนนสะแบง ในฐานะชุ มชนในระบบนิเวศท้องถิ่ น(local ecosystem) อันมีระบบนิเวศ
ย่อยที่มีรูปแบบการใช้ที่ดินในทาเลที่ต้ งั (landscape ecosystem) ซึ่ งมีแหล่งทาเกลือตั้งอยู่ และทุก
ส่ วนล้วนแต่อยู่ภายใต้ระบบนิ เวศที่ใหญ่ข้ ึนคือระบบนิ เวศ (ecosystem) ลุ่มน้ าสงครามที่อยู่ใน
ระบบนิเวศภาคอีสาน(regional ecosystem) โดยได้เสนอผลการศึกษาออกเป็ น 6 บท ดังนี้

บทที่ 1 บทนา กล่ าวถึ งความเป็ นมาและความส าคัญของปั ญหา วัตถุ ป ระสงค์ของ
การศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการศึกษา วิธีการที่ใช้ในการศึกษา แนวคิดทฤษฎีหรื อ
กระบวนทัศน์ที่ใช้ในการศึกษา และทบทวนวรรณกรรมและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

บทที่ 2 พัฒนาการอุตสาหกรรมเกลือในลุ่มนา้ สงคราม กล่าวถึงประวัติศาสตร์และ


พัฒนาการการทาเกลือในลุ่มน้ าสงครามในช่วงเวลาต่าง ๆ

บทที่ 3 ชุ มชนแหล่ ง ผลิต เกลือ ในลุ่ม น้า สงครามกับ ความเปลี่ยนแปลง ในบทนี้ จะ


นาเสนอข้อมูลการผลิ ตเกลื อในพื้นที่ศึกษาหลักคือ ชุ มชนแหล่ งผลิ ตเกลื อแบบนาเกลื อหมู่บา้ น
ดอกไม้แดง ตาบลหนองน้ าใส อาเภอสี สวย จังหวัดสกลนคร โดยมีขอ้ มูลเปรี ยบเทียบกับรู ปแบบ
การผลิตเกลือแบบอื่นประกอบได้แก่ การผลิตแบบต้มด้วยฟื น การผลิตเกลือต้มด้วยเชื้ อเพลิงแกลบ
และชุมชนในพื้นที่โครงการเหมืองแร่ เกลือและโพแทชสกลนคร

บทที่ 4 ผลกระทบจากการผลิตเกลือในชุ มชนลุ่มนา้ สงคราม

บทที่ 5 บทวิเคราะห์ : ชุ มชนในนิเวศแหล่งผลิตเกลือ

บทที่ 6 สรุ ปและอภิปรายผล


15

5. ขอบเขตการศึกษา
5.1. ขอบเขตพืน้ ที่
พื้นที่วจิ ยั หลักคือชุมชนแหล่งผลิตเกลือแบบทานาเกลือแห่งหนึ่งในจังหวัดสกลนคร ใน
งานศึ กษานี้ จะใช้ชื่อสมมุติว่า หมู่บา้ นดอกไม้แดง ตาบลหนองน้ าใส อาเภอสี สวย และพื้นที่
สังเกตการณ์ การทาเกลือด้วยเทคโนโลยีที่แตกต่างกัน แบบกว้างๆ ได้แก่ บ่อหัวแฮด บ่อเกลือกลาง
ลาน้ าสงคราม บ้านท่าสะอาด อาเภอเซกา จังหวัดหนองคาย พื้นที่ที่ผลิตเกลือแบบต้มด้วยฟื น, การ
ต้มเกลือด้วยแกลบเพื่ออุตสาหกรรม บ้านกุดเรื อคา อาเภอวานรนิวาส จัง หวัดสกลนคร เป็ นพื้นที่ที่
ผลิ ตเกลื อแบบต้มเพื่ออุตสาหกรรม และพื้นที่โครงการเหมืองแร่ โพแทชจังหวัดสกลนคร อาเภอ
วานรนิวาส จังหวัดสกลนคร พื้นที่โครงการเหมืองแร่ เกลือและโพแทชใต้ดิน เพื่อชี้ ให้เห็นรู ปแบบ
การผลิตเกลือที่หลากหลาย
5.2. ขอบเขตเนือ้ หา
ในงานศึกษานี้ เน้นศึกษาถึงความสัมพันธ์ของชุมชนในลุ่มน้ าสงครามกับเกลือที่อยูบ่ น
ผิวดิ น และใต้ดิน ว่า มี บทบาทในทางนิ เวศวิท ยา วัฒนธรรม และสุ ข ภาวะ อันเกิ ดจากลัก ษณะ
ธรณี วิทยาที่ประกอบไปด้วยเกลือปริ มาณมหาศาล ซึ่ งเป็ นปั จจัยสาคัญต่อพัฒนาการทางเศรษฐกิ จ
สังคม วัฒนธรรมของชุ มชน มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เรื่ อยมาจนปั จจุบนั ผ่านรู ปแบบการ
เปลี่ ยนแปลงทางเทคโนโลยีการผลิ ต การบริ โภค และการจัดการเกลื อ ซึ่ งมีผลต่อความสัมพันธ์
ระหว่างคนในชุมชนกับระบบนิ เวศวิทยา และระหว่างสมาชิกภายในชุมชน และระหว่างชุมชนกับ
สังคมภายนอก อย่างมีนยั สาคัญ
5.3. ระยะเวลาในการศึกษา
ระหว่างกุมภาพันธ์ 2554 - มกราคม 2555 รวมเวลา 1 ปี
6. ข้ อจากัดของการศึกษา
พื้ น ที่ ก ารประกอบการเกลื อ เพื่ อ อุ ต สาหกรรมมัก เป็ นพื้ น ที่ ที่ มี ค วามขัด แย้ง จาก
ผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิ จ และผลกระทบจากการท าเกลื อ ท าให้เกิ ดปั ญหาความไม่ ไ ว้วางใจ
บุ ค คลภายนอกที่ เ ข้า ไปศึ ก ษาข้อ มู ล ในชุ ม ชน ส่ ง ผลให้ย ากแก่ ก ารเข้า ถึ ง แหล่ ง ข้อ มู ล ทั้ง ฝ่ าย
ผูป้ ระกอบการ และผูท้ ี่ได้รับผลกระทบ ผูศ้ ึกษาพยายามแก้ไขปั ญหาโดยการเข้าไปอยู่ในชุ มชน
อย่างต่อเนื่ อง เพื่อร่ วมกิจกรรมต่างๆในชุ มชน และเน้นการเก็บข้อมูลโดยการสังเกตการณ์อย่างมี
16

ส่ วนร่ วม รวมทั้งการสัมภาษณ์อย่างไม่เป็ นทางการ คือไม่กาหนดกฎเกณฑ์รูปแบบคาถามที่ตายตัว


หรื อไม่ลาดับขั้นตอนของการสัมภาษณ์ไว้ล่วงหน้า เป็ นการพูดคุยสนทนาตามธรรมชาติ ในกรณี ที่
พบสถานการณ์ความขัดแย้ง และในวิธีการการสนทนากลุ่มย่อยอย่างไม่เป็ นทางการ เพื่อลดความ
ภาวะความหวาดระแวง ทั้งนี้ ในการนาเสนอผลการวิจยั ได้ผวู้ ิจยั ได้ใช้ชื่อสมมุติแทนบุคคล และ
สถานที่เพื่อเป็ นการปกป้ องแหล่งข้อมูล ลดความขัดแย้งที่อาจจะตามมาหลังการเผยแพร่ ผลการวิจยั
ออกไปแล้ว
ตารางที่ 2 แผนการดาเนินการศึกษาระยะเวลา 1 ปี

กิจกรรม ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.
54 54 54 54 54 54 54 54 54 54 54 55
1.ทบทวนวรรณกรรมที่
เกี่ยวข้อง/ศึกษาเอกสารตาม
ห้2.เก็
องสมุ
บข้อดมูต่ลาภาคสนามเป็
งๆ น
ระยะๆ
3.สังเคราะห์ขอ้ มูลที่ได้ท้ งั จาก
เอกสารและภาคสนามพัฒนาผล
การศึกษาเบื้องต้น
4. ประมวลความคิดเห็นเพื่อ
ปรับปรุ งข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูล
5.สรุ ปอภิปรายผล

7. แนวคิดทีใ่ ช้ ในการศึกษา
7.1 แนวคิดนิเวศวัฒนธรรม (Cultural Ecology)
แนวคิดนิ เวศวัฒนธรรม (Cultural Ecology) เป็ นแนวคิดที่เน้นศึกษาถึงอิทธิ พลของ
สิ่ งแวดล้อมที่เป็ นตัวกาหนดกระบวนการวิวฒั นาการทางสังคมวัฒนธรรม มองสังคมในลักษณะ
เป็ นพลวัตหรื อเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลาและวิวฒั นาการทางวัฒนธรรมนั้นวางอยูบ่ นรากฐานของ
เหตุผล แนวคิ ดนี้ จึงยังคงคาบเกี่ ยวกับแนวคิดวิวฒั นาการ ในการอธิ บายถึ งพัฒนาการของสังคม
มนุ ษย์ที่ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม โดยมีพ้ืนฐานสาคัญคือ เทคโนโลยีการผลิต โครงสร้าง
17

สังคมและสิ่ งแวดล้อมทางธรรมชาติที่เป็ นตัวกาหนดการปรับตัวของสังคมวัฒนธรรม (ยศ สันต


สมบัติ, 2544: 34 – 36) แนวคิดนี้ เป็ นวิธีคิดแบบองค์รวมไม่แยกส่ วน โดยพยายามทาความเข้าใจ
สภาพความเป็ นจริ ง ในการอยู่ร่วมกันระหว่างมนุ ษย์และสิ่ งแวดล้อม ซึ่ ง มีป ฏิ สัมพันธ์ กนั อย่า ง
ซับ ซ้ อนภายใต้เงื่ อนไขพื้น ที่ เฉพาะในระบบนิ เวศที่ แ ตกต่ า งกัน อันมี เ หตุ ผ ลของแต่ ล ะชุ ม ชน
ท้องถิ่นเพื่อทาหน้าที่เป็ นกลไกในการปรับตัวของมนุษย์เข้ากับสภาพแวดล้อมเพื่อรักษาสมดุลและ
ความมัน่ คงของการดารงชี วิตอยูร่ ่ วมกันอย่างต่อเนื่อง เป็ นแนวคิดที่พฒั นามาจากความคิดที่โต้แย้ง
กับข้อสรุ ปของทฤษฎีวิวฒั นาการซึ่ งเชื่ อว่าพัฒนาการของสังคมวัฒนธรรมนั้นพัฒนามาเป็ นลาดับ
ขั้นเหมือนกันเป็ นเส้นตรง แต่มโนทัศน์ ‚นิเวศวัฒนธรรม‛ มีมุมมองการวิเคราะห์ที่แตกต่างออกไป
โดยขยายความคิดว่าวัฒนธรรมของมนุษย์น้ นั สัมพันธ์กบั ธรรมชาติส่ิ งแวดล้อม และถือเป็ นแนวคิด
ที่ได้รับอิทธิพลทางความคิดจากความรู้ทางนิเวศวิทยา
การศึกษาวิเคราะห์ตามแนวคิดนี้ จะอธิ บายถึงการปรับตัวทางสังคมและวัฒนธรรมในการ
ใช้ท รั พ ยากรเพื่ อการยัง ชี พ หรื อเคลื่ อนพัฒนาไปของสัง คมมนุ ษ ย์ โดยให้ค วามส าคัญกับ การ
วิเคราะห์สถาบันวัฒนธรรม เช่น การมองพิธีกรรม ในฐานะที่เป็ นกลไกในการควบคุมระบบนิเวศ
ให้สมดุล ซึ่ งสัมพันธ์กบั ปรากฏการณ์ในเรื่ องวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อมของโลกในช่วงศตวรรษที่ 19
แนวคิดนิเวศวัฒนธรรมจึงแตกแขนงออกมา ด้วยความตระหนักถึงปัญหาสิ่ งแวดล้อม
เลสลี ไวท์ (Leslie White) เป็ นนักมานุ ษ ยวิทยาอเมริ กนั คนหนึ่ งซึ่ งศึกษาอิทธิ พลของ
สภาพแวดล้อมต่อการปรับตัวทางวัฒนธรรม เห็นว่าทฤษฎีวิวฒั นาการมีหลักเกณฑ์ในการตี ความ
การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมได้น่าสนใจ โดยได้เสนอแนวความคิดแบบวิวฒั นาการสมัยใหม่
หรื อที่รู้จกั กันในนามแนวความคิดแบบ "วิวฒั นาการสากล" (Universal Evolution) ไวท์มีความเห็นว่า
การศึกษาทางมานุษยวิทยาควรเป็ นวิทยาศาสตร์ เขาพยายามค้นหากฎเกณฑ์หรื อทฤษฎีสากล เพื่อ
ใช้อธิ บายวิวฒั นาการทางสังคมวัฒนธรรมของกลุ่มชนต่างๆ โดยให้ความหมาย "วัฒนธรรม" ว่า
เป็ นสิ่ งมีตวั ตนและมีชีวิตแยกออกจากตัวมนุ ษย์อย่างเด็ดขาด มีกฎเกณฑ์และการทางานในตัวเอง
ซึ่ งแนวความคิดนี้ เรี ยกว่า "วัฒนธรรมวิทยา " (Culturology) มีองค์ประกอบ 3 ประการด้วยกัน คือ
(มหาวิทยาลัยบูรพา, คณะมนุษยศาสตร์ , 2553)
1. ระบบเทคโนโลยี ซึ่งรวมถึงทรัพยากรธรรมชาติและเครื่ องมือเครื่ องใช้ต่างๆ ที่มนุษย์
ประดิษฐ์คิดค้นขึ้น
18

2. ระบบสังคม ซึ่ งเป็ นการรวมตัวกันขององค์กรทางสังคม (Social Organization) และ


พฤติกรรมต่างๆ ของมนุษย์
3. ระบบความคิด (Ideology) ซึ่งรวมถึงความรู้ ความเชื่อ ทัศนคติและค่านิยมต่างๆ
ทั้งนี้ ไวท์ได้อธิ บายว่าระบบเทคโนโลยีเป็ นโครงสร้างส่ วนล่าง (infrastructure) หรื อ
พื้นฐานสาคัญของวัฒนธรรม เพราะชีวิตมนุษย์จาเป็ นต้องพึ่งพาอาศัยระบบนี้ ในการปรับตัวเข้ากับ
สภาพแวดล้อม ส่ วนองค์กรสังคมและระบบความคิดเป็ นโครงสร้างส่ วนบน (superstructure) ของ
วัฒนธรรม นอกจากนี้ ไวท์มีขอ้ เสนอเรื่ องกฎพื้นฐานของวิวฒั นาการทางวัฒนธรรมตามสู ตรที่ว่า
E x T = C โดยเขาอธิ บายว่า E คือ ปริ มาณพลังงานที่แต่ละคนสามารถนามาใช้ประโยชน์ในแต่ละปี
(Energy), T คือ ประสิ ทธิ ภาพของเครื่ องมือทางเทคนิควิทยาในการนาพลังงานมาใช้ (Technology
or Efficiency of Tools) และ C คือระดับพัฒนาการทางวัฒนธรรม (Degree of Cultural
Development) (Bohannan and Glazer, 1988: 340) ไวท์ได้นาความคิดวิวฒั นาการมาประยุกต์ใช้
แล้วเรี ย กแนวคิ ดนี้ ว่า ทฤษฎี วิวฒั นาการวัฒนธรรมใหม่ (Neo-cultural evolutionism) หรื อ
“นิเวศวิทยาวัฒนธรรม‛ เขาได้เสนอแนวคิดเรื่ อง ‚ความก้าวหน้าและประโยชน์สูงสุ ด‛ เพื่อศึกษา
และบ่งชี้ข้ นั วิวฒั นาการที่สามารถมีพลังควบคุมเพื่อให้สังคมได้ประโยชน์มากที่สุด โดยต้องศึกษา
เปรี ยบเทียบคุ ณค่าเทคโนโลยี ระหว่างสังคมดั้งเดิม กับเทคโนโลยีในสังคมสมัยใหม่ โดยเห็นว่า
เทคโนโลยีเศรษฐกิ จ มีบทบาทสาคัญ เพราะมนุษย์สร้างวัฒนธรรมเทคโนโลยีเศรษฐกิ จในสังคม
ขึ้น เพื่อให้เกิ ดความสัมพันธ์ กบั สภาพแวดล้อม เมื่อเกิ ดความสัมพันธ์ข้ ึนมนุ ษย์จะสามารถสร้าง
ระบบสังคม จนสามารถกาหนดแนวความคิดของบุคคลในที่สุด ระบบวัฒนธรรมจะควบคุมระบบ
สังคม และระบบสังคมจะควบคุ มระบบจิตใจของมนุ ษย์แต่ละคนในสังคม ไวท์อธิ บายหลักการ
เกี่ ยวกับเศรษฐกิ จและสภาพแวดล้อม และศึกษาวิธีการปรับตัวของวัฒนธรรมในสภาพแวดล้อม
หนึ่ งๆ จนทาให้เกิ ดวิวฒั นาการในที่สุด ซึ่ งถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็ นวิธีการศึกษาวัฒนธรรมแบบ
วัตถุนิยม หรื อเน้นเทคโนโลยีมากจนเกินไป
ในปี ค.ศ. 1959 ไวท์เขียน The Evolution of Culture เสนอความคิดอธิ บายกฎของ
วิวฒั นาการ ว่าวัฒนธรรมเป็ นปั จจัยผลักดันทาให้มนุษย์สามารถผลิตพลังงานเพิ่มขึ้น ความพยายาม
ของมนุ ษย์ทุกวัฒนธรรมในโลกทาให้เกิ ดพลังงานอันยิ่งใหญ่ วัฒนธรรมเป็ นแรงกระตุ ้นทาให้
มนุ ษย์มี ประสิ ท ธิ ภ าพในการปฏิ บตั ิ งานเพิ่มมากขึ้ น หรื อวัฒนธรรมเกิ ดจากความก้า วหน้าทาง
เทคโนโลยี โดยมนุ ษย์ทุกสังคมจะพยายามพัฒนาเป็ นวัฒนธรรมสากล เขามองความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีวา่ เกิดจากแรงกระตุน้ ของวัฒนธรรม(มหาวิทยาลัยบูรพา, คณะมนุษยศาสตร์ , 2553)
19

แนวคิดนี้สอดคล้องเป็ นทานองเดียวกันกับแนวคิดการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
วัฒ นธรรมจากอิ ท ธิ พ ลของสิ่ ง แวดล้อ ม ที่ เ ป็ นตัว ก าหนดกระบวนการวิว ฒ ั นาการทางสั ง คม
วัฒนธรรม ของ จูเลียน สจ๊วด (Julian Steward) นักมานุษยวิทยาอเมริ กนั ที่ได้อธิ บายกระบวนการ
ปรั บ ตัว ของสั ง คมภายใต้อิ ท ธิ พ ลของสิ่ ง แวดล้อ มโดยเน้ น การศึ ก ษาวิ ว ัฒ นาการหรื อ ความ
เปลี่ ยนแปลงอันเกิ ดจากการปรับตัวของสังคมที่มีความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา อันเป็ นผลจาก
การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม โดยมีพ้ืนฐานสาคัญคือ เทคโนโลยีการผลิต โครงสร้างสังคม
และลัก ษณะของสภาพแวดล้อมธรรมชาติ เป็ นเงื่ อนไขก าหนดกระบวนการเปลี่ ย นแปลงและ
ปรับตัวของสังคมวัฒนธรรม
สจ๊วด มอง "วัฒนธรรม" ว่าเป็ นเครื่ องมือช่วยให้มนุ ษย์ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
เขาจึงให้ความสาคัญกับการศึกษาว่าวัฒนธรรมมีการปรับตัวอย่างไรให้เข้ากับสภาพแวดล้อม และ
มนุษย์มีวธิ ี การอย่างไรในการใช้เทคโนโลยี
สจ๊วด เสนอว่าในสังคมดั้งเดิม (primitive societies) มนุษย์มีวถิ ีการผลิตแบบล่าสัตว์และ
เก็บหาอาหาร โดยปกติ แล้วผูห้ ญิ งจะเป็ นผูเ้ ก็บ หาอาหารและผูช้ ายออกล่ าสัตว์ การแบ่ งงานใน
ลักษณะเช่ นนี้ มิได้เป็ นเพราะผูช้ ายมีร่างกายแข็งแรงกว่า แต่เป็ นเพราะผูห้ ญิงต้องใช้เวลาดูแลลูก
ในขณะที่ผูช้ ายสามารถเดินทางไกลและจากบ้านไปได้เป็ นระยะเวลานาน ตามทัศนะของสจ๊วด
มนุ ษ ย์เป็ นสั ตว์มี เหตุ ผ ล และวิวฒั นาการทางวัฒนธรรมวางอยู่บ นรากฐานของเหตุ ผล แต่ เป็ น
เพราะว่าสภาพการณ์และสภาวะแวดล้อมมีความแตกต่างกันออกไป วัฒนธรรมสองวัฒนธรรมจึงมี
พื้นฐานของการปรับตัว การแก้ปัญหาและมีวิวฒั นาการแตกต่างกัน เช่ น วัฒนธรรมของกลุ่มที่ต้ งั
รกรากอยูใ่ กล้ทะเล ย่อมมีการประดิษฐ์คิดค้นเครื่ องมือยังชีพประเภท เบ็ด แห อวน ฉมวก เรื อ และ
มีการพัฒนาสั่งสมความรู ้ เกี่ ยวกับการเดินทะเลและการจับปลา ในขณะเดียวกัน ชนกลุ่ มอื่นที่ต้ งั
รกรากอยูใ่ นเขตป่ าดงดิบ อาจมีการประดิษฐ์คิดค้นเครื่ องมือเพื่อใช้ในการยังชีพแตกต่างกันออกไป
เช่น หอก ธนู เพื่อใช้ในการล่าสัตว์และหาอาหาร กลุ่มชนทั้งสองกลุ่มนี้ย่อมต้องมีวิวฒั นาการทาง
วัฒนธรรมแตกต่างกัน(ยศ สัตสมบัติ, 2544: 34)
สจ๊วดปฏิเสธแนวความคิดแบบวิวฒั นาการเส้ นตรงของนักทฤษฎีวิวฒั นาการรุ่ นเก่า ซึ่ ง
เสนอว่าวัฒนธรรมของทุกเผ่าพันธุ์จะมีวิวฒั นาการเป็ นเส้นตรงผ่านขั้นตอนต่างๆ เหมือนกันหมด
สจ๊วดแย้งว่าวิวฒั นาการทางวัฒนธรรมอาจเกิดขึ้นได้หลายสาย และแต่ละแนวย่อมมีความแตกต่าง
กัน ความแตกต่างนี้เกิดจากการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม เทคโนโลยีและโครงสร้างสังคม
เป็ นหลัก จัดเป็ นแนวความคิดแบบวิวฒั นาการหลายสาย ซึ่ งพัฒนามาจากทฤษฎีวิวฒั นาการรุ่ นเก่า
20

โดยที่แนวความคิดวิวฒั นาการหลายสายนี้ เน้นความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับสภาพแวดล้อม


ว่ามีความแนบแน่นใกล้ชิดและส่ งผลกระทบซึ่ งกันและกันอย่างแยกไม่ออก ในยุคสมัยที่พฒั นาการ
ด้า นเทคโนโลยีย งั อยู่ใ นระดับ ต่ า มนุ ษ ย์จาต้องปรั บ ตัวเข้า กับ สภาพแวดล้อม และเมื่ อสามารถ
ดัดแปลงสภาพแวดล้อมให้มากขึ้น อิทธิ พลของสภาพแวดล้อมก็เริ่ มลดถอยลง หากแต่รูปแบบและ
ลั ก ษณะทางวัฒ นธรรม ประสบการณ์ แ ละความเคยชิ น ในอดี ต ตลอดจนวิ ถี ชี วิ ต แล ะ
ขนบธรรมเนียมประเพณี บางอย่างจะยังคงอยู่ และได้รับการสื บทอดจากคนรุ่ นหนึ่ งไปสู่ อีกรุ่ นหนึ่ง
(ยศ สัตสมบัติ, 2544 : 35)
เลสลี่ ไวท์ (Leslie White) และจูเลี่ยน สจ๊วด (Julian Steward) พยายามพัฒนาแนวทางที่
จะนาไปสู่ คาตอบเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม โดยพัฒนาจากแนวทางทฤษฎี
โครงสร้างหน้าที่ ในงานเขียน ‚The Evolution of Culture” (1959) ของไวท์ได้กล่าวถึงหน้าที่ของ
วัฒนธรรมในการเอื้ออานวยต่อความอยู่รอดและความก้าวหน้าของมนุ ษยชาติ ระบบวัฒนธรรม
เป็ นระบบย่อยที่เชื่อมโยงระหว่างกัน หากระบบหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปก็จะกระทบต่อระบบอื่นๆด้วย
โดยที่ ไวท์ให้ความสาคัญกับสภาพแวดล้อมธรรมชาติของแต่ละท้องถิ่ นน้อยมาก ขณะที่จูเลี่ ยน
สจ๊วด สนใจการเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรมเหมือนกันแต่ในระดับที่เล็กคือในระดับชุ มชน
ท้องถิ่ น อีกทั้งยังให้ความสาคัญกับสภาพแวดล้อมธรรมชาติในฐานะที่เป็ นทรัพยากรสาคัญของ
กลุ่มคนต่างๆ เพราะเขาคิดว่าลักษณะและปริ มาณทรัพยากรมีบทบาทต่อสังคม สจ๊วดใช้มโนทัศน์
‚นิ เวศวัฒนธรรม‛ (cultural ecology) ซึ่ งพยายามอธิ บายพัฒนาการของวัฒนธรรมที่ก่อตัวใน
เงื่อนไขทางสิ่ งแวดล้อมและทรัพยากร และลักษณะเทคโนโลยีและทรัพยากรจึงมีส่วนกาหนดการ
จัดระเบียบสังคมนั้น ๆ (มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, สานักวิชาสังคมศาสตร์, 2554)
จูเลี่ยน สจ๊วด (Julian Steward) เห็นว่าวัฒนธรรมแต่ละสังคมมีการปรับตัวต่างกันเพราะ
ได้รับอิทธิ พลจากสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน ทาให้เกิ ดวิวฒั นาการเฉพาะวัฒนธรรมในท้องถิ่ นหรื อ
ภายในสภาวะแวดล้อมนั้นๆ ในขณะที่กลุ่ มแนวคิดวิวฒั นาการทางเดี ย วคัดค้านแนวความคิดนี้
เพราะเชื่ อว่าพัฒนาการอารยธรรมที่เกิ ดขึ้นในสังคมเมือง มีลกั ษณะคล้ายคลึ งกัน เกิ ดจากสังคม
ดั้งเดิ มที่เปลี่ ยนแปลงไปแบบวิวฒั นาการเป็ นสังคมเมืองสมัยใหม่ เรี ยกว่า วิวฒั นาการชุมชนแบบ
คล้ายคลึ ง กัน ไม่ มี ลกั ษณะเฉพาะตัว ตามแนวความคิดของสจ๊วด อย่า งไรก็ตามสจ๊วดได้เสนอ
บทสรุ ปกฎวิวฒั นาการวัฒนธรรม ซึ่ งเกิดจากปั จจัยพื้นฐานสาคัญ 3 ประการ เพื่ออธิ บายนิเวศวิทยา
วัฒนธรรมคือ (Bohanna and Glazer,1988: 322)
21

1.ความสัมพันธ์ ระหว่างเทคโนโลยี วัฒนธรรมกับสภาพแวดล้อม ควรต้องวิเคราะห์


ประสิ ทธิ ภาพของวัฒนธรรม ที่สามารถนาเอาทรัพยากรมาใช้ให้เป็ นประโยชน์สูงสุ ด เช่น มาใช้ให้
เป็ นอาหารและที่อยูอ่ าศัยของมนุษย์ในสังคม
2. ศึกษารู ปแบบพฤติกรรมที่มีความสัมพันธ์กบั เทคโนโลยีวฒั นธรรม โดยวิเคราะห์
วิธีการที่มนุษย์ในแต่ละสังคม สร้างวัฒนธรรม กาหนดพฤติกรรม และกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งศึกษา
วิถีการทางาน เพื่อให้ชีวติ อยูร่ อด ได้หรื อไม่ เพียงใด
3. ความสัมพันธ์ระหว่างรู ปแบบพฤติกรรม และระบบวัฒนธรรม วิเคราะห์พฤติกรรม
และกิจกรรมคนในสังคม ว่ามีส่วนทาให้สังคมอยูร่ อดได้หรื อไม่เพียงใด
นิ เวศวิทยาทางวัฒนธรรม จึงหมายถึงวิธีการศึกษาหาข้อกาหนดหรื อหลักเกณฑ์ทาง
วัฒนธรรม ซึ่ ง เป็ นผลกระทบจากการปรั บ ตัวเข้า กับ สภาวะแวดล้อม (ของมนุ ษ ย์แต่ ล ะสัง คม)
นิ เวศวิทยาวัฒนธรรมจึงแตกต่างไปจากนิ เวศวิทยาสังคม (Social Ecology) เพราะนิ เวศวิทยา
วัฒนธรรมมุ่งแสวงหากฎเกณฑ์เพื่ออธิบายที่มาของลักษณะและแบบแผนวัฒนธรรมบางประการที่
มี อยู่ใ นแต่ล ะสภาวะแวดล้อม มากกว่ามุ่ งแสวงหาหลักการทัว่ ไปที่ใช้ได้กบั ทุกวัฒนธรรมและ
สภาพแวดล้อม สิ่ งที่ สาคัญที่สุดในแนวคิดนี้ คือ ‚แก่นวัฒนธรรม‛ (Cultural Core) ซึ่ งหมายถึ ง
‚กลุ่มของลักษณะหรื อแบบแผนวัฒนธรรมที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดมากที่สุดกับกิ จกรรมเพื่อการ
ดารงชีพและการจัดการทางเศรษฐกิจ‛ ทั้งนี้จะมุ่งสนใจการนาวัฒนธรรมทางวัตถุหรื อระบบเทคนิค
วิทยาที่ใช้หรื อเครื่ องมือทางเทคโนโลยี มาใช้แตกต่างกันอย่างไรและก่อให้เกิดการจัดการทางด้าน
สังคมที่แตกต่างกันอย่างไรในสภาวะแวดล้อมที่แตกต่างกัน เพราะสภาวะแวดล้อมแต่ละแห่ งอาจ
เป็ นตัวช่วยหรื อมีขอ้ จากัดใช้เทคนิควิทยานี้ก็ได้ (Bohanna and Glazer,1988: 327-329)
สจ๊ วด ศึ ก ษาในแนวนิ เ วศวิท ยาวัฒ นธรรม โดยมี ค าถามว่า สภาพแวดล้อมอาจจะมี
อิทธิ พลหรื อไม่มีอิทธิ พลกาหนดการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม ในการวิจยั วัฒนธรรมโดยการสารวจ
เก็บข้อมูล จนนามาพิสูจน์วา่ ควรศึกษานิเวศวิทยาวัฒนธรรมแยกจากนิเวศวิทยาชีวภาพ (Biological
ecology) และนิเวศวิทยากายภาพ (Physical ecology) โดยที่การศึกษานิเวศวิทยาทางชีวภาพนั้นเป็ น
การศึ ก ษาความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่า งอิ น ทรี ย ์ก ับ สภาพแวดล้อ ม ที่ มี ชี วิต ทั้ง หลาย ส่ ว นการศึ ก ษา
นิ เวศวิทยากายภาพ เป็ นการศึ กษาความสัม พันธ์ ระหว่า งอินทรี ย ์กบั สภาพแวดล้อมที่ไ ม่ มี ชี วิต
ทั้ง หมด ในขณะที่ นิ เ วศวิ ท ยาวัฒ นธรรมเป็ นการศึ ก ษาความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งมนุ ษ ย์ ก ั บ
22

สภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมเท่านั้น โดยศึกษาวิวฒั นาการวัฒนธรรมผ่านระบบความสัมพันธ์ของ


มนุษย์กบั สภาพแวดล้อม พยายามอธิบายชุมชนท้องถิ่นขนาดเล็ก
สจ๊วดเสนอระเบียบวิธีวจิ ยั นิเวศวิทยาวัฒนธรรม ที่มีลกั ษณะผสมผสานระหว่างระเบียบ
วิธีวิจยั ตามทฤษฎี หน้าที่นิยม และการวิจยั ตามแบบสังคมศาสตร์ สมัยใหม่ โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อ
ศึ ก ษาความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งสภาพแวดล้อ มกับ วัฒ นธรรม ประการส าคัญ ก็ คื อ ศึ ก ษาระบบ
วัฒ นธรรมของสั ง คมส่ ว นรวมทั้ง หมด โดยไม่ เ น้น ศึ ก ษาปั จ เจกบุ ค คลในระบบวัฒ นธรรม
นิเวศวิทยาวัฒนธรรม ในแนวทางของเขาจึงหมายถึงการศึกษาการปรับตัวของวัฒนธรรม ให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อมนั้นๆ จุดมุ่งหมายประการต่อมา คือ ศึกษาระบบวัฒนธรรมในฐานะเป็ นปั จจัยที่มี
อิทธิ พลกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สิ่ งแวดล้อม ประการสุ ดท้ายนิเวศวิทยาวัฒนธรรม
พยายามชัก นา ให้ม นุ ษ ย์หันไปสนใจ ความสั ม พันธ์ ระหว่า งสภาพแวดล้อม กับ องค์ป ระกอบ
วัฒนธรรมด้วย(Bohanna and Glazer, 1988: 329-332)
นอกจากสจ๊วด และไวท์แล้วยังมีนกั มานุษยวิทยาอีกจานวนหนึ่งที่นาเสนอแนวคิดเรื่ อง
นิ เวศวัฒนธรรม เช่น คลิฟฟอร์ ด เกียร์ ซ (Clifford Geetz) และมาร์ วิน แฮร์ รีส (Marvin Harris) ที่
พยายามพัฒนาแนวทางการศึกษาสังคมมนุษย์ที่สัมพันธ์กบั สิ่ งแวดล้อม
คลิ ฟฟอร์ ด เกี ยร์ ซ (Clifford Geertz) ศึกษาพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ของแบบ
แผนการเกษตรในอินโดนี เซี ย ได้เขียนหนังสื อ ‚Agricultural Involution” (1963) ชี้ ให้เห็นถึ ง
อิทธิ พลของระบบนิเวศที่มีต่อโครงสร้างสังคม หัวใจที่สาคัญของแนวคิดนี้ ก็คือ ‚การรวมเอาระบบ
สั ง คม วัฒนธรรมและสภาวะทางชี ววิท ยาเข้า ด้วยกันในการศึ ก ษาการพัฒนาของสัง คม‛ ตาม
แนวทางของทฤษฎีนิเวศวัฒนธรรมที่เน้นว่า ‚ความเชื่อและการปฏิบตั ิต่างๆตามระบบวัฒนธรรมที่
ดูเหมือนไร้สาระ ไม่มีเหตุผล แต่อาจมีผลในด้านการใช้ทรัพยากรอย่างมีเหตุมีผลก็ได้ โดยคานึงถึง
ระดับของเทคโนโลยีที่ใช้เฉพาะสถานที่ดว้ ย‛
งาน Agricultural Involution:The Process of Ecological Change in Indonesia ของ
เกี ยร์ ซเขี ยนขึ้ นในปี 1963 ซึ่ งเป็ นงานที่ศึกษาประวัติศาสตร์ และพัฒนาการด้า นเศรษฐกิ จของ
อินโดนีเซี ยในเกาะวงนอกและเกาะวงใน ที่มีลกั ษณะทวิภาค(Dual) อันเนื่องมาจากความแตกต่าง
ของระบบนิ เวศ ระบบเกษตรกรรม และการแทรกแซงจากภายนอกที่แตกต่างกัน งานชิ้ นนี้ มีส่วน
ในการแก้ทศั นคติในแง่ลบที่มีต่อระบบการทาไร่ เลื่อนลอย (Shifting Cultivation) อันเป็ นระบบ
เกษตรดั้งเดิ มที่ทากันในกลุ่มชนพื้นเมืองมากมายหลายประเทศ ด้วยการเสนอข้อมูลที่น่าสนใจว่า
23

ระบบเกษตรกรรมดัง กล่ า วมี พ้ื น ฐานที่ ส อดคล้อ งกับ ระบบนิ เ วศป่ าเขตร้ อ น ทั้ง ในแง่ ค วาม
หลากหลายของพันธุ์พืช และการไหลเวียนของธาตุอาหาร อีกทั้งยังเป็ นแบบแผนการเกษตรที่รักษา
ความสมดุ ลของระบบนิ เวศไว้ได้ หากประชากรไม่เพิ่มขึ้นมาก หรื อใช้พ้ืนที่มากเกิ นไป(ปิ่ นแก้ว
เหลืองอร่ ามศรี , 2539 : 24) ซึ่ งปิ่ นแก้วได้ใช้แนวทางการศึกษานี้ ในการอธิ บายระบบการทาไร่
หมุนเวียนของชุมชนกะเหรี่ ยงในป่ าทุ่งใหญ่นเรศวร
มาร์ วิน แฮร์ รีส (Marvin Harris) ศึกษาการทาสงครามของชนบรรพกาล (Primitive
Warfare) โดยอธิ บายว่า การกินเนื้อวัวเป็ นของต้องห้ามของชาวฮินดูท้ งั ที่ความอดอยากยากจนมีไป
ทัว่ อินเดียนั้น แฮร์ รีสอธิ บายว่าการห้ามกินเนื้อวัวมีความหมายว่าวัวมีไว้ใช้ลากคันไถ หากไม่มีววั ก็
จะไม่ อ าจท าการเกษตรได้ ดัง นั้น ข้อ ห้า มทางศาสนาจึ ง เป็ นการเพิ่ ม ความสามารถของสั ง คม
เกษตรกรรมในระยะยาว ข้อนี้ ทาให้เห็นว่าแนวคิดนิเวศวิทยาทางวัฒนธรรมเน้นว่า ‚ความเชื่อและ
การปฏิบตั ิต่างๆตามระบบวัฒนธรรมที่ดูไม่มีเหตุผลอาจมีผลด้านการใช้ทรัพยากรอย่างมีเหตุมีผลก็
ได้ โดยคานึงถึงระดับของเทคโนโลยีที่ใช้เฉพาะสถานที่ดว้ ย‛ (งามพิศ สัตย์สงวน, 2547: 36 - 37)
แนวคิ ด นิ เ วศวิท ยาวัฒ นธรรมช่ ว ยให้เข้า ใจความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่า งประชากรกับ สิ่ ง
แวดล้อมทางสังคมและลักษณะทางกายภาพในสังคมได้ชดั เจนขึ้น อย่างไรก็ตามแนวคิดนิเวศวิทยา
วัฒนธรรม ในระยะแรกถูกวิจารณ์ว่าเป็ นพัฒนาการอีกขั้นหนึ่ งของแนววิวฒั นาการนิ ยมเชิ งวัตถุ
(The materialist evolutionist) เพราะเน้นการศึ กษาเรื่ องเทคโนโลยี หากแต่ปัจจุ บนั นี้ นัก
มานุ ษ ยวิ ท ยาได้ ใ ห้ ค วามสนใจกับ ทฤษฎี นิ เ วศวิ ท ยาวัฒ นธรรมหรื อ ‚มานุ ษ ยวิ ท ยานิ เ วศ‛
(Ecological anthropology) เติบโตขึ้นก่อเกิดแนวทฤษฎีใหม่ๆ เป็ นแขนงย่อยออกไปอย่างต่อเนื่อง
ดัง นั้นการศึ ก ษาในแนวนิ เวศวิท ยาวัฒนธรรมพยายามที่จะอธิ บ ายการเปลี่ ย นแปลง
วัฒนธรรมในสังคม โดยศึ กษาวิธีการที่วฒั นธรรมแต่ละชนิ ดปรับตัวเข้า กับสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพ และหรื อการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางสังคมอย่างไร นอกจากนี้ ยงั มุ่งอธิ บายถึ ง
ลัก ษณะประเพณี วฒั นธรรมแบบใดว่า มีอิท ธิ พ ลต่อการอยู่รอดของสัง คม และหากไม่ส ามารถ
ปรับตัวได้ทนั ต่อวัฒนธรรมใหม่ สังคมนั้นจะมีปฏิกิริยาตอบโต้อิทธิพลที่มาจากภายนอกอย่างไร
ปิ่ นแก้ว เหลืออร่ ามศรี (2535: 4) เห็นว่าการศึกษาเรื่ องนิเวศวิทยาในทางมานุษยวิทยา
เป็ นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ วัฒนธรรม และสิ่ งแวดล้อม หรื อที่เรี ยกว่ามานุษยวิทยา
นิเวศ (ecological anthropology) สามารถแบ่งแนวทางการวิเคราะห์ 3 แนวคือนิ เวศวัฒนธรรม
(cultural ecology) นิเวศวิทยาชาติพนั ธุ์ (ethno-ecology) และระบบนิเวศ (system ecology) ซึ่ งทั้ง
24

สามแนวทางนี้ต่างมีขอ้ วิจารณ์ซ่ ึ งกันและกัน ในแง่ความพอเพียงของระดับการวิเคราะห์ในประเด็น


ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม โดยเฉพาะงานศึกษาในแนวระบบนิเวศนั้นถูกวิจารณ์
ว่าโน้มเอียงไปทาง ‚วัตถุนิยม‛ มากเนื่องจากมองมนุ ษย์เป็ นเพียงองค์ประกอบอันหนึ่ งของระบบ
นิเวศเป็ นส่ วนหนึ่งของการไหลของพลังงานและสสารผ่านไปยังระบบชีวภาพที่ใหญ่กว่า หรื อไม่ก็
สนใจเพี ย งความหลายหลายทางอิ น ทรี ยภาพและพัน ธุ ก รรมของมนุ ษ ย์ใ นการปรั บ ตัว กับ
สิ่ ง แวดล้อม อย่า งไรก็ ตามในแง่ ห นึ่ ง การวิเ คราะห์ ท้ งั สามแบบก็ มี ค วามสั ม พันธ์ ก ัน กล่ า วคื อ
การศึกษาแนวนิ เวศวัฒนธรรม(cultural ecology)มีความพยายามที่จะศึกษาความสัมพันธ์ระว่าง
มนุษย์กบั สิ่ งแวดล้อมในฐานะที่มนุษย์เป็ นเจ้าของ ‚วัฒนธรรม‛ มากกว่าเป็ นเพียงอินทรี ยภาพของ
ระบบนิ เวศ โดยสนใจ ‚วัฒนธรรม‛ ในฐานะเป็ นกลไกสาคัญในการปรับตัวของมนุ ษย์ให้เข้ากับ
สิ่ งแวดล้อม การศึ ก ษาในแนวนี้ ได้แตกแขนงออกไปตามความสนใจเรื่ องอิท ธิ พ ลของลัก ษณะ
ทรัพยากรธรรมชาติที่มีต่อลักษณะของวัฒนธรรม หรื อบทบาทของวัฒนธรรมในการสร้างความ
สมดุ ล ระหว่างประชากรและทรั พ ยากร ซึ่ ง เป็ นการวิเคราะห์ นิเวศในฐานะ ‚ความรู้ ‛ ของคน
ท้อ งถิ่ น หรื อ เจ้า ของวัฒ นธรรมโดยตรงซึ่ งเป็ นการวิ เ คราะห์ แ นว นิ เ วศวิ ท ยาชาติ พ นั ธุ์ ที่ ใ ห้
ความสาคัญกับการวิเคราะห์ระบบความเชื่อและการให้คุณค่า การนิยามธรรมชาติดว้ ยความคิดของ
มนุษย์ ในแง่การรับรู ้ และโลกทัศน์ของกลุ่มชนต่างๆ ที่มีต่อสิ่ งแวดล้อมในระบบนิเวศ
หลักการทางนิ เวศวิทยาวัฒนธรรมที่ใช้ในงานศึกษานี้ คือ ความคิดที่ว่าการดารงชี วิต
ของมนุ ษ ย์จะขึ้ นอยู่ก ับ การท ามาหากิ น กับ ธรรมชาติ สิ่ ง แวดล้อม มนุ ษ ย์ส ามารถเปลี่ ย นแปลง
ธรรมชาติ ที่แวดล้อม หรื อบังคับควบคุ ม ธรรมชาติ แวดล้อมโดยเพิ่มขีดความสามารถในการใช้
ประโยชน์จากสิ่ งแวดล้อมจากเทคโนโลยีที่มากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามการปฏิวตั ิเทคโนโลยีในอดีตที่
ผ่ า นมา ท าให้ ค วามสมดุ ล ระหว่ า งมนุ ษ ย์ก ั บ ธรรมชาติ สิ่ งแวดล้ อ มต้อ งสู ญ เสี ยไป ท าให้
ทรัพยากรธรรมชาติถูกทาลาย เกิดความขัดแย้งจากการแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนทาให้
เกิดภาวะสิ่ งแวดล้อมเป็ นพิษส่ งผลต่อสุ ขภาวะของคนในยุคปัจจุบนั
ด้วยเหตุ น้ ี จึงทาให้เห็ นได้ชัดเจนว่าการพัฒนาไปข้างหน้าของสังคมแห่ ง เทคโนโลยี
ขนาดใหญ่ที่ช่วยมนุ ษย์ในการนาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ในปั จจุบนั เต็มไปด้วยความไม่แน่นอน
และก่อให้เกิดวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อมและความเสื่ อมโทรมของระบบนิเวศที่เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง
เป็ นสิ่ งสะท้อนถึ งความไม่ลงตัวในการจัดการความสัมพันธ์และการอยูร่ ่ วมกันระหว่างมนุษย์และ
ธรรมชาติ กล่าวคือปั ญหาที่เกิดขึ้นนั้นบ่งบอกถึงการขาดความเข้าใจของมนุษย์ต่อระบบธรรมชาติ
รวมถึ ง ทัศ นคติ ความเข้า ใจของมนุ ษ ย์ที่ มี ต่อธรรมชาติ และสภาพแวดล้อมรอบตัว อันสะท้อน
25

ออกมาในระบบการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการเมือง ตลอดจนการพัฒนาและการใช้


ความรู ้ ท างวิท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อเป็ นเครื่ องมื อสร้ า งความเจริ ญก้า วหน้า และความ
สะดวกสบายของมนุ ษย์จนลื มนึ กถึง ‚โซ่ สัมพันธ์‛ ระหว่างมนุ ษย์กบั ระบบธรรมชาติ ลืมนึ กถึ ง
ความจากัดที่ระบบธรรมชาติจะสามารถรองรับได้ ความสัมพันธ์ดงั นี้จึงขาดความยัง่ ยืน และน่าจะ
เป็ นกระบวนการนาไปสู่ ความเสื่ อมโทรมของนิเวศ วัฒนธรรม และสุ ขภาพของคน
ในงานศึกษานี้อาศัยกรอบแนวคิดนิ เวศวัฒนธรรมในการศึกษาว่าเกลือในชุ มชนแหล่ง
ผลิ ตเกลื อต่าง ๆ ได้ส่งผลกระทบอย่างไรกับความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับสิ่ งแวดล้อม
และคนกับสังคม เพื่อชี้ ให้เห็ นว่าเมื่ออยู่ในภาวะการพัฒนาอุตสาหกรรมเกลือจนสิ่ งแวดล้อมรอบ
ชุ มชนเสื่ อมโทรมลงไป คนในชุ มชนอยู่ร่วมกันอย่างไรในนิ เวศที่เปลี่ยนแปลงไปนั้น มีกลไกใน
การปรับตัวเพื่อรักษาสมดุลและความมัน่ คงของการดารงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างไรในสภาวการณ์ที่มี
การใช้ทรั พยากรเกลื อเพื่อการเคลื่ อนพัฒนาไปของเศรษฐกิ จในปั จจุบนั โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ
เปลี่ ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิ ตเกลือที่ใหญ่ข้ ึนนี้ จะทาให้โครงสร้างสังคม วัฒนธรรมในชุ มชน
ปรับตัวต่อไปอย่างไร
7.2 แนวคิดนิเวศวิทยาสุ ขภาพ (Eco-Health)
แนวคิดนิ เวศวิทยาสุ ขภาพ เป็ นแนวคิดซึ่ งใช้ล ักษณะสาคัญทางด้านวัฒนธรรมและ
ชีวภาพเป็ นตัววัด(Approach with Culture and Biological Parameters) มีความเชื่อว่าลักษณะทาง
นิ เวศวิทยาเกี่ยวโดยตรงกับการเกิดโรค หรื อการเกิดโรคถือเป็ นตัวแปรตาม (Dependent Variable)
นัน่ คือการศึกษาว่าปั จจัยทางด้านชี วภาพความกดดันทางวัฒนธรรม และสิ่ งแวดล้อมส่ งผลไปถึง
กระบวนการการเกิดโรคได้อย่างไร...เช่น ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม การรับรู้และความเข้าใจใน
สาเหตุและผลของการเกิดโรคในชุมชนนั้นๆ มีอะไรบ้าง และส่ งผลไปถึงสุ ขภาพอนามัยของคนได้
อย่างไร นักมานุษยวิทยาเรี ยกการศึกษาในเชิงนี้ ต่างกัน เช่น การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสุ ขภาพ
อนามัย (Dynamics of Health Status) นิ เวศวิทยา (Ecology) นิ เวศวิทยาการแพทย์ (Medical
ecology) ระบาดวิทยา ( Epidemiology ) ระบาดวิทยาสังคม (Social Epidemiology )ซึ่ งเป็ น
การศึกษาด้านนิ เวศวิทยาที่ใช้ลกั ษณะสาคัญทางด้านวัฒนธรรมและชี วภาพเป็ นตัววัด โดยมีจุด
เริ่ ม แรกของความสนใจการศึ กษาในเชิ ง นิ เวศวิท ยาและการปฏิ วตั ิ ท างวิท ยาศาสตร์ (Scientific
Revolution) เริ่ มจากทฤษฎี วิวฒั นาการทางชี วภาพเรื่ อยมาก็มีการรวบรวมข้อมูลจนสร้ างทฤษฎี
เกี่ยวกับวิวฒั นาการการปรับตัวของมนุษย์ว่าเป็ นการตอบโต้ซ่ ึ งกันและกัน (Complex interaction)
ของปั จจัยทางวัฒนธรรมและปั จจัยทางชีวภาพ ภายใต้เงื่อนไขที่กาหนดคือสภาพสิ่ งแวดล้อมทั้งนี้
26

หาใช่เกิ ดเพราะความบังเอิญไม่ หากแต่เกิดจากการปฏิวตั ิทางวิทยาศาสตร์ หรื อเป็ นผลที่สนใจใน


ปั ญหาวิวฒั นาการทางชีวภาพมีต่อหลักการทางมานุษยวิทยา (จริ ยา เศรษฐบุตร, 2529: 19 อ้างถึงใน
ไท้ นันท์จนั ทร์ , 2542)
มุมมองเรื่ องความสัมพันธ์ของ คน สัตว์ และสิ่ งแวดล้อม หรื อระบบนิเวศในการจัดการ
เชิ งสุ ขภาพที่เรี ยกว่า สุ ขภาพของสิ่ งมีชีวิตในระบบนิ เวศ (Ecological Health) ซึ่ งประกอบด้วย
ความสัมพันธ์ ระหว่างสุ ขภาพของระบบนิ เวศ (Ecosystem Health) จะสัมพันธ์กบั สุ ขภาพของ
มนุษย์(Human Health) แนวคิดเรื่ องการเจ็บป่ วยเป็ นโรคและการรักษาทางยา แบบเดิมนั้นมักมุ่ง
“ซ่อม‛ สุ ขภาพของปัจเจกหรื อบุคคลโดยมองแยกส่ วนออกจากสิ่ งแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม และ
นิเวศวิทยา ขณะที่แนวคิดเรื่ องนิเวศวิทยาสุ ขภาพ (Eco-health) พยายามหาแนวทางใหม่โดยเห็นว่า
ต้องลงมือป้ องกันปั ญหาโดยการฟื้ นฟูระบบนิ เวศเพื่อสุ ขภาวะเพื่อป้ องกันความสู ญเสี ย ความตาย
และความทุกข์ทรมาน โดยมองแบบเป็ นระบบหรื อองค์รวม(systemic/holistic) โดยมีปัจจัยอื่นที่
สัมพันธ์กนั ซับซ้อนอย่างยิ่งระหว่างสิ่ งแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ ถือเป็ นแนวคิดที่
ยึดนิ เวศวิทยาเป็ นศูนย์กลาง(Ecocentric) ดังนั้นการรักษาสุ ขภาพระบบนิ เวศคือกุญแจสาคัญใน
ความยัง่ ยืนของชีวติ มนุษย์ (Ronaud De Plaen and Catherine Kilelu, 2004 : 8-15)
ปั จจุบนั มุมมองเกี่ ยวกับสุ ขภาพเปลี่ ยนไปจากเดิมที่มองสุ ขภาพเพียงหมายถึง โรคและ
การเจ็บ ป่ วย แต่หันมามองใหม่ว่า สุ ข ภาพ หมายถึ ง สุ ขภาวะ ดังที่ องค์การอนามัยโลก (World
Health Organization : WHO) ได้ให้ความหมายของสุ ขภาพว่า ‚ Health is a stage of complete
physical mental, social and spiritual well – being , not merely absence of diseases and infirmity”
หมายถึงการมีสุขภาพดี ไม่ใช่ แค่การไม่มีโรคเท่านั้น แต่หมายถึง สุ ขภาวะที่สมบูรณ์ ทั้งทางกาย
ทางจิ ต ทางสัง คมและทางจิตวิญญาณ หรื อสุ ขภาวะที่ สมบูรณ์ เชื่ อมโยงกัน (World Health
Organization, 2548)
ประเวศ วะสี (2545: 9 -10) ได้อธิ บายความหมายของสุ ขภาวะทั้ง 4 มิติ คือ สุ ขภาวะที่
สมบูรณ์ ทางกาย หมายถึง การมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีเศรษฐกิจพอเพียง มีสิ่งแวดล้อมดี ไม่
มีอุบตั ิภยั เป็ นต้น สุ ขภาวะทางจิต หมายถึง จิตใจที่เป็ นสุ ข ผ่อนคลาย ไม่เครี ยด คล่องแคล่ว มี
ความเมตตา กรุ ณา มีสติ มีสมาธิ เป็ นต้น สุ ขภาวะทางสั งคม หมายถึง การอยูร่ ่ วมกันด้วยดี ใน
ครอบครัว ในชุ มชน ในที่ทางาน ในสังคม ในโลก ซึ่ งรวมถึงการมีบริ การทางสังคมที่ดี และมี
สันติภาพ เป็ นต้น สุ ขภาวะทางจิตวิญญาณ หมายถึง ความสุ ขอันประณี ตที่เกิดจากการมีจิตใจสู ง
27

เข้าถึงความจริ งทั้งหมด ลดละความเห็นแก่ตวั มุ่งเข้าถึงสิ่ งสู งสุ ด ซึ่ งหมายถึงพระนิ พพาน หรื อ
พระผูเ้ ป็ นเจ้า หรื อความดีสูงสุ ด สุ ดแล้วแต่ความเชื่อที่แตกต่างกันของแต่ละคน
มาตรา 3 พ.ร.บ.สุ ขภาพแห่ งชาติ พ.ศ. 2550 กาหนดคานิ ยามว่า สุ ขภาพ หมายถึง
“ภาวะของมนุษย์ ที่สมบูรณ์ ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปั ญญา และทางสังคม เชื่ อมโยงกันเป็ นองค์ รวม
อย่ างสมดุล” ทั้งนี้ ปั ญญา หมายความว่า ความรู้ทว่ั รู้เท่าทันและความเข้าใจอย่างแยกได้ในเหตุผล
แห่ ง ความดี ความชั่ ว ความมี ป ระโยชน์ แ ละความมี โ ทษ ซึ่ งน าไปสู่ ค วามมี จิ ต ดี ง ามและ
เอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ (2548) กาหนดความหมายความอยูด่ ีมีสุข
ไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 และ 9 ว่าหมายถึง “การมีสุขภาพอนามัยที่ ดี
ทั้งร่ างกายและจิ ตใจ มี ความรู้ มี งานทาที่ ทั่ วถึ ง มี รายได้ พ อเพี ยงต่ อการดารงชี พ มี ครอบครั วที่
อบอุ่นมัน่ คง อยู่ในสภาพแวดล้ อมที่ดีและอยู่ภายใต้ ระบบบริ หารจัดการที่ดีของภาครั ฐ ” ทั้งนี้ ความ
อยูด่ ีมีสุขตามความหมายข้างต้นครอบคลุมทุกมิติของการดารงชีวติ ที่เชื่อมโยงกันอย่างเป็ นองค์รวม
และสามารถจาแนกองค์ประกอบได้เป็ น 7 ด้าน คือ ด้านสุ ขภาพอนามัย ความรู้ ชี วิตการทางาน
รายได้และการกระจายรายได้ ชีวติ ครอบครัว สภาพแวดล้อม และการบริ หารจัดการที่ดีของภาครัฐ
ซึ่งทุกองค์ประกอบจะต้องดาเนินการพัฒนาไปพร้อมๆ กัน เพื่อให้เกิดผลต่อความอยูด่ ีมีสุขของคน
ได้อย่างแท้จริ ง
จะเห็ นได้ว่า ในยุค ปั จจุ บ นั มี ก ารกล่ า วกันถึ ง กระบวนทัศ น์สุ ข ภาพใหม่ ที่ ไ ด้อ ธิ บาย
ความหมายคา สุ ขภาพ ว่า “สุ ขภาพ คื อภาวะอันเป็ นพลวัตของความสุ ขที่ สมบูรณ์ พร้ อม ทั้งทาง
กาย ใจ สั งคม และจิ ตวิญญาณ”(โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, 2546) ซึ่ งกินความกว้างขวางนอกเหนือ
จากสภาวะของร่ า งกายซึ่ งเป็ นปั จ จัย ทางกายภาพ ซึ่ ง เป็ นผลลัพ ธ์ ของชี วิต ที่ มี ดุล ยภาพ และมี
ความสั ม พันธ์ ที่ ถู ก ต้องระหว่า งกันในชุ ม ชน ไม่ เบี ย ดเบี ย นตนเอง ไม่ เบี ย ดเบี ย นผูอ้ ื่ น และไม่
เบียดเบียนธรรมชาติ สุ ขภาวะของปัจเจกนั้นเกี่ยวข้องกับสุ ขภาวะของสังคมและระบบนิเวศ
ในงานศึ ก ษานี้ ใช้ ก รอบแนวคิ ด นิ เ วศวิ ท ยาสุ ข ภาพ ด้ว ยมุ ม มองทางสุ ข ภาพด้ว ย
ความหมายอย่างกว้าง ซึ่ งมองสุ ขภาพ หรื อสุ ขภาวะ ว่าเป็ นระบบความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนระหว่าง
สิ่ งแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิ จ ครอบคลุมถึงระบบการพัฒนา การศึกษา ความเชื่ อ
การดูแลปกป้ องระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติ การทามาหากิน การประกอบอาชีพของคนใน
ชุมชน ดังนั้นสุ ขภาพของระบบนิเวศจึงส่ งผลต่อสุ ขภาพของมนุษนย์ และเป็ นกุญแจสาคัญในความ
ยัง่ ยืนของชีวติ มนุ ษย์ในชุ มชนหรื อสังคมนั้นๆ ดังนั้นการมีสุขภาพ หรื อสุ ขภาวะที่ดีในงานศึกษานี้
หมายถึ ง การมองความเป็ นไปในสั ง คมว่ า เป็ นกระบวนการของชี วิ ต ที่ มี ค วามเคลื่ อ นไหว
28

เปลี่ยนแปลง และมีศกั ยภาพในการจัดการตัวเองอย่างเชื่อมโยงกับเหตุปัจจัยของสภาวะแวดล้อมที่


เปลี่ยนแปลง สุ ขภาวะทางกายและจิตของชี วิตโยงใยอยู่กบั สุ ขภาวะโดยรวมของสังคมและระบบ
นิเวศ ดังนั้นการดูแลรักษาสุ ขภาพของคนต้องเกิดขึ้นไปอย่างควบคู่กบั การเยียวยารักษาผืนดินและ
ธรรมชาติ ในมุมมองที่เห็นว่าระบบธรรมชาติเป็ นระบบเกื้อกูลแก่ชีวิตและสุ ขภาพ และมองเห็นว่า
มนุษย์เป็ นหน่วยชีวติ ที่ไม่สามารถตัดตัวเองออกจากระบบนิเวศทั้งมวลได้
8.วรรณกรรมและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง
8.1. วรรณกรรมเกีย่ วกับพัฒนาการแนวคิดทางนิเวศวิทยาวัฒนธรรม
คาว่า นิเวศวิทยา (Ecology) คือวิชาที่วา่ ด้วยอิทธิ พลของสิ่ งแวดล้อมที่มีต่อมนุษย์ ส่ วน
นิเวศวิทยามนุษย์ (Human Ecology) เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สิ่ งแวดล้อม
และผลของกิจกรรมของมนุษย์ต่อสิ่ งแวดล้อม (ชนัญ วงษ์วิภาค, ม.ป.ป: 136) ในงานศึกษานี้ ได้ให้
ความหมายคาว่า นิ เวศวิท ยา เป็ นการศึ กษาถึ งโครงสร้ า งหน้า ที่ ของธรรมชาติ โดยพิจารณาว่า
สิ่ งมีชีวิตหรื อกลุ่มของสิ่ งมีชีวิตมีการจัดกลุ่มหรื อรวมตัวกันอย่างไร มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันและ
กันและระหว่างสิ่ งแวดล้อมอย่างไร
คาว่านิเวศวิทยา (Ecology) มาจากภาษากรี กว่า ‚Oikos” ซึ่ งหมายถึง บ้าน หรื อที่อยูอ่ าศัย
และ ‚Logos” หมายถึ ง การมีเหตุผลหรื อความคิด คือศาสตร์ ที่มีเหตุผลเป็ นวิทยาศาสตร์ ดงั นั้น
‚นิ เวศวิทยา‛ จึงหมายความว่า วิทยาศาสตร์ ที่ว่าด้วยที่อยู่อาศัยซึ่ งรวมถึงความสัมพันธ์ซ่ ึ งกันและ
กันระหว่างสิ่ งมีชีวติ และสิ่ งแวดล้อม(Environment) ประกอบกันเป็ นที่อยูอ่ าศัย คาว่า ‚สิ่ งแวดล้อม‛
นี้หมายถึงทุกสิ่ งทุกอย่างที่อยูโ่ ดยรอบสิ่ งมีชีวติ แม้แต่มนุษย์ทุกๆ คนที่อยูร่ ่ วมโลกกับเรา ต่างก็เป็ น
สิ่ งแวดล้อมของเรา และในทานองเดียวกันเราก็เป็ นสิ่ งแวดล้อมประการหนึ่ งขององค์ประกอบที่มี
ชี วิตและไม่มีชีวิตอื่นๆ ด้วย องค์ประกอบเหล่านี้ มีความสัมพันธ์และมีอิทธิ พลซึ่ งกันและกัน เรา
เรี ยกระบบสิ่ งมีชีวิตซึ่ งปะกอบด้วยสิ่ งมีชีวิตและสิ่ งแวดล้อมทั้งหมด รวมทั้งความสัมพันธ์ซ่ ึ งกัน
และกันนั้นว่า ระบบนิ เวศ (Ecosystem) (ณรงค์ ณ เชียงใหม่ และกรรณิ กา วิทย์สุภากร, 2528: 81-
82) ดังนั้นการศึกษาทางนิ เวศวิทยาจึงเป็ นการศึกษาถึงองค์ประกอบและความสัมพันธ์ท้ งั หมด
ระหว่างกลุ่มของสิ่ งมีชีวติ และสิ่ งแวดล้อม เริ่ มด้วยการศึกษาว่าในสิ่ งแวดล้อมของระบบนิเวศหนึ่ง
นั้นมีอะไรเป็ นองค์ประกอบอยูแ่ ละประกอบกันขึ้นเป็ นโครงสร้างของระบบนิเวศนั้นๆ แต่ละสิ่ งมี
บทบาทสัมพันธ์กนั ดังนั้น ในทางนิเวศวิทยาแล้วโครงสร้างและบทบาทขององค์ประกอบในระบบ
นิ เวศ นั้น มี อยู่อ ย่า งหลากหลาย เช่ น น้ า อุ ณหภูมิ ความชื้ น ความเค็ม ปริ ม าณของฟอสฟอรั ส
29

ปริ มาณของออกซิเจน ดินเม็ดละเอียด ปริ มาตรของแอ่งน้ า ความสู งจากระดับน้ าทะเล ความลาดชัน


ของหุ บเขา ฯลฯ ซึ่ งมีองค์ประกอบย่อยที่ประกอบกันขึ้นเป็ นโครงสร้ างของระบบนิ เวศได้หลาย
ลักษณะ เช่น รู ปร่ างลักษณะทางภูมิศาสตร์ ของระบบนิเวศ ลักษณะขององค์ประกอบทางกายภาพ
เช่น ระดับของอุณหภูมิ ความชื้น องค์ประกอบทางเคมีของระบบนิเวศที่บ่งว่าประกอบด้วยสารเคมี
อะไรบ้าง และมีปริ มาณมากน้อยเท่าใด หรื อโครงสร้างทางชี วะ ได้แก่ สิ่ งมีชีวิตต่างๆ ในระบบ
นิเวศบ่งว่าประกอบด้วยสิ่ งมีชีวติ อะไรบ้าง แต่ละชนิดมีจานวนประชากรมากน้อยเท่าใด หรื อ ความ
หลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศนั้น เป็ นต้น
คาว่า “นิเวศวิทยา” เริ่ มปรากฏครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1869 โดย E.Haeckel นักสัตววิทยา
ชาวเยอรมัน ต่อมาความหมายของคาว่า ‚นิเวศวิทยา‛ ได้มีการขยายความมากขึ้นเรื่ อยๆ จนในที่สุด
เป็ นที่ ยอมรั บกันทัว่ ไปในปั จจุ บนั ว่า นิ เวศวิทยา(Ecology) หมายถึ ง ศาสตร์ ที่ว่าด้วยการศึกษา
เกี่ ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งมีชีวิตและสภาพแวดล้อมรอบตัวทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ทั้งนี้
โดยถือว่ามนุษย์เป็ นส่ วนหนึ่งของระบบสิ่ งมีชีวติ ด้วย (อนุชาติ พวงสาลี, 2553: 319)
การใช้คาว่า ‚นิ เวศวิทยา‛ และ ‚สิ่ งแวดล้อม‛ มีความแตกต่างกัน คาว่า ‚นิ เวศวิทยา‛
มองมนุ ษย์เป็ นส่ วนหนึ่ งในโครงสร้างของธรรมชาติ มีปฏิสัมพันธ์กบั ส่ วนอื่นๆ ในโครงสร้างของ
ธรรมชาติ ท้ งั ในฐานะผูก้ ระท าและผูถ้ ู ก กระท า มองมนุ ษ ย์ก ลมกลื น เป็ นอัน หนึ่ ง อัน เดี ย วกับ
ธรรมชาติ ในขณะที่คาว่า ‚สิ่ งแวดล้อม‛ มีความหมายในเชิงมองมนุษย์เป็ นศูนย์กลาง ธรรมชาติมี
ฐานะที่ เป็ นสิ่ งแวดล้อมของมนุ ษย์ ซึ่ งมีนัยว่ามนุ ษย์เป็ นฝ่ าย ‚จัดการ‛ กับสิ่ งแวดล้อม และคาว่า
สิ่ งแวดล้อมเริ่ มถูกผูกติดกับการมองเห็นเป็ น ‚ปั ญหา‛ ทางด้านสิ่ งแวดล้อมซึ่ งมีความหมายโดยนัย
ว่ามนุษย์สามารถแก้ไขปั ญหาสิ่ งแวดล้อมได้(อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์, 2545: 127-128)
เมื่อมองมนุษย์ในฐานะองค์ประกอบหนึ่งของระบบนิเวศ เป็ นสิ่ งมีชีวิตเช่นเดียวกับปลา
หรื อสัตว์น้ าต่างๆ ที่มีน้ าเป็ นสิ่ งแวดล้อมของตัวเองอย่างแยกไม่ออก หากสภาพแวดล้อมหรื อระบบ
นิ เวศรอบตัวถูกทาลายลง ชี วิตมนุ ษย์ก็ไม่สามารถดารงอยู่ได้เช่นเดียวกัน แม้ว่าระบบนิ เวศหนึ่ งๆ
เป็ นโครงสร้ า งเปิ ดและมี ค วามสามารถในการควบคุ ม หรื อปรั บ สภาวะตัว ของมัน เอง (self-
regulation) ได้เป็ นระบบที่ประกอบด้วยประชากรสิ่ งมีชีวิตนานาชนิดทั้งพืช สัตว์ จุลินทรี ยท์ ี่อาศัย
อยู่ในส่ วนต่างๆ ระบบนิ เวศที่ใหญ่ระดับโลกเรี ยกว่า ‚ชี วาลัย‛ (Biosphere) (อนุ ชาติ พวงสาลี ,
2553: 321)
30

ในงานของอนุชาติ พวงสาลี(2553) อธิบายความหมายของระบบนิเวศ ว่าคือ ระบบแห่ ง


ความสั ม พัน ธ์ เ ชื่ อ มโยงกัน ของระบบย่อ ยๆ มากมาย ทั้ง ที่ มี ชี วิต และไม่ มี ชี วิต สิ่ ง นี้ คื อ ความ
หลากหลายทางธรรมชาติ ความหลากหลายจึงเป็ นความงดงามของธรรมชาติเป็ นความงดงามที่
เกื้ อกูลสัมพันธ์ กนั ได้อย่างสมดุ ล และเป็ นสมดุ ลที่ไม่หยุดนิ่ ง แต่เป็ นสมดุลที่มีพลวัตหรื อมีการ
ปรับตัวเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา ซึ่ งเป็ นมุมมองตามแนวคิดวิวฒั นาการ ที่มองว่าสังคมมนุษย์ได้
สร้ า งระบบนิ เ วศที่ ม นุ ษ ย์เ ป็ นผูอ้ อกแบบขึ้ น มา ได้แก่ ระบบนิ เวศเมื อ ง-อุ ตสาหกรรม(Urban-
industrial) ระบบนิ เวศเกษตร(Agriculture ecosystem) เป็ นต้น ซึ่ งเกี่ ยวข้องกับกระบวนการทาง
นิเวศวิทยา(ecological processes) ที่มิได้แยกขาดจากระบบและกระบวนการทางธรรมชาติอื่นๆ
เช่ น กระบวนการทางธรณี สัณฐาน หรื อการกาเนิ ดของผืนผิวโลก (geomorphological/geological
process and systems) ในระบบนิเวศหนึ่งซึ่ งสัมพันธ์กนั แม้มีเงื่อนไขเวลาที่ต่างกัน ระบบธรรมชาติ
ก็เป็ นผลจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการเหล่านี้ในระบบธรรมชาติ ดังนี้ การรักษาระบบนิเวศก็
คื อ สิ่ ง เดี ย วกับ การรั ก ษาประโยชน์ ข องมนุ ษ ย์ใ ห้ย งั่ ยืน นั่น เอง การดัด แปลงใช้ป ระโยชน์ จ าก
ธรรมชาติของมนุ ษย์ยอ่ มมีผลกระทบต่อบ้านของมนุษย์เอง เพราะระบบนิเวศ ก็คือบ้านของสรรพ
สิ่ ง จึ ง ไม่ ไ ด้มี ค วามหมายเพี ย งการเป็ นที่ อ ยู่อ าศัย เชิ ง กายภาพอัน ปรากฏเป็ นภาพภูมิ ท ศั น์ที่ เรา
มองเห็นเท่านั้น ส่ วนที่ลึกลงไปกว่านั้นคือความสัมพันธ์ที่โยงใยสรรพสิ่ งเข้าด้วยกัน ในมุมมองของ
ระบบนิ เวศที่ ไ ม่ ไ ด้ม องมนุ ษ ย์เป็ นศูนย์ก ลาง แต่ ม องว่า มนุ ษ ย์มี ฐานะเป็ นเพีย งสิ่ ง มี ชี วิต (living
organism)หนึ่ งเท่านั้นในระบบนิ เวศธรรมชาติ (Man is part of the nature) โดยมี ข่ายใยชีวิต (web
of life) อันเป็ นความสัมพันธ์ท้ งั มวลที่ถกั ทอเชื่อมโยงถึงกัน ดังนั้นการปรับตัวของมนุษย์ในฐานะ
สิ่ งมีชีวิตหนึ่ งมีความสัมพันธ์กบั ธรรมชาติแวดล้อมเพราะต้องการปั จจัยพื้นฐานในการดารงชี วิต
เช่นเดียวกันกับสัตว์อื่นทุกชนิด แต่คนจะถางป่ า ปลูกพืชบนดิน ตัดถนนข้ามภูเขา ผลิตยาเพื่อรักษา
โรค สร้ างความอบอุ่นภายในบ้านยามฤดูหนาว และสร้างความเย็นในฤดูร้อน คนสร้างดัดแปลง
ธรรมชาติแวดล้อมซึ่ งเป็ นปฏิ สัมพันธ์กบั ธรรมชาติแบบหนึ่ งโดยพยายามต่อสู้ดิ้นรนเพื่อเอาชี วิต
รอดด้วยเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อใช้ประโยชน์จากธรรมชาติและป้ องกันตัวเองจากภัยอันตรายต่างๆ
มนุ ษย์จึงพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ขึ้นมาอย่างซับซ้อน และมีเพิ่มมากขึ้นเรื่ อยๆ ขึ้นอยูก่ บั วัสดุต่างๆ
เช่ น โลหะ หิ น พลาสติก ฟื น ถ่านหิ น ก๊าซ และพลังงานนิ วเคลียร์ เป็ นต้น ที่จะทาให้วฒั นธรรม
พัฒนาไปได้ แต่ครั้นเมื่อมีการพัฒนาไปถึงจุดหนึ่ งก็พบว่าเทคโนโลยี มักจะเป็ นอันตรายต่อดุลย
ภาพของระบบนิ เ วศ ดัง นั้นการเปลี่ ย นแปลงของธรรมชาติ ภายใต้อิท ธิ พ ลของมนุ ษ ย์น้ ัน การ
ประดิ ษฐ์เทคโนโลยีใหม่จะเป็ นสาเหตุทาให้มีการเปลี่ยนแปลง การศึกษาเรื่ องปฏิสัมพันธ์ของคน
31

กับธรรมชาติแวดล้อม จึงเกี่ยวโยงกับแนวคิดเรื่ องนิ เวศวิทยาวัฒนธรรม (Cultural Ecology) ใน


การศึกษามานุษยวิทยาร่ วมสมัย
อรรถจักร์ สัตยนุ รักษ์(2545) ได้ทางานศึกษาเรื่ อง ‚นิ เวศประวัติศาสตร์ : พรมแดน
ความรู้‛ ซึ่งสารวจงานศึกษาทางประวัติศาสตร์ในสังคมไทยที่อธิบายการเปลี่ยนแปลงของสังคมใน
อดี ตเชื่ อมโยงกับระบบนิ เวศและสิ่ งแวดล้อม โดยชี้ ว่ามีสองลักษณะคือ (1) ประวัติศาสตร์ ความ
เปลี่ ย น แปลงของระบบนิ เวศและสิ่ งแวดล้ อมที่ เกิ ดจากการกระทาของมนุษย์ ได้แก่ การศึกษา
ประวัติศาสตร์ โบราณที่เน้นบทบาทของมนุษย์โดยเฉพาะกลุ่มที่มีอานาจทางการเมืองและเศรษฐกิจ
ที่ ไ ปใช้ ป ระโยชน์ จ ากระบบนิ เ วศและสิ่ ง แวดล้อ ม (2)ปฏิ สั ม พั น ธ์ ระหว่ า งระบบนิ เ วศและ
สิ่ งแวดล้ อมกับการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมแบบองค์ รวม ที่ช่วยให้เข้าใจความเปลี่ยนแปลง
ของสังคมไทยอย่างรอบด้าน
อรรจักรษ์ เห็ นว่าการศึก ษาด้านนิ เวศวิท ยาในสัง คมไทยสัมพันธ์ก ับการรับ รู้ และให้
ความหมายแก่ธรรมชาติการศึกษาสิ่ งแวดล้อมทางกายภาพเป็ นหลักทาให้การมองสิ่ งแวดล้อมเป็ น
วัตถุ แบ่งเป็ นเศษเสี้ ยว ในระยะแรกสังคมมองสิ่ งแวดล้อมแบบกายภาพที่อธิ บายสายสัมพันธ์ ที่
มนุ ษ ย์ต้องพึ่ ง พิ ง อยู่ก ับ ธรรมชาติ แต่ ไ ม่ ท าความเข้า ใจความเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คม และความ
เปลี่ ยนแปลงของระบบเศรษฐกิ จที่สัมพันธ์เชื่ อมโยงกับความเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความ
เปลี่ ยนแปลงของระบบเศรษฐกิ จที่สัมพันธ์เชื่ อมโยงกับความเปลี่ ยนแปลงด้านสิ่ งแวดล้อม การ
พึ่งพิงธรรมชาติที่มีลกั ษณะที่เป็ นสถิติไม่อธิ บายให้เห็นถึ งภาวะการพึ่งพิงที่มีลกั ษณะเป็ นพลวัต
เพราะไม่ได้นาเอาปั จจัยความเปลี่ ยนแปลงของระบบสังคมเศรษฐกิ จมาช่ วยอธิ บาย ความรู้ เรื่ อง
สิ่ งแวดล้อมในระยะนั้นจึงเป็ นองค์ความรู้หลักและเข้าไปสัมพันธ์อยูก่ บั กลไกอานาจรัฐจึงยิ่งทาให้
การศึกษาสิ่ งแวดล้อมทางกายภาพมีพลังอานาจในการครอบงาสังคมไทยสู งมาก ขณะเดียวกันการ
เข้าไปสัมพันธ์กบั กลไกอานาจรัฐยิ่งถูกทาให้การศึกษาสิ่ งแวดล้อมทางกายภาพนั้นยิ่งหมดพลังไป
รักษาอนุ รักษ์นิเวศวิทยาและสิ่ งแวดล้อมเพราะรัฐเองก็มิได้ตระหนักถึงความสาคัญและมุ่งอนุรักษ์
นิ เวศวิทยาและสิ่ งแวดล้อมอย่างจริ งจังแต่ดาเนินแนวนโยบายการพัฒนาประเทศที่เน้นการลงทุน
โดยมุ่งดึงดูดทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ในการพัฒนาอุตสาหกรรมและเกษตรเชิงพาณิ ชย์ซ่ ึ งส่ งผลให้
เกิดกระบวนการทาลายนิเวศวิทยาและสิ่ งแวดล้อมอย่างรวดเร็ วตลอดมา
ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมก็ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวทางความรู้จนเกิดการรับรู้นิเวศวิทยาและ
สิ่ งแวดล้อมแนวใหม่ถือได้วา่ เป็ นความเปลี่ยนแปลงของการรับรู้และให้ความหมายแก่ ‚ธรรมชาติ‛
รอบตัวมนุ ษ ย์ที่สาคัญยิ่งแม้ว่าการรับรู้ และให้ความหมายแก่ ‚ธรรมชาติ ‛ แนวใหม่ น้ ี จะยังเป็ น
32

กระแสรองในสังคมไทย แต่ก็เริ่ มมีพลังมากขึ้นเรื่ อยๆ ทั้งในแง่พลังในการอธิ บายธรรมชาติและใน


แง่พลังของความสานึ กร่ วมกันของสังคมซึ่ งเป็ นแนวอธิ บายที่ยึดนิ เวศเป็ นศูนย์กลาง (Ecocentric
environmentalism) ที่เริ่ มต้นจากความคิดที่วา่ คนเป็ นส่ วนหนึ่ งของธรรมชาติ เพื่อที่จะรักษาระบบ
นิเวศไว้มนุ ษย์จะต้องปรับตัวที่จะดารงชีวิตอยูอ่ ย่างสอดคล้องกับสิ่ งแวดล้อมมากกว่าที่จะพยายาม
ควบคุมหรื อเอาชนะธรรมชาติ(อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์, 2545: 64) โดยมองความเปลี่ยนแปลงในการ
รั บรู ้ น้ ี เป็ นการเปลี่ ยนแปลงในระดับกระบวนทัศน์ซ่ ึ ง หมายความว่าในสัง คมไทยได้เริ่ มอธิ บาย
สถานะและความสัมพันธ์ระหว่างชีวิตมนุษย์ ชีวิตของสรรพสิ่ ง สังคมและโลกในลักษณะรู ปแบบ
ใหม่ เกิ ดการก่ อตัวขึ้นมาขององค์ความรู้ใหม่ๆ ที่เป็ นผลมาจากโลกทัศน์ใหม่ที่ศึกษาแบบ ‚องค์
รวม‛ จนเกิดการเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ข้ ึนในทุกปริ มณฑลของสังคม เกิดการสื่ อสารทางสังคมบาง
ลักษณะและมีผลกระทบต่อเนื่ องไปยังส่ วนอื่นๆ ของสังคม สะท้อนให้เห็นจากความเปลี่ยนแปลง
เช่ น ในแวดวงการศึกษาประวัติศาสตร์ ที่อธิ บายความเปลี่ยนแปลงของสังคมด้วยพลังหรื อปั จจัย
ทางนิเวศวิทยาและสิ่ งแวดล้อม (อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์, 2545: 3- 4)
จากที่ ก ล่ า วมาจะเห็ น ได้ว่ า แนวคิ ด เรื่ อ งนิ เ วศวิ ท ยาในสั ง คมไทยนั้น ได้มี แ นวทาง
การศึกษาที่เริ่ มจากการศึกษาความเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศวิทยาและสิ่ งแวดล้อม ที่เกิดจากพลัง
อานาจหรื อการกระทาของมนุ ษย์ เช่ น การศึกษาสาขาธรณี วิทยาซึ่ งมักจะเน้นความเปลี่ยนแปลง
ทางด้านธรณี ที่นานเกิ นกว่าเวลาในยุคประวัติศาสตร์ และการศึกษาในสาขาภูมิศาสตร์ ซึ่ งมักจะ
ศึกษาบางด้านของนิ เวศวิทยาและสิ่ งแวดล้อม เช่ นการเปลี่ยนแปลงสภาพดิน ที่ก้าวหน้ามากคือ
ความพยายามใช้ภาพถ่ายทางอากาศเป็ นหลักฐานพิสูจน์หรื อชี้ ให้เห็นลักษณะการตั้งถิ่ นฐานและ
การขยายตัวของชุ มชนโบราณ ซึ่ งไม่ได้พยายามอธิ บายการเปลี่ยนแปลงของระบบนิ เวศโดยตรง
ภายหลังจึ งได้มีการศึ กษาที่ เน้นปฏิ สัมพันธ์ระหว่างระบบนิ เวศและสิ่ งแวดล้อมกับมนุ ษย์ที่ล้วน
แล้วแต่มีอิทธิ พลหรื อผลกระทบซึ่ งกันและกัน เป็ นเน้นการกระทาของมนุษย์ที่ส่งผลให้สมดุลของ
ระบบนิ เวศและสิ่ งแวดล้อมถูกทาลาย เป็ นการศึกษาประวัติศาสตร์ ดว้ ยแนวที่เน้นการกระทาของ
มนุ ษย์ที่ส่งผลให้สมดุ ลของระบบนิ เวศและสิ่ งแวดล้อมถูกทาลาย เป็ นการศึกษานิ เวศวิทยาและ
สิ่ งแวดล้อมที่กา้ วพ้นกรอบความคิดที่เน้นบทบาทมนุษย์เข้าไปใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ เปลี่ยน
มาเน้นการกระทาของมนุษย์ที่ทาให้เห็นและเข้าใจความเปลี่ยนแปลงในอดีตไปในลักษณะที่มนุษย์
ทาให้สมดุ ลของระบบนิ เวศและสิ่ งแวดล้อมถูกทาลายไปโดยชี้ ว่านิ เวศวิทยาและสิ่ งแวดล้อมถูก
ทาลายจากนโยบายที่ผิดพลาดของรัฐ และงานศึกษานี้มีความมุ่งหมายที่จะชี้ ให้เห็นถึงการกระทา
33

ของมนุษย์ในการนาเอาเกลือขึ้นมาใช้แล้วส่ งผลต่อระบบนิเวศอย่างรุ นแรง จนที่สุดก็กลับมาส่ งผล


ต่อความสัมพันธ์ของมนุษย์กบั สิ่ งแวดล้อม และระหว่างมนุษย์ดว้ ยกันในสังคม
8.2.วรรณกรรมทีส่ ั มพันธ์ กบั เรื่องเกลือในภาคอีสาน
งานศึกษาเกี่ ยวกับ ธรณี วิทยา และภูมิศาสตร์ ซึ่ งอธิ บายถึงการสารวจแหล่งน้ าบาดาล
เพื่อแก้ไขปั ญหาภัยแล้งแล้วพบเกลือหิ นและแร่ โพแทชทาให้ต่อมามีการสารวจหาแหล่งกาเนิ ด
เกลื อและโพแทชในภาคอี สานโดยมีงานศึกษาที่อธิ บายถึ งธรณี ประวัติการเกิ ดและดารงอยู่ของ
เกลือหิ นและโพแทชใต้ดินทัว่ ภาคอีสาน โดยอธิบายว่าที่มองว่าภาคอีสานเคยเป็ นทะเลมาก่อน และ
ทาให้มี แร่ เกลื อหิ นและโพแทช อยู่ใ ต้พ้ื นดิ นจานวนมหาศาล ทั้ง บริ เวณแอ่ งสกลนครและแอ่ ง
โคราช เช่น ไสว สุ นทโรทก ‚โพแทชอยูห่ นใด‛( 2521), ณรงค์ ถิรมงคล (2521 ) ข้อคิดเห็นการ
กาเนิ ดเกลือโพแทชในภาคอีสาน, ปกรณ์ สุ วานิ ช(2550) ธรณี วิทยาแหล่งโพแทช – เกลือหิ นของ
ไทย ซึ่งเป็ นรายงานการวิเคราะห์ผลการสารวจแร่ โพแทชและเกลืในภาคอีสาน โดยได้ระบุถึงการ
สารวจแร่ เกลือหิ นและโพแทช ในเขตอาเภอวานรนิวาส ว่ามีการสารวจพบแหล่งแร่ โพแทชที่สาคัญ
เพราะเป็ นบริ เวณที่ลกั ษณะธรณี วิทยาประกอบไปด้วยหมวดหิ นมหาสารคาม โดยอ้างอิงผลการ
เจาะสารวจของกรมทรัพยากรธรณี วิทยา ซึ่ งเจาะสารวจที่บริ เวณวัดโนนวิเวกศรี เมือง อาเภอวานร
นิวาส ที่ระดับความลึกประมาณ 400 – 500 เมตร พบแร่ โพแทชชนิดซิ ลไวต์มีความหนา 19 – 20
เมตร เป็ นแร่ โพแทชซิ ลไวต์ที่ปนกับเกลือสี ขาวใสประมาณร้อยละ 60 และมีแร่ ซิลไวต์ประมาณ
ร้อยละ 40 นอกจากนี้ยงั พบแร่ คาร์ นลั ไลต์ที่ยงั เป็ นเกลือหิ นสี ขาวใส มีความหนาตั้งแต่ 8 – 70 เมตร
ทั้งนี้พบเกลือหิ นใสและเกลือหิ นขาวน้ านม เกลือหินในระดับความลึกต่างๆ และหลุมเจาะสารวจที่
บริ เวณวัดอัมพวา บ้านกุดจิก อาเภอวานรนิวาส ที่ระดับความลึกประมาณ 200, 300, 400 และ 500
เมตร พบเกลือหิ นสี ขาวใส และที่ระดับความลึกประมาณ 380 - 390 เมตร พบแร่ โพแทชชนิดซิ ล
ไวต์มีความสมบูรณ์สูงถึงประมาณร้อยละ 70 – 90 ความหนาตั้งแต่ 36 – 46 เมตร โดยวิเคราะห์วา่ มี
แนวโน้มที่ จะพบแหล่ งแร่ โพแทชชนิ ดซิ ลไวต์บริ เวณตอนใต้ของที่ต้ งั อาเภอวานรนิ วาส จังหวัด
สกลนคร
งานศึกษาเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ โบราณคดีแหล่งเกลือภาคอีสาน ซึ่ งเป็ นการศึกษาพื้นที่
ทาการผลิตเกลือซึ่งมีความสัมพันธ์ในเชิงสังคมและวัฒนธรรม เช่น แวนเลียร์ (2525) ได้ศึกษาเรื่ องเกลือ
และการตั้งถิ่นฐานของคนในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ(“Salt and Settlement in Northeast Thailand”) เป็ นงาน
ศึกษาด้านโบราณคดี เกี่ยวกับการตั้งถิ่ นฐานของชุมชนและการผลิตเกลือของชุ มชนในภาคอีสาน,
พจน์ เกื้อกูล (2518) ศึกษาเรื่ อง บ่อพันขัน, Nitta(1993)ทาการศึกษาทางโบราณคดีเรื่ องความสัมพันธ์
34

ระหว่ า งอุ ต สาหกรรมเกลื อ และเหล็ ก กับ ระบบนิ เ วศวิ ท ยาและสิ่ ง แวดล้อ มอี ส านในยุ ค ก่ อ น
ประวัติ ศ าสตร์ ซ่ ึ งค้น พบหลัก ฐานที่ แ สดงว่ า อี ส านเป็ นพื้ น ที่ ก ารผลิ ต เหล็ ก และเกลื อ เป็ น
อุตสาหกรรมที่ทามาตั้งแต่ยุคบรรพกาล และเป็ นอุตสาหกรรมที่ทาให้เกิ ดความเปลี่ยนแปลงทาง
สังคม วัฒนธรรม และนิเวศวิทยา ในอีสานนี้อย่างพลิกผัน เพราะอุตสาหกรรมการหลอมเหล็ก และ
การทาเกลือต้องใช้เชื้ อเพลิงจานวนมากทาให้ป่าถูกทาลายอย่างรวดเร็ วโดยเฉพาะในลุ่มน้ ามูน – ชี
งานศึ ก ษานี้ เชื่ อมโยงให้เข้า ใจประวัติศ าสตร์ อีส านในฐานะแหล่ งผลิ ตเกลื อที่ ส าคัญของเอเชี ย
ตะวันออกเฉี ย งใต้ และอุ ตสาหกรรมนี้ ท าให้ผูค้ นจานวนมากเข้า มาตั้ง หลัก แหล่ ง ในอี ส านจน
สามารถพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองที่เข้มแข็ง แต่ดว้ ยความเสี ยหายทางนิเวศวิทยาทาให้
ความเข้มแข็งของเมืองในเขตนี้ส่นั คลอนลง ในพื้นดินอีสานนั้นเต็มไปด้วยแร่ เหล็กและเกลือปนอยู่
เหมือนเป็ นรากฝอยแทรกอยูต่ ามเม็ดหิ นเม็ดดินทัว่ ทั้งภาค ทาให้มีการริ เริ่ มคิดพัฒนาอุตสาหกรรม
การหลอมเหล็กและการทาเกลื อซึ่ งถื อว่าเป็ นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ในยุคก่ อนประวัติศาสตร์
นอกจากนี้ในพื้นที่ภาคอีสานพบเนินดินที่เกิดขึ้นในยุคโบราณที่ทาให้รู้ถึงกิจกรรมอุตสาหกรรมใน
พื้นที่ซ่ ึ งมีอยูห่ ลายแหล่งโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในลุ่มน้ าชี -มูนในเขตอีสานใต้ เศษเครื่ องปั้ นดินเผา และ
ร่ องรอยดิ นที่ ถูกเผาไหม้และดิ นตะกรันเหล็กซึ่ งกระจัดกระจายอยู่บนเนิ นดินที่สามารถแยกแยะ
ลักษณะของหลักฐานที่พบได้ว่าเป็ นพื้นที่ทาเกลือ และเป็ นพื้นที่หลอมเหล็ก ซึ่ งระบุช่วงเวลาได้
ชัดเจนว่าราวหนึ่ งพันปี ก่อนคริ สตกาล ส่ วนใหญ่พบในลุ่มน้ าชี -มูน ในเขตอีสานใต้ และพื้นที่รอบ
หนองหานกุมภวาปี ในเขตอีสานตอนบน ซึ่ งซ้อนทับอยู่กบั แหล่งที่มีเกลื อหิ นใต้ดิน ในเขตใกล้
แม่น้ าหรื อหนองน้ า

งานศึกษาของ Nitta นั้นมีขอ้ สรุ ปที่สอดคล้องกับงานศึกษาทางโบราณคดีของศรี ศกั ร วัล


ลิโภดม และนักโบราณคดีอีกหลายคนว่าการที่พ้ืนที่ภาคอีสานสามารถพัฒนาแหล่งผลิตข้าว เกลือ
และเหล็ก โลหะ จานวนมากนั้นเป็ นฐานทาให้เศรษฐกิ จในภูมิภาคนี้เข้มแข็งจนทาให้ผคู้ นอพยพ
เข้ามาตั้งหลักแหล่งเพิ่มมากขึ้น การผลิตเกลือ เหล็ก และทองแดง นั้นไม่ใช่การผลิตขนาดเล็กแต่
เป็ นการผลิ ตถึ งขั้นอุ ตสาหกรรมไม่ใช่ สาหรับเฉพาะในภาคอีสานแต่ครอบคลุ มถึ งพื้นที่ดินแดน
เอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ เพราะว่าเกลือทาให้เกิ ดความมัน่ คงทางอาหาร เหล็กทาให้สามารถผลิต
อาวุธ และเครื่ องมื อการเกษตร และทองแดงนามาใช้ผลิ ตเครื่ องประดับและเครื่ องแสดงความ
รุ่ งเรื องเช่นกลอง โดยที่ผลผลิตเหล่านี้ ขนส่ งทั้งโดยทางบก และทางน้ า ผูค้ นสามารถผลิตสะสมไว้
จานวนมากเพื่อจะส่ งออกทาให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมมากขึ้น และในอีกด้านหนึ่ งก็ทาให้เกิด
การทาลายป่ าไม้อย่างรวดเร็ วด้วยเช่นกัน
35

Nitta สรุ ปว่าการหาประโยชน์จากสิ่ งแวดล้อมจนขาดความสมดุลจากเกลือและเหล็ก


แม้จะสามารถพัฒนาเมืองที่รุ่งเรื องได้สาเร็ จ แต่พบว่าต้นไม้ขนาดใหญ่จานวนมากถูกตัดเพื่อทา
เกลื อและเหล็ ก ที่ มี ค วามต้องการพลัง งานมาก จนยากที่ จะฟื้ นฟูความเสี ย หายของสิ่ ง แวดล้อม
กลับคืนมา จากยุคทวาราวดี และยุคเขมรในที่ราบสู งโคราชนั้นหลายพื้นที่ยงั คงมีการทาเกลือและ
เหล็กอยู่ โดยมีพ้ืนที่เพียงน้อยนิ ดที่ยงั ทาเกลือกับเหล็กหลังยุคเขมรเรื องอานาจ นัน่ แสดงให้เห็นว่า
การทาลายป่ าไม้และสิ่ งแวดล้อมอย่างรวดเร็ วนั้นได้นามาซึ่ งการทาลายองค์ประกอบสาคัญทาง
เศรษฐกิจสังคมเมืองในที่ราบสู งโคราช ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมคืออีกหนึ่ งเหตุผลว่าทาไมความรุ่ งเรื อง
จึงล่มสลายลงอย่างไร, ศรี ศกั ร วัลลิโภดม(2546) “เกลืออีสาน: ทุ่งกุลาอาณาจักรเกลือ 2,500 ปี ‛ ซึ่ ง
อธิ บ ายการผลิ ตเกลื อของคนอี ส านว่า รอบๆ ทุ่ งกุลาร้ องไห้ เป็ นแหล่ งผลิ ตเกลื อสิ นเธาว์หรื อ
‚อาณาจัก รเกลื อ ‛ มาแต่ โบราณกาลยุค สุ วรรณภูมิราว 2,500 ปี มาแล้วพบเศษภาชนะดิ นเผา
หลากหลายขนาดและชนิ ดอยู่รอบๆ ทุ่งกุลาซึ่ งมีชุมชนหนาแน่ นและเป็ นแหล่งทรัพยากรธรรม-
ชาติ เช่น เหล็ก รวมทั้งแหล่งคนที่เติบโตก้าวหน้าเป็ นบ้านเมืองและรัฐ คือ พิมาย(นครราชสี มา)
กับพนมรุ ้ง(บุรีรัมย์) และรัฐอื่นที่อยูใ่ กล้เคียงในยุคต่อมา, สุ จิตต์ วงษ์เทศ, (2549) "กินข้าวกับเกลือ"
อาหารเก่าแก่ที่สุดราว 2,500 ปี มาแล้ว‛ มติชนสุ ดสัปดาห์ และงานเรื่ อง ‚พลังลาวชาวอีสานมาจาก
ไหน‛ ให้ค วามเห็ นว่าเหล็ก และเกลื อนอกจากเป็ นผลิ ตผลทางอุ ตสาหกรรมแล้ว ยังเป็ นสิ นค้า
ระยะไกลด้วย เพราะเป็ นสิ่ งที่ถูกส่ งไปขายหรื อแลกเปลี่ยนนอกเขตภูมิภาค ที่น่าจะส่ งเข้ามาทาง
ภาคกลางในลุ่ มน้ าเจ้าพระยาซึ่ งอยู่ทางด้านตะวันตกทางหนึ่ ง ทางที่สองไปทางตะวันออก ข้าม
แม่น้ าโขงไปทางฝั่งลาวและเวียดนาม ส่ วนทางสุ ดท้ายคือลงไปทางใต้ ข้ามแอ่งเขาพนมดงเร็ กไปสู่
ที่ราบเขมรต่า แถบลุ่มทะเลสาบเขมรในกัมพูชา โดยเฉพาะกับทางเมืองพระนครหรื อกัมพูชาที่อยู่
ทางใต้น้ ี น่าจะเป็ นกลุ่ ม บ้านเมื องที่สัมพันธ์กบั การแลกเปลี่ ยนสิ นค้าเกลื อกับแอ่งโคราชในภาค
ตะวันออกเฉี ยงเหนื อมากกว่าบริ เวณใดทั้งหมด ทั้งนี้ เพราะกัมพูชาเป็ นอาณาจักรที่รุ่งเรื องและมี
ผูค้ นหนาแน่ น ความต้องการเกลื อสิ นเธาว์ย่อมมีสูง และต้องการเป็ นจานวนมาก ยิ่งกว่านั้น ใน
ราชอาณาจักรกัมพูชาเองก็ยงั มีทะเลสาบน้ าจืดที่ใหญ่กว่าที่อื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
เป็ นแหล่งสะสมพันธุ์ปลาที่เป็ นอาหารสาคัญของมนุษย์ เกลืออีสานน่าจะมีบทบาทในการทาปลา
แห้ง ปลาหมัก ปลาดอง และปลาร้ า อยู่ไม่ใช่ น้อย คนที่อยู่ใกล้ทะเล กิ นเกลื อทะเลที่เรี ยกเกลื อ
สมุ ทร แต่ ค นที่ อยู่ภ ายใน ห่ า งไกลทะเลกิ นเกลื อสิ นเธาว์ ฉะนั้น ชุ ม ชนดึ ก ดาบรรพ์หลายพันปี
มาแล้ว ถื อ ว่า บ่ อเกลื อเป็ นสถานที่ ศ กั ดิ์ สิ ท ธิ์ ของชุ ม ชน จะพบบ่ อเกลื อกระจายทัว่ ไปทั้ง อี ส าน
ภาคเหนือ และพรมแดนลาว พม่า เวียดนาม และจีน ตราบจนทุกวันนี้ , เคอร์ ลนั สกี. (2551) ได้เขียน
ประวัติศาสตร์ โลกผ่านเกลือ แปลจาก Salt: A World History แปลโดยเรื องชัย รักศรี อกั ษร ซึ่ งเป็ น
36

งานที่เสนอว่าอดี ตและปั จจุบนั ของการผลิตและการค้าขายเกลือเป็ นเบื้องหลังของประวัติศาสตร์


โลกล้วนเกี่ ยวข้องกับเกลือ อย่างเช่ นการสร้างกาแพงเมืองจีนสร้างจากภาษีเกลือ กองทัพโรมันที่
เกรี ย งไกรก็ส ร้ า งขึ้นจากภาษี เกลื อ อาณาจัก รมายามี รากฐานจากการผลิ ตเกลื อ การค้าระหว่า ง
ประเทศในยุคกลางมีเกลื อและผลิ ตภัณฑ์จากเกลืออย่างปลาเค็มและเนื้ อเค็มเป็ นสิ นค้าหลัก เกลือ
เป็ นสิ้ นค้าสาคัญของจักรวรรดิ องั กฤษที่แผ่อิทธิ พลไปทัว่ โลก ปั จจัยหนึ่ งที่ท าให้ฝ่ายใต้พ่ายแพ้
สงครามกลางเมืองของสหรัฐฯ มาจากความขาดแคลนเกลือ การเคลื่อนไหวเพื่อ เอกราชของอินเดีย
มาจากการคัดค้านการผูกขาดเกลือของจักรวรรดิองั กฤษ งานชิ้ นนี้ สามารถทาให้เห็นบทบาทของ
เกลือในประวัติศาสตร์โลก, Herring (2007) คู่มือนาชมพิพิธภัณฑ์เกลือและยาสู บ(Tobacco and Salt
Museum) ที่ต้ งั อยูท่ ี่กรุ งโตเกียวประเทศญี่ปุ่นซึ่ งมีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ การผลิตและซื้ อขาย
เกลือในญี่ปุ่น และพื้นที่ผลิ ตเกลือในโลก ซึ่ งเสนอว่าในญี่ปุ่นซึ่ งเป็ นเมืองชายทะเลนั้นแม้มีทะเล
หรื อมีน้ าเค็มล้อมรอบทุกทิศ แต่หมู่เกาะญี่ปุ่นก็เป็ นหมู่เกาะที่ฝนตกชุกมีความชื้ นสู ง ทาให้การผลิต
เกลื อจากน้ าทะเลนั้นทาได้ยากต้องใช้วิธีการที่ซับซ้อน โดยในสมัยโบราณคนแถบชายทะเลของ
ท้องถิ่นต่างๆ ในญี่ปุ่นจะทาการผลิตเกลือจากการเผาสาหร่ ายทะเล(Sea-weed burning) ซึ่ งเป็ นการ
โกยเอาสาหร่ ายทะเลขึ้นมาตากแห้งแล้วเอาไปเผาไฟเพื่อจะนาเอาเถ้าสาหร่ ายที่ได้เป็ นสารตั้งต้น
แล้วใช้น้ าทะเลเทให้ไหลผ่านขี้เถ้านี้ เพื่อให้น้ าซับเอาความเค็มที่แทรกอยู่ในเนื้ อเถ้าสาหร่ าย แล้ว
กรองเอาเฉพาะน้ าเค็ม ที่ ไหลออกมา กลายเป็ นน้ าเค็มเข้ม ข้น แล้วนาน้ าเค็มเข้มข้นนั้นไปใส่ ใ น
ภาชนะเครื่ องปั้ นดินเผา (Earthenware salt-boiling vessels) แล้วเผาจนน้ าเค็มในภาชนะดินนั้นตก
ผลึกเป็ นเกลือก็ทุบหม้อเอาเกลือไปใช้ ทาให้ในพื้นที่ชายทะเลที่เคยมีการทาเกลือแบบเผาสาหร่ าย
จะมี หลักฐานเป็ นเศษเครื่ องปั้ นดิ นเผาเป็ นจานวนมากเพราะหลังจากเผาหม้อน้ าเค็มด้วยฟื นแล้ว
น้ าเค็มจะกลายเป็ นผลึกเกลื ออยูใ่ นหม้อ ต้องทุบหม้อเพื่อที่จะเอาเกลือไปใช้ประโยชน์ ซึ่ งรู ปแบบ
การทาเกลือแบบนี้ พบมาตั้งแต่ยุคยาโยอิ หรื อราว 250 - 300 ปี ก่อนคริ สตกาล หรื อราว 2,300 ปี
มาแล้ว อย่างไรก็ตามมีหลักฐานที่แสดงว่าการทาเกลือแบบนี้ อาจจะมีมานานกว่านั้นราว 3,000 ปี ก็
เป็ นได้ และต่อมาได้มีการพัฒนาการทาเกลือแบบนาทราย การทาเกลือแบบชั้นบันได การต้มเกลือ
ด้วยหม้อต้มเกลื อแบบต่างๆ จนปั จจุบนั มีเทคโนโลยีการผลิตเกลือแบบการแยกประจุ ที่สามารถ
แยกเกลื อ และแร่ อื่น ๆ ออกจากน้ าทะเล ตลอดจนนาเสนอวิธีการเก็บรวมข้อมูลประวัติศาสตร์
ชุ ม ชนผ่า นแหล่ ง ผลิ ตเกลื อ โดยมี วิธี ก ารคุ ้ม ครองความรู้ และประวัติศ าสตร์ ท ้องถิ่ นไว้ด้วยการ
ลงทะเบียนเป็ นพื้นที่สมบัติทางวัฒนธรรมมีชีวติ (Intangible Cultural Asset)
37

งานศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ เกลือ และการใช้ ประโยชน์ จากเกลือ เป็ นการศึกษาที่เกิดขึ้น


พร้อมๆ กับการค้นพบแหล่งแร่ เกลื อหิ นและโพแทชในอีสาน และการเริ่ มสารวจทางธรณี วิทยาอย่าง
กว้างขวาง ได้เริ่ มมี การศึกษาเรื่ องเศรษฐศาสตร์ และการใช้ประโยชน์ในทางเศรษฐกิ จจากเกลื ออีสาน
เช่ น หน่ วยวิชาการสาขาภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ธนาคารแห่ งประเทศไทย (2521) รายงานสารวจ
เศรษฐกิ จและตลาดเกลื อในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ซึ่ งเป็ นงานศึกษาเรื่ องระบบตลาดและการผลิ ต
วิธีการผลิต และปริ มาณการผลิตเกลือในจังหวัดต่างๆ ของภาคอีสานซึ่ งเห็นว่าแหล่งการผลิตเกลือเป็ น
ตลาดแรงงานของประชาชนในท้องถิ่นอีสานทาให้คนมีงานทาในฤดูแล้ง, อัมพวัน พักมณี (2527) ได้
ทาวิทยานิ พนธ์เรื่ องระบบตลาดและราคาเกลือในประเทศไทย, อานนท์ เศรษฐเกรี ยงไกรและคณะ
(2536) ศึกษาเรื่ อง ‚ความเป็ นไปได้และความเหมาะสมในการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมเกลือสิ นเธาว์
อาเภอบ้านดุง‛, กองวิจยั การเกษตร, สานักงานเศรษฐกิ จการเกษตร (2538) ได้ศึกษา ‚การผลิตและ
การตลาดเกลือของประเทศไทย‛ เป็ นงานศึกษาเรื่ องราคาของเกลือและปริ มาณการใช้เกลือและความ
ต้องการเกลื อของประเทศที่ มีเพิ่มสู งมากขึ้น โดยเฉพาะเกลือสิ นเธาว์ที่มีค่าโซเดียมคลอไรด์สูงกว่า
และนาไปใช้ในภาคอุตสาหกรรมได้ดีกว่า มีตน้ ทุนการผลิตต่ากว่าและผลผลิตมากกว่าเกลือสมุทร แต่
ในขณะเดียวกันก็มีผลกระทบทางสิ่ งแวดล้อมมากกว่า สาหรับปั ญหาในอนาคตก็คือการเกิดโครงการ
เหมืองแร่ โพแทช ที่จะทาให้มีปริ มาณเกลือออกสู่ ตลาดมากขึ้น ดังนั้น จะต้องมีการควบคุมการผลิ ต
เกลือสิ นเธาว์เพื่อช่วยเหลือชาวนาเกลือสมุทร

งานศึกษาเกี่ยวกับเกลือและความขัดแย้ ง ปรากฏขึ้นเมื่อมีการย้ายฐานการผลิตเกลือจาก
แหล่ งผลิ ตเกลื อชายทะเลมาเป็ นเกลื อจากแหล่ งน้ าใต้ดินอี สานที่ บริ เวณหนองบ่อ อาเภอบรบื อ
จังหวัดมหาสารคาม แล้วขยายออกไปพื้นที่อาเภอกันทรวิชยั จังหวัดมหาสารคาม อาเภอโนนไทย
อาเภอโนนสู ง อาเภอพิมาย อาเภอพระทองคา จังหวัดนครราชสี มา อาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี
อาเภอบ้านม่วง อาเภอวานรนิ วาส จังหวัดสกลนคร อาเภอโซ่ พิสัย จังหวัดหนองคาย ซึ่ งเป็ นการ
ผลิตเกลื อด้วยวิธีการต้มและตากเกลื ออย่างกว้างขวางเพื่อส่ งป้ อนตลาดภาคอุตสาหกรรมที่กาลัง
เติบโตขึ้นขณะที่ประเทศไทยกาลังมีนโยบายการพัฒนาประเทศให้เป็ นประเทศอุตสาหกรรมใหม่
ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

มี การศึ กษาเรื่ องของผลกระทบสิ่ ง แวดล้อมจากการผลิ ตเกลื อของอีส าน โดยเฉพาะ


ประเด็ นของล าน้ า เสี ย วและพื้ นที่ อื่นๆ ที่ ทาการผลิ ต ที่ ออกมาในรู ปบทความทางวิชาการ เช่ น
ประเสริ ฐ วิทยารัฐ (2538) เรื่ อง “เกลืออีสาน‛ ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับการกาเนิดเกลืออีสาน การผลิตและ
38

สภาพปั ญหา โดยผูศ้ ึกษาเห็นว่า ต้องมีการควบคุมการทาเกลือในรู ปแบบของน้ าเค็มเหมือนการทา


เหมื องโดยทัว่ ไป และควรส่ ง เสริ ม ให้มีก ารผลิต เกลือ ในอีส านต่อ ไปแต่ใ ห้มีผ ลกระทบน้อ ย
รวมถึ งการนาเอาแร่ ธาตุอื่นๆ เช่ น แร่ โพแทชขึ้นมาใช้ประโยชน์ในการผลิตปุ๋ ย

นอกจากนี้ ก็ มี รายงานข่ า วความเคลื่ อนไหว ของการต่ อสู้ เรี ย กร้ องของชาวบ้า นกับ
นายทุนรวมถึงโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ที่จะทาให้เกิดการแพร่ กระจายของดินเค็มและน้ าเค็ม เช่น
อัษฎา วนาทรัพย์ดารง ( 2529) นาเสนอรายงานข่าวเรื่ อง ขุมเกลือทองคาขาว เกลือบรบือ, บุญชัย
เจียมจิตจรุ ง(2530) เสนอรายงายเรื่ อง ‚ระวังเกลือท่วมประเทศผันนาเกลือมาเป็ นเหมืองโพแทช‛,
สมชัย วงศ์สวัสดิ์และสมเจตต์ จุลวงษ์(2532) บทความอุทกวิทยาภาคอีสาน ดินเค็ม ผลกระทบทาง
สิ่ งแวดล้อม, พงษ์เทพ จารุ อาพรรณ(2534) เสนอเรื่ องปั ญหาดินเค็มในภาคตะวันนออกเฉี ยงเหนือ ซึ่ ง
เป็ นงานสารวจสภาพปั ญหาและมาตรการในการทาเกลื อในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อที่เสนอว่า
ปั ญหาดินเค็มอันเกิดจากการลักลอบทาเกลือโดยผิดกฎหมายโดยใช้น้ าเกลือจากใต้ดินนั้นเป็ นผลมา
จากความต้องการใช้เกลือในการอุปโภคบริ โภคในชี วิตประจาวันและใช้ในทางอุตสาหกรรม และ
การผลิตเกลือสมุทรและเหมืองเกลือละลายไม่สามารถตอบสนองความต้องการได้ ผูเ้ ขียนได้เสนอว่า
ควรมี การควบคุ มการทาเกลื อลักษณะดังกล่ าว โดยแทนที่ด้วยการส่ งเสริ มอุตสาหกรรมเกลื อเต็ม
รู ปแบบในลักษณะของนิ คมอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เพื่อใช้ทรัพยากรให้เกิ ดประโยชน์สูงสุ ดและ
ป้ องกันผลกระทบทางด้านสิ่ งแวดล้อมไปพร้อมกันด้วย, กลุ่มประชาชนองค์กรพัฒนาเอกชน และ
มหาวิทยาลัยบางแห่ง(2533) “ผลกระทบของสิ่ งแวดล้อมปั ญหาทรัพยากรธรรมชาติภาคอีสาน และ
ผลประโยชน์มหาศาลที่ชาวบ้านไม่ได้ครอบครอง‛ เอกสารรวบรวมการประชุมสัมมนาเรื่ อง ดินเค็ม
ผลกระทบทางสิ่ งแวดล้อม ปั ญหาทรัพยากรธรรมชาติภาคอีสาน และผลประโยชน์มหาศาลที่ชาวบ้าน
ไม่ ได้ครอบครอง โดยกลุ่ มองค์กรพัฒนาเอกชน ที่ จ ัดขึ้ นที่ สถาบันวิ จ ัยและพัฒนามหาวิทยาลั ย
ขอนแก่ น ในประเด็ นปั ญหาเรื่ องล าน้ าเสี ยว และการลักลอบท าเกลื อแบบผิดกฎหมาย ที่ ส ร้ า ง
ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมและพื้นที่ทาการเกษตร แหล่งน้ าในพื้นที่จงั หวัดมหาสารคาม นอกจากนี้ มี
ข่าวและบทความ ที่เป็ นเรื่ องของผลกระทบทางสิ่ งแวดล้อมการทาให้เกิ ดปั ญหาดินเค็ม และการ
ปนเปื้ อนของน้ าเค็มลงสู่ แหล่งน้ าเป็ นส่ วนใหญ่ เช่น วีระ สุ ดสังข์( 2537) นาเสนอเรื่ อง ‚คาถามถึง
ภูเขาเกลือผันน้ ามาละลายภูเขาเกลือ‛, มติชน(2538) “พลิกปูมศึกสามเส้าแอ่งเกลือบ้านม่วง วานร
นิวาส สกลนคร‛
39

ต่อมามี โครงการสารวจแหล่ งแร่ เกลื อหิ นและโพแทชในภาคอีสาน ตลอดจนการท า


สัญญาสารวจและผลิ ตแร่ โพแทชในพื้นที่ จังหวัดชัยภูมิ และจังหวัดอุดรธานี อีกทั้งมีการแก้ไข
กฎหมายแร่ ปี 2545 ทาให้มีการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่จงั หวัด
อุดรธานี ที่มีขบวนการติดตามและเคลื่อนไหวคัดค้านการทาเหมืองแร่ ใต้ดินเกลือและโพแทชซึ่ งมี
การน าเสนอข่ า วสารอย่า งต่ อ เนื่ อ งในห้ว ง 1 ทศวรรษที่ ผ่า นมาทั้ง ทางสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ค ส์
หนังสื อพิมพ์ นิ ตยสาร ต่างๆ เช่ น บาเพ็ญ ไชยรักษ์(2545) สารคดีเรื่ อง ‚บุญกุม้ ข้าวใหญ่ตา้ นภัย
เหมืองแร่ โพแทช‛ ตีพิมพ์ในหนังสื อพิมพ์กรุ งเทพธุ รกิจ, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , สถาบันไทย
คดีศึกษา (2547) งานวิจยั เรื่ องการบริ หารจัดการบ้านเมืองและสังคมที่ดี ด้านสิ่ งแวดล้อม และการมี
ส่ วนร่ วมของประชาชน กรณี โครงการพัฒนาขนาดใหญ่ โดยมีประเด็นปั ญหา โครงการเหมืองแร่
โพแทช อุดรธานี ที่ให้ขอ้ เสนอเกี่ยวกับแนวทางการบริ หารบ้านเมืองและสังคมในด้านสิ่ งแวดล้อมและ
การมีส่วนร่ วมของประชาชนโดยวิพากษ์เกี่ ยวกับกลไกของรัฐในการจัดการทรัพยากร ทั้งในเรื่ อง
ของกฎหมายแร่ รัฐธรรมนูญ สัญญา รายงานการศึกษาผลกระทบทางสิ่ งแวดล้อม รวมถึงนโยบายของ
รัฐบาล โดยเสนอนโยบายสาธารณะเกี่ ยวกับการจัดการเกลือแบบต่างๆ และโพแทชให้มีความสมดุล
กัน โดยเฉพาะเกลือพื้นบ้านและเกลือแบบอุตสาหกรรมแบบต้มและตาก โดยไม่ให้โครงการเหมืองแร่
โพแทชสร้างผลกระทบจากปริ มาณเกลือที่ลน้ ตลาด, เลิศศักดิ์ คาคงศักดิ์และเบญจรัชต์ เมืองไทย
(2548) งานวิจยั วิเคราะห์นโยบายสาธารณะกรณี ศึกษา เกี่ยวกับการจัดการเกลืออีสาน วิถีชุมชน สู่
อุตสาหกรรม โดยแบ่งพัฒนาการการผลิตเกลือในภาคอีสานออกเป็ น 4 ขั้นคือ (1) การผลิตเกลือ
แบบพื้นบ้าน (2) การผลิตเกลือแบบต้มหรื อนาเกลือเพื่ออุตสาหกรรมที่ขยายตัวอย่างมากในภาค
อีสาน (3) การผลิตเกลือด้วยเทคโนโลยีเหมืองละลายเกลือหินของบริ ษทั เกลือพิมาย จากัด ซึ่ งทาให้
อัตราการใช้เกลือจากภาคอีสานในภาคอุตสาหกรรมของประเทศขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว และ
(4) การทาเหมื องเกลื อและโพแทชใต้ดิน ซึ่ งกาลังมีการทดลองและมีแนวโน้มทางนโยบายที่จะ
เริ่ มต้นพัฒนาการใช้เกลือด้วยเทคโนโลยีน้ ี ทั้งนี้การขยายตัวของอุตสาหกรรมในระยะเวลาเกือบ 40
ปี ที่ ผ่านเกิ ดจากนโยบายการจัดการเกลื อเพื่อการพัฒนาประเทศ โดยที่ นโยบายดังกล่ าวมีลกั ษณะ
โอบอุม้ กลุ่มทุนข้ามชาติและกลุ่มทุนขนาดใหญ่ในประเทศในการใช้ทรัพยากรเกลือแบบรวมศูนย์
จนทาลายธุ รกิ จเกลื อในระดับท้องถิ่นให้หมดสิ้ นไปจากตลาดการค้าเกลือ, นัฐวุฒิ สิ งห์กุล(2550)
งานวิทยานิพนธ์ ‚เกลือและโพแทช: ภาษา ความรู้และอานาจ ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติใต้พ้นื ดิน
อีสาน กรณี ศึกษา โครงการเหมืองแร่ โพแทช จังหวัดอุดรธานี ‛ ซึ่ งเป็ นงานที่ มีการอธิ บายเรื่ องข้อ
ถกเถียงเรื่ องเกลือและโพแทชในสังคมไทยโดยเสนอว่ามีความจริ งอันหลากหลายในการสร้างองค์
ความรู้เกี่ยวกับเกลือและโพแทช ทั้งแง่การพัฒนา เศรษฐกิจ สิ่ งแวดล้อม วัฒนธรรม สิ่ งที่ปรากฏก็
40

คือ ความรู ้ เหล่านี้ไม่ได้มีอนั เดียวแต่มีความหลากหลาย เพราะแต่ละฝ่ ายต่างพยายามสร้างให้วาท


กรรมของตัวเองมีความชอบธรรมและได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ผ่านการต่อรอง การปะทะ
ประสานกันบนเวทีสัมมนาเกี่ยวกับประเด็นปั ญหาเรื่ องเกลือและโพแทช ที่สร้างให้เรื่ องเกลือและ
โพแทชถูกกล่าวถึงในพื้นที่ทางสังคม โดยความรู้ที่แต่ละฝ่ ายสร้างและนาเสนอนั้นนัฐวุฒิเรี ยกมัน
ว่า ‚วาทกรรม‛ ซึ่ งมีการปะทะกันของวาทกรรมเพื่อสร้างสัมพันธ์เชิงอานาจและความรู้ จากเนื้ อหา
ความจริ งเรื่ องเกลื อที่วาทกรรมต่างๆ ก่อขึ้นเพื่อแย่งชิ งพื้นที่การให้ความหมายและความจริ งเรื่ อง
เกลือและโพแทช เช่นเรื่ องประวัติศาสตร์ เกลือแบบพื้นบ้านกับเกลืออุตสาหกรรม หรื อเหมืองแร่
โพแทช อันเป็ นการปะทะกันระหว่างความรู้ทางวิศวกรรมเหมืองแร่ กับตานานความรู้พ้ืนบ้าน เพื่อ
ต่อรองและสร้างการยอมรับ อานาจ หรื อความชอบธรรมในการจัดการทรัพยากรแร่ เกลือและโพ
แทช นอกจากนี้ ยงั มีการปะทะกันของวาทกรรมเรื่ องรัฐบาลกับบริ ษทั ข้ามชาติ และวาทกรรมของ
ชาวบ้านที่สัมพันธ์กบั นักวิชาการและนักพัฒนาที่ทาให้ประเด็นเรื่ องวัฒนธรรมชุมชนของชาวบ้าน
มี ค วามส าคัญโดดเด่ น ขึ้ นมา ในเรื่ องความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่า งความรู้ แ ละอ านาจ ในการจัด การ
ทรัพยากรธรรมชาติใต้พ้ืนดิน

งานศึ กษาเกี่ ยวกับอุตสาหกรรมเกลือและเหมืองแร่ โพแทช ที่มีการพัฒนาขึ้นมาอย่ าง


ต่ อเนื่องโดยเน้นไปที่ความสาคัญของเกลือใต้พ้ืนดิน ที่เป็ นเหมือนขุมทรัพย์ทองคาขาวที่ถูกนามาใช้
สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจซึ่ งมีการเพิ่มพื้นที่การผลิตและผลิตกันจานวนมากในช่วงปี พ.ศ. 2516 เป็ น
ต้นมา หลังจากมีการค้นพบว่าใต้พ้นื ดินอีสานมีช้ นั เกลือหินอันมหาศาล เช่น กาญจนา อุทยั เลี้ยง (2546)
“การศึกษากระบวนการยอมรับเทคโนโลยีการผลิตเกลื อของบ้านหนองกวัง่ อาเภอบ้านม่วง จังหวัด
สกลนคร” เป็ นการศึกษาเงื่อนไขการยอมรับเทคโนโลยีของชาวบ้าน ในเทคโนโลยีเตาต้มเกลือ
แบบห้ อ งเผาไหม้ เ ดี่ ย วและเผาไหม้คู่ ที่ ใ ช้ แ กลบเป็ นเชื้ อ เพลิ ง ของคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อลดต้นทุนการผลิตของผูป้ ระกอบการ, วนมพร พาหะนิชย์ (2538) ศึกษา
เรื่ อง ‚ผลกระทบต่อภูมิทศั น์วฒั นธรรมลาน้ าเสี ยวในเรื่ องของการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ในการ
ใช้ที่ดิน ในเขตอาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม‛ ที่สะท้อนให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิ
ทัศน์ทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะการใช้ที่ดินเพื่อการผลิตเกลือเพื่อการค้ าในเขตลาน้ าเสี ยว จังหวัด
มหาสารคาม, เพชร สุ พตั กุล(2542) ศึกษาเรื่ อง ‚ผลกระทบจากการผลิตเกลือสิ นเธาว์บา้ นดุง อาเภอ
บ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ‛ เป็ นการศึกษาผลกระทบจากการผลิตเกลือแบบต้มและแบบตากที่บา้ นดุง
แม้ว่าการผลิ ตเกลื อจะมีผลกระทบกับพื้นที่ทางการเกษตรดินเค็มและน้ าเค็ม แต่ก็ช้ ี ให้เห็นว่าการ
ผลิตเกลือยังมีผลกระทบในทางบวกคือ คนมีรายได้จากการประกอบอาชีพต้มเกลือและเป็ นแรงงาน
41

รับจ้างทาให้เศรษฐกิจในชุมชนขยายตัว, กุสุมา หงษ์ชูตา(2544) ศึกษาเรื่ อง ‚บ่อเกลือบ้านท่าสะอาด


กับวิถีชีวิตของชาวลุ่มน้ าสงคราม กรณี ศึกษาบ้านท่าสะอาด อาเภอเซกา จังหวัดหนองคาย‛ ที่ได้
สะท้อนให้เห็ นแง่มุมทางวัฒนธรรมของการผลิตเกลือที่บา้ นท่าสะอาด ทั้งในแง่พิธีกรรมเกี่ ยวกับ
เกลือที่บ่อหัวแฮด การค้าขายเกลือระหว่างชุมชน รวมทั้งการประกอบอาชีพเกี่ยวกับเกลือ โดยเสนอ
ว่า ควรมีการปรับปรุ งคุณภาพ และการบรรจุผลิตภัณฑ์ เพื่อเป็ นสิ นค้าของชุมชนรวมถึงการสร้าง
การประชาสัมพันธ์ให้คนรับรู ้ และทาให้เป็ นพื้นที่ศึกษาเรี ยนรู้เกี่ยวกับเกลือและวิถีชีวิตของคนใน
ชุมชน, กิติเทพ เฟื่ องฟูขจร (2542) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ศึกษาเรื่ อง ‚การศึกษาเกี่ยวกับ
การทิ้งของเสี ยในหิ นเกลือในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ‛ โดยเป็ นการศึกษาความเป็ นไปได้ของการ
ทิ้งของเสี ยไปในโพรงเกลือของชั้นหิ นเกลือที่อาเภอบาเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ เพื่อคานวณที่จะ
ออกแบบโพรงเกลื อที่มีเสถียรภาพทางกลศาสตร์ และชลศาสตร์ สูงและสามารถเก็บกักของเสี ยได้
อย่างน้อย 100 ปี ที่ระดับความลึก 180 เมตร, คมกริ ช เวชสัสถ์(2545) สาขาวิชาเทคโนโลยีธรณี
สานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ศึกษาเรื่ อง "การศึกษาศักยภาพทาง
กลศาสตร์ ของชั้นเกลื อหิ นสาหรับการทิ้งกากนิ วเคลี ยร์ ในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อของประเทศ
ไทย" โดยเสนอว่า ปริ ม าณกากนิ ว เคลี ย ร์ ที่ เพิ่ม ขึ้ นในประเทศไทยที่ ม าจากอุ ต สาหกรรม
เกษตรกรรมและโรงพยาบาลต่างๆ มีแนวโน้มที่จะก่ อให้เกิ ดอันตรายต่อมนุ ษย์และสิ่ งแวดล้อม
ปั จจุบนั สานักงานปรมาณู เพื่อสันติพบว่ามีกากนิ วเคลียร์ อยู่ในความรับผิดชอบประมาณ 20,000
ลิตร และคาดว่าจะเพิม่ ขึ้นอีกปี ละ 30 ลูกบาศก์เมตร ทั้งหมดปัจจุบนั อยูใ่ นโรงเก็บและยังไม่มีแผนที่
จะก าจัด อย่ า งถาวร การก าจัด กากนิ ว เคลี ย ร์ ที่ ด าเนิ น การอยู่ ใ นประเทศที่ พ ัฒ นาแล้ ว เช่ น
สหรัฐอเมริ กา เยอรมนี และแคนาดา ได้ใช้วิธีการทิ้งในชั้นหิ นลึกที่มีคุณสมบัติในการกักเก็บซึ่ งได้
พิ สู จ น์ ว่ า เป็ นวิ ธี ที่ ป ลอดภัย ที่ สุ ดและถู ก ที่ สุ ด ในภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ มี ช้ ัน เกลื อ หิ น
แพร่ กระจายอยูม่ าก และมีคุณสมบัติในการกักเก็บที่คล้ายคลึงกับที่ใช้ในต่างประเทศ คุณสมบัติเด่น
ของเกลือหิ นคือมีค่าความซึ มผ่านต่า มีความสามารถในการเชื่อมประสานตัวเองและทนความร้อน
ได้สู ง และการวิจยั นี้ เป็ นการประเมิ นศัก ยภาพทางกลศาสตร์ ข องชั้นเกลื อหิ นเพื่อการทิ้ ง กาก
นิวเคลียร์ โดยอาศัยแนวคิดของโพรงละลายในชั้นเกลือหิ นเพื่อเป็ นแหล่งทิ้งกากนิวเคลียร์ ระดับต่า
การออกแบบจะพิจารณาถึงรู ปทรงของโพรง และความต่างทางโครงสร้างธรณี วิทยาที่มีอิทธิ พลต่อ
เสถี ยรภาพของโพรง ผลการวิเคราะห์พบว่าพื้นที่ บ้านกุดจิก อาเภอวานรนิ วาส จังหวัดสกลนคร
เป็ นหนึ่งในพื้นที่ที่มีแนวโน้มความเหมาะสมในการทิง้ กากนิวเคลียร์
งานศึกษาด้ านกฎหมาย/นโยบายรั ฐและการจัดการเกลือ เช่ น สุ ชาติ สุ ขสะอาด (2544)
“เรื่ องแนวทางการจัดการอุตสาหกรรมเกลือสิ นเธาว์แบบยัง่ ยืน กรณี ศึกษาอาเภอบ้านดุ ง จังหวัด
42

อุดรธานี‛ ซึ่ งมีการวิเคราะห์ในแผนการพัฒนาประเทศที่ไม่สอดคล้องกับการผลิตเกลือสิ นเธาว์ ซึ่ ง


ผูเ้ ขียนสรุ ปว่ารัฐควรที่จะสนับสนุนประกอบอุตสาหกรรมเกลือสิ นเธาว์เพราะเป็ นอาชีพของคนใน
ชุมชน โดยเฉพาะเกลือต้มที่ใช้พ้ืนที่นอ้ ยและสามารถสู บน้ าเกลือใต้ดินได้ตลอดเวลาและควรจะทา
ในรู ปของประปาเพื่อจาหน่ายให้กบั ผูป้ ระกอบการโดยองค์กรส่ วนท้องถิ่น, มีชุดงานวิจยั โครงการ
จัดการทรัพยากรเกลือ ดินเค็มและน้ าเค็มแบบยัง่ ยืนในภาคอีสานตอนบน โดยเป็ นงานวิจยั ระยะยาว
ต่ อ เนื่ อ งร่ วมกั น ระหว่ า งคณะเทคโนโลยี ธ รณี และคณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยได้รับการสนับสนุนด้านทุนจากกรมทรัพยากรธรณี ซึ่ งเป็ นเรื่ องของการ
วางแผน การกาหนดยุทธศาสตร์ ในการจัดการทรัพยากรดินเค็มและน้ าเค็มภาคอีสานให้สอดคล้อง
กับสภาพของแต่ละพื้นที่ โดยข้อสรุ ปก็คือควรส่ งเสริ มการศึกษาเพื่อหาแนวทางนาเกลื อที่มีอยู่ใน
ภูมิ ภาคปริ มาณมหาศาลมาใช้ประโยชน์ โดยให้มี ผลกระทบน้อยที่ สุ ดเพื่ อเป็ นสิ นค้า ส่ ง ออกใน
อนาคต นอกจากนี้ มีงานวิทยานิ พนธ์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่นาเสนอประเด็นเกี่ ยวกับ
การจัดการเกลื อ ในเชิ ง ธุ ร กิ จ เพื่ อสร้ า งรายได้ใ นทางเศรษฐกิ จ รวมถึ ง ปั ญหาเรื่ อ งผลกระทบ
สิ่ งแวดล้อมที่เกิดจากการผลิตเกลือ อาทิเช่น ดารง ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม(2545) “การจัดการ
ธุ รกิจเกลือสิ นเธาว์ในอาเภอกันทรวิชยั จังหวัดมหาสารคาม‛ ศึกษากระบวนการผลิตและปั จจัยที่มี
ผลต่อการประกอบธุ รกิจ ไม่วา่ จะเป็ นพื้นที่ที่ทางราชการอนุญาต การมีแรงงานมากเพียงพอ รวมทั้ง
การมีปัญหาผลกระทบทางสิ่ งแวดล้อมน้อยที่ทาให้เกิดการผลิตเป็ นจานวนมาก ผูศ้ ึกษาเห็นว่าควร
ยกเลิ กกฎหมายที่ ให้ผลิ ตได้ครึ่ งปี ให้ผลิ ตได้ตลอดทั้งปี เช่ นเดียวกับ ชัชวาลย์ น้อยคายาง(2545)
การศึกษาเรื่ อง ‚ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมจากการผลิตเกลือแบบต้มและตากที่บา้ นกุดเรื อคาและ
บ้านจาปาดง อ.วานรนิ วาส จังหวัดสกลนคร‛ เกี่ ยวกับการผลิตเกลือแบบต้มและตากเปรี ยบเทียบ
กัน พบว่า มี ผ ลกระทบทางสิ่ ง แวดล้อ มเหมื อ นกัน แต่ ผูป้ ระกอบการมี ก ารจัด การและชดเชย
ผลกระทบทางสิ่ งแวดล้อมทาให้ลดความขัดแย้งในชุ มชนลงได้ ผูศ้ ึกษาเห็นว่าควรมีการส่ งเสริ ม
การบรรจุหีบห่อและเติมสารไอโอดีนเพื่อเป็ นสิ นค้าสร้างรายได้และควรผลักดันให้เป็ นสิ นค้าหนึ่ง
ตาบลหนึ่ งผลิตภัณฑ์, รติสมัย พิมยั สถาน (2546) “ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อปริ มาณการผลิตเกลื อ
สิ นเธาว์ กรณี ศึกษาอาเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร‛ จากการศึกษาพบว่า พื้นที่การผลิต จานวน
แรงงานและปริ มาณเชื้ อเพลิ งมีผลต่อการประกอบอาชี พการผลิตเกลือสิ นเธาว์ รวมถึงผลกระทบ
ทางสิ่ งแวดล้อม ดินเค็ม น้ าเค็ม และความขัดแย้งกับชุมชนใกล้เคียง, กลุ่มสามประสานการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม, กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม, สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อม (2548) ทาการวิจยั สารวจและข้อมูลเกี่ ยวกับเกลือเรื่ องเกลือสิ นเธาว์ นาเสนอข้อมูล
43

เกี่ ย วกับ การผลิ ต เกลื อ สิ น เธาว์ใ นภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ การผลิ ตและการใช้ประโยชน์ ใน
อุตสาหกรรมต่างๆ และให้ขอ้ เสนอในทางนโยบายว่า เกลือซึ่ งเป็ นผลพลอยได้จากเหมืองแร่ โพแทช
ซึ่งเป็ นเกลือบริ สุทธิ์ ที่สามารถนาไปใช้ได้ดีในอุตสาหกรรม และทาให้ประเทศไทยผลิตเกลือได้จานวน
มหาศาลที่จะทาให้เกิ ดการพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมของประเทศในระยะยาว, พงษ์พนั ธ์ บุปเก
(2550) วิทยานิพนธ์เรื่ อง ‚การใช้กฎหมายในการกาหนดพื้นที่ การขออนุญาต การควบคุม การสู บ
น้ าเกลือใต้ดิน และการทาเกลือสิ นเธาว์จากน้ าเกลือใต้ดิน โดยเสนอว่ากฎหมายที่บงั คับใช้อยูย่ งั ไม่
มีประสิ ทธิ ภาพ ขาดความเป็ นเอกภาพ ตลอดจนขาดสภาพบังคับใช้ที่เหมาะสมเพื่อกาหนดพื้นที่
การขออนุ ญาต การควบคุมการสู บน้ าเกลือใต้ดินและการทาเกลือสิ นเธาว์จากน้ าเกลือใต้ดิน และ
ควรมีการปรับปรุ ง, เครื อข่ายนักวิชาการนิเวศวัฒนธรรมอีสาน (2550) ได้ตีพิมพ์ หนังสื อ เกลื อ
อีสานองค์ ความรู้ ส่ ูยทุ ธศาสตร์ การจัดการอย่ างยั่งยืน ที่ได้รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับพัฒนาการการทา
เกลือในภาคอีสานตั้งแต่ยุคการทาเกลือพื้นบ้าน การทาเกลือเพื่ออุตสาหกรรม ตลอดจนการพัฒนา
เหมืองเกลือในปั จจุบนั ซึ่ งพบปั ญหาต่างๆ มากมาย เช่น ดินเค็ม น้ าเค็มกระจายเพิ่มขึ้นในภาคอีสาน
เกิ ดความเสี ยหายต่อสิ่ งแวดล้อม และความขัดแย้ง อย่างไรก็ตามปั จจุบนั มีแนวโน้มการพัฒนา
อุตสาหกรรมเกลือ ผ่านโครงการเหมืองแร่ ใต้ดินใน 6 จังหวัดภาคอีสานซึ่ งจะเป็ นการนาเกลือขึ้นมา
จากใต้ดินอีสานจานวนมหาศาล และอาจจะส่ งผลกระทบรุ นแรงต่อชุมชนและสังคมอีสาน เอกสาร
เล่ ม นี้ ช้ ี ใ ห้เห็ นว่า เกลื อในประสบการณ์ ท างสัง คม เศรษฐกิ จ และวัฒนธรรมของคนอี ส านเป็ น
เหมือนดาบสองคม คื อมี ท้ งั ประโยชน์และอันตราย ทั้งนี้ ได้มีการเสนอแนะทางนโยบายในการ
บริ หารจัดการเกลือในระดับชุมชน ท้องถิ่น และระดับชาติ โดยมีวสิ ัยทัศน์วา่ เกลือและแร่ ที่เกี่ยวกับ
เกลือ ต้องจัดการและใช้ประโยชน์อย่างเป็ นธรรมและยัง่ ยืน ภายใต้ความสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม
และสิ่ งแวดล้อม โดยยึดหลักองค์ความรู้ที่ถูกต้อง รอบด้าน และการมีส่วนร่ วมของประชาชนใน
การบริ หารจัดการ
นอกจากนี้พบงานศึกษาเรื่ อง เกลือและสุ ขภาพ ซึ่ งมองเกลือในฐานะของวัตถุเพื่อสุ ขภาพ
เช่น แก้ว กังสดารอา( 2534) สถาบันวิจยั ด้านโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิ ดล เสนอ ‚เมื่อเกลือไม่ใช่แค่
เพียงเกลือ‛ ในวารสารหมอชาวบ้าน โดยศึกษาเรื่ องเกลื อและความสัมพันธ์กบั การส่ งเสริ มการ
บริ โภคเกลือไอโอดีน ซึ่ งเป็ นแร่ ธาตุสาคัญในการป้ องกันโรคคอพอก โดยเฉพาะในเขตภาคเหนื อ
และภาคอีสาน ซึ่ งเป็ นพื้นที่ ที่อยูห่ ่ างไกลจากทะเล ทาให้ได้รับอาหารที่มีธาตุไอโอดีนน้อย จึงได้
มีการส่ งเสริ มการผลิตเกลื อผสมไอโอดีน โดยกระทรวงสาธารณสุ ข ในขณะที่บริ ษทั เกลือรายใหญ่ ได้
ส่ งเสริ มการขายเกลื อเพื่อบริ โภคโดยมีจุดขายคือผสมไอโอดี น ในคอลัมน์เจาะตลาดธุ รกิ จก้าวหน้า
44

เรื่ อง เกลือปรุ งทิ พย์ บุกตลาด ซึ่ งสะท้อนให้เห็นการก้าวเข้ามาในระบบธุ รกิจเกลือเพื่อสุ ขภาพ ที่วาง
จาหน่ายในรู ปของผลิตภัณฑ์การบรรจุหีบห่อที่สวยงามมีราคาแพงกว่าเกลือทัว่ ไปของบริ ษทั เกลือปรุ ง
ทิ พ ย์ จ ากัด ที่ ผ ลิ ต เกลื อ แบบเหมื อ งละลาย ที่ อาเภอพิ ม าย จัง หวัด นครราชสี ม า นอกจากนี้ มี
“ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข ฉบับที่ 153 พ.ศ.2537 เรื่ องเกลือบริ โภค‛ (2537). ที่กาหนดให้เกลือ
บริ โภคก็คื อเกลื อแกงที่ ใ ช้ปรุ ง แต่ง รสอาหารซึ่ งบรรจุอยู่ในภาชนะที่พ ร้ อมจาหน่ ายโดยตรงต่ อ
ผูบ้ ริ โภค โดยกาหนดให้เกลือบริ โภคจะต้องมีไอโอดีนไม่นอ้ ย 30 มิลลิกรัม ต่อเกลือ 1 กิโลกรัม
โดยที่รัฐบาลไทยยังได้ออกกฎหมาย เพื่อแยกมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกลือบริ โภค ออกเป็ นสอง
ระดับ คือ มาตรฐานผลิตภัณฑ์เกลือบริ โภค ที่ มอก.2085/2544 และมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เกลือบริ โภคบริ สุทธิ์ ที่ มอก. 2086/2544 เพื่อจาแนกคุณภาพ และรู ปแบบการผลิตเกลือบริ โภคทั้งแบบ
เกลือผสมไอโอดีน และเกลือสมุทรที่มีสารไอโอดีนเป็ นองค์ประกอบที่สูง ซึ่ งส่ งผลต่อการรับรู้ของคน
ต่อการบริ โภคเกลือ
งานศึกษาเกี่ยวกับเกลือในช่วงเวลาที่ผา่ นมามีเนื้อหาได้หลากหลายครอบคลุมเรื่ องธรณี วิทยา
,ภูมิศาสตร์ , ประวัติศาสตร์ โบราณดี , เศรษฐศาสตร์ , สังคม, วัฒนธรรม, การเมือง, สิ่ งแวดล้อม,
วิทยาศาสตร์ , เทคโนโลยี, สุ ขภาพ ซึ่ งทาให้มองเห็นว่าในระยะแรก ๆ วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับเกลือ
มุ่งอธิ บายเกลือในฐานสิ นแร่ ที่เกิดจากการพัฒนาทางธรณี วิทยาอันยาวนาน เป็ น ‘ทรัพยากร’ ที่สามารถ
ใช้ประโยชน์ในทางเศรษฐกิ จ ในอีกด้านหนึ่ งได้มีการพัฒนาความรู้ทางประวัติศาสตร์ โบราณคดีของ
ชุ มชนอีสาน และลุ่มน้ าสงครามที่เกี่ ยวข้องกับการเข้ามาใช้ทรัพยากรเกลือทาให้เกิ ดความเชื่ อ และวิถี
การผลิ ตในชุ มชนท้องถิ่ นและสามารถเป็ นสิ นแร่ ที่ดึงดูดผูค้ นมาตั้งถิ่ นฐานและสร้างเป็ นชุ มชนถาวร
และขนาดใหญ่ ข้ ึ น และในภายหลัง ได้มี ง านที่ น าเสนอเรื่ องผลกระทบจากการขยายตัว ของ
อุตสาหกรรมเกลื อจนก่อให้เกิดวิกฤตด้านสังคม สิ่ งแวดล้อม และการเมือง จากแนวทางการผลิต
และใช้เกลือที่มีอยูใ่ ต้ดินอีสาน อันเป็ นข้อถกเถียงเรื่ องการจัดการและใช้ประโยชน์เกลืออย่างมีธรร
มาภิ บ าลซึ่ ง มี ม ากขึ้ นในระยะหลัง วรรณกรรมเหล่ า นี้ ท าให้เห็ น ฐานความรู้ และข้อถกเถี ย งที่
หลากหลายเกี่ยวกับเกลือในสังคม
8.3. วรรณกรรมที่เกีย่ วข้ องกับลุ่มนา้ สงคราม
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับลุ่มน้ าสงครามสามารถแบ่งได้ตามเนื้ อหาและช่วงเวลาได้แก่
เรื่ องประวัติศาสตร์โบราณคดี การตั้งถิ่นฐานในชุมชนลุ่มน้ าสงคราม เช่น งานของ สุ วิทย์ ธี รศาศวัต
, ชอบ ดีสวนโคก, สุ รัตน์ วรางรัตน์ (2530) เป็ น ‚รายงานการวิจยั เรื่ อง การเปลี่ ยนแปลงทาง
เศรษฐกิ จในชุ มชนลุ่ ม แม่ น้ า สงครามตั้ง แต่ พ.ศ. 2475 ถึ งปั จจุบนั ‛ ซึ่ งนาเสนอให้เห็ นภาพ
45

ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจของชุ มชนต่างๆ ในลุ่มน้ าสงคราม เช่น พัฒนาการระบบเกษตรกรรมที่เริ่ ม


ตั้งแต่การเข้ามาตั้งถิ่ นฐานอยู่ชว่ั คราวเพื่อทาการประมง ต่อมาเริ่ มพัฒนาตั้งรกรากเป็ นชุ มชนถาวร
และขยายพื้นที่เกษตรกรรม, วิไลลักษณ์ ทรงศิริ (2538 ) เอกสารเผยแพร่ ของศูนย์ศิลปวัฒนธรรม
สถาบันราชภัฏสกลนคร ซึ่งเป็ นรายงานการวิจยั ทางโบราณคดี โดยระบุถึงการศึกษาทางโบราณคดี
และพบแหล่งผลิตเกลื อที่จดั ว่าอยู่ในระดับอุตสาหกรรมมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ในจังหวัด
สกลนคร และจังหวัดนครพนม ซึ่ งตั้งอยู่ระหว่างลาน้ าอูนและลาน้ ายามซึ่ งเป็ นลาห้วยสาขาของ
แม่น้ าสงคราม จากหลักฐานที่พบคือเศษภาชนะดินเผาเนื้ อแกร่ ง เศษกระดูกสัตว์ และอื่นๆ ส่ วน
กรรมวิธีการผลิ ตแม้ยงั ไม่มีขอ้ สรุ ปแต่ต้ งั ข้อสังเกตว่าน่าจะคล้ายกับการทาเกลือในแถบลุ่มน้ ามูน
และระบุ ถึ ง ความเป็ นมาของการผลิ ตเกลื อในบ่ อเกลื อหัว แฮด ที่ ก ลางน้ า สงคราม อาเภอเซกา
จัง หวัด หนองคาย ซึ่ งมี ก ารท ามากว่า 80 ปี มาแล้ว นอกจากนี้ ยัง น าเสนอเกี่ ย วกับ กลุ่ ม เตา
เครื่ องปั้ นดินเผาลุ่มน้ าสงคราม จากการสารวจพบกลุ่มเตาที่สร้างโดยการขุดที่ริมตลิ่งแม่น้ าสงคราม
ซึ่ งมีความสัมพันธ์กบั กลุ่มเตาในเวียงจันทน์เป็ นการผลิ ตภาชนะดินเผาขนาดอุตสาหกรรมช่ วงที่
บ้านเมืองแถบลุ่มน้ าโขงเป็ นปึ กแผ่นในรัชกาลพระเจ้าไชยเชษฐา(พ.ศ.2091 – พ.ศ.2115) จนถึง
รัชกาลพระเจ้าสุ ริยวงศาธรรมิกราช (พ.ศ.2181 – พ.ศ.2238), วลัยลักษณ์ ทรงศิริ (2539) “แหล่ง
ผลิ ตเกลื อสมัยโบราณลุ่มน้ าสงคราม‛ ตีพิมพ์ในวารสารเมืองโบราณ ซึ่ งนาเสนอการสารวจทาง
โบราณคดีในลุ่มน้ าสงครามและพบแหล่งผลิตเกลือโบราณในแถบลุ่มน้ าสงครามตอนล่าง 9 แหล่ง
นอกจากแหล่ ง ผลิ ตเกลื อโบราณแล้ว ยัง มี ร ายงานการส ารวจพบกลุ่ ม เตาและเครื่ องปั้ นดิ นเผา
บริ เวณริ มสองฝั่งแม่น้ าสงครามประมาณ 90 เตา ตั้งแต่บา้ นหาดแพง อาเภอศรี สงคราม จังหวัด
นครพนม ไปจนถึงบ้านนาหวาย อาเภออากาศอานวย จังหวัดสกลนคร เป็ นระยะทางตามลาน้ าราว
90 กิโลเมตร ลักษณะเด่นของเครื่ องปั้ นดินเผาจากกลุ่มเตาลุ่มน้ าสงคราม คือ สร้างเตาเผาโดยขุดเข้า
ไปในตลิ่ งแม่น้ าปูพ้ืนด้วยหิ นกรวดแม่น้ า มีช่องใส่ ไฟทาด้วยศิลาแลง การขุดสร้างเตาเผาริ มตลิ่ ง
แม่น้ านั้นง่ายสาหรับการลาเลียงสิ นค้าทางน้ า ซึ่ งเป็ นเส้นทางที่สะดวกที่สุดในอดีตที่มีการลาเลียง
สิ นค้าออกสู่ แม่น้ าโขง และจากลักษณะรู ปเตา วิธีการเผา ประมาณอายุการผลิตเครื่ องปั้ นดินเผาใน
กลุ่มเตาลุ่มน้ าสงครามมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 19-22 และร่ วมสมัยกับกลุ่มเตาเวียงจันทน์ การผลิต
เครื่ องปั้ นดิ นเผาแบบเดี ยวกันนี้ในลุ่มน้ าโขง ซึ่ งเป็ นการผลิตภาชนะดินเผาขนาดอุตสาหกรรมใน
ช่วงเวลาที่ชุมชนในลุ่มน้ าโขงเป็ นปึ กแผ่นมัน่ คง, ศรี ศกั ร วัลลิโภดม (2538) กล่าวถึงประวัติศาสตร์
การก่อตั้งชุ มชนในลุ่มน้ าสงคราม นับแต่เมืองไชยบุรี ซึ่ งเป็ นเมืองที่ต้ งั ตรงปากแม่น้ าสงครามโดย
พวกย้อที่อพยพมาจากลาวในปี พ.ศ.2351 หรื อเมื่อปลายสมัยรัชกาลที่ 1 แต่พอเกิดกบฏเจ้าอนุวงศ์
ในสมัยรัชกาลที่ 3 ผูค้ นก็ถูกกวาดต้อนข้ามแม่น้ าโขงกลับไป ในช่วงสงครามปราบเจ้าอนุวงศ์พวก
46

ไทลาวจากยโสธร อุบลราชธานี เมืองเขมราช ก็เคลื่อนย้ายเข้ามาแทนที่ หลังจากสงครามสิ้ นสุ ด


ลง กลุ่มชาวย้อได้อพยพไปตั้งบ้านเมืองใหม่ที่บา้ นท่าอุเทน ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 กลุ่มชาติชาว
โย้ย ได้อพยพมาจากฝั่งซ้ายแม่น้ าโขงมาตั้งบ้านเมืองขึ้นในเวลาไล่เลี่ยกันในเขตเมืองอากาศอานวย
เมืองวานรนิวาส ซึ่ งอยูร่ ิ มฝั่งลาน้ ายาม สายน้ าสาขาของแม่น้ าสงคราม และเมืองสว่างแดนดิน ที่ต้ งั
อยูท่ างฝั่งตะวันออกของแม่น้ าสงคราม ส่ วนบ้านปากอูน (อาเภอศรี สงครามในปั จจุบนั ) ซึ่ งตั้งอยู่
ปากน้ าอูน บรรจบกับแม่น้ าสงครามนั้น มีกลุ่ มชาวโซ่ ได้อพยพมาตั้งเป็ นหมู่บา้ นในปลายสมัย
รัชกาลที่ 4 และมีชาวย้อจากไชยบุรี เมืองท่าอุเทน เข้ามาสมทบ จนสามารถตั้งเป็ นเมืองขึ้นใน พ.ศ.
2436, ศรี ศ ัก ร วัล ลิ โภดม (2539) บทความจากภูพ านถึ ง ไชยบุ รี ภาพรวมประวัติศ าสตร์ และ
โบราณคดีลุ่มน้ าสงคราม ตีพิมพ์ในวารสารเมืองโบราณ อธิ บายว่าลาน้ าสงครามเป็ นสายเลือดหลัก
ของอีสานตอนบน บริ เวณลุ่มน้ าสงครามตอนบนคือบริ เวณตั้งแต่เชิงเขาภูพาน ครอบคลุมพื้นที่ใน
เขตอาเภอเมืองสกลนคร จนถึงอาเภอหนองหาน อาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ซึ่ งเป็ นพื้นที่ที่อุดม
สมบูรณ์มาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เพราะเป็ นที่ราบลุ่มมีลาน้ าไหลมาจากเทือกเขาภูพานหล่อ
เลี้ ยงตลอดปี ทาให้ผคู ้ นมาตั้งถิ่ นฐานบริ เวณนี้ก่อนบริ เวณอื่น ส่ วนบริ เวณลุ่มน้ าสงครามตอนล่าง
นั้นมีการสารวจพบเตาเผา โนนเกลือ และพื้นที่ป่าบุ่งป่ าทาม, กระทรวงศึ กษาธิ การ, สานักงาน
สามัญศึกษาจังหวัดสกลนคร(2542) “ฮักถิ่นบ้านเฮา‛ เสนอประวัติชุมชนบ้านภูตะคามในเขตลุ่มน้ า
สงครามตอนบน ซึ่ ง เป็ นชุ ม ชนที่ ต้ งั บนแหล่ ง ต้น น้ า ในเทื อกเขาภูพ าน อาเภอส่ องดาว จัง หวัด
สกลนคร
นอกจากนี้พบงานศึกษาเพื่อจัดทาโครงการเขื่อนแม่น้ าสงคราม ซึ่ งทาให้มีการศึกษาของ
ฝ่ ายเจ้าของโครงการคือกรมพัฒนาส่ งเสริ มพลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ได้มีงาน
ศึกษาเชิงเทคนิคเรื่ องการสร้างเขื่อน และการประเมินผลกระทบจากการสร้างเขื่อน เป็ นงานศึกษา
ทางเทคนิ ควิศวกรรมในการออกแบบสร้างเขื่อนลุ่มน้ าสงครามเพื่อประโยชน์ทางการประมง การ
ท่ อ งเที่ ย ว และการป้ องกัน น้ า ท่ ว ม เช่ น ‚งานศึ ก ษาและจัด ท าแผนป้ องกัน แก้ไ ขผลกระทบ
สิ่ งแวดล้อมจากการกักเก็บน้ าในตัวลาน้ าโครงการน้ าสงคราม‛, กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี,
และสิ่ งแวดล้อม กรมพัฒนาและส่ งเสริ มพลังงาน (2542), กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
สิ่ งแวดล้อม, กรมพัฒนาและส่ งเสริ มพลังงาน(2538) “งานศึก ษาและจัดท าแผนป้ องกันแก้ไ ข
ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมจากการเก็บกักน้ าในตัวลาน้ าโครงการน้ าสงคราม‛ และ “รายงานหลัก
การศึ ก ษาทบทวนความเหมาะสม โครงการน้ า สงคราม, สรุ ปแผนการพัฒนาโครงการลุ่ มน้ า
สงคราม‛ ดาเนิ นงานโดย บริ ษทั เอเชี่ ยน เอ็นจิเนี ยริ่ งคอนซับแตนส์ จากัด, EPDC International
Limited, บริ ษทั ปั ญญา คอนซับแตนท์ จากัด ( 2539) “เอกสารประกอบงานสัมมนา เรื่ อง งานศึกษา
47

และจัดทาแผน ป้ องกันแก้ไ ขผลกระทบสิ่ ง แวดล้อมจากการเก็บ กักน้ าในตัวลาน้ า โครงการน้ า


สงคราม‛ โรงแรมปริ นซ์พาเลช กรุ งเทพมหานคร 9 กันยายน 2539, งานเหล่านี้ ได้อธิ บายลักษณะ
ทัว่ ไปของลุ่ ม น้ า สงคราม เช่ น มี พ้ื นที่ ป ระมาณ 12,700 ตารางกิ โลเมตร ในจัง หวัดอุ ด รธานี
หนองคาย สกลนคร และนครพนม ปริ มาณฝนเฉลี่ยตั้งแต่ 1,300 มิลลิเมตรต่อปี ทางด้านตะวันออก
เฉี ยงใต้ และมีค่าสู งสุ ดประมาณ 1,700 มิลลิเมตรทางด้านตะวันออกเฉี ยงเหนือที่ติดกับแม่น้ าโขง มี
พื้นที่ราบลุ่มกระจายอยูส่ องฝั่งลาน้ า มีสภาพดินเป็ นดินตะกอนตะพักลาน้ า เป็ นต้น
นอกจากนี้ ยงั พบงานศึกษาที่เป็ นข้อโต้แย้งของฝ่ ายประชาสังคม นักวิชาการ นักพัฒนา
เอกชน องค์กรชุ มชน เช่ น มหาวิทยาลัยศิลปากร, ภาควิชามานุ ษยวิทยา (2539) เรื่ อง ‚การศึกษา
ผลกระทบด้านโบราณคดี ศิลปะและวัฒนธรรม โครงการน้ าสงคราม‛ ซึ่ งมีขอ้ มูลด้านพัฒนาการ
ประวัติศาสตร์ การตั้งถิ่นฐาน และโบราณคดีในชุ มชนลุ่มน้ าสงครามครอบคลุมทั้งลุ่มน้ าสงคราม
ตอนบนและตอนล่าง ซึ่ งระบุความสัมพันธ์ของแหล่งโบราณคดีบา้ นเชียง ที่ต้ งั อยูใ่ นลุ่มน้ าสงคราม
ตอนบน ที่มีชุมชนเกษตรกรรมก่อนประวัติศาสตร์ เกิ ดขึ้นและเชื่ อมโยงกับชุ มชนในแถบหนอง
หานสกลนคร, ธี รดา นามให และเลิศศักดิ์ คาคงศักดิ์ (2545) “ทบทวนโครงการโขงชีมูลผลกระทบ
และความไม่คุม้ ค่าที่เกิดขึ้น‛ ซึ่ งเป็ นเอกสารประกอบการสัมมนาภาคประชาสังคมกับการจัดการ
น้ าในภูมิภาคลุ่มน้ าโขง. มูลนิ ธิฟ้ื นฟูชีวิตและธรรมชาติ ระบุถึงผลกระทบของโครงการพัฒนาลุ่ม
น้ าสงคราม หรื อเขื่อนลุ่มน้ าสงคราม โดยนาเสนอให้เห็นภาพรวมว่าโครงการเขื่อนน้ าสงครามเป็ น
หนึ่ งในโครงการโขง ชี มูล ซึ่ งเป็ นโครงการสร้างเขื่อนหลายแห่ งในภาคอีสานเพื่อบริ หารจัดการ
ครอบบคลุ ม แหล่ ง น้ า ในภาคอี ส านและแนวทางการผัน น้ า โขงเข้า สู่ อี ส าน ทั้ง นี้ ได้น าเสนอ
ผลกระทบเรื่ อ งปั ญ หาการกระจายของดิ น เค็ม จากการสร้ า งเขื่ อ นในพื้ นที่ ที่ มี โ ครงสร้ า งดิ น ที่
ประกอบด้วยเกลือในหลายพื้นที่, นอกจากนี้ ได้มีการจัดประชุมเพื่อนาเสนอข้อถกเถียงเรื่ องควร
สร้างหรื อไม่ควรสร้างเขื่อนน้ าสงคราม ทาให้เกิดงานศึกษาเรื่ องนิเวศลุ่มน้ าสงครามที่มีพ้ืนที่ป่าน้ า
ท่วมถึ ง หรื อป่ าบุ่ งป่ าทามอันเป็ นแหล่ งทรัพยากรประมงที่สัม พันธ์ กบั ลุ่ มน้ า โขง เช่ น งานของ
ประสิ ทธิ์ คุณุรัตน์ (2544) “ป่ าทาม มดลูกของแม่น้ า ไตของแผ่นดิน‛ ป่ าทามป่ าไทยเป็ นงานที่
ระบุถึงความสาคัญของพื้นที่ชุ่มน้ า หรื อ ป่ าบุ่งป่ าทามลุ่มน้ าสงครามซึ่ งเป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ปลา
ตามธรรมชาติในพื้นที่ราบน้ าท่วมถึงของลุ่มน้ าสงครามที่มีอาณาบริ เวณกว้างขวางในฤดูน้ าหลาก
และแห้งขอดในฤดูแล้ง , พรพนา ก๊วยเจริ ญ และเลิ ศศักดิ์ คาคงศักดิ์(2544) “วิถีประมงลุ่มน้ า
สงคราม‛ เป็ นงานศึกษาที่อธิ บายถึงวิถีการประมงในรอบหนึ่ งปี ซึ่ งมีเครื่ องมือประมงพื้นบ้านที่
หลากหลาย และมีความรู ้ทอ้ งถิ่นในการจัดการทรัพยากรประมง หรื อถึงการอธิ บายนิเวศลุ่มน้ า เช่น
วังปลา หมายถึงแหล่งที่อยูข่ องปลาซึ่ งเป็ นหลุมลึกในตัวลาน้ า เป็ นต้น , ศิลปวัฒนธรรม. (2540)
48

“วัฒนธรรมปลาแดกล่ม อวสานแห่งชีวติ ลุ่มน้ าสงคราม‛, ศันสนีย ์ ชูแวว(2541) เรื่ อง ‚ความสาคัญ


ของทรั พยากรประมงต่ อเศรษฐกิ จสัง คมพื้นบ้านลุ่ ม น้ า สงคราม‛ ซึ่ งเป็ น เอกสารประกอบการ
สัมมนาวิถีชีวิตชาวประมง การอนุ รักษ์และจัดการในลุ่มน้ าโขงตอนล่างชี้ ให้เห็นความสาคัญของ
พื้นที่ราบน้ าท่วมถึงในลุ่มน้ าสงครามตอนล่างซึ่ งเป็ นแหล่งทรัพยากรประมงที่หลากหลายทั้งชนิ ด
และปริ มาณในลุ่มแม่น้ าโขงตอนล่าง และปลาคืออาหารโปรตีนที่สาคัญที่สุดของครัวเรื อน วิถีชีวิต
ความเป็ นอยูแ่ ละเศรษฐกิจครัวเรื อนของคนในลุ่มน้ าโขงตอนล่าง จึงผูกพันกับสายน้ าและแหล่งน้ า
ธรรมชาติมาช้านาน โดยคาดว่าอย่างน้อยมีผลผลิตปลาในพื้นที่ราบน้ าท่วม 4,000 ตัน/ปี หากมีการ
เลี้ ยงปลาในนาข้าวด้วย, นอกจากนี้ พบงานในท้องถิ่น ศรี ศกั ร วัลลิโภดมเป็ นบรรณาธิ การ(2541)
คือ ‚วัฒนธรรมปลาแดก‛, ศิลปวัฒนธรรม (2540) “วัฒนธรรมปลาแดกล่ม อวสานแอ่งชีวิตลุ่มน้ า
สงคราม‛,ภาคภูมิ วิธาน -ติ รวัฒน์ และบรรพต ศรี จนั ทร์ นิตย์ (2539) “รายงานการวิจยั เรื่ อง
‚เศรษฐกิ จ สังคม และระบบนิ เวศป่ าชุ มชนภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ กรณี ศึกษาป่ าทามบ้านดง
สาร‛ โดยได้เ สนอเศรษฐกิ จ ชุ ม ชนจากการพึ่ ง พิ ง ป่ าบุ่ ง ป่ าทาม, เอกชัย คะษาวงศ์ (2541)
“วัฒนธรรมปลาแดกในชุมชนลุ่มแม่น้ าสงครามตอนล่าง ศึกษากรณี หมู่บา้ นศรี เวินชัย ตาบลสามผง
อาเภอศรี สงคราม จังหวัดนครพนม.” ในหนังสื อเรื่ อง วัฒนธรรมปลาแดก, สุ รัตน์ วรางรัตน์ (2540)
“วัฒนธรรมการประกอบอาชี พประมงลาน้ าสงครามของกลุ่มไทโซ่ บา้ นปากอูน ไทลาว บ้านปาก
ยาม อาเภอศรี สงคราม จังหวัดนครพนม‛, กาญจน์ หงษ์ณี(2538) “รายงานผลการศึกษาการจัดการ
ป่ าบุ่งป่ าทามและแหล่งน้ าธรรมชาติของคณะกรรมการหมู่บา้ น กรณี ศึกษาบ้านปากยาม ต.สามผง
อ.ศรี สงคราม จ.นครพนม‛. นอกจากนี้ยงั มีเอกสารอัดสาเนาของ ชวลิต วิทยานนท์ และคณะ(2541)
“ความหลากชนิ ด, สถานภาพของพรรณปลาในลุ่ มแม่น้ าสงครามตอนล่ างและความสาคัญต่อ
เศรษฐกิจสังคมพื้นบ้าน‛ ได้กล่าวถึงการสารวจพบความหลากชนิ ดของปลาอย่างน้อย 182 ชนิ ด
จาก 39 วงศ์ โดยปลาเศรษฐกิจที่พบในตลาดอย่างน้อย 82 ชนิด ที่นามาขายเป็ นปลาสดและทาเป็ น
ปลาร้า ปลารมควัน ปลาแห้ง, ชานาญ พงษ์ศรี ( 2544 ) ให้ขอ้ มูลว่าความหลากหลายของชนิดพันธุ์
ปลาเท่ าที่ ส ารวจพบในลุ่ มน้ าสงครามมีจานวน 198 ชนิ ด บริ เวณน้ า ท่วมถึ ง หรื อในเขตลุ่ มน้ า
สงครามตอนล่าง เป็ นพื้นที่ที่มีความหลากชนิดของพันธุ์ปลาสู งเมื่อเทียบกับจานวนชนิดปลาที่พบ
ในระบบแม่น้ าโขงของประเทศไทยทั้งหมด ซึ่ งพบแล้วอย่างน้อย 290 ชนิ ด , สพสันต์ เพชรคา
(2540) “ปากยาม : หมู่บา้ นประมงในลุ่มแม่น้ าสงครามกับการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจและสังคม
เป็ นวิทยานิ พนธ์ ซึ่ งนาเสนอเรื่ องความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิ จสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน
บ้านปากยาม‛ ซึ่ งเป็ นชุ มชนที่ก่อตัวขึ้นมาจากกลุ่มคนที่เดินทางมาทาการประมงในลุ่มน้ าสงคราม
49

และเคยเป็ นจุดสาคัญในการค้าขายทางเรื อในลุ่ มน้ าสงครามในอดีตต่อมาได้พฒั นาเครื่ องมือการ


ประมงรู ปแบบต่างๆ ขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ บา้ นปากยามยังเป็ นชุมทางค้าขายทางน้ าในลุ่ม
น้ าสงครามที่จะนาเกลือและปลาแดกไปขายยังชุมชนอื่นในลุ่มน้ าโขง, เอกสารประกอบสัมมนา
เสนอแผนการจัด การทรั พ ยากร ธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้อมโดยชุ ม ชนลุ่ ม น้ า สงครามตอนล่ า ง
มหกรรมวิถีชีวิตชุ มชนลุ่มน้ าสงครามตอนล่าง. 24 เมษายน 2547;สถาบันราชภัฏ สกลนคร โดย
เสนอทิศทางการอนุ รักษ์ป่าบุ่งป่ าทาม ทรัพยากรประมง เพื่อความมัน่ คงทางอาหาร และพัฒนา
เศรษฐกิ จชุ ม ชนอย่า งยัง่ ยืน และเอกสาร ‚แผนการจัด การทรั พ ยากรโดยชุ ม ชนลุ่ ม น้ า สงคราม
ตอนล่าง‛ ซึ่ งเป็ นบันทึกคาบอกกล่าวของชาวลุ่มน้ าสงครามที่พยายามอธิบายถึงระบบนิเวศของลุ่ม
น้ าของตนให้คนอื่นเข้าใจ ผ่านภาพวิถีชีวิตของคนลุ่มน้ าที่สัมพันธ์กบั ทรัพยากรธรรมสิ่ งแวดล้อม
อย่า งไร และขบวนการภายในชุ ม ชนได้เสนอกระบวนการจัดแผนการจัดการทรั พยากรลุ่ ม น้ า
สงครามตอนล่าง อันเกิดจากความเปลี่ยน แปลงการใช้ทรัพยากร ในลุ่มน้ าสงครามตอนล่าง ภายใต้
แรงผลัก ของนโยบายพัฒ นาเศรษฐกิ จ ของประเทศ อัน ได้น าไปสู่ ค วามเคลื่ อ นไหวของฝ่ าย
ประชาชนท้องถิ่นซึ่ งเสนอความเห็นของชุมชน ต่อปัญหาความเสื่ อมโทรมของทรัพยากรดิน น้ า ป่ า
ปลา ที่ เกิ ดขึ้ นในลุ่ มน้ า สงคราม พร้ อมทั้งเสนอแนวทางการแก้ไขปั ญหา เป็ น ‚แผนการจัดการ
ทรัพยากรโดยชุ มชนลุ่มน้ าสงครามตอนล่าง‛ จากความร่ วมมือกันของ 30 ชุ มชนในพื้นที่ลุ่มน้ า
สงครามตอนล่ างร่ วมกันจัดทาขึ้ นมา,บาเพ็ญ ไชยรักษ์ (2552) สารคดี ชุด ‚แม่น้ าสี เขียวคราม‛
ตีพิมพ์โดยบริ ษทั อมริ นทร์ พริ้ นติ้ง มีเนื้ อหาเกี่ ยวกับความเปลี่ยนแปลงด้านนิ เวศวัฒนธรรมของ
ชุมชนลุ่มน้ าสงคราม ส่ วนที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์การทาเกลือที่บ่อหัวแฮด กลางลาน้ าสงคราม
ในอดีตการทางานในบ่อเกลือก็จะเริ่ มตั้งแต่สร้างเพิงพักชัว่ คราว หาฟื น ขุดรื้ อบ่อเกลือ ตักน้ าเกลือ
จากบ่อน้ าเกลื อระดับตื้ น โดยอธิ บายว่าการทาเกลื อที่ บ่อหั วแฮดในสมัยก่ อนเป็ นการต้มเกลื อจะ
จากัดอยู่เฉพาะในฤดู แล้ง เพราะต้องคอยให้น้ า แห้งลงบ่อที่อยู่ใ นเกาะหรื อสันดอนกลางแม่น้ า
สงครามโผล่ข้ ึนมาก่อน หม้อต้มเกลือทาจากถังแดงผ่าครึ่ ง และใช้ฟืนที่หาได้ตามป่ าทามรอบๆ บ่อ
หรื อบางที ก็จบั ไม้ที่ลอยมาตามน้ า แต่คนที่มาต้มเกลื อจะมาจากหลายที่ แล่ นเรื อขึ้นมากันทีล ะ
หลายกลุ่ม และฤดูกาลต้มเกลือก็เป็ นฤดูกาลที่สนุกสนานของชาวบ่อเกลือ และในปั จจุบนั การผลิต
เกลือที่บ่อหัวแฮดยังดารงอยู่
วรรณกรรมเกี่ยวกับลุ่มน้ าสงครามที่กล่าวมาได้นาเสนอประวัติศาตร์ ชุมชนที่เกี่ยวเนื่อง
กับการเข้ามาใช้ทรัพยากรโดยเฉพาะการเข้ามาผลิตเกลือเมื่อราว 400 ปี มาแล้ว และขยายตัวมากขึ้น
ภายหลังการพัฒนาการทาเกลื อบริ เวณบ่อหัวแฮด ซึ่ งส่ งผลให้เกิดการค้าขายสัมพันธ์กบั ชุมชนใน
ภูมิภาคลุ่มน้ าโขงจนก่อตั้งชุ มชนถาวรในพื้นที่ลุ่มน้ าสงครามตอนล่าง ทั้งนี้ ในแง่การใช้ประโยชน์
50

ทรัพยากรในลุ่มน้ าสงครามมีตวั แปรที่สาคัญคือโครงการเขื่อนน้ าสงคราม ซึ่ งภายหลังล้มเลิกไป


เพราะกระบวนการต่อสู ้ทางความรู้เรื่ องผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม โดยมีประเด็นที่อ่อนไหวคืออาจ
ทาให้เกิดการแพร่ กระจายของดินเค็มหากสร้างอ่างเก็บน้ าขนาดใหญ่แหล่งเกลือใต้ดินมหาศาล

9. คานิยามศัพท์ ทใี่ ช้ ในการศึกษา


เกลือ หรื อ ธาตุโซเดียมคลอไรด์ NaCl
เกลือพืน้ บ้ าน เป็ นกระบวนการผลิตเกลือโดยใช้เทคโนโลยีพ้ืนบ้านที่ทาสื บต่อกันมาใน
ระดับครัวเรื อน แม้ปัจจุบนั มีการเปลี่ยนแปลงวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตบ้าง แต่ส่วนใหญ่ยงั ใช้
รู ปแบบการผลิตแบบดั้งเดิม เพื่อขายหรื อแลกเปลี่ยนท้องถิ่น มีปริ มาณการผลิตไม่มากนัก
เกลือ อุต สาหกรรมขนาดเล็กและขนาดกลาง เป็ นการผลิ ตเกลื อในระดับ พื้ นที่ มี ก าร
พัฒนาเทคโนโลยีและอุปกรณ์/เครื่ องมือการผลิตที่ทนั สมัยกว่าเกลือพื้นบ้าน เป็ นอุตสาหกรรมเกลือ
ที่มีขนาดใหญ่กว่าเกลื อพื้นบ้าน ที่ผูผ้ ลิ ตซึ่ งเป็ นนายทุนทั้งในท้องถิ่ นและมาจากภายนอกลงทุน
สร้างโรงงานผลิตเพื่อจาหน่ายในปริ มาณมาก
เกลือ อุ ต สาหกรรมขนาดใหญ่ เป็ นอุ ตสาหกรรมที่ มี ก ารผลิ ตเกลื อด้วยเทคโนโลยีที่
ทันสมัย มีกาลังการผลิตและใช้งบประมาณลงทุนสู ง(ซึ่ งรวมไปถึงอุตสาหกรรมแร่ ที่เกี่ยวข้องกับ
เกลือ ที่ได้เกลือเป็ นผลพลอยได้) โดยเน้นการใช้บริ โภคและเป็ นปัจจัยการผลิตตั้งต้นของผลิตภัณฑ์
ต่างๆ มากมาย ทั้งภายในประเทศและส่ งออกไปต่างประเทศ
โพแทช มากจากภาษาอังกฤษคาว่า Potash หมายถึง K สารชนิดหนึ่งที่ประกอบไปด้วย
โพแทสเซี ยม คาร์ บอเนต และเกลือโพแทสเซี ยมอื่นๆ ถือเป็ นแร่ ที่เป็ นสารตั้งต้นของอุตสาหกรรม
ต่อเนื่องต่างๆ มากมาย ทั้งสบู่ ผงซักฟอก ปุ๋ ยเคมี กระจก พลาสติก ฯลฯ ปั จจุบนั มีการใช้ภาษาไทย
เขียนทับ ศัพท์คานี้ ต่างกันไป อาทิ โปแตซ โพแทช โพแตซ โพแทซ ฯลฯ แต่ เพื่อให้ก ารอ้างใน
งานวิจยั นี้ไม่สับสนและเป็ นระบบเดียวกันทั้งหมด จึงในงานศึกษานี้ใช้คาว่า ‚โพแทช‛
นิเวศวัฒนธรรม หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
ทั้งที่เป็ นสภาพทางภูมิศาสตร์ กายภาพ และการอยูร่ ่ วมกับสิ่ งมีชีวติ อื่นๆ อันส่ งผลให้เกิดการปรับตัว
และสร้างวัฒนธรรมตามหลักความสมดุลกับระบบนิเวศ
สุ ขภาพ หมายถึง สุ ขภาวะ คือภาวะของมนุ ษย์ท้ งั ทางกาย ทางจิต ทางปั ญญา และทาง
สังคม เชื่อมโยงกันเป็ นองค์รวมอย่างสมดุล (พ.ร.บ.สุ ขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550)
บทที่ 2
พัฒนาการการผลิตเกลือในลุ่มนา้ สงคราม

ในประวัติศาสตร์ มนุษย์จะหาเกลือโดยการตามสัตว์ไปขณะสัตว์ไปหากินดินโป่ ง เพราะ


ดินโป่ งจะเป็ นแหล่งเกลือที่สาคัญ เมื่อพบดินโป่ งก็จะสร้างหมู่บา้ นขึ้นใกล้ๆ กันขึ้น เมื่อมนุษย์เจริ ญ
ถึงขั้นมีการวิวฒั นาการกินธัญพืชเป็ นอาหาร กินอาหารจากสัตว์นอ้ ยลงไปมนุษย์เริ่ มแสวงหาเกลือ
จากแหล่งอื่ นๆ เพื่อนามาบริ โภค และมนุ ษย์ถือว่าเกลือเป็ นสิ่ งสาคัญมาก ถึ งขนาดที่ชาวโรมัน
นามาจ่ายเป็ นค่าจ้างให้กบั ทหารอันเป็ นต้นกาเนิ ดของคาว่า Salary ที่แปลว่า “เงินเดือน” (มีราก
ศัพท์มาจากคาว่า salt ที่แปลว่าเกลือ) และในสมัยต่อมาเกลือได้เป็ นสิ นค้าหลักที่ซ้ื อขายกันในโลก
ในคริ สต์ศตวรรษที่ 6 มีพ่อค้าในทะเลทรายจานวนมากที่คา้ ขายเกลือในมูลค่าเทียบเท่ากับทองคา
(ประสิ ทธิ์ คุณุรัตน์ และเศกสรรค์ ยงวณิ ชย์, 2545: 2)
อดีตและปั จจุบนั ของการผลิตและการค้าขายเกลือเป็ นเบื้องหลังการเคลื่อนก้าวไปของ
ประวัติศาสตร์ โลกที่ลว้ นเกี่ยวข้องกับเกลือ เช่น กาแพงเมืองจีนสร้างจากภาษีเกลือ กองทัพโรมันที่
เกรี ยงไกรก็ส ร้ างขึ้ นจากภาษี เกลื อ อาณาจักรมายาที่รุ่ง เรื องมี รากฐานจากการผลิ ตเกลื อ การค้า
ระหว่างประเทศในยุคกลางมีเกลือและผลิตภัณฑ์จากเกลือเป็ นสิ นค้าหลัก อย่างปลาเค็มและเนื้ อเค็ม
เกลือเป็ นสิ นค้าสาคัญที่ทาให้จกั รวรรดิองั กฤษพยายามแผ่อิทธิ พลไปทัว่ โลก ปั จจัยหนึ่ งที่ทาให้ฝ่าย
ใต้พา่ ยแพ้สงครามกลางเมืองของสหรัฐฯ มาจากความขาดแคลนเกลือ การเคลื่อนไหวต่อสู้เพื่อเอก
ราชของชาวอินเดี ยจากอังกฤษเริ่ มต้นจากการคัดค้านการผูกขาดเกลือของจักรวรรดิองั กฤษ(เคอร์
ลันสกี, 2551: หน้าคานาผูแ้ ปล)
1. ลักษณะธรณีวทิ ยาเกลือในลุ่มนา้ สงคราม
เกลือที่ฝังตัวอยูใ่ ต้ดินบริ เวณลุ่มน้ าสงครามมีความเป็ นมาเชื่ อมโยงกับธรณี ประวัติการ
เกิดที่ราบสู งอีสานเมื่อประมาณ 65 – 100 ล้านปี ล่วงมาแล้ว หลังน้ าทะเลไหลเข้ามาถึง 3 ครั้ง จน
เกิ ดโครงสร้ างธรณี วิทยาที่ มีช้ นั หิ นเกลือเป็ นชั้นๆ จากการสะสมตัวและตกตะกอนน้ าเค็มที่ไหล
กลับไม่ได้เพราะมีการยกตัวของขอบแอ่งกลายเป็ นทะเลปิ ด แล้วถูกแดดแผดเผาจนตกตะกอนเป็ น
เกลือหิ นและแร่ โพแทช

51
52

รุ่ งเรื อง เลิศศิริวรกุล (อ้างถึงใน บาเพ็ญ ไชยรักษ์, 2552: 133 - 134) อธิ บายว่าชุดดินที่
เกิ ดจากการรุ ก ของทะเลคื อ “หมวดหิ นมหาสารคาม” ซึ่ งถู ก ปกปิ ดด้วยชั้นหิ น ทรายแป้ ง และ
หินดินดาน ของ “หมวดหินชุดภูทอก” ไม่หนานักฉาบไว้ราวหนังกาพร้าที่ปิดเนื้ อแท้แห่ งความเค็ม
ของทะเลไว้ขา้ งใต้ ขณะที่ทะเลสาบน้ าจืดต่างๆ ในภาคอีสานเช่ น หนองหานกุมภวาปี จังหวัด
อุดรธานี หนองหาร จังหวัดสกลนคร หนองญาติ จังหวัดนครพนม ฯลฯ นั้นล้วนเกิดจากน้ าบาดาล
กัดเซาะโดมเกลือใต้ดินจนทรุ ดตัวลงกลายเป็ นทะเลสาบในเวลาต่อมา
ปั จจัยทางธรรมชาติน้ ี ได้ทาให้เกิดโครงสร้างทางธรณี วิทยาในภาคอีสานซึ่ งต่อมาผูค้ น
ในภูมิภาคนี้ ได้มีพฒั นาการการนาเกลือใต้ดินนั้นขึ้นมาใช้ประโยชน์เป็ นลาดับ ดังที่ นเรศ สัตยา
รักษ์ และคณะ(2530) อธิ บายว่าการผลิตเกลือสิ นเธาว์ในอีสานปั จจุบนั มีการสู บน้ าบาดาลเค็มที่อยู่
ในชั้นหิ นเกลือลึกตั้งแต่ 40 – 70 เมตรขึ้นมาเพื่อตาก หรื อต้มให้เป็ นผลึกเกลือ ซึ่ งมีการผลิตมานาน
กว่า 30 ปี โดยใต้ดินนั้นมีเกลื อและแร่ โพแทช หลายชนิดเรี ยงตัวจากชั้นบนลงล่าง ได้แก่ แอนไฮ
ไดรต์ เกิ ดปิ ดอยู่บน เกลือชั้ นบน ซึ่ งมักเป็ นเกลือที่มีตะกอนคาร์ บอนเกิ ดปนอยู่มากสี น้ าตาลอ่อน
จนถึงสี ควันดา ตามมาด้วย คลาสติกชั้ นกลาง ส่ วนใหญ่เป็ นดินเหนี ยวสี น้ าตาลแดง ค่อนข้างอ่อน
ก่อนเป็ นเกลือชั้ นกลาง ที่มีลกั ษณะคล้ายเกลือชั้นบนมีสีน้ าตาลอ่อนถึงสี ควันดาแต่จะมีความหนา
มากกว่าเกลือชั้นบน และล่างสุ ดอาจพบแร่ โพแทช ก่อนจะเป็ นคลาสติกชั้ นล่ าง ลักษณะคล้ายกับ
คลาสติกชั้นกลาง แต่มีสายแร่ เกลื อและสายแร่ คาร์ นลั ไลต์เกิ ดปนอยู่มากก่อนจะเป็ นชั้นเกลือหิน
หลากสี เหนื อชั้นโพแทชอี กชั้น ที่พบมี 2 ชนิ ด ได้แก่ ซิ ลไวต์ซ่ ึ งมีสีขาวและส้มอ่อน และคาร์
นัลไลต์ซ่ ึ งเกิ ดจากการตะกอนจากน้ าทะเลโดยตรงมีสีส้ม สี แดง และสี ชมพู และในชั้นโพแทชนี้
พบว่า มีแร่ แมกนี เซี ยมเกิ ดร่ วมด้วย ก่อนจะเป็ น เกลือชั้ นล่ าง ที่มีความหนา และมีอยู่ทว่ั ที่ราบสู ง
โคราช จนก่อให้เกิ ดสภาวะดิ นเค็ม จากโดมเกลื อที่ใกล้กบั ผิวดิ นมากที่สุดจนบางบริ เวณมีความ
หนามากกว่า 1 กิโลเมตร เป็ นเกลือที่สะอาด ในบางบริ เวณเกลือหินชั้นล่างมีหนามากกว่า 400 เมตร
โครงการศึ กษาปั จจัยทางธรณี วิทยาที่ ท าให้เกิ ดดิ นเค็มในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ
พ.ศ.2547 ในพื้นที่ 11 อาเภอ 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสกลนคร จังหวัดหนองคาย(ปั จจุบนั คือจังหวัด
บึงกาฬ) และจังหวัดนครพนม ระบุว่าหมวดหิ นมหาสารคามมีบทบาทในการเกิ ดดินเค็มบริ เวณกลาง
แอ่ งสกลนคร ครอบคลุ มอาเภอวานรนิ วาส อาเภออากาศอานวย และอาเภอนาหว้า ซึ่ งมี ล ักษณะ
ธรณี วิทยาและ ธรณี วิทยาโครงสร้างใต้ผิวดิ น (Subsurface Geology and Structural Geology)
(โครงการศึกษาปั จจัยทางธรณี วิทยาที่ทาให้เกิ ดดินเค็มในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ พ.ศ. 2547,
2547: 25 – 25) เป็ นลักษณะชั้นหิ นที่เอียงเทจากขอบแอ่งบริ เวณโครงสร้างโค้งงอภูพาน เข้าสู่ กลาง
แอ่งในทิศทางตะวันออกเฉี ยง เหนือ ทาให้ขอบแอ่งด้านเทือกเขาภูพานมีช้ นั หิ นและชั้นเกลือหิ นใน
53

ระดับ ตื้ น และเนื่ องจากบริ เวณกลางแอ่ง มีช้ ันหิ นปิ ดทับชั้นบนค่อนข้า งหนาท าให้ช้ ันเกลื อหิ น
ปรากฏที่ระดับลึกและสม่าเสมอ โดยขอบแอ่งด้านตะวันตก มีการปูดโค้งงอรู ปประทุนคว่าประทุน
หงายบ้างชั้นเกลือหิ นปูดขึ้นในระดับตื้น และมักมีการกระจายตัวของดินเค็ม-น้ าเค็มปรากฏ เช่น แนว
ขอบแอ่งและโครงสร้างโค้งงอภูพานพบพื้นที่ดินเค็ม-น้ าเค็มตั้งแต่อาเภอสว่างแดนดิน-อาเภอพังโคน
ไปจนถึงอาเภอพรรณานิ คม ส่ วนขอบด้านตะวันตก บริ เวณที่ช้ นั หิ นปูดโค้งแบบประทุนคว่า ชั้นเกลือ
ถูกยกขึ้นระดับตื้น ก็พบการกระจายตัวของดินเค็ม-น้ าเค็ม เช่นกัน
ทั้งนี้ลกั ษณะน้ าบาดาลในลุ่มน้ าสงครามบริ เวณตอนใต้ของอาเภอบ้านดุง ในเขตพื้นที่ราบ
น้ าท่วมถึ ง ตะกอนที่ ยงั ไม่แข็งตัว (Unconsolodated Sediments) ที่ปิดทับชั้นหิ นอุม้ น้ าชุ ดโคราช
ตอนบนอยู่ ประกอบด้วยตะกอนทรายและดินเหนี ยวเป็ นส่ วนใหญ่ แต่เนื่องจากชั้นหิ นอุม้ น้ าด้านล่าง
มีช้ นั หิ นเกลือ (Salt Formation) ในหมวดหิ นมหาสารคามทาให้น้ าบาดาลที่ได้ท้ งั จากในชั้นหิ นอุม้ น้ า
และในชั้นตะกอนที่ยงั ไม่แข็งตัวเป็ นน้ าเค็มหรื อน้ ากร่ อย(Salty or Brackrish Water) เนื่องจากอิทธิ พล
ของหินเกลือหมวดหิ นมหาสารคามรองรับอยูด่ า้ นล่าง (กรมพัฒนาและส่ งเสริ มพลังงาน, 2538: 3-25)
2. พัฒนาการการผลิตเกลือในภาคอีสาน
สุ จิตต์ วงษ์เทศ (2549) อธิ บายว่า “ เกลือ” ในภาคอีสานคือ “เกลือสิ นเธาว์” หรื อเกลือที่ได้
จากแผ่นดินที่มีโดมเกลือ น้ าเค็มอยูใต้ดิน คนที่อยูใ่ กล้ทะเล กินเกลือทะเล หรื อ “เกลือสมุทร” แต่
คนที่อยู่ภายในทวีปดิ นแดนที่ห่างไกลทะเลกิ นเกลือสิ นเธาว์ ฉะนั้น ชุ มชนดึกดาบรรพ์หลายพันปี
มาแล้วถื อว่าบ่อเกลื อเป็ นสถานที่ ศกั ดิ์ สิ ทธิ์ ของชุ มชน โดยจะพบบ่อเกลื อกระจายทัว่ ไปในภาค
อีสาน ภาคเหนื อ และพรมแดนลาว พม่า เวียดนาม และจีน ตราบจนทุกวันนี้ และราว 3,000 ปี
มาแล้ว เกลื อเป็ นสัญลักษณ์ ของความมัง่ คัง่ มัง่ มี และอานาจ เห็นได้จากหลักฐานทางโบราณคดี
อีสานที่ทาเกลือสิ นเธาว์ เป็ นสิ นค้าส่ งแลกเปลี่ยนซื้ อขายไปถึงบริ เวณทะเลสาบกัมพูชากับบริ เวณ
ลุ่มน้ าเจ้าพระยา และเคยใช้เป็ นเครื่ องมือแลกเปลี่ยนเช่นเดียวกับเงินมาก่อน
คนยุคดั้งเดิมดึกดาบรรพ์ราว 3,000 ปี มาแล้วคงรู้วิธีสกัดเอาเกลือจากแหล่งเกลือท้องถิ่น
เป็ นอย่างดี และน่าจะมีการแลกเปลี่ยนกันเองระหว่างท้องถิ่นต่างๆ ภายในภูมิภาคแล้ว แต่การผลิต
เป็ นจานวนมากจนถึ งขั้นเป็ นอุ ตสาหกรรมคงเกิ ดขึ้นเมื่อราว 2,000 ปี ลงมา อันเป็ นระยะเวลาที่
การค้า ระยะไกลมี ก ารขยายเครื อ ข่ า ยกว้า งขวางกว่า แต่ เดิ ม เกิ ด ชุ ม ชนใหม่ ๆ ในภูมิ ภาคต่ า งๆ
มากมายทาให้ความต้องการเกลือสู งขึ้น จึงได้มีคนในภาคอีสาน หันมาประกอบอาชีพทาเกลือตาม
แอ่งเกลือในที่ต่างๆ (สุ จิตต์ วงษ์เทศ, 2549: 235 – 236) โดยที่มนุษย์น่าจะผลิตเกลือพร้อมๆ กับ
สังคมการเพาะปลูกข้าว เมื่อมนุษย์เริ่ มตั้งชุมชนเป็ นหลักแหล่งมีการปลูกข้าว เลี้ยงสัตว์ ซึ่ งมักจะอยู่
54

ใกล้ๆ แหล่ งเกลื อ ไม่ว่า ไทย มอญ พม่ า เขมร หรื อลาว เพราะเกลื อเกี่ ยวข้องกับ ประวัติศาสตร์
อาหารการกินของผูค้ น...เกลือจึงสาคัญเช่นเดียวกับข้าว มีหลักฐานทางโบราณคดียืนยันว่าการผลิต
เกลือในอีสานมีอายุไม่นอ้ ยกว่า 3,000 ปี เช่น ที่แหล่งโบราณคดีที่บา้ นเชียง จังหวัดอุดรธานี มีการ
ผลิ ตข้าวเหนี ยวกับเกลื อแล้ว และแหล่งผลิตเกลือที่ใหญ่ที่สุดอยูท่ ี่ทุ่งกุลาร้องไห้ซ่ ึ งถือเป็ นแหล่ง
อารยธรรมที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีแม่น้ าโขงเป็ นแกนเชื่อมโยงกับดินแดนอันเป็ น
จุดศูนย์รวมสาคัญคื อทุ่งกุลาร้ องไห้ เพราะทุ่งกุลาฯ เป็ นแหล่ งทรัพยากรธรรมชาติคือ ‚เกลื อกับ
เหล็ก‛ จึ งมี ผูค้ นจากทุ กสารทิ ศมาตั้งหลักแหล่ ง เพื่อทาเกลื อซึ่ งเกี่ ย วข้องกับ การถลุ ง เหล็กหรื อ
โลหะ โดยใช้เกลือช่วยให้จุดหลอมละลายโลหะต่าลง เห็นได้จากเวลาตีเหล็กทาเคียว ช่างตีเหล็กจะ
เอาเหล็กเผาไฟให้แดงโร่ แล้วคี บออกมาชุ บน้ าเกลื อก่อนตี ทาให้ตีข้ ึ นรู ปได้ง่าย ที่สาคัญการทา
เกลือที่พบที่ทุ่งกุลาฯ นั้นไม่ใช่ทาเพื่อบริ โภคในชีวติ ประจาวันเท่านั้นแต่ทาเพื่อขายหรื อแลกเปลี่ยน
ไปที่อาณาจักรเขมรซึ่ งไม่มีเกลือ รวมถึงเมืองชายทะเลปากน้ าโขงที่ไม่อาจทาเกลือสมุทรได้เพราะ
เป็ นชายทะเลที่มีโคลนเลน
อาณาจักรเกลือและเหล็กแห่ งทุ่งกุลาฯ คือแหล่งอารยธรรมแห่ งลุ่มน้ าโขง มีบ่อพันขัน
เป็ นแหล่งทาเกลื อที่ทาให้อีสานเป็ นศูนย์กลางเศรษฐกิ จการเมืองของรัฐเจนละ โดยพบศิลาจารึ ก
สมัยเจนละตั้งแต่ปากน้ ามูนจนถึ งยโสธร มีการขุดค้นที่แหล่งโบราณคดีดอนขุมเงิน ซึ่ งตั้งอยู่ตรง
บ่อพันขัน (ปัจจุบนั ที่ อาเภอสุ วรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด) ขุดพบซากศาสนสถาน ศิลาจารึ กพระนาม
กษัตริ ยช์ ื่ อจิตเสนะ เกลื อและเหล็กจึงเป็ นทรัพยากรที่คา้ ขายข้ามภูมิภาค ทาให้เกิ ดการเคลื่อนย้าย
ผู ้ค นที่ เ ป็ นบรรพบุ รุ ษ ของคนในชุ ม ชนสองฝั่ ง แม่ น้ าโขง จะเห็ น ว่ า เกลื อ เป็ นทั้ง อาหารใน
ชี วิตประจาวัน เป็ นสิ นค้า กับพลังงานใช้ลดจุดหลอมเหลวถลุงเหล็ก ที่ใช้ขบั ดันสังคมให้กา้ วหน้า
ขึ้นขยายตัวเป็ นรัฐขนาดใหญ่ ย้อนหลังกลับไปเมื่อราว 3,000 ปี มาแล้ว เกลือเป็ นสัญลักษณ์ของ
ความมัง่ คัง่ มัง่ มี และอานาจ เห็ นได้จากหลักฐานทางโบราณคดีทางอีสาน ที่ทาเกลือสิ นเธาว์เป็ น
สิ นค้าส่ งแลกเปลี่ ยนซื้ อขายถึ งบริ เวณทะเลสาบกัมพูชากับบริ เวณลุ่มน้ าเจ้าพระยา และเคยใช้เป็ น
เครื่ องมือแลกเปลี่ยนอย่างเงินมาก่อน (สุ จิตต์ วงษ์เทศ, 2549: 237 – 238)
ความเห็นนี้ สอดคล้องกับศรี ศกั ร วัลลิโภดม(2546) ที่เห็นว่าเกลือเป็ นแร่ ธาตุที่ปฏิวตั ิ
สังคมอีสานมากว่า 3,000 ปี ทั้งเกลือและเหล็ก ต่างก็เป็ นสิ่ งกระตุน้ ให้เกิ ดพัฒนาการทั้งทางด้าน
เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมแก่ชุมชนในแอ่งโคราช บริ เวณลุ่มน้ าชี -มูล ซึ่ งมีทุ่งกุลาร้องไห้เป็ น


สุจิตต์ วงษ์เทศ ปาฐกถาในเวที “มหกรรมสื บสานภูมิปัญญาเกลือพื้นบ้าน วันที่ 24 มกราคม 2550 ห้องประชุม
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
55

แหล่งเกลื อโบราณที่สามารถผลิ ตถึงขั้นอุตสาหกรรมทาให้เกิด “นครรัฐ” โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกลือ


นั้นพบแหล่งผลิ ตที่สาคัญในบริ เวณทุ่งกุลาร้องไห้ และลาน้ าเสี ยว ในเขตตาบลบ่อพันขัน อาเภอ
สุ วรรณภูมิ จังหวัดร้ อยเอ็ด การผลิ ตเกลื อแหล่ งนี้ ทาให้เกิ ดการเชื่ อมโยงค้าขายแลกเปลี่ ยนข้าม
แม่น้ าโขงไปที่ลาว เวียดนาม ข้ามเทือกเขาพนมดงเร็ กไปสู่ ที่ราบแถบลุ่มน้ าทะเลสาบเขมร เมือง
พระนคร หรื อ กัมพูชา ที่มีการแลกเปลี่ยนสิ นค้าเกลือกับแอ่งโคราชในภาคอีสาน จึงพบแหล่งผลิต
เกลือใหญ่ๆ บนเส้นทางไปยังกัมพูชา อาณาจักรที่รุ่งเรื องมีผคู้ นหนาแน่นต้องการใช้เกลือมากเพราะ
ทะเลสาบเขมรเป็ นทะเลสาบน้ าจืดที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ เป็ นแหล่งสะสม
พันธุ์ปลาที่เป็ นอาหารสาคัญ ต้องใช้เกลือในการทาปลาแห้ง ปลาร้า ถนอมอาหาร
การทาเกลือทาให้เกิดกลุ่มคนที่มีอาชีพหรื อหน้าที่เฉพาะอย่างขึ้น อย่างน้อยหลักฐานที่
เห็ นตามแหล่งเกลือโบราณต่างๆ มีบุคคล 2 กลุ่มร่ วมงานอยูค่ ือ กลุ่มต้มเกลือทาเกลือ กับกลุ่มทา
ภาชนะดินเผา ใช้ตม้ เกลือและบรรจุเกลือซึ่ งย่อมมีประเภทต่างๆ ที่แบ่งออกเป็ นขนาดและน้ าหนัก
เพื่อสะดวกในการแลกเปลี่ ยนหรื อซื้ อขายตามมาตราชั่งตวง นอกจากนี้ ยงั มีกลุ่ มจัดหาเชื้ อเพลิ ง
เพราะการต้มเกลือจะต้องมีเชื้ อเพลิง แล้วจึงมาถึงกลุ่มขายเกลือ นาเกลือไปขายหรื อไปแลกเปลี่ยน
(สุ จิตต์ วงษ์เทศ, 2549 : 236) แหล่งที่มีเหล็กและเกลืออยูม่ ากที่สุดคือรอบๆ ทุ่งกุลาร้องไห้ (ในเขต
อีสานใต้) จึงมีผคู้ นจากที่อื่นเคลื่อนย้ายเข้าไปตั้งถิ่นฐานถาวรเพื่อถลุงเหล็กและต้มเกลือ เป็ นเหตุให้
มีประชากรเผ่าพันธุ์ต่างๆ หนาแน่ นกว่าเดิม ในจานวนนี้ มีพวกพูดตระกูลภาษาลาว -ไทยจานวน
หนึ่งเคลื่อนย้ายมาจากดินแดนทางทิศตะวันออกบริ เวณตอนใต้ของจีน เช่น มณฑลกวางสี กวางตุง้
และทางเหนือของเวียดนามปัจจุบนั (สุ จิตต์ วงษ์เทศ, 2549: 249)
นอกจากนี้ ในงานศึกษาทางโบราณคดีของ นิตตะ(Nitta, 1993) ได้อา้ งถึงเอกสารบันทึก
ในจีนปี ค.ศ.1225 (พ.ศ.1768) “the Shu-Fan-Chih” ระบุวา่ บางพื้นที่แม้เป็ นดินแดนชายทะเลกลับ
นาเข้าเกลือ เช่ น บรู ไน นครศรี ธรรมราช เป็ นต้น นัน่ หมายความว่าเกลือไม่สามารถผลิตได้ทุกที่
ถึงแม้วา่ จะเป็ นดินแดนชายทะเล ดังนั้นการค้าขายเกลือจึงสาคัญเพราะเกลือเป็ นโภคภัณฑ์ที่จาเป็ น
นอกจากนี้ มีเอกสารของจีนที่เขียนในปี ค.ศ. 1351(พ.ศ. 1894) “the Yuan Dynasty, the Tao-yi-
chih-lue” ระบุว่าในกาลิมนั ตัน(Kalimantan) มีการแลกเปลี่ยนเกลือกับข้าวซึ่ งราคาเกลือนั้นแพง
กว่าราคาข้าวถึ ง 5 เท่า เพราะเกลือผลิตได้เฉพาะบางพื้นที่แต่เกลือเป็ นสิ่ งหายากในบางพื้นที่ และ
ภายหลังจากศตวรรษที่ 13 เกลือจึงสามารถผลิตได้ทวั่ ไปในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ และมีการผลิต
เกลือกว้างขวางขึ้นในดินแดนชายฝั่งทะเล หลังจากที่มีการค้าขายทางทะเลและส่ งออกกระทะโลหะ
เหล็กจากจีน ที่ใช้เป็ นกระทะต้มเกลือ ข้อเท็จจริ งเรื่ องเกลือในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ราคา
แพงนี้มีบนั ทึกไว้ในจารึ กของเขมรถึงเรื่ องการแลกเปลี่ยนเกลือกับข้าวในอัตราเกลือ 40 ส่ วนต่อข้าว
56

60 ส่ วนและในสมัยของพระเจ้า Suryavarman I มีการกาหนดมาตรการให้ตอ้ งจ่ายภาษีดว้ ยเกลือ


ตั้งแต่ยคุ ก่อนนครวัดถึงยุคนครวัด และมีการจัดตั้งตาแหน่งนายอากรเกลือ (Sahai 1979: 117, quote
in Nitta, 1993: 155)
จากการศึกษาด้านโบราณคดีในภาคอีสานก็คน้ พบหลักฐานที่แสดงว่าอีสานเป็ นพื้นที่
การผลิตเกลือ เป็ นอุตสาหกรรมที่ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม และนิเวศวิทยา
ในดิ นแดนนี้ อย่างพลิกผัน งานศึกษาทางโบราณคดีเรื่ อง “ความสัมพันธ์ระหว่างอุตสาหกรรมกับ
ระบบนิ เวศวิทยาและสิ่ งแวดล้อมอีสานในยุคก่อนประวัติศาสตร์ ” (Nitta, 1993)พบว่ามีพฒั นาการ
หลอมเหล็กและผลิตเกลือเมื่อราว 3,000 ปี มาแล้วในลุ่มน้ ามูล – ชี เขตอีสานใต้ และพื้นรอบหนอง
หานกุมภวาปี ในเขตอีสานตอนบน ซึ่ งซ้อนทับอยูก่ บั แหล่งที่มีเกลือหินใต้ดินและเป็ นเขตพื้นที่แห้ง
แล้ง ทั้งนี้ จากการขุดค้นโนนดิ นทุ่งผีโพน อาเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสี มา พบว่าเป็ นพื้นที่ทา
เกลือขนาดใหญ่ในลุ่มน้ ามูลตอนบน ซึ่ งมีการทาเกลือแบบโบราณ พบหม้อดินเผาสาหรับทาเกลือ
โครงสร้ างการทาเกลื อประกอบไปด้วยหลุมกรองน้ าเกลือที่ขุดลงไปในดินเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า
แล้วฉาบด้วยดินเหนี ยวบางๆ เผาให้แข็งเป็ นกาแพงดิ นเหนี ยว ในนั้นบรรจุเครื่ องกรองน้ าเค็มที่
ประกอบด้วยฟางข้าวหรื อพืชอื่นแล้วเจาะรู ให้น้ าไหลได้ แล้วใช้เครื่ องปั้ นดินเผาที่ทาโดยใช้ไม้ทุบ
ขึ้นรู ปเป็ นหม้อดินเผาที่ประณี ตขนาดเส้นรอบวงราว 30 เซนติเมตร มารองบรรจุน้ า เค็มก่อนเอาไป
วางเรี ยงในหลุมเตาแล้วเผาจนน้ าในหม้อกลายเป็ นเกลือก็ทุบหม้อนาเกลือไปใช้
การทาเกลื อ ยุคนั้นทาในระยะเวลาสั้ นๆ ในรอบปี ดัง นั้นจึง มี ที่ท าเกลื อหลายหย่อม
เพื่อที่จะผลิตเกลือให้มากๆ ในช่วงฤดูแล้ง (ธันวาคม – เมษายน) และในบริ เวณใกล้โนนทุ่งผีโพน
ปั จจุบนั ก็ยงั ทาเกลื อเฉพาะในฤดูแล้งเพราะน้ าเค็มใต้ดินขึ้นมาปรากฏเป็ นคราบเกลืออยูบ่ นผิวดิน
การทาเกลือจะขูดเอาดินที่มีคราบผลึกเกลือเหล่านี้ไปกรองในหลุมกรองที่ขุดไว้ หรื ออาจจะใช้ท่อน
ไม้กลวงเป็ นเครื่ องหมักกรองเอาน้ าเกลือโดยเจาะรู ใส่ ท่อไม้ไผ่ให้น้ าไหลผ่านลงมาได้
ในยุคบรรพกาลนั้นเกลื อจาเป็ นสาหรับการแปรรู ปปลา ใช้ในขบวนการหลอมเหล็ก
และยังไม่อาจนาเข้าเกลือจากเมืองชายทะเลทาในคนท้องถิ่นอีสานจะต้องผลิตเกลือเอง งานศึกษานี้
มีขอ้ สรุ ปที่สอดคล้องกับงานศึกษาทางโบราณคดีของศรี ศกั ร วัลลิโภดม ว่าการที่พ้ืนที่ภาคอีสาน
สามารถพัฒนาแหล่งผลิตข้าว เกลือ และเหล็ก จานวนมากนั้นเป็ นฐานทาให้เศรษฐกิจในภูมิภาคนี้
เข้มแข็งจนทาให้ผคู ้ นอพยพเข้ามาเพิ่มมากขึ้น การผลิตเกลือ เหล็ก และทองแดงนั้นไม่ใช่การผลิต
ขนาดเล็กแต่เป็ นการผลิ ตถึ งขั้นอุ ตสาหกรรมไม่ใช่ สาหรับเฉพาะในภาคอีสานแต่ครอบคลุ มถึ ง
พื้นที่ดินแดนเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ เพราะว่าเกลือทาให้เกิ ดความมัน่ คงทางอาหาร เหล็กทาให้
57

สามารถผลิ ตอาวุธและเครื่ องมือการเกษตร และทองแดงนามาใช้ผลิ ตเครื่ องประดับและเครื่ อง


แสดงความรุ่ ง เรื อง เช่ น ฆ้อง กลอง ผลผลิ ตเหล่ า นี้ ข นส่ ง ออกโดยเส้ นทางน้ า จึ ง ผลิ ตสะสมไว้
จานวนมาก ทาให้เกิดการผลิตมากจนเป็ นอุตสาหกรรม
อิจิ นิตตะ ยังชี้วา่ เมื่อมีการผลิตเกลือและเหล็กจานวนมากนั้นในอีกด้านหนึ่ งก็ทาให้เกิด
การทาลายป่ าไม้อย่างรวดเร็ วด้วยเช่นกัน แม้ผลของการพัฒนาอุตสาหกรรมทาให้มีการเข้ามาก่อตั้ง
ชุ มชนที่มีการก่อรู ปชุ มชนเป็ นเมืองขึ้นในอีสาน แต่ก็ทาให้สิ่งแวดล้อมขาดความสมดุลจากการทา
เกลือและเหล็ก แม้สามารถพัฒนาเมืองที่รุ่งเรื องได้สาเร็ จแต่แล้วสิ่ งแวดล้อมก็ได้ตีโต้รุกกลับเอาคืน
จากผูค้ นที่ได้ทาลายความสมดุ ลของธรรมชาติ เพราะอุตสาหกรรมสมัยโบราณต้องการเชื้ อเพลิ ง
ปริ มาณมากทั้งฟื นและถ่านสาหรับการทาเกลือและหลอมเหล็ก จากการศึกษาในพื้นที่ทุ่งผีโพน
ระบุวา่ ต้นไม้ใหญ่ขนาดยาว 200 เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 40 เซนติเมตรใช้เป็ นเชื้ อเพลิงในเตา
ต้มเกลือ 1 วันได้เกลือ 20 ลิตร หมายความว่าเตาต้มเกลือเตาหนึ่ งๆ ต้องใช้เชื้ อเพลิงจากต้นไม้ถึง 20
ต้นใน 1 ฤดูกาลผลิต และพื้นที่หนึ่ งๆ มีโรงต้มเกลือกว่า 20 แห่ งดังนั้นต้นไม้กว่า 400 ต้นก็ถูกตัด
สาหรับการทาเกลื อในฤดูกาลหนึ่ ง การทาเหล็กก็มีความต้องการพลังงานมากเช่นเดียวกับการทา
เกลือ ดังนั้นพลังงานหาศาลจากป่ าไม้ในภาคอีสานจึงใช้ไปกับการทาเกลือและเหล็กในยุคนั้น ไป
พร้อมๆ กับความเข้มข้นของอุตสาหกรรมเกลือกับเหล็ก แล้วการทาลายป่ าอย่างมากก็เป็ นผลเสี ยต่อ
การคงอยู่ข องอุ ต สาหกรรม เมื่ อ ป่ าไม้ใ นพื้ น ที่ แ ห้ ง แล้ง อย่า งภาคอี ส านถู ก ท าลาย ความเค็ ม
แพร่ กระจายไปแล้วก็ยากที่จะฟื้ นฟูความเสี ยหายของสิ่ งแวดล้อมกลับคืนมา และงานทางโบราณคดี
ชิ้ นนี้ ก็ระบุ ว่าปั ญหาสิ่ งแวดล้อมคืออีกหนึ่ งเหตุผลว่าทาไมความรุ่ ง เรื องของชุ มชนบนที่ราบสู ง
โคราชล่ มสลายลง อีกทั้งพื้นที่แห้งแล้งแถบลุ่มน้ ามูลหรื อทุ่งกุลาร้องไห้มีสภาพโล่ งเตียนเพราะ
ผลกระทบจากการดาเนินอุตสาหกรรมเกลือกับเหล็กนัน่ เอง
อย่างไรก็ตามข้อสรุ ปเรื่ องอุตสาหกรรมเกลือกับเหล็กทาให้ทุ่งกุลาฯ แห้งแล้งโล่งเตียน
นั้นมีขอ้ โต้แย้งว่าไม่อาจจะสรุ ปได้ง่ายๆ ว่าสภาพพื้นที่แห้งแล้งเช่นทุ่งกุลาร้องไห้น้ นั เป็ นเพราะตัด
ต้นไม้ตม้ ทาอุตสาหกรรมเกลื อ หรื อทาอุตสาหกรรมเหล็ก หากแต่เป็ นธรรมชาติของพื้นที่ราบสู ง
เขตแห้งแล้งที่มีสภาพป่ าโปร่ งหรื อทุ่งโล่งโดยธรรมชาติเพราะคาว่า “อุตสาหกรรม” ในอดีตตั้งแต่
ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ก็ไม่น่าจะใช้เชื้ อเพลิงมากขนาดทาให้พ้ืนที่อนั กว้างใหญ่ไพศาลของทุ่งกุลา
ร้องไห้โล่งเตียน ตลอดจนเครื่ องมือเครื่ องใช้ในการตัดไม้ หรื อวัฒนธรรมการใช้ไม้ของคนโบราณ
ไม่น่าจะเป็ นการตัดโค่นต้นไม้ใหญ่ท้ งั ต้นแต่จะเป็ นการลิดกิ่งไม้ยอดไม้เท่านั้น และข้อโต้แย้งนี้ ก็ยงั
ไม่เป็ นที่สรุ ป อย่างไรก็ตามหากเดินทางไปยังพื้นที่แหล่งทาเกลือในภาคอีสานในปั จจุบนั นี้ เราก็ไม่
ต้องลังเลสงสัยเลยถึงความจริ งที่วา่ อุตสาหกรรมเกลือทาให้สิ่งแวดล้อมเสี ยหายมากเพียงใด
58

ทั้งเหล็กและเกลือนอกจากจะเป็ นผลิตผลทางอุตสาหกรรมแล้ว ยังเป็ นสิ นค้าระยะไกล


ด้ว ย เพราะเป็ นสิ่ ง ที่ ถู ก ส่ ง ไปขายหรื อ แลกเปลี่ ย นนอกเขตภู มิ ภ าค ถ้า หากพิ จ ารณาร่ อ งรอย
โบราณวัตถุจากสถานที่สัมพันธ์กบั เส้นทางคมนาคมแล้วก็อาจจะพูดได้วา่ สิ นค้าเหล็กและเกลือนั้น
น่าจะส่ งเข้ามาทางภาคกลางในลุ่มน้ าเจ้าพระยาซึ่ งอยูท่ างด้านตะวันตกทางหนึ่ ง ทางที่สองไปทาง
ตะวันออก ข้ามแม่น้ าโขงไปทางฝั่งลาวและเวียดนาม ส่ วนทางสุ ดท้ายคือลงไปทางใต้ ข้ามแอ่งเขา
พนมดงเร็ กไปสู่ ที่ราบเขมรต่ า แถบลุ่มทะเลสาบเขมรในกัมพูชา โดยเฉพาะกับเมืองพระนครหรื อ
กัมพูชาที่อยูท่ างใต้น้ ีน่าจะเป็ นกลุ่มบ้านเมืองที่สัมพันธ์กบั การแลกเปลี่ยนสิ นค้าเกลือกับแอ่งโคราช
ในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือมากกว่าบริ เวณใดทั้งหมด เพราะตามแหล่งผลิตเกลือโบราณนั้นมักพบ
เศษภาชนะดิ นเผาเคลื อบแบบขอมปะปนอยู่ดว้ ยเสมอ อีกทั้งบรรดาแหล่งผลิตเกลือใหญ่ๆ ตามที่
กล่ า วมาแล้วก็ล้วนอยู่ในเส้ นทางคมนาคมไปยังกัม พูช ามากกว่าที่ อื่นๆ ทั้งนี้ เพราะกัมพูชาเป็ น
อาณาจักรที่รุ่งเรื องมีผคู ้ นหนาแน่ น ความต้องการเกลือสิ นเธาว์ย่อมมีสูง และต้องการเป็ นจานวน
มาก(ศรี ศกั ร วัลลิโภดม, 2546: 122-123)
เส้นทางสายเกลื อจากอีสานมีความสาคัญต่อผูค้ นในภูมิภาคลุ่มน้ าโขงไม่ต่างจากทาง
สายไหมที่เชื่ อมโยงเศรษฐกิจระหว่างเอเชี ยกับยุโรป เพราะเกลือเป็ นแร่ ธาตุจาเป็ น เป็ นปั จจัยที่ทา
ให้เกิดอารยธรรมโลหะ โดยเฉพาะเหล็ก จึงทาให้มนุ ษย์พยายามแสวงหา ครอบครอง และพัฒนา
เทคโนโลยีเพื่อนาเกลือมาใช้อย่างไม่หยุดยั้ง
อาณาจักรล้านช้าง พึ่งเกลือสิ นเธาว์จากพื้นที่ภาคอีสาน ในสมัยอยุธยาความสาคัญของ
เกลือในฐานะทรัพยากรพื้นฐานทางด้านอาหาร และใช้ประกอบกิจกรรมด้านต่างๆ ทาให้เกลือเป็ น
สิ นค้าต้องห้ามไม่สามารถนาไปค้าขายกับต่างประเทศได้เช่นเดียวกับข้าวและปลา และข้อบังคับนี้
ยัง ใช้ สื บ เนื่ อ งมาเรื่ อ ย เพราะเกลื อ มี ค วามส าคัญ และเป็ นทรั พ ยากรที่ ม นุ ษ ย์ข าดไม่ ไ ด้ ใน
ประวัติศาสตร์ ทางเศรษฐกิจนั้นรัฐสยามได้ให้ความสาคัญกับเกลือถึงขนาดระบุไว้ในสนธิ สัญญา
เบาว์ริงที่ลงนามกันในปี พ.ศ. 2398 (ค.ศ.1855) ซึ่ งมีสาระสาคัญหลายข้อและมีขอ้ หนึ่ งระบุว่า
“รัฐบาลสยามสงวนสิ ทธิ์ที่จะห้ามการส่ งออก ข้าว เกลือ และปลา หากเห็นว่าสิ นค้าดังกล่าว อาจจะ
ขาดแคลนได้” (ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และกัณฐิกา ศรี อุดม, 2549)
จากลักษณะทางธรณี วิทยาที่อุดมไปด้วยเกลือหิ น เกลือโพแทช และแร่ ที่เกี่ ยวเนื่ องใต้
ดินอีสานนี้ทาให้ภูมิภาคนี้มีการพัฒนาการทาเกลืออย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เลิศ
ศักดิ์ คาคงศักดิ์ และเบญจรัชต์ เมืองไทย (2549: 49 - 69) ได้จาแนกพัฒนาการการทาเกลืออีสานใน
ภาคอีสานโดยใช้ลกั ษณะการใช้เทคโนโลยีการผลิตเป็ นแกนจาแนกไว้ 4 ลาดับขั้นได้แก่
59

ขั้นที่ 1 เกลือพืน้ บ้ าน หรือการผลิตเกลือด้วยเทคโนโลยีขนาดเล็ก อาจจะเอาน้ าเค็มมา


ต้มโดยตรง หรื อโดยการต้มเกลือจากการหมักดินเอียดด้วยน้ าให้ได้ความเค็มจากเนื้ อดิน ซึ่ งวิธีการ
ผลิตเกลือรู ปแบบแรกในสังคมที่มีความสาคัญในเศรษฐกิจชุมชนอีสานมานานร่ วม 3,000 ปี มาแล้ว
จวบปั จจุบนั ก็ยงั เห็นการผลิตเกลือพื้นบ้านเช่นนี้อยูท่ ว่ั ไปในท้องถิ่นอีสาน รวมถึงในลุ่มน้ าสงคราม
ก็พบในบางชุมชน
ขั้นที่ 2 การต้ มและตากเกลือจากน้าเกลือใต้ ดิน นับจากช่วงปลายปี พ.ศ. 2513 เกิดน้ า
ท่วมใหญ่ในภาคกลาง ส่ งผลให้เกลือทะเลจึงแพงขึ้นจากตันละ 100 บาท เป็ น 900 – 1,000 บาท ทา
ให้เกิดการย้ายฐานการผลิตเกลือทะเลอ่าวไทยมาเป็ นการผลิตเกลือในภาคอีสาน ประกอบกับการ
ขุดเจาะน้ าบาดาลเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้งในภาคอีสานแต่ปรากฏว่าพบน้ าเค็มจนสามารถผลิตเกลือได้
โดยเฉพาะในเขตต้นลาน้ าเสี ยว อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม รัฐบาลจึงได้ส่งเสริ มการทานา
เกลือ และมีการขยายพื้นที่การสู บน้ าเกลือขึ้นมาตากในนาเกลือในภาคอีสานนับแต่น้ นั เป็ นต้นมา
ขั้นที่ 3 เหมืองละลายเกลือ (Solution Mining) ของบริ ษทั เกลือพิมาย หรื อเหมืองเกลือ
อาซาฮี ของบริ ษทั ไทยอาซาฮีเคมีภณั ฑ์ จากัด ที่เริ่ มผลิตโซดาไฟ กรดเกลือ คลอรี น และผลิตภัณฑ์
เคมีอื่นๆ โดยเครื่ องแยกน้ าเกลือด้วยไฟฟ้ ามาตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2509 ใช้วตั ถุดิบสาคัญ คือ
เกลือ แต่เดิมบริ ษทั ได้ซ้ื อเกลือทะเลและเมื่อปลายปี 2515 บริ ษทั ได้เริ่ มผลิตเกลือสิ นเธาว์ใช้เอง โดย
ขออนุญาตจากกรมทรัพยากรธรณี เพื่อทาเหมืองละลายเกลือในนาม ‘เหมืองเกลือพิมาย’ ที่อาเภอพิ
มาย จังหวัดนครราชสี มา ใช้วธิ ี การผลิตเกลือแบบทาการเจาะชั้นดินลงไปจนถึงแหล่งเกลือหิ น วาง
ท่อเพื่ออัดฉี ดน้ าลงไปละลายเกลือหิ นแล้วใช้แรงอัดน้ าละลายหิ นเกลือจนได้น้ าเกลือที่เข้มข้นให้
ไหลขึ้นตามท่อ เพื่อนาน้ าเกลือมาตากในนาเกลือแต่ได้เกลือไม่พอต่อความต้องการ จึงทาให้บริ ษทั
ยังต้องซื้ อเกลื อจากอาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคามเพิ่มแต่ก็ยงั ไม่เพียงพอ อีกทั้งปรับปรุ งระบบ
การผลิ ตด้วยการท าลานปู น ตากเกลื อ แต่ ก็ เพิ่ ม ก าลัง การผลิ ตได้ไ ม่ ม ากนัก ประกอบกับ ความ
ต้องการใช้เกลื อในอุ ตสาหกรรมเคมีเพิ่มขึ้น บริ ษทั จึงนาเทคโนโลยีจากยุโรป มาพัฒนาการทา
เหมืองเกลือหิ นแบบเหมืองละลาย โดยอัดน้ าจืดลงไปละลายเกลือหิ นในชั้นเกลือลึกลงไปในระดับ
200 – 270 เมตร ได้น้ าเกลือดิบส่ งไปยังหม้อเคี่ยวให้ได้น้ าเกลือที่เข้มข้นจนตกผลึกเป็ นเม็ดเกลือ ซึ่ ง
มีความบริ สุทธิ์ ถึงร้อยละ 99.9 โดยเกลือปริ มาณร้อยละ 80 – 90 จะนาไปใช้ในอุตสาหกรรมเคมี
เช่ นการผลิตโซดาไฟ ใช้ในอุตสาหกรรมแก้ว พลาสติก สบู่ ผงซักฟอก ผลิตคลอรี นใช้ในการทา
พลาสติกใยสังเคราะห์และยางสังเคราะห์ ยาฆ่ าแมลง ผลิ ตน้ าประปา และผลิ ตกรดเกลื อ ใช้ใ น
อุตสาหกรรมเหล็กและรถยนต์ เป็ นต้น และที่เหลือนาไปใช้เป็ นเกลือบริ โภคโดยเติมไอโอดีนที่ใช้
กันอยูท่ ว่ั ไปตามครัวเรื อน
60

ขั้นที่ 4 เหมืองแร่ โพแทชและอุตสาหกรรมเคมี การที่รัฐบาลไทยได้กาหนดยุทธศาสตร์


การผลิตแร่ เกลือหิ นและเหมืองแร่ โพแทชในพื้นที่ภาคอีสานมานานกว่า 20 ปี มาแล้วโดยมุ่งหวังแร่
โพแทชเพื่อจะนาไปผลิ ตปุ๋ ยเคมี ส่ วนผลพลอยได้ที่สาคัญจากการทาเหมืองแร่ โพแทชก็คือเกลื อ
ปริ ม าณมหาศาล หากเกิ ดเหมื องแร่ โพแทชอาเซี ยน ที่ อาเภอบาเหน็ จณรงค์ จัง หวัดชัยภูมิ กับ
เหมืองแร่ โพแทชแหล่งอุดรใต้ ที่ อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี จะได้เกลือออกมามากถึง 6 ล้านตัน
ซึ่งคิดเป็ น 3 เท่าของความต้องการใช้เกลือภายในประเทศไทย ณ ปั จจุบนั และหากพัฒนาเหมืองแร่
โพแทชในภาคอีสานตามเป้ าหมาย จะทาให้การผลิตเกลือของประเทศไทยสู งขึ้นถึง 5 เท่า หรื อ
ประมาณ 10 ล้านตันต่อปี
3. พัฒนาการการผลิตเกลือในลุ่มนา้ สงคราม
3.1. การผลิตเกลือในยุคโบราณ
หลักฐานทางโบราณคดีเท่าที่พบในอีสานขณะนี้ส่วนใหญ่มีอายุอย่างสู งไม่เกิ น 4,000
ปี มาแล้ว ทั้ง สิ้ น เป็ นหลัก ฐานของผูท้ ี่ เ คลื่ อ นย้า ยเข้า มาตั้ง ถิ่ น ฐานเป็ นชุ ม ชนเล็ ก ๆ ทั้ง ในแอ่ ง
สกลนครและในแอ่งโคราชพร้ อมๆ กันแต่ในบริ เวณที่ราบลุ่มแม่น้ ามูล ชี และแม่น้ าสงครามนั้น
ชุ มชนดูจะมีมากและมีขนาดใหญ่ ตลอดจนพัฒนาการไปมากกว่าแห่ งอื่นๆ โดยเฉพาะเขตลุ่มน้ า
สงครามตอนบน ตั้งแต่จงั หวัดอุดรธานี ไปจนถึงจังหวัดสกลนคร เพราะบริ เวณนี้ มีแหล่งน้ าปลา
และป่ าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ นอกจากนั้นยังอุดมไปด้วยแร่ ธาตุโดยเฉพาะเหล็กและเกลือ ที่จาเป็ นต่อ
การดารงชีวติ เป็ นอย่างมากด้วย ( ศรี ศกั ร วัลลิโภดม, 2543: 81)
จากการสารวจแหล่ งโบราณคดี ในแอ่งสกลนครบริ เวณที่สารวจส่ วนใหญ่เป็ นลุ่ มน้ า
สงครามที่ครอบคลุมพื้นที่ในเขตจังหวัดอุดรธานี สกลนคร หนองคาย (ปั จจุบนั อยูภ่ ายใต้จงั หวัดบึง
กาฬ) และนครพนม แหล่งโบราณคดีที่พบส่ วนใหญ่กระจายอยู่ตามลุ่มน้ าสงครามตอนบน เป็ น
แหล่ งชุ มชนโบราณยุคสาริ ด - เหล็ก แบบวัฒนธรรมบ้านเชี ยง ในขณะที่บริ เวณลุ่ มน้ าสงคราม
ตอนล่างพบชุ มชนโบราณในสมัยประวัติศาสตร์ ส่วนใหญ่มีอายุในสมัยพุทธศตวรรษที่ 19 ลงมา
เท่านั้น เพราะบริ เวณนี้ เป็ นที่ราบลุ่มต่าน้ าท่วมถึงต่างกับบริ เวณลุ่มน้ าสงครามตอนบนที่เป็ นที่ราบ
ลุ่มขั้นบันไดต่า เหมาะกับการตั้งถิ่ นฐานของชุ มชนอีกทั้งมีน้ าที่ไหลลงมาจากเทือกเขาภูพานไหล
ริ นหล่อเลี้ยงได้ตลอดปี และในการสารวจในลุ่มน้ าสงครามตอนบนนี้ ได้พบร่ องรอยรวม 80 แห่ ง
แต่ที่น่าประหลาดใจคือไม่พบแหล่งทาเกลือและแหล่งถลุงเหล็กขนาดใหญ่อย่างเช่ นที่พบในแอ่ง
โคราช( ศรี ศกั ร วัลลิโภดม, 2546: 89)
61

การส ารวจของนัก โบราณคดี ใ นพื้ นที่ ลุ่ มน้ าสงครามของแอ่ งสกลนครพบว่าบริ เวณ
ระหว่างพื้นที่ ในเขตที่ลาน้ ายามและลาน้ าอูนซึ่ งเป็ นลาน้ าสาขาของแม่น้ าสงคราม ในเขตรอยต่อ
ระหว่างอาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนมและอาเภออากาศอานวย จังหวัดสกลนคร สภาพภูมิประเทศ
รอบแหล่งโบราณคดีมีลกั ษณะเป็ นที่ราบทุ่งนากว้าง และเนื่องจากบริ เวณนี้มีการขุดบ่อน้ าเค็มใต้ดิน
ในสมัยโบราณ อี กทั้งชั้นเกลื อก็อยู่ในระดับตื้น การสร้ างอ่างเก็บน้ าในภายหลังก็ทาให้เกิ ดการ
กระจายตัวของน้ าเค็มทาให้เกิ ดภาวะดินเค็มเพิ่มขึ้น พบโพนเกลือซึ่ งเกิ ดจากการทับถมภาชนะดิน
เผาต้มเกลือกองสุ มรวมกันเป็ นเนินขนาดย่อมหรื อที่ภาษาอีสานเรี ยกว่า “โพน” ขนาดใหญ่ 9 แห่ ง
อยู่บนที่ ราบกระจายตัวห่ างๆ กันและบางแห่ งยังเป็ นพื้นที่ดินเค็มจัด บางแห่ งชาวบ้านยังได้ตกั
น้ าเค็มไปต้มเกลื อ หรื อขูดดิ นต้มเกลือไว้ใช้ และขายเป็ นรายได้ในช่ วงฤดูแล้งตราบเท่าทุกวันนี้
แหล่งโบราณคดีคือพื้นที่ที่ทากิจกรรมต้มเกลือในสมัยโบราณมีลกั ษณะเป็ นเนินดินขนาดใหญ่คล้าย
ภูเขาขนาดย่อมอยูใ่ นพื้นที่ราบกระจายตัวห่ างๆ กันในพื้นที่ราว 5 ตารางกิโลเมตรโดยอยูเ่ ป็ นกลุ่ม
ใกล้ๆ กัน 7 เนิน และอยูห่ ่างออกไปราว 1 กิโลเมตร อีก 2 เนิน (วิไลลักณ์ ทรงศิริ, 2538: 3 – 9 )
วิไลลักษณ์ ทรงศิริ( 2538 : 6 – 10) ได้ทาการศึกษาทางชาติพนั ธุ์วรรณาพบว่าชาวบ้าน
ที่ต้ งั บ้านเรื อนบริ เวณนี้ เป็ นกลุ่มคนที่อพยพหนีความแห้งแล้งกันดารมาจากที่ต่างๆ เมื่อประมาณ
100 กว่าปี มาแล้ว สภาพพื้นที่รอบๆ เนินดินโบราณเมื่อประมาณ 50 ปี มาแล้วเคยทาเกลือขนาดใหญ่
มาก่อน หนองน้ าที่เห็นในปั จจุบนั แต่ก่อนมีสภาพเป็ นที่ราบน้ าท่วมในฤดูฝน เมื่อเริ่ มเข้าฤดูแล้งน้ า
ลด จะมีคราบเกลื อจับอยู่ตามผิวดิน ชาวบ้านพากันมาสร้างเพิงชัว่ คราวเพื่อทาเกลือ จานวนหลาย
ร้อยครัวเรื อน จนเมื่อราว 20 ปี ที่แล้วจึงเลิกทาไปเพราะมีการสร้างอ่างเก็บน้ า ในส่ วนที่น้ าไม่ท่วม
จึงคงมีซากเตา และบ่อน้ าเกลือ เหลือร่ องรอยไว้ให้เห็นบ้าง ในช่วงฤดูแล้งยังคงมีชาวบ้านเพียง 4- 5
รายเท่านั้นที่มาทาเกลื อบริ เวณใกล้เนิ นดินวันโพนสวรรค์ติดกับหนองน้ า และที่บา้ นท่าเรื อได้ทา
การขุดลอกสระน้ าหนองเรื อลึกลงประมาณ 1.5 เมตรก็พบน้ าเค็มซึมขึ้นมาไม่อาจใช้อุปโภคบริ โภค
ในอดีตเมื่อ 50 ปี ที่แล้วการทาเกลือเป็ นกิ จกรรมหลักของคนในชุ มชน เริ่ มตั้งแต่ช่วง
เดื อนกุมภาพันธ์จนกระทัง่ ราวต้นเดือนพฤษภาคมของทุกปี ในช่ วงฤดูฝนพื้นที่บริ เวณนี้ จะถูกน้ า
ท่วม จนเมื่ อเริ่ ม เข้า ฤดู แล้งน้ า จะเริ่ มแห้ง พร้ อมกับ ปรากฏคราบเกลื อขาวจับ อยู่บนผิวหน้าดิ น
ชาวบ้านจากที่ต่างๆ ทั้งหมู่บา้ นใกล้เคียง เช่ น บ้านนาซ่ อม บ้านบะหว้าแสก บ้านท่าเรื อ บ้านเม่น
ใหญ่ และจากพื้นที่ห่างไกลในเขตจังหวัดสกลนครและนครพนมก็เริ่ มอพยพเข้ามาจับจองพื้นที่และ
ตั้งถิ่นฐานชัว่ คราวเพื่อทาเกลือในบริ เวณแหล่งเกลือนี้ ซ่ ึ งครอบคลุมพื้นที่ในเขตบ้านเม่นใหญ่ บ้าน
ท่าเรื อ ไปจนถึงบ้านเสี ยว โดยจะเข้ามาสร้างเพิงพักชัว่ คราวอาศัยอยูเ่ ป็ นครัวเรื อนแล้วช่ วยกันขุด
บ่อน้ าเกลื อ หรื อ “บ่อน้ าสร้ างเกลือ” ขนาด 2x2 เมตร บางพื้นที่ขุดลึกประมาณ 1.5 เมตร ก็จะพบ
62

น้ าเค็มซึ มขึ้นมา ขณะที่ในบางพื้นที่ เช่น ในเขตบ้านเสี ยว จะต้องขุดลุกลงไปประมาณ 5 – 6 เมตร


จึงจะพบน้ าเค็ม เมื่อมีบ่อน้ าเค็มแล้วก็จะขูดรวบรวมดินที่มีคราบเกลือ หรื อ “ดินขี้ทา” มาหมักกับ
น้ าจากบ่อน้ าเกลือ เพื่อให้น้ าพาเกลือในดินดอกมาแล้วกรองเอาน้ าเค็มเข้มข้นขึ้นโดยจะมีบ่อไม้ไผ่
ไปต่อกับบ่อหมักดิ นเอียดที่มีแกลบหรื อฝายรองคอยกรองน้ าเค็มจนน้ าใสก็ปล่อยน้ าเกลือไหลมา
ตามท่อไม้ไผ่ลงสู่ บ่อพักน้ าเกลือ ก่อนนาไปต้มด้วยกระทะที่ทาจากถังน้ ามันขนาด 200 ลิตร ผ่าครึ่ ง
วางอยู่บนเตาต้มเกลื อ หรื อร่ องดิ นรู ปสี่ เหลี่ ยมผืนผ้าที่ขุดลึกลงไปในดิ นกว้างประมาณ 1 เมตร
ความยาวตามขนาดกระทะที่ใช้ เตาต้มเกลือจะตั้งเรี ยงกัน 4 เตาใส่ ฟืนเข้าไปตามแนวกว้างข้างร่ อง
เตา คอยดูความร้อนให้สม่าเสมอ ใช้เวลาต้มเคี่ยวประมาณ 6 ชัว่ โมง น้ าเกลือจะค่อยๆ งวดลงจนตก
ผลึ กเป็ นเม็ดเกลื อ สมัยนั้น การต้มเกลื อจะทาตลอดทั้งวันทั้งคืน โดยจะแบ่งช่ วงเวลาในการต้ม
ออกเป็ น 4 ช่วงคือเช้า-เที่ยงวัน, เที่ยงวัน – เย็น, เย็น- เที่ยงคืน, เที่ยงคืน- เช้า ในระหว่างนั้นจะมีการ
ผลัดเปลี่ยนกันมาเฝ้ าเตาต้มเกลือ หลังจากนั้นจะมีพอ่ ค้ามารับซื้อเกลือไปบรรจุใส่ กะทอไว้ขาย
ข้อสรุ ปเบื้องต้นเกี่ยวกับแหล่งโบราณคดีผลิตเกลือในลุ่มแม่น้ าสงครามเมื่อเปรี ยบเทียบ
กับแหล่งผลิ ตเกลื อโบราณทุ่งผีโพน อาเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสี มา ในเขตลุ่มน้ ามูลตอนบน
สรุ ปไว้วา่ แหล่งโบราณคดีทาเกลือลุ่มน้ าสงครามเหล่านี้ ถือเป็ นกลุ่มใหญ่ ที่น่าจะเกิดขึ้นมาจากเนิน
ขยะจากการผลิ ตเกลื อ เช่ นเดี ยวกับที่เกิ ดขึ้นที่ทุ่งผีโพน เพราะมีลกั ษณะโดยทัว่ ไปไม่แตกต่างกัน
มากมายนัก โดยแต่ ล ะเนิ นจะมี ช้ นั ของเศษภาชนะดิ นเผาเนื้ อดิ นชนิ ดหยาบๆ จานวนมหาศาล,
ชิ้นส่ วนหิ นดุ บอกได้ว่ามีการผลิตภาชนะดินเผาในบริ เวณเดียวกันนี้ นอกจากนี้ก็พบกระดูกสัตว์
เปลือกหอย และเนินดินรู ปร่ างไม่สม่าเสมอขนาดสู งใหญ่ ในบริ เวณใกล้เคียงกันถึง 9 เนิน
ทั้งนี้ อายุของแหล่งโบราณคดีกลุ่ มนี้ สันนิ ษฐานว่า ไม่น่าจะเก่าไปจนถึงช่ วงเวลาก่อน
ประวัติศาสตร์ เพราะไม่ปรากฏว่าพบแหล่ งโบราณคดี สมัยก่ อนประวัติศาสตร์ ในบริ เวณลุ่ มน้ า
สงครามตอนล่าง หรื ออาณาบริ เวณใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ ยังพบเศษภาชนะเนื้อแกร่ งจากเตาลุ่มน้ า
สงคราม กระจัดกระจายตามเนิ นต่างๆ ซึ่ งหากมีการศึกษาทางโบราณคดีอย่างจริ งจัง ก็น่าจะบอก
เรื่ องราวได้ ม ากขึ้ น ดั ง นั้ น การก าหนดอายุ แ หล่ ง โบราณคดี ใ นที่ น้ ี จึ ง อาจอยู่ ใ นช่ ว งสมัย
ประวัติศาสตร์ ซ่ ึ งมีชุมชนสร้ างบ้านเมืองมัน่ คงอยู่ทางฟากเมืองเวียงจันทน์ เมืองท่าแขก และทาง
พระธาตุพนม ในราวพุทธศตวรรษที่ 21 – 23 ซึ่ งอาจร่ วมสมัยเดียวกับอุตสาหกรรมการผลิตเครื่ อง
ปั้ นดิ นเผาในแหล่ งเตาลุ่มน้ าสงคราม ซึ่ งอยู่ไม่ไกลออกไป อย่างไรก็ตามเป็ นเพียงข้อสันนิ ษฐาน
เบื้องต้นเท่านั้น (วิไลลักณ์ ทรงศิริ, 2538: 10 -12 )
63

เมื่ อเกลื อเป็ นสิ่ งจาเป็ นอย่างหนึ่ งที่มนุ ษย์ขาดไม่ได้ พื้นที่ ที่จะผลิ ตเกลื อได้ต้องเป็ น
พื้ นที่ ที่ มี ปั จจัย การผลิ ตเกลื อ หรื อวัตถุ ดิบ คื อดิ นเค็ม หรื อ น้ า เค็ม พอที่ จะท าเกลื อได้ เมื่ อลุ่ ม น้ า
สงครามพบแหล่งเกลือจานวนมาก จึงกล่าวได้วา่ นอกเหนือจากความอุดมสมบูรณ์ของปลาน้ าจืดใน
พื้นที่ราบน้ าท่วมถึงของลุ่มน้ าสงครามแล้วเกลือก็เป็ นอีกปั จจัยสาคัญหนึ่ งที่สามารถดึงดูดผูค้ นให้
เคลื่อนย้ายเข้าสู่ ลุ่มน้ าสงคราม จนทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขนาดของชุมชนหมู่บา้ นในเวลาต่อมา
ในลุ่มน้ าสงครามในส่ วนที่น้ าท่วมไม่ถึงหรื อลุ่มน้ าสงครามตอนบนนั้นเป็ นที่ต้ งั หลัก
แหล่งของผูค้ นมาเป็ นเวลานานนับแต่สมัยก่อนประวัติซาสตร์ เช่น บ้านเชียง บ้านสร้างกู่ บ้านโนน
เรื อ เมื่อชุ มชนพัฒนาเป็ นบ้านเมื อง เป็ นรัฐ ชุ ม ชนเหล่ านี้ จึงกลายเป็ นเมืองใหญ่น้อยกระจายอยู่
ทัว่ ไปโดยมีปัจจัยที่เกื้อหนุ นให้เกิดการเคลื่อนย้ายเข้ามาตั้งหลักปั กฐาน เช่ น การทาเกลือ การหล่อ
โลหะ ถลุงเหล็ก และการทาภาชนะดินเผา ควบคู่กบั ความอุดมสมบูรณ์ในการปลูกข้าวและการจับ
ปลาเพื่อบริ โภค ส่ วนลุ่มน้ าสงครามตอนล่างนั้นมีคนอพยพเข้ามาตั้งชุ มชนถาวรในภายหลังดังจะ
กล่าวต่อไป
3.2. การผลิตเกลือยุคก่ อตั้งชุ มชนถาวรในลุ่มนา้ สงครามตอนล่าง
ลุ่มน้ าสงครามเป็ นแอ่งอารยธรรมที่น่าสนใจที่สุดจุดหนึ่ งในเขตอีสานเหนือ มีร่อยรอย
ทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี ที่บ่งบอกถึ งความต่อเนื่ องได้ชดั เจนยิ่งระหว่างวัฒนธรรมบ้านเชี ยง
และวัฒนธรรมเหล็กตอนปลาย อาณาบริ เวณลุ่ มแม่น้ าสงครามตอนล่ างที่ถึงปลายปี จะมีน้ าจาก
แม่น้ าโขงไหลเข้ามาทาให้เกิ ดน้ าท่วมเป็ นประจาทุกปี เป็ นบริ เวณที่ไม่มีคนเข้ามาตั้งถิ่ นฐานที่อยู่
อาศัยในลักษณะที่เป็ นชุ มชนถาวรมาก่อนพุทธศตวรรษที่ 24 แต่ก็มีความสัมพันธ์กบั กลุ่มชนที่อยู่
ภายนอกมาช้านาน อันเนื่ องมาจากบริ เวณลุ่มน้ าสงครามตอนล่างมีทรัพยากรธรรมชาติสามารถ
ดึงดูดมนุษย์ให้เข้ามาเกี่ยวข้องได้ ดังเห็นได้ในสมัยปลายยุคโลหะนั้น ได้เกิดอุตสาหกรรมเกลือขึ้น
ในเขตอาเภอนาหว้าต่อเขตอาเภออากาศอานวย ในพุทธศตวรรษที่ 21 (มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2539:
157)
ชุ ม ชนที่ ต้ ัง ถิ่ น ฐานในบริ เวณลุ่ ม น้ าสงครามมี ม าแต่ ส มัย เริ่ มแรกคื อ สมัย ก่ อ น
ประวัติศาสตร์ จนกระทัง่ สมัยร้อยกว่าปี ที่ผา่ นมา หลักฐานส่ วนใหญ่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ต้ งั แต่
ประมาณ 3,500 ปี ลงมาจนถึงสมัยทวาราวดี ลพบุรี นั้นมักกระจายอยูใ่ นบริ เวณลุ่มน้ าสงคราม
ตอนบน ส่ วนแหล่งโบราณคดีที่พบกระจายกันอยูใ่ นบริ เวณลุ่มน้ าสงครามตอนล่างเป็ นการขยายตัว
มาจากทางตอนบน และเกิดการผสมผสานกันในภายหลังกับกลุ่มคนที่เคลื่อนย้ายมาจากฝั่งแม่น้ า
โขงเมื่อราว 100 – 400 ปี ที่ผ่านมา เป็ นการเริ่ มต้นประวัติศาสตร์ และพัฒนาการของชุมชนลุ่มน้ า
64

สงครามขึ้นอีกครั้งในช่วงพุทธศตวรรษที่ 23 ซึ่ งถือว่าเป็ นช่วงที่สาคัญเพราะกลุ่มคนที่เคลื่อนย้าย


ด้วยปั ญหาทางการเมืองระหว่างสยาม-เวียงจันทน์ โดยการตั้งเมืองต่างๆ ขึ้นในเขตลุ่มน้ าสงคราม
ตอนล่าง นับแต่เมืองไชยบุรี ซึ่ งเป็ นเมืองที่ต้ งั ตรงปากแม่น้ าสงครามโดยพวกย้อที่อพยพมาจากลาว
ในปี พ.ศ.2351 หรื อเมื่อปลายสมัยรัชกาลที่ 1 แต่พอเกิดกบฏเจ้าอนุวงศ์ในสมัยรัชกาลที่ 3 ผูค้ นก็ถูก
กวาดต้อ นข้า มแม่ น้ า โขงกลับ ไป ในช่ ว งสงครามปราบเจ้า อนุ ว งศ์พ วกไทลาวจากยโสธร
อุบลราชธานี เมืองเขมราฐ ก็เคลื่ อนย้ายเข้ามาแทนที่ หลังจากสงครามสิ้ นสุ ดลง กลุ่มชาวย้อได้
อพยพไปตั้งบ้านเมืองใหม่ที่บา้ นท่าอุเทน ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 กลุ่มชาวโย้ยอพยพมาจากฝั่ ง
ซ้ายแม่น้ าโขงมาตั้งบ้านเมืองในเวลาไล่เลี่ยกันในเขตเมืองอากาศอานวย เมืองวานรนิวาส ซึ่ งอยูร่ ิ ม
ฝั่งลาน้ ายาม สาขาของแม่น้ าสงคราม และเมืองสว่างแดนดิน ที่ต้ งั อยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ า
สงคราม ส่ วนบ้านปากอูน (อาเภอศรี สงครามในปั จจุบนั ) ซึ่ งตั้งอยู่ปากน้ าอูนบรรจบกับแม่น้ า
สงครามนั้น มีกลุ่มชาวโซ่ได้อพยพมาตั้งเป็ นหมู่บา้ นในปลายสมัยรัชกาลที่ 4 และมีชาวย้อจากไชย
บุรี เมืองท่าอุเทน เข้ามาสมทบ จนสามารถตั้งเป็ นเมืองขึ้นใน พ.ศ. 2436 (ศรี ศกั ร วัลลิโภดม, 2538:
157 – 158)
การตั้งถิ่นฐานและขยายตัวของชุ มชนลุ่มน้ าสงครามไปใกล้กบั ลาน้ าหรื อบริ เวณที่ราบ
ลุ่มน้ าสงครามอย่างจริ งจังนั้น เริ่ มขึ้นประมาณทศวรรษที่ 2440 จากการอพยพเข้ามาของผูค้ นจากฝั่ง
ซ้ายแม่น้ าโขง (ประเทศลาว) และการอพยพผูค้ นเข้ามาเพิ่มเติมจากจังหวัดต่างๆ ในภาคอีสาน จน
เกิดการขยายตัวของชุมชนในลุ่มน้ าสงคราม
ในช่วงก่อนทศวรรษ 2440 ลุ่มน้ าสงครามตอนล่าง มีการเข้ามาใช้ประโยชน์ทรัพยากร
ของผูค้ นจากที่ต่างๆ โดยเฉพาะการเข้ามาต้มเกลือที่บ่อเกลือหัวแฮด การจับปลา การเลี้ยงวัวเลี้ ยง
ควาย และการทาไร่ ขา้ ว และพานักอยู่ชว่ั คราว กระทัง่ มีการตั้งถิ่ นฐานพัฒนาการเป็ นบ้านเมือง
มั่น คงถาวรสื บ ต่ อ มา กลุ่ ม ผู ้ค นอพยพมาจากฝั่ ง ซ้า ยแม่ น้ า โขงกระจายตัว อยู่ใ นหลายชุ ม ชน
เนื่ องจากความไม่มน่ั คงทางการเมือง เช่ น กลุ่มที่ไม่พอใจระบบการปกครองของลาวสมัยที่อยู่ใต้
อานาจของฝรั่งเศสอพยพมาอยูท่ ี่บา้ นตาล ตาบลไชยบุรี อาเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม หรื อกลุ่ม
คนที่ถูกขับไล่จากเมืองหลวงพระบางเพราะพ่ายแพ้ในการแย่งชิงอานาจจึงล่องเรื อมาตามลาน้ าโขง
ครั้งแรกขอพักอาศัยที่เวียงจันทน์แต่ถูกปฏิเสธ จึงพากันล่องแพลงมาจนถึงปากน้ าสงครามบริ เวณ
บ้านไชยบุ รี และมี บางส่ วนแยกย้ายอพยพไปตามลาน้ าโขงตั้งถิ่ นฐานในตัวอาเภอท่าอุเทนและ
จังหวัดนครพนม ที่เหลื อล่องเรื อเข้ามาในแม่น้ าสงครามแล้วตั้งถิ่ นฐานที่บา้ นแก้วปั ดโป่ ง ตาบล
ไชยบุ รี อาเภอท่า อุ เทน จัง หวัดนครพนม หรื อกลุ่ ม ที่อพยพหนี ภยั สงครามมาอยู่ที่ บ ้านนาเพีย ง
ตาบลท่าบ่อสงคราม อาเภอศรี สงคราม จังหวัดนครพนม เป็ นต้น
65

เมื่อพิจารณาความสื บเนื่องของการผลิตเกลือในลุ่มน้ าสงครามและการเริ่ มก่อตั้งชุมชน


อย่างถาวร แหล่งผลิ ตเกลื อสาคัญแห่ งหนึ่ งในลุ่ มน้ าสงครามในช่ วงเวลาที่เริ่ มมีการตั้งบ้านเรื อน
ถาวรในลุ่มน้ าสงครามคือบ่อเกลือหัวแฮด บ้านท่าสะอาดใต้ ตาบลท่าสะอาด อาเภอเซกา จังหวัดบึง
กาฬ ซึ่ งเป็ นแหล่งผลิตเกลือเก่าแก่ที่สามารถสื บประวัติได้วา่ ผลิตเกลือมานานนับร้อยๆ ปี
ตานานอันเกิดจากประวัติศาสตร์ การทาเกลือที่แหล่งเกลือบ่อหัวแฮดที่จดั เป็ นแหล่งทา
เกลื อที่มีความสาคัญสื บเนื่ องมาจนปั จจุบนั การตั้งชุ มชนบ้านท่าสะอาดนั้นมีบนั ทึกไว้ว่าเริ่ มตั้ง
หมู่บา้ นราวปี 2465 โดยกลุ่ มคนจากที่ต่างๆ ซึ่ งมีอาชี พเป็ นพ่อค้าเกลื อจากศรี สงคราม ไชยบุรี
นครพนม และมุกดาหาร ใช้เรื อฉลอมหรื อ “เรื อกระแชง” ถ่อขึ้นมาตามลาน้ าสงคราม ขายสิ นค้าที่
นามาด้วย เมื่อถึงบ่อหัวแฮดก็ตม้ เกลือหรื อซื้ อเกลือจากชาวบ้านที่ตม้ ไว้แล้วจึงกลับ อีกส่ วนหนึ่ งมา
ค้าเกลือโดยเฉพาะ เป็ นพวกที่มาจากปากยาม, ท่าอุเทน และนครพนม พอฤดูน้ าก็ถ่อเรื อมาตามลา
น้ าสงคราม พอต้มหรื อซื้ อเกลื อเต็มลาเรื อก็ล่องไปขายหรื อแลกเปลี่ยนสิ นค้า บริ เวณสองฟากฝั่ง
แม่น้ าสงครามและแม่น้ าโขง แหล่งเกลือจากบ่อหัวแฮดนี้ ถือเป็ นแหล่งสาคัญที่เลี้ยงชุมชนในแถบ
แม่น้ าสงครามและแม่น้ าโขง (วลัยลักษณ์ ทรงศิริ, 2539: 51 – 52)
สิ น ค้า ที่ ส าคัญของหมู่ บ ้า นท่ า สะอาดคื อเกลื อ ที่ บ่ อ หัวแฮด ซึ่ ง ถู ก น าไปขายทั้ง แอ่ ง
สกลนคร ตลอดจนเวียงจันทน์ หลวงพระบาง และลงไปทางใต้ต้ งั แต่นครพนม ธาตุพนม มุกดาหาร
ท่าแขก เขมราฐ สุ วรรณเขต จนถึงจาปาศักดิ์ นอกจากเกลือก็ยงั มีไม้ตะเคียน ไม้ยาง สี เสี ยด แก่นคูณ
เข และชัน สาหรั บการค้าเกลื อนั้นมีผูค้ า้ 2 ประเภท ประเภทแรกค้าทั้งเกลื อและสิ นค้าอื่นด้วย
ประเภทที่ 2 ค้าเกลืออย่างเดียว แต่ท้ งั 2 ประเภทไม่มีคนจีนมีแต่คนไทยอีสาน และส่ วนใหญ่มาจาก
ภายนอกหมู่บา้ น เช่น ศรี สงคราม ไชยบุรี นครพนม มุกดาหาร ท่าอุเทน พาหนะที่ใช้คือเรื อกระแชง
ขนาดกว้าง 3-4 เมตร ยาว 20 – 40 เมตร ใช้ถ่อข้างละ 3 คนขึ้นไป ต่อมาในปี พ.ศ. 2495 มีการจ้าง
เรื อกลไฟลากขึ้นมาทีละ 4 - 5 ลาจึงไม่ตอ้ งจ้างคนถ่อ ส่ วนขาล่องไม่ตอ้ งจ้างเรื อกลไฟอาศัยแรงน้ า
ไหล และคนถ่อไม่ตอ้ งมาก เรื อที่ข้ ึนมาซื้อเกลือจะต้องขึ้นมาตอนปลายฤดูน้ าหลาก และจะต้องจอด
รอจนน้ าในแม่น้ าลดจึงจะเริ่ มผลิตเกลือได้ แต่เดิม (จนถึง พ.ศ. 2518) ใช้วิธีขุดดินเป็ นปล่องกว้าง
ประมาณ 2 ฟุต ยาว 1.50 เมตร ลึกจากผิวดินประมาณ 20 – 30 เมตร ก็ถึงน้ าเกลือ ใช้คุสานด้วยไม้
ไผ่เอาชันยากันรั่ วตักน้ าเกลื อขึ้นมาใส่ หม้อขางต้ม ฟื นก็ได้จากบริ เวณป่ าไม้ใกล้เคียงซึ่ งมีอุดม
สมบูรณ์ ที่ดินบริ เวณบ่อเกลือไม่มีใครอ้างสิ ทธิ์ เป็ นเจ้าของ แต่คนใดขุดก็เป็ นของคนนั้น ใครจะใช้
น้ าเกลือจากบ่อนั้นต้องเสี ยค่าเช่าเป็ นเกลือ 400 ถุง(1 ถุงประมาณ 6 กิโลกรัม) ต่อ 1 ฤดูกาลทาเกลือ
ซึ่งจะทาเฉพาะฤดูแล้งเท่านั้น (ประมาณเดือนเมษายน) พอถึงเดือนหก ฝนตกน้ าจะขึ้นจนท่วมปาก
บ่อทาเกลือต่อไปไม่ได้ พ่อค้าที่มาเอาเกลือจากบ่อหัวแฮด บางคนจะซื้ อเกลือที่เขาผลิตอยู่แล้ว แต่
66

บางคนก็มาเช่ าบ่อเกลื อทาการผลิ ตเองจนเกลือเต็มลาก็ล่องเรื อกลับ ในทศวรรษที่ 2490 มีคนต้ม


เกลืออยูบ่ ริ เวณนี้ประมาณ 150 – 200 ครอบครัว และมีเรื อกระแชงมารับเกลือประมาณ 20 ลา ราคา
ขายเกลือเมื่อ 50 ปี ก่อน 100 หมื่น 6 – 8 บาท(เรื อ 1 ลาขนาดปานกลางบรรทุกได้ 300 หมื่น)
ประมาณปี พ.ศ.2495 ราคาเกลือขึ้นเป็ นกะทอ (12 กิโลกรัม) กะทอละ 30 – 50 สตางค์ (สุ วิทย์ ธี ร-
ศาศวัต และดารารัตน์ เมตตาริ กานนท์, 2538: 38- 40)
จากคาบอกเล่าของอดีตคนต้มเกลือในลุ่มน้ าสงครามเมื่อนาไปเทียบเคียงกับประวัติการ
ก่อตั้งหมู่บา้ นของหลายชุ มชนริ มฝั่งแม่น้ าสงครามพบว่ามีความสัมพันธ์กบั การเข้ามาต้มเกลือของ
คนในลุ่มน้ าโขง หรื อคนจากชุมชนต่างๆ ในแอ่งสกลนครทั้งทางบกและทางน้ า ด้วยสาเหตุสาคัญที่
ดึงดูดให้ผคู ้ นทั้งจากฝั่งซ้ายแม่น้ าโขงส่ วนหนึ่ งและหลายจังหวัดของอีสาน เข้ามาตั้งถิ่นฐานในลุ่ม
น้ าสงครามตอนล่าง เพราะความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ในครั้งแรกนั้นอาจเข้ามาเพื่อ
ใช้ทรัพยากรชัว่ คราวเท่านั้น และตัดสิ นใจตั้งถิ่นฐานถาวรเมื่อเห็นว่ามีทาเลที่ต้ งั ที่เหมาะสมกับการ
ตั้งหลักแหล่ง เช่น มีที่โนนตั้งบ้าน หนองน้ า ป่ าโคก ป่ าดง ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ ที่ดินทาไร่ และทานา
และที่สาคัญคือแหล่งเกลือที่บ่อหัวแฮด ซึ่ งถือเป็ นทรัพยากรที่จาเป็ นอย่างยิง่ เรื่ องราวเหล่านี้ ปรากฏ
เป็ นประวัติศาสตร์ ร่วมกันของชุมชนแถบนี้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจจึงขอยกตัวอย่างบางชุมชนดังนี้
ชุ มชนบ้ านปากยาม ตาบลสามผง อาเภอศรี สงคราม จังหวัดนครพนม บ้านปากยามเดิม
เรี ยกว่า “บ้านดอนหลักดิน” เป็ นหมู่บา้ นอยูร่ ะหว่างเขตแดนเมืองสกลนครและเมืองนครพนม ซึ่ ง
ต่างก็อา้ งดิ นแดนหมู่บา้ นแห่ งนี้ เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของตน ในที่สุดเจ้าเมืองทั้งสองคนได้ตกลงทาพิธี
เสี่ ยงทายเผาหลักไม้ที่ปักดิน ซึ่ งเรี ยกว่า “หลักดิน” โดยทาเป็ นเสาไม้ปักดิน 2 เสา กาหนดให้หลัก
หนึ่งเป็ นของเจ้าเมืองสกลนคร อีกหลักหนึ่ งเป็ นของเจ้าเมืองนครพนม หากเผาไปแล้วไม้หลักดิน
ของผูใ้ ดไม่ไหม้ไฟก็เป็ นสิ ทธิ์ ในการปกครองและดินแดนอยูใ่ นเขตเมืองของผูน้ ้ นั ผลการเสี่ ยงทาย
เผาหลักเขตดิน หลักไม้ของเจ้าเมืองนครพนมไหม้ไฟแต่เสาไม้ของเจ้าเมืองสกลนครไม่ติดไฟ จึง
ให้ชื่อหมู่บา้ นแห่ งนี้ ว่า บ้านเสาหลักดิน และอยู่ในเขตปกครองของเมืองสกลนคร สันนิ ษฐานว่า
การเสี่ ยงบารมีโดยการเผาไม้หลักเขตดินน่าจะเกิดขึ้นในช่วงเวลาหลัง พ.ศ.2396 ซึ่ งเป็ นช่วงตั้งเมือง
อากาศอานวย อย่างไรก็ดี แม้วา่ บ้านปากยามจะเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 150 ปี เศษมาแล้วแต่คงร้างไป
เป็ นเวลานาน (สุ รัตน์ วรางรัตน์, 2540: 46 - 48) จนเมื่อราว พ.ศ.2447 จึงได้มีกลุ่มคนอพยพเข้ามา
ตั้งบ้านเรื อนอีกครั้งหนึ่ง โดยครอบครัวแรกซึ่ งเป็ นชาวลาวจากบ้านท่าขาม เมืองปากเซ แขวงจาปา
สัก ประเทศลาว หนี ความยากจนและความแห้งแล้งข้า มน้ าโขงมาอยู่ที่ อาเภอธาตุพนม จังหวัด
นครพนม เลี้ ยงชี พด้วยการรั บซื้ อเกลื อ ข้าว ปลาแดก ที่ ปากแม่น้ า สงคราม ครั้ งที่สองอพยพไป
ประกอบอาชี พ ต้ม เกลื อ ที่ บ ้า นบ่ อหัวแฮด ครั้ งที่ ส ามอพยพไปอยู่ที่ บ ้า นศรี เ วิน ชัย และในที่ สุ ด
67

ตัดสิ นใจนาครอบครัวมาปลูกบ้านชัว่ คราวที่บา้ นปากยาม ภายหลังต่อมาได้มีการอพยพเข้ามาที่บา้ น


ปากยามมากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มพ่อค้าจากที่ต่างๆ เนื่ องจากบ้านปากยามเป็ นท่าน้ าสาคัญในการ
ขนส่ งสิ นค้าทางเรื อ ได้แก่ กลุ่มพ่อค้าจากบ้านไชยบุรี อาเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม, อาเภอวาริ ช
ภูมิ อังหวัดอากาศอานวย จ.สกลนคร, พ่อค้าจากท่าแขก ประเทศลาว, อาเภอธาตุพนม, อาเภอบ้าน
แพง และจังหวัดนครพนมเข้ามาค้าขาย และชาวญวนซึ่ งอพยพหลบภัยสงครามอินโดจีน ในช่ วง
ทศวรรษ 2480 และอพยพไปยังจังหวัดอื่นๆ ต่อมาหลังปี 2500 ก็ยงั มีคนอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานที่
บ้านปากยาม เนื่องจากเป็ นหมู่บา้ นศูนย์กลางการค้าขายในสมัยนั้น (สพสันติ์ เพชรคา, 2540: 58-60)
ชุ มชนบ้ านท่ าควาย ตาบลท่าก้อน อาเภออากาศอานวย จังหวัดสกลนคร ตั้งขึ้นประมาณ
ระหว่าง พ.ศ.2440-2454 ตอนปลายสมัยรัชกาลที่ 5“เดิมที เฒ่ าเพียโขง หอมวัน มาจากฝากของ (อี ก
ฝั่ งแม่ นา้ โขง หรื อประเทศลาว) จากเมืองอุสมาลย์ อยู่ทางทิ ศตะวันออกของเวียงจันทน์ ราว 20 กว่ า
เส้ น แกข้ ามมาอยู่ตรงนีม้ าดักคล้ องควายป่ าก็เลยไม่ ไปไหนเลยอยู่ที่นี่ ต่ อมาก็มีชาวบ้ านจากบ้ านนา
น้ อย อาเภออากาศอานวย จังหวัดสกลนคร บ้ านเชี ยงบาดาล จังหวัดกาฬสิ นธุ์ บ้ านขามเปี ้ ย ตาบล
บ้ านข่ า อาเภอศรี สงคราม เป็ นพวกที่อพยพมาอยู่แรกๆ‛ ต่อมาก็มีชาวบ้านจากบ้านดอนทอย อาเภอ
อากาศอานวย บ้านหนองป่ าตอง อาเภอเมืองสกลนคร และอุบลราชธานี สาเหตุที่ชาวบ้านพากันมา
อยู่ที่บา้ นท่าควายก็เพราะที่เดิ มคับแคบ ดินไม่ดี ต้องการมาหาที่ดินทากิน เหตุที่ชื่อบ้านท่าควายก็
เพราะว่าแต่ก่อนนี้ตรงท่าน้ าสงครามมีควายป่ าข้ามไปมากินหญ้าและดินโป่ ง(ดินเค็ม) จนกลายเป็ น
ท่าควายป่ า จึงเรี ยกว่าท่าควาย (สุ วทิ ย์ ธีรศาศวัต และคณะ, 2530: 53-60)
ชุ มชนบ้ านดอนแดง ตาบลท่าก้อน อาเภออากาศอานวย จังหวัดสกลนคร ก่อตั้งเมื่อปี
2458 โดยชาวบ้านกลุ่มแรกอพยพจากบ้านสะโงม ตาบลขามเฒ่า อาเภอเมือง จังหวัดนครพนม
เดิ นทางโดยเรื อโขนเพื่อไปต้มเกลือที่บ่อหัวแฮด เมื่อล่องเรื อมาถึงท่าน้ าที่มีดงยางใหญ่อยู่มากจึง
แวะเพื่อยาเรื อด้วยยางไม้ยาง ขณะที่พกั เรื ออยู่ก็ไปหาปูหาปลาตามลาห้วยและแม่น้ าสงคราม ซึ่ ง
สามารถหากิ นง่ าย และมีป่าไม้อุดมสมบูรณ์ท้ งั ป่ าดงและป่ าโคก จึงตัดสิ นใจลงหลักปั กฐานและ
ชักชวนญาติพี่น้องตามมาอยู่เพิ่มเติม ในช่ วงเวลาเดี ยวกันชาวบ้านจากบ้านว่าน อาเภอว่านใหญ่
จังหวัดมุกดาหารอพยพเข้ามาเพิ่มเติม ต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2510 ชาวบ้านจากอาเภอเชี ยงยืน
จังหวัดมหาสารคาม อาเภอยางตลาด จังหวัด กาฬสิ นธุ์ จังหวัดอุบลฯ และร้อยเอ็ด อพยพเข้ามาตั้ง
68

ถิ่นฐานเพิ่มเติมอีก การทากินเริ่ มแรก ชาวบ้านจะบุกเบิกพื้นที่ปลูกข้าวไร่ ก่อน มีการเจาะขี้ยาง และ


จับปลาแลกข้าว
ชุ มชนบ้ านท่ าสะอาดใต้ ตาบลท่าสะอาด อาเภอเซกา จังหวัดหนองคาย ประวัติการตั้ง
หมู่บา้ น ประมวลได้วา่ 3 คนแรกที่มาตั้งบ้านมาจากบ้านดอนหญ้านาง จังหวัดสกลนคร, เขมราฐ
และเมื องนครพนม อีกนัยหนึ่ งว่ามาจากบ้านท่าจาปา อาเภอท่าอุเทน, บ้านยางคา ตาบลยางคา
ประเทศลาวตรงข้ามนครพนม เป็ นกลุ่มแรกเมื่อปี พ.ศ. 2465 ต่อมาในปี พ.ศ.2470 มีผอู้ พยพ
เพิ่มเติมจากบ้านท่าคร้อ ตาบลท่าคร้อ อาเมืองนครพนม ปี พ.ศ.2495 จากบ้านโนนใหญ่ ตาบลโนน
ใหญ่ อาเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลฯ ปี พ.ศ.2498 จากบ้านในเมือง อาเภออานาจเจริ ญ จังหวัดอุบลฯ
และพ.ศ.2500 จากบ้านสี่ แยก อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ปี พ.ศ.2501-2507 จากอาเภอธวัชบุรี
จังหวัดร้อยเอ็ด บ้านพระซอง อาเภอนาแก จังหวัดนครพนม อาเภอคาชะอี จังหวัดมุกดาหาร อาเภอ
กมลาไสย จังหวัดกาฬสิ นธุ์ และอาเภอวิเชี ยรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ ปี พ.ศ.2517 กลุ่มผูเ้ ข้ามาอยู่
อาศัยระยะแรกจนได้มาตั้งเป็ นหมู่บา้ นมีวตั ถุ ประสงค์เดี ยวกันคือเป็ นพวกพ่อค้าเกลื อ เข้ามาต้ม
เกลือเพื่อนาออกขายโดยทางเรื อล่องตามแม่น้ าสงครามไปออกแม่น้ าโขงหรื อไม่เมื่อได้เกลือแล้วก็
กลับบ้านเดิ ม เกลือหมดก็มาทาอีกอย่างนี้ เป็ นเวลานานจนในที่สุดก็มาตั้งบ้านเรื อนขึ้น “เพราะมัน
ใกล้บ่อเกลือ ลงเรื อไปก็ง่าย แล้วก็หาเงินง่าย นากะดินดี อ้ายน้องขึ้นมาเบิ่ง ลูกหลานเห็นกะขึ้นมา
นากัน เลยแตกตื่นกันขึ้นมา หอย ปู ปลาก็หลาย ปลาก็บ่อึดแต่ก่อน ไปตึกแหนี่ก็นงั่ คอยฟังเอา พอ
ค่ ามามันบ้อน หลายบ้อนดุ แหห่ างหว่านบาดเดียวก็พอกิ น ปลาหลายอีหลี เจ้าก็เห็ นว่าปลาหลาย
ข้อยก็เห็ นว่าปลาหลาย กลับคืนไปบ้านเก่าเล่ าสู่ กนั ฟั ง แตกตื่นกันอพยพขึ้นมา ขึ้นไปเทิงดง หมู
กวางหลาย ไผเห็ นก็ฮูว้ ่าอุดมสมบูรณ์ ลงไปบ้านเก่าเล่าให้พี่น้องฟั งชักจูงกันขึ้นมา นาแต่ก่อนก็ดี
ข้าวหมื่ นหนึ่ งเอาไปหว่านถึ งยามดาเอาไปดามันได้ขา้ วร้ อยหมื่น” (สุ วิทย์ ธี รศาศวัต และคณะ,
2530: 81-85)
จากที่ ก ล่ าวมาแล้วจะเห็ นว่า การท าเกลื อในลุ่ ม น้ า สงครามมี ท้ งั แบบที่ ผลิ ตเกลื อจาก
น้ าเค็มจัดโดยตรงสามารถนามาต้มเป็ นเกลือได้ และการขูดดินเค็มซึ่ งพบว่าในชุมชนหลายชุมชน
ในลุ่มน้ าสงครามมีแหล่งผลิ ตเกลื อขนาดเล็กของตนกระจายอยู่ทว่ั ไป และหากนับประวัติศาสตร์
อัน ยาวนานของชุ ม ชนในลุ่ ม น้ า สงคราม เมื่ อ หลายพันปี ที่ ชุ ม ชนบ้า นเชี ย งทางลุ่ ม น้ า สงคราม
ตอนบน ขยายออกมาสู่ เขตเทือกเขาภูพาน หนองหานสกลนคร และลุ่มน้ าก่ า แสดงถึงการสร้าง
บ้านแปงเมืองเกิดเป็ นชุมชนมัน่ คงถาวร ก่อนจะมีการเคลื่อนย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ราบลุ่มน้ า

บันทึกการประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อจัดทาแผนการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ าสงคราม ณ ศาลาวัดบ้านดอนแดง.
โครงการฟื้ นฟูชีวิตและธรรมชาติ, เอกสารอัดสาเนา : 6 สิ งหาคม 2545
69

ท่วมถึงตอนล่าง หลังทศวรรษ 2440 การขยายตัวของชุมชนมีมากขึ้น เนื่องจากการอพยพของผูค้ น


ที่ต้ งั ถิ่ นฐานในเขตลุ่มน้ าสงครามด้วยกัน และอพยพจากลุ่มน้ ามูล-ชี ตลอดจนผูค้ นที่อพยพจากฝั่ ง
ซ้า ยแม่ น้ า โขง (ประเทศลาว) มาตั้ง หมู่ บ ้า นแห่ ง ใหม่ ข้ ึ น จะเห็ นได้ว่า ในยุค ก่ อตั้ง ชุ ม ชนนั้น
ทรัพยากรเกลือเป็ นหนึ่ งในปั จจัยสาคัญที่ดึงดูดผูค้ นเข้ามาตั้งถิ่นฐาน จนทาให้เป็ นลุ่มน้ าที่มีชุมชน
ซึ่ งเกิดจากการผสมผสานทางวัฒนธรรมของกลุ่มชนพื้นถิ่ นหลายชาติพนั ธุ์ และเชื่อมต่อกับชุมชน
อื่นในลุ่มน้ าสงคราม และลุ่มน้ าโขง ซึ่ งเข้ามาอาศัยทามาหากิ นสื บเนื่ องเรื่ อยมา มีท้ งั กลุ่มชาวย้อ
ลาว โซ่ ผูไ้ ทย โย้ย ฯลฯ โดยมีกลุ่มชาวย้อและชาวลาวเป็ นกลุ่มใหญ่ที่สุด คนเหล่านี้ ดารงชีพด้วย
การทานา จับปลา ค้าขายของป่ า เกลือ ข้าว ปลาแดก และมีขนบประเพณี ความเชื่อเรื่ องผีและ พุทธ
ศาสนาคล้ายกัน
3.3 การผลิตเกลือจากนา้ บาดาลเค็มเพือ่ อุตสาหกรรม
การทาเกลือสิ นเธาว์เพื่ออุตสาหกรรมสมัยใหม่ในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ มีจุดเริ่ มต้น
ที่บริ เวณอ่างเก็บน้ าหนองบ่อ อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม โดยเริ่ มทาเมื่อปี พ.ศ.2512 และมี
การขยายตัวอย่างมากในระหว่างปี พ.ศ. 2514 – 2522 จนทาให้เกิดปั ญหาสิ่ งแวดล้อมในเรื่ องการ
แพร่ กระจายของดิ นเค็ม ท าให้พ้ืนที่เกษตรกรรมเสี ย หายเป็ นจานวนมาก นอกจากการขยายตัว
ภายในจังหวัดมหาสารคามแล้ว การทาเกลื อสิ นเธาว์ยงั ขยายไปยังจังหวัดอื่นๆ และในช่ วงเวลา
ดังกล่ าวกลุ่ มทุนเกลื อทะเลจากจังหวัดสมุทรสงครามที่เดิมประกอบกิ จการเกลื ออยู่ที่ลุ่มน้ าเสี ยว
ย้า ยมาท านาเกลื อที่ ลุ่ ม น้ า สงครามด้วย นอกจากนี้ มี ก ลุ่ ม ผูป้ ระกอบการเกลื อจาก อาเภอพิ มาย
จังหวัดนครราชสี มา ฯลฯ เข้ามาเริ่ มทานาเกลือในพื้นที่ลุ่มน้ าสงคราม ทาให้แหล่งผลิตเกลือขนาด
เล็กในบ่อเกลือต่างๆ ในลุ่มน้ าสงครามที่เคยผลิตเกลือด้วยเทคโนโลยีขนาดเล็กสาหรับตอบสนอง
การบริ โภคและเติบโตของชุ มชนในลุ่มน้ าสงครามและบางส่ วนของลุ่มน้ าโขง พัฒนามาเป็ นการ
ผลิตเกลือเพื่ออุตสาหกรรม โดยเกลือส่ วนใหญ่ส่งเข้าสู่ ศูนย์กลางการพัฒนาอุตสาหกรรมของไทย
เมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2511 ซึ่ งมีการออกเจาะน้ าบาดาลเพื่อแก้ไขปั ญหาภัยแล้งแต่ก็พบ
น้ าเค็ม โดยเฉพาะในเขต อาเภอวานรนิวาส เจาะบ่อบาดาล 14 บ่อพบว่าเป็ นน้ าเค็มจัดจนสามารถ
เอาต้มเกลือได้ 5 บ่อ...ทาให้เริ่ มมีการผลิตเกลือจากน้ าบาดาลเค็มอย่างกว้างขวาง และมีการเจาะน้ า
บาดาลเพิ่มเติมตามแหล่งผลิตเกลื อพื้นบ้านเดิม เช่น บ่อห้วยดินสอ และบ่อห้วยงิ้ว บ้านหนองกวัง่
และบริ เวณใกล้เคียงในไร่ นาของชาวบ้านโนนสะแบง และบ้านกุดเรื อคา เป็ นต้น เมื่อพบน้ าเค็มจัด
จนสามารถต้มเป็ นเกลือได้ก็เริ่ มมีการใช้ฟืนต้มเกลือกันอย่างกว้างขวาง และขยายตัวขึ้นเรื่ อยๆ จน
ป่ าบริ เวณแหล่ งเกลื อโล่ งเตียนหมดสิ้ น เมื่อประสบปั ญหาเชื้ อเพลิ งต้มเกลือก็มีความพยายามหา
70

เชื้ อเพลิ งอื่ นมาทดแทน การผลิ ตเกลือต้มจากน้ าบาดาลที่บา้ นหนองกวัง่ อาเภอบ้านม่วง จังหวัด
สกลนคร เริ่ มทาตั้งแต่ปี 2515 ขณะนั้นมีผูป้ ระกอบการต้มเกลือมากถึ ง 67 ราย มีเตาต้มเกลื อ
ประมาณ 470 เตา และตอนนั้นเป็ นช่ วงที่เกลือมีราคาสู งตันละประมาณ 900 บาท ทาให้เริ่ มมีการ
พัฒนากระทะต้มเกลือขนาดใหญ่ที่ทาจากแผ่นสังกะสี เฉพาะในตาบลบ้านม่วงขณะนั้นมีกระทะต้ม
เกลือขนาดใหญ่มากถึง 2,000 กระทะ โดยจะมีพ่อค้าคนกลางมารับซื้ อส่ งไปขายต่อให้พ่อค้าจาก
สมุทรปราการ แต่ต่อมาเนื่ องจากการต้มเกลือด้วยฟื นต้องใช้ฟืนจานวนมากและหายากขึ้นเรื่ อยๆ
และมีการตรวจตราของเจ้าหน้าที่เพื่อควบคุมการตัดไม้มาทาฟื นทาให้มีการต้มเกลือน้อ ยลง ในปี
2525 การต้มเกลือลดน้อยลงเหลือเพียง 200 กระทะ(กาญจนา อุทยั เลี้ยง, 2544: 32 – 34)
งานศึกษาเรื่ องกระบวนการยอมรับเทคโนโลยีในการผลิตเกลือ บ้านหนองกวัง่ อาเภอ
บ้านม่วง จังหวัดสกลนคร โดยกาญจนา อุทยั เลี้ ยง (2544: 36 – 37) ได้อธิ บายถึงความพยายาม
พัฒนาค้นหาการใช้เชื้ อเพลิงต้มเกลือในภายหลังได้มีความพยายามหาเชื้ อเพลิงชนิดต่างๆ มาใช้ใน
การต้มเกลื อหลังจากไม่สามารถหาฟื นมาต้มเกลือได้ เช่น มีการเข้ามาสร้างเตาต้มเกลือขนาดใหญ่
โดยใช้ยางรถยนต์เก่ าที่ เลิ กใช้แล้วเป็ นเชื้ อเพลิ งแต่ก็ไม่ได้ผล เพราะติดไฟยากและมีกลิ่ นเหม็น
รบกวนชาวบ้า น ท าให้มี ผูป้ ระกอบการจานวนหนึ่ งหันไปปรึ กษาฝ่ ายอุตสาหกรรมจังหวัด ซึ่ ง
แนะนาให้ใช้กาบมะม่วงหิ มพานต์โดยเจ้าหน้าที่นาใส่ รถบรรทุกสิ บล้อมาให้ทดลองใช้ แต่ก็ไม่
ได้ผลเนื่ องจากให้ความร้ อนน้อยและเผาไหม้เร็ วเกิ นไป ต้องเติมเชื้ อเพลิ งบ่อยครั้ง และต้องใช้
จานวนมากขณะที่ แหล่ งปลู กมะม่วงหิ มพานต์ก็อยู่ไกล ต่อมามีผูป้ ระกอบการบางรายได้เรี ยนรู้
วิธีการต้มเกลือโดยใช้น้ ามันขี้โล้ จากอาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ซึ่ งเป็ นเชื้ อเพลิงที่ให้ความร้อน
สู งและนานและหาซื้ อได้จากจังหวัดอุดรธานี ต่อมาในปี 2526 ได้มีหน่วยงานของทหารกองทัพ
ภาคที่ 2 ได้แนะนาให้ใช้ถ่านหิ นลิกไนต์ในการต้มเกลือ โดยมีแหล่งถ่านหิ นลิกไนต์ที่จงั หวัดลาปาง
โดยขอหนังสื อจากผูใ้ หญ่บา้ น เพื่อขอความร่ วมมือจากการไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตอาเภอแม่เมาะ จังหวัด
ลาปาง เพื่อขอถ่านหิ นมาทดลองใช้เป็ นเชื้อเพลิงแต่ก็ไม่ประสบความสาเร็ จเพราะติดไฟยากต้องใช้
เวลาต้มนาน อีกทั้งหายาก ค่าใช้จ่ายในการขนส่ งแพงและเป็ นช่วงที่ราคาเกลือตกต่า ทดลองได้เพียง
เดื อนเดียวก็หยุด ฝ่ ายอุตสาหกรรมได้เชิญผูป้ ระกอบการในอาเภอบ้านม่วงเพื่อหาแนวทางในการ
หาเชื้ อเพลิงมาใช้ตม้ เกลือ โดยเสนอให้ไปตัดไม้ใต้อ่างเก็บน้ าห้วยเดียก จังหวัดสกลนคร หลังจาก
สร้างเขื่อนแล้วมีไม้จานวนมากตายจมอยูใ่ ต้น้ า แต่ตอ้ งมีคนงานไปดาน้ าตัดเอาซากไม้มาตากแห้ง
แล้วนาไปใช้ตม้ เกลือ ก็ทาอยูร่ าว 1 เดือนก็หยุดเพราะค่าใช้จ่ายสู งในการจ้างคนดาน้ าตัดฟื น และค่า
ขนส่ ง ต่อมาได้มีผปู ้ ระกอบการเกลือจากจังหวัดสมุทรสงครามเข้ามาทาเกลือที่บา้ นหนองกวัง่ โดย
ร่ วมทุนกับผูป้ ระกอบการในชุ มชนทดลองทานาเกลือ และเริ่ มมีผหู้ ันมาปรับพื้นที่นาข้าวมาเป็ น
71

ลานตากเกลื อ และจ้างชาวบ้านบางส่ วนมาทางานในนาเกลื อ ต่อมาก็ได้มีผปู้ ระกอบการมาจาก


จังหวัดนครราชสี มาเข้ามาเพิ่มเติม และผูป้ ระกอบการท้องถิ่นก็มีการขยายพื้นที่ทานาเกลือเพิ่มมาก
ขึ้นเพราะไม่ซบั ซ้อนและต้นทุนต่า ผลิตเกลือได้ทีละมากๆ
ทั้งนี้ ได้มีการวิจยั ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อจัดทาโครงการ
พลัง งานทดแทนส าหรั บ การผลิ ต เกลื อ สิ น เธาว์ ด าเนิ น การโดยได้รั บ ความสนับ สนุ น จาก
สถาบันวิจยั และพัฒนามหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อหาพลังงานทดแทนที่มีราคาถูกและหาได้ง่าย คือ
พลังงานจากแสงอาทิตย์และวัสดุ เหลื อใช้จากการเกษตร คือ แกลบ โดยการออกแบบสร้ างโรง
ทดลองต้มเกลือด้วยแกลบ และโรงผลิตเกลือสิ นเธาว์ดว้ ยพลังงานแสงอาทิตย์ ผลการทดลองพบว่า
ในการออกแบบและทดสอบรู ปแบบของเตาที่ใช้ในการผลิตเกลือสิ นเธาว์โดยการต้มและใช้แกลบ
เป็ นเชื้อเพลิงที่มีประสิ ทธิ ภาพสู งคือโรงต้มเกลือแบบเตาแฝดผนังด้านนอกก่อสร้างด้วยอิฐสองชั้น
ใส่ เถ้าแกลบไว้ตรงกลางปากทางช่องลมมีตะแกรงทาด้วยเหล็กเส้นเชื่อมเป็ นแผง พบว่ามีอตั ราการ
ผลิ ตต่อชั่วโมงสู งกว่า 86.6 เปอร์ เซ็ นต์มีระยะเวลาในการคุ ม้ ทุน 32 วัน ซึ่ งเป็ นเทคโนโลยีที่
ผูป้ ระกอบการยอมรั บ ว่ า มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและสามารถขยายก าลัง การผลิ ต โดยจากเดิ ม ที่ เ ป็ น
อุตสาหกรรมในครัวเรื อน กลายมาเป็ นนักลงทุนรายใหญ่ลงทุนและมีการจ้างแรงงานคนเพิ่มขึ้นใน
การคอยดูแลเติมเชื้ อเพลิ งแกลบ บางส่ วนได้นาไปใช้ตม้ เกลือและส่ วนใหญ่หันมาใช้วิธีการทานา
เกลื อ บนลานดิ น บางส่ ว นพัฒ นาเป็ นลานซี เ มนต์ ซึ่ งใช้พ้ื น ที่ ท าการผลิ ต ขนาดใหญ่ ข้ ึ น และ
จาเป็ นต้องจ้างแรงงานในทุกขั้นตอนการผลิ ตตั้งแต่ปรับพื้นที่ ดูแลสู บน้ าเข้านา เฝ้ านา และเก็บ
ผลผลิต เป็ นต้น
จากปั จจัยทางธรณี วิทยาที่สาคัญใต้แผ่นดินอีสานที่มีเกลือเป็ นองค์ประกอบสาคัญ ดัง
ตัวเลขการสารวจของกรมทรัพยากรธรณี พบว่าในแอ่งโคราชและแอ่งสกลนครมีปริ มาณของแร่
เกลือหินประมาณ 18 ล้านล้านตัน (ธวัช จาปะเกษตร, 2528) และกาลังการผลิตเกลือจากภาคอีสาน
ในปัจจุบนั ประมาณปี ละ 1.5 – 2 ล้านตันต่อปี เพื่อนาไปใช้ในภาคอุตสาหกรรมได้แก่ อุตสาหกรรม
อาหาร อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมพลาสติก ฯลฯ และมีแนวโน้มจะมีการผลิตเกลือจากใต้ดิน
อีสานเพิ่มมากขึ้น (รายละเอียดในภาพที่ 1) ในขณะที่ความต้องการเกลือเพิ่มสู งขึ้นก็พบว่าปั จจุบนั
ภาคอีสานกาลังประสบปั ญหาภาวะการแพร่ กระจายของดินเค็ม โดยพบว่ามีพ้ืนที่ดินเค็มประมาณ
17.8 ล้านไร่ แบ่งเป็ นดินเค็มจัดประมาณ 1.5 ล้านไร่ ดินเค็มปานกลาง 3.7 ล้านไร่ และดินเค็มน้อย
12.6 ล้านไร่ และดินที่มีศกั ยภาพที่จะเป็ นดินเค็มอีกประมาณ 19.4 ล้านไร่ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2540)
รวมทั้งหมด 37.2 ล้านไร่ พบกระจายอยูท่ ว่ั ไปในที่ราบลุ่มของแอ่งทั้งสอง คิดเป็ นสัดส่ วนพื้นที่ดิน
เค็มคิดเป็ น 1 ใน 3 ของพื้นที่ภาคอีสานทั้งหมด
72

การสารวจสถานการณ์ การผลิ ตเกลื อ พื้นที่จงั หวัดอุดรธานี จังหวัดสกลนคร จังหวัด


หนองคาย(ปั จจุบนั คือพื้นที่จงั หวัดบึงกาฬ) และจังหวัดนครพนม พบว่าใน 3 จังหวัดในลุ่มน้ า
สงคราม มี 23 หมู่บา้ น 10 ตาบล ที่มีการสู บน้ าเกลือใต้ดินขึ้นมาผลิ ตเป็ นเกลือสิ นเธาว์และส่ ง
จาหน่ายทัว่ ประเทศ โดยมีวธิ ี การผลิตเกลือทั้งแบบต้ม และตาก(ทานาเกลือ) โดยมีท้ งั ได้รับอนุญาต
จากกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับลงวันที่
9 ตุลาคม 2534 และมีผปู ้ ระกอบกิจการไม่ได้ขออนุญาตตามกฎหมาย
ในพื้นที่จงั หวัดอุดรธานี มีการประกอบการกิ จการเกลือสิ นเธาว์ในเขตอาเภอบ้านดุ ง
ซึ่ งมีพ้ืนที่ผลิตเกลื อสิ นเธาว์กว้างใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ทั้งเกลือต้มและเกลือตาก ผลิตเกลือได้
ราว 200,000 ตันต่อปี มีผปู ้ ระกอบการทั้งสิ้ น 181 จาก 3 แหล่งใหญ่ๆ ส่ วนพืน้ ที่จังหวัดสกลนคร
มีการประกอบกิจการเกลือสิ นเธาว์ท้ งั เกลือต้มและเกลือตากในเขตอาเภอบ้านม่วง และอาเภอวานร
นิวาส มีผปู้ ระกอบการต้มเกลือ 38 ราย ผูป้ ระกอบการนาเกลือ 18 ราย และเป็ นผูป้ ระกอบการทั้ง
การตากและต้ม 2 ราย นอกจากนี้ ยงั มีการประกอบกิจการป่ นเกลือสิ นเธาว์ผสมไอโอดีนจานวน 3
ราย กาลังการผลิตเกลือไอโอดีน 1,121 ตันต่อปี และประกอบกิจการเกลือเม็ด 3 ราย กาลังการผลิต
2,600 ตันต่อปี ขณะที่การทาเกลื อแบบตาก หรื อนาเกลือบริ เวณบ้านหนองกวัง่ -บ้านโนนสะแบง
และบ้านบ่อแดง ตาบลหนองกวัง่ อาเภอบ้านม่วง ทาเกลือโดยวิธีการตากและต้ม ประกอบด้วย 2
พื้นที่ย่อย รวมพื้นที่ประมาณกว่า 3,000 ไร่ ตั้งอยู่ระหว่างบ้านหนองกวัง่ -โนนสะแบง เป็ นพื้นที่
ผลิ ตเกลื อแหล่งใหญ่ในจังหวัดสกลนคร ตั้งอยู่ในพื้นที่แหล่งน้ าธรรมชาติที่สาคัญ ได้แก่ ลาห้วยบ่อ
แดง ไหลผ่านพื้นที่นาเกลือ บ้านโนนสะแบง หนองกวัง่ บ้านบ่อแดง บ้านโพนไคร บ้านจาน แล้ว
ไหลลงสู่ ลาห้วยซางที่บา้ นน้ าจัน่ ก่อนไหลลงสู่ แม่น้ าสงคราม มีความยาวประมาณ 17 กิโลเมตร โดยมี
ลาห้วยสาขา ได้แก่ ห้วยหนองกรุ งศรี ห้วยวังขอนจาน และห้วยตาด


พื้นที่ทาเกลือในเขตอาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี มีดงั นี้ (1.1.) พื้นที่ตาบลบ้านดุง – ศรี สุทโธ อ.บ้านดุง เป็ นพื้นที่
ผลิตเกลือที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อมีพ้ืนที่ประมาณ1,867 ไร่ ส่ วนใหญ่เป็ นเกลื อตาก มีทาเกลื อต้มเล็กน้อย มีลาห้วย
สาขาของน้ าสงครามหลายสายไหลผ่าน เช่ น ห้วยมะนาว ห้วยปลาตอง ห้วยทวน เป็ นต้น (1.2.) พื้นที่ตาบลโพนสู ง รวมประมาณ
660 ไร่ แบ่งออกเป็ น 2 พื้นที่ยอ่ ย คือ พื้นที่บา้ นโพนสู งใต้ พื้นที่ทานาเกลือประมาณ 60 ไร่ อยูต่ ิดกับนาข้าว มีลาห้วยแสงไหลผ่านไป
ยังพื้นที่ผลิตเกลือบ้านโพนสู งเหนื อ-บ้านฝาง ต่อไป และพื้นที่บา้ นโพนสู งเหนื อ-บ้านฝาง มีพ้ืนที่ประมาณ 600 ไร่ ทาเกลื อตากหรื อ
นาเกลื อ สภาพทัว่ ไปเป็ นพื้นที่ โล่ งอยูต่ ิ ดถนนเชื่ อมระหว่างบ้านโพนสู งเหนื อกับบ้านฝาง มี ลาห้วยทวนและลาห้วยแสงไหลผ่าน
กลางพื้นที่ทานาเกลื อ (1.3.) พื้นที่บา้ นทุ่ง ต.บ้านชัย อ.บ้านดุง มีพ้ืนที่ประมาณ 598 ไร่ อยูต่ ิดถนนระหว่างหมู่บา้ นสายบ้านทุ่งบ้าน
กล้วย ส่ วนใหญ่ทาเกลือโดยวิธีการต้มมีเตาต้มเกลือประมาณ 30 เตา ซึ่ งใช้แกลบเป็ นเชื้ อเพลิ ง ปั จจุบนั มีผไู ้ ด้รับอนุ ญาตรวม 49 ราย
อยูต่ ิดกับลาห้วยธรรมชาติหลายสาย เช่น ห้วยต้อน ห้วยกลาง เป็ นต้น
73

ในบริ เวณนี้ ยงั พบการกระจายของพื้นที่ทาเกลือออกไปที่บริ เวณบ้านบ่อแดง มีลาห้วย


บ่อแดงซึ่ งไหลผ่านมาจากพื้นที่ผลิตเกลือบ้านบ้านหนองกวัง่ -โนนสะแบงพื้นที่เสี ยหายประมาณ
100 ไร่ นอกจากนี้พบว่าได้เกิดปั ญหาผลกระทบคือการเกิดหลุมยุบบริ เวณบ้านโนนสะแบงซึ่ งมีการ
ขยายตัวเพิ่มขึ้นเรื่ อยทั้งจานวนหลุมหยุบ และขนาดของหลุมยุบบริ เวณใกล้หมู่บา้ น มีหลุมยุบใน
บริ เวณพื้นที่นาเกลือ ไม่นอ้ ยกว่า 10 หลุม และพบว่ามีปัญหาคันทานบดินบริ เวณบ้านโนนสะแบงมี
สภาพชารุ ดทาให้น้ าเค็มจากพื้นที่ นาเกลือซึ มแพร่ กระจายลงสู่ ห้วยบ่อแดง มีปัญหาความขัดแย้ง
และเกิดการร้องเรี ยนกรณี ผปู ้ ระกอบการเกลือสิ นเธาว์ปล่อยน้ าเสี ยลงสู่ หว้ ยบ่อแดง และพบว่ามีการ
ลักลอบทาเกลือนอกฤดูการผลิตซึ่ งปกติจะอนุญาตให้ประกอบการได้ในช่วงตุลาคม-มีนาคม อีกทั้ง
มีผปู ้ ระกอบการที่ไม่ได้รับอนุญาตเป็ นจานวนมาก
ไม่ไกลจากแหล่งเกลือบ้านหนองกวัง่ -บ้านโนนสะแบง พบพื้นที่ทาเกลือแบบตั้งโรงต้ม
เกลือ บริ เวณ ตาบลกุดเรื อคา อาเภอวานรนิวาส ประกอบด้วย 2 พื้นที่ยอ่ ยประมาณ 840 ไร่ ส่ วน
ใหญ่ทาเกลือโดยวิธีการต้มตั้งอยูบ่ ริ เวณสองข้างทางถนนสายหนองกวัง่ -กุดเรื อคา(ทางหลวงหมายเลข
2092) ด้านหลังติดนาข้าว มีลาห้วยซางไหลผ่านบริ เวณบ้านกุดเรื อคา บ้านดอกนอ บ้านจาปาดง บ้าน
โคกก่อง บ้านนาดอกไม้ บ้านโพธิ์ ศิลา บ้านลือบอง บ้านดงยางจนถึงฝายน้ าล้นห้วยซางบ้านโนนสะอาด
อาเภอบ้านม่วง ก่อนบรรจบห้วยบ่อแดง ที่บา้ นน้ าจัน่ แล้วไหลสู่ แม่น้ าสงคราม มีความยาวประมาณ 30
กิโลเมตร มีเตาต้มเกลือ ประมาณ 100 เตา ใช้แกลบเป็ นเชื้อเพลิง มีบ่อสู บน้ าเกลือทั้งหมด 12 บ่อ ความ
ลึกอยูใ่ นช่วง 80-100 เมตร นอกจากนี้ ก็พบว่ามีทาเกลือตากเล็กน้อยที่บา้ นจาปาดง ตั้งอยูบ่ ริ เวณสอง
ข้างทางถนนสายจาปาดง-บ้านม่วงสาย 2229 มีลาห้วยซางไหลผ่าน สภาพพื้นที่เป็ นพื้นที่ลุ่ม ทาทั้ง
เกลือตากและเกลือต้มรวมทั้งบริ เวณพื้นที่บา้ นดอกนอ ตาบลอินทร์ แปลง อาเภอวานรนิวาส ซึ่ งพบ
ปั ญหาการจัดการขี้เถ้าแกลบจากการต้มเกลือ ที่กองทิ้งไว้ พื้นที่อยู่ติดกับพื้นที่เกษตรกรรมทาให้ความ
เค็มแพร่ กระจายออกสู่ พ้ืนที่เกษตรกรรม บ่อสู บน้ าเกลือบางส่ วนอยู่ห่างจากถนนสายหลักน้อยกว่า
300 เมตร ซึ่ งไม่ตรงตามหลักเกณฑ์ในเงื่อนไขใบอนุญาตและผูป้ ระกอบการบางรายมีการต้มเกลือ
นอกฤดูการผลิตและลักลอบปล่อยน้ าเสี ยจากลานเกลือลงสู่ หว้ ยซาง
นอกจากนี้ ยงั พบ การทาเกลือที่บริ เวณบ้านคาอ้อ-ดอนแดง ตาบลดงเหนื อ อาเภอบ้าน
ม่วง มีพ้นื ที่ประมาณ 504 ไร่ ทาเกลือตาก เป็ นพื้นที่ลุ่ม บริ เวณโดยรอบพื้นที่เป็ นป่ าบุ่ง ป่ าทาม ตาม
แนวแม่ น้ า สงคราม ในฤดู ฝนพื้นที่บ ริ เวณนี้ จะถูก น้ า ท่วมซึ่ งพบว่าเป็ นพื้ นที่ ที่มี ความขัดแย้งมา
ยาวนานนับตั้งแต่เริ่ มมีการทานาเกลือ
74

ล่าสุ ดในเดือนมกราคม 2554 ที่ผา่ นมาได้มีการเคลื่อนไหวเรี ยกร้องให้ยกเลิกและไม่ต่อ


อายุใบอนุญาตทาเกลือในบริ เวณดังกล่าวโดยมีการชุมนุมประท้วงอย่างต่อเนื่องที่ศาลากลางจังหวัด
สกลนคร จนผูว้ า่ ราชการจังหวัดมีคาสั่งไม่ต่อใบอนุญาตการทานาเกลือในพื้นที่ ฝ่ ายผูป้ ระกอบการ
ยื่นอุทธรณ์ คาสั่งดังกล่าวขณะนี้ อยู่ระหว่างการพิจารณาของอธิ บดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและ
การเหมืองแร่
3. พืน้ ที่จังหวัดบึงกาฬ มีพ้ืนที่ผลิตเกลือสิ นเธาว์ จานวน 3 พื้นที่ใหญ่ๆ คือบริ เวณบ้าน
เซิ มทุ่ง ตาบลเซิ ม อาเภอโพนพิสัย มีพ้ืนที่ประมาณ 67 ไร่ เป็ นพื้นที่โล่ง มีห้วยพอกและห้วยยางไหล
ผ่าน มีการทาเกลื อโดยวิธีตม้ ในปี 2549 พบว่า มีเตาต้มเกลืออยู่ 2 จุดใหญ่ๆ ในหมู่บา้ น จานวน
รวมทั้ง 2 จุดประมาณ 40 เตา บริ เวณบ้านคาแวง ตาบลคาแก้ว อาเภอโซ่ พิสัย มีพ้ืนที่ประมาณ 51
ไร่ เป็ นพื้นที่ลุ่มห่ างจากแม่น้ าสงครามประมาณ 2 กิโลเมตร มีลาน้ าสาธารณะที่อยูใ่ กล้เคียงได้แก่
ลาห้วยเสน่ห์ไหลผ่านพื้นที่นาเกลือและไหลลงสู่ แม่น้ าสงคราม เดิมทาเกลือตาก ปั จจุบนั พื้นที่แห่ ง
นี้ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการจากอุตสาหกรรมจังหวัดตั้งแต่ปี 2547
บริ เวณบ้ า นท่ า สะอาด ตาบลท่ า สะอาด อาเภอเซกา จัง หวัดบึ ง กาฬ ซึ่ ง เป็ นบ่ อเกลื อ
โบราณเป็ นการประกอบกิ จการเกลื อ สิ น เธาว์น อกเขตพื้ น ที่ที ่อ นุ ญ าตให้ต้ ัง โรงงานท าเกลือ
สิ นเธาว์ของกระทรวงอุตสาหกรรม มีเตาต้มเกลือ จานวน 13 เตา โดยใช้ฟืนเป็ นเชื้ อเพลิงต้มเกลือ
น้ าที่นามาต้มเกลื อผูป้ ระกอบการจะขุดเจาะทาบ่อตอก ในบริ เวณก้นแม่น้ าสงครามจานวน 2 บ่อ
ความลึ กบ่อละประมาณ 40 เมตร ทั้งนี้ ไม่ได้ขออนุ ญาตจากอุตสาหกรรมจังหวัด แต่มีการจ่าย
ค่าธรรมเนียมรายปี ให้กบั องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
3.4 แนวโน้ มการผลิตเกลือในยุคเทคโนโลยีทันสมัย
เมื่ อมี ก ารขยายตัวของพื้นที่ ผลิ ตเกลื อ และก าลัง การผลิ ตเกลื อเพื่ อตอบสนองความ
ต้องการของภาคอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้นตามการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย
ซึ่ งจะต้อ งใช้เ กลื อ เป็ นวัต ถุ ดิ บ ต้น ทางในการผลิ ตเคมี ภ ัณ ฑ์ ต่ า งๆ ท าให้ มี ข้อ เสนอของกรม
อุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ให้มีการจากัดการผลิตเกลือแบบนาเกลือ แล้วส่ งเสริ มให้มี
การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ผลิตเกลือ เช่น การพัฒนาเทคโนโลยีแบบเหมืองละลายเกลือ และ
การใช้เกลือที่เป็ นผลพลอยได้จากเหมืองแร่ ใต้ดิน
เกลื อและโพแทชคุ ณ ภาพเยี่ย ม ปริ ม าณมหาศาลซึ่ งดองแผ่นดิ นอีส านอยู่น้ ันฝ่ ายนัก
อุ ตสาหกรรมเห็ นว่า เป็ นขุมทรั พ ย์ที่ สามารถขุดขึ้ นมาใช้ใ นอุ ตสาหกรรมเคมี เป็ นวัตถุ ดิบผลิ ต
ปุ๋ ยเคมี ตัวเลขที่เย้ายวนของปริ มาณสารองเกลือหิ นอย่างน้อย 18 ล้านล้านตัน แร่ โพแทชชนิดคาร์
75

นัลไลต์ 4 แสนล้านตัน แร่ แทชชีไฮไดรต์ 2 แสนล้านตัน และแร่ โพแทชชนิดซิ ลไวต์ 7 พันล้านตัน


ซึ่ งประเทศแถบเอเชี ยไม่มีประเทศใดผลิตโพแทชได้ ยกเว้นจีนที่ผลิตได้เล็กน้อย แต่ประเทศไทย
ร่ ารวยสิ นแร่ น้ ี ทาให้รัฐบาลไทยมีแผนจะพัฒนาแหล่งแร่ ดงั กล่าวโดยให้เอกชนยื่นขอสารวจและ
ผลิ ตแร่ โ พแทชในพื้ นที่ อีส านทั้ง สิ้ น 6 จัง หวัด 8 โครงการ  เพื่อ หวัง พัฒ นาอี ส านสู่ โ ลก
อุตสาหกรรมและยึดครองตลาดเกลือและโพแทชในเอเชีย


(1.) โครงการเหมืองแร่ โพแทช จังหวัดนครราชสี มา 1 เมื่อ 13 พฤษภาคม 2548 บริ ษทั เหมืองไทยสิ นทรัพย์ จากัด
ได้ยนื่ ขออาชญาบัตรพิเศษสารวจในพื้นที่ อาเภอคง อาเภอบัวใหญ่ อาเภอบ้านเหลื่ อม อาเภอขามสะแกแสง จังหวัดนครราชสี มา 28
แปลง เนื้ อที่ 280,000 ไร่ และเมื่อ 24 มิถุนายน 2548 กระทรวงอุตสาหกรรมได้ขอความร่ วมมือกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อมพิจารณาเปิ ดพื้นที่เพื่อการพิจารณาอาชญาบัตรพิเศษสารวจแร่ ต่อไป (2.) โครงการเหมืองแร่ โพแทช จังหวัดนครราชสี มา
2 เมื่อ 12 กรกฎาคม 2548 บริ ษทั ธนสุ นทร (1997) จากัด ได้ยื่นขออาชญาบัตรพิเศษสารวจในพื้นที่ ตาบลด่านช้าง อาเภอบัวใหญ่
จังหวัดนครราชสี มา 3 แปลง เนื้ อที่ 30,000 ไร่ 26 กรกฎาคม 2548 กระทรวงอุ ตสาหกรรมได้ข อความร่ วมมื อกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมพิจารณาเปิ ดพื้นตามมาตรา 6 ทวิ แห่ งพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 เพื่อการพิจารณาอาชญาบัตร
พิเศษสารวจแร่ ต่อไป (3.) โครงการเหมืองแร่ โพแทช จังหวัดขอนแก่น เมื่อ 5 กรกฎาคม 2548 บริ ษทั กรุ งเทพโยธาอุตสาหการ จากัด
ได้ยนื่ คาขออาชญาบัตรพิเศษสารวจแร่ โพแทช 10 แปลง เนื้ อที่ 100,000 ไร่ ในท้องที่ ตาบลบ้านทุ่ม ตาบลบ้านหว้า อาเภอเมือง และ
ตาบลบ้านฝาง ตาบลบ้านเหล่ า อาเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่ น 8 กรกฎาคม 2548 กระทรวงอุตสาหกรรมได้ขอความร่ วมมื อ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมพิจารณาเปิ ดพื้นที่ตามมาตรา 6 ทวิ แห่งพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 เพื่อการพิจารณา
อาชญาบัตรพิเศษสารวจแร่ ต่อไป (4.) โครงการเหมืองแร่ โพแทชจังหวัดมหาสารคาม เมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2548 บริ ษทั ไทยสาร
คามอะโกร โพแทช จากัด ยืน่ คาขออาชญาบัตรพิเศษสารวจแร่ โพแทช ในท้องที่ ตาบลหนองเม็ก และ ตาบลบ่อพาน อาเภอนาเชื อก
จังหวัด มหาสารคาม 2 แปลง เนื้ อ ที่ 20,000 ไร่ 15 มี นาคม 2548 กระทรวงอุ ต สาหกรรมได้ข อความร่ วมมื อกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมเปิ ดพื้นที่ตามมาตรา 6 ทวิ แห่ งพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 ปั จจุบนั อยูร่ ะหว่างการพิจารณา
ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม(5.) โครงการเหมืองแร่ โพแทชจังหวัดสกลนคร เมื่อ ปี 2519 – 2520 กรม
ทรัพยากรธรณี ดาเนิ นการเจาะสารวจแร่ ที่ อาเภอวานรนิ วาส อาเภอพรรณานิ คม อาเภอสว่างแดนดิ น จังหวัดสกลนคร พบแร่ โพแทช
ชนิด Carnallite และ Sylvite กุมภาพันธ์ 2522 กระทรวงอุตสาหกรรมประกาศให้พ้ืนที่แอ่งสกลนครและแอ่งโคราชเป็ นพื้นที่ เพื่อ
การสารวจ ทดลอง ศึกษา วิจยั เกี่ ยวกับแร่ ตามมาตรา 6 ทวิ แห่ งพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 เมษายน 2540 ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี
(พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ) เดินทางไปเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน และได้ชกั ชวนให้จีนมาลงทุนโครงการเหมืองแร่ โพแทชในไทย
โดยได้มีการลงนามในบันทึกความเข้าใจ (MOU) ร่ วมกันเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2540 ต่อมา 16 พฤษภาคม 2547 บริ ษทั ไชน่ า หมิงต๋ า
โพแทช คอร์ ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จากัด ได้ยนื่ ขออาชญาบัตรพิเศษ เพื่อสารวจแร่ โพแทชใน อ.วานรนิ วาส จ.สกลนคร 12 แปลง
เนื้อที่ 120,000 ไร่
และเมื่อ17 กันยายน 2547 กระทรวงอุตสาหกรรมได้เสนอกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมเพื่อเปิ ดพื้นที่
ดังกล่าว ขณะนี้ อยูร่ ะหว่างดาเนิ นงานยังไม่แล้วเสร็ จ นอกจากนีเ้ จ้ าของโครงการและกระทรวงอุตสาหกรรมได้ มีการลงพืน้ ที่พบปะ
ผู้นาชุมชนและประชาชนในพืน้ ที่โครงการทาเหมืองแร่ โพแทชจังหวัดสกลนคร ตามแผนการให้ความรู้ผนู้ าชุมชนและประชาชนใน
พื้นที่โครงการทาเหมืองแร่ ใต้ดิน อาเภอวานรนิ วาส จังหวัดสกลนคร เพื่อให้สนับสนุนและยอมรับโครงการ และ รมต.กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ได้อนุ ญาตให้เปิ ดพื้นที่ให้บริ ษทั ยื่นขออาชญาบัตรสารวจได้ เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2554 (6.)
โครงการเหมืองแร่ โพแทชจังหวัดชัยภูมิ เมื่อ กันยายน 2516 กรมทรัพยากรธรณี จดั ตั้งโครงการสารวจและพัฒนาแร่ โพแทชและเริ่ ม
เจาะสารวจแร่ โพแทช เมื่อ กุมภาพันธ์ 2522 กระทรวงอุตสาหกรรมประกาศให้พ้ืนที่อาเภอบาเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ เป็ นพื้นที่
76

ทาให้มีการผลักดันโครงการเหมืองแร่ โพแทชในภาคอีสานหลายแห่ ง โดยได้ มีการแก้ ไข


เพิ่มเติมกฎหมายแร่ พ.ร.บ.แร่ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมปี 2545 มาตรา 88/3 “การทาเหมืองใต้ดินผ่านใต้
ดินที่มิใช่ ที่ว่างอยู่ในระดับความลึ กจากผิวดินไม่เกิ น 100 เมตร ผูย้ ื่นคาขอประทานบัตรต้องแสดง
หลักฐานต่อพนักงานเจ้าหน้าที่วา่ ผูข้ อมีสิทธิ ทาเหมืองในเขตที่ดินนั้นได้” กฎหมายนี้ กรมทรัพยากร
ธรณี กระทรวงอุตสาหกรรม เสนอให้แก้ไขพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ.2510 โดยรัฐบาลนายชวน หลีก
ภัย ได้ลงมติ เป็ นร่ างกฎหมายของรัฐบาล และนาเข้าสู่ การพิจารณาของรั ฐสภา เมื่อปี พ.ศ.2543
รัฐสภาได้ลงมติให้ผา่ นการแก้ไขร่ างนี้เป็ นเอกฉันท์เมื่อปี พ.ศ.2545 เหตุผลเพื่อให้มีการทาเหมืองใต้
ดินคลุมพื้นที่กว้างขึ้น โดยไม่ตอ้ งแสดงหลักฐานการมีสิทธิ การทาเหมืองในพื้นที่ขอประทานบัตร
ทั้งนี้ เพื่อสอดคล้องกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเหมืองแร่ และเอื้ ออานวยต่อการลงทุนและ
พัฒนาแหล่งแร่ ใต้ดิน ระหว่างการพิจารณาของสภาผูแ้ ทนราษฎรได้มีขอ้ ถกเถียงต่อความไม่ชอบมา
พากลของการแก้ไขร่ าง พ.ร.บ.แร่ อย่างรวดเร็ วในชั้นสภาผูแ้ ทนราษฎร เมื่อร่ าง พ.ร.บ.แร่ เข้ามาสู่
การพิจารณาของวุฒิสภา ประชาชนในพื้นที่ ที่จะได้รับผลกระทบจากโครงการเหมืองแร่ โพแทช
พยายามให้ขอ้ มูลต่อวุฒิสภาให้พิจารณาร่ าง พ.ร.บ.แร่ อย่างรอบคอบ พร้อมลงพื้นที่ดูตวั อย่างการทา

เพื่อการสารวจ ทดลอง ศึกษา และวิจยั เกี่ยวกับแร่ ตามมาตรา 6 ทวิ แห่ งพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 และในปี 2525 กรมทรัพยากร
ธรณี เริ่ มก่อสร้างอุโมงค์ที่ 1 เข้าสู่ ช้ นั แร่ ต่อมา มีนาคม 2532 คณะรัฐมนตรี มีมติอนุมตั ิให้โครงการทาเหมืองแร่ โพแทช ที่เภอบาเหน็จ
ณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ เป็ นโครงการอุตสาหกรรมอาเซี ยน แทนโครงการอุตสาหกรรม ผลิตเกลือหิ นและโซดาแอช ตามที่ก ระทรวง
อุตสาหกรรมเสนอ ต่อมา กันยายน 2533 คณะรัฐมนตรี มีมติอนุ มตั ิให้ กระทรวงอุตสาหกรรม จัดตั้งองค์กรผูถ้ ื อหุ ้นของฝ่ ายไทยเข้า
ร่ วมทุนจัดตั้งบริ ษทั เหมืองแร่ โพแทชอาเซี ยน จากัด (บริ ษทั APMC) และให้บริ ษทั ดังกล่าวเข้าไปดาเนิ นการในเขตพื้นที่โครงการได้
ในฐานะตัวแทนของกรมทรัพยากรธรณี ต่อมา ปี 2541 – 2542 บริ ษทั APMC พัฒนาการทาเหมือง จนถึงชั้นแร่ ที่ระดับความลึ ก 180
เมตร จากผิวดิน ต่อมา ตุลาคม 2545 – 2547 บริ ษทั APMC ประกาศเชิ ญชวนผูร้ ่ วมลงทุนและดาเนิ นการ (Strategic Investor) ต่อมา
28 คุลาคม 2547 บริ ษทั APMC ยื่นคาขอประทานบัตรในการดาเนิ นโครงการฯ ในเขตท้องที่ ต.บ้านตาล ต.บ้านเพชร และ ต. ห้วย
ทะเล อ.บาเหน็จณรงค์ จ.ชัยภูมิ จานวน 1 แปลง เนื้ อที่จานวน 9,708 ไร่ ในวันที่ 16 พฤศจิกายน 2547 สานักงานอุตสาหกรรม
จังหวัดชัยภูมิ ลงทะเบียนให้บริ ษทั APMC เป็ นผูข้ อประทานบัตรทาเหมืองใต้ดิน และเมื่อ 6 มกราคม 2548 อก. ขอความร่ วมมือ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมเปิ ดพื้นที่ดงั กล่าว ตามมาตรา 6 ทวิ แห่ ง พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2510 ปั จจุบนั อยูร่ ะหว่างการ
พิจารณาของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม (7.) โครงการเหมืองแร่ โพแทชจังหวัดอุดรธานี บริ ษทั เอเชี ย แปซิ ฟิค
โพแทช คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (เอพีพีซี) ขอสัมปทานทาเหมืองใต้ดินแหล่งอุดรใต้ 22,437 ไร่ ตาบลโนนสู ง ตาบลหนองไผ่ อาเภอ
เมือง ตาบลห้วยสามพาด ตาบลนาม่วง อาเภอประจักษ์ศิลปาคม และแหล่งอุดรเหนื อกว่า 52,000 ไร่ ในเขตเทศบาลนครอุดร อาเภอ
เมื อง อาเภอหนองหาน และอาเภอประจัก ษ์ศิลปาคม รวม 74,437 ไร่ ซึ่ งปั จจุ บ นั บริ ษทั อิ ตาเลี่ ยนไทย ดี เวล็ อปเม้น ท์ จากัด
(มหาชน) ได้เข้ามาซื้ อกิจการเพื่อผลักดันโครงการ อยูร่ ะหว่างการยืน่ ขอประทานบัตรโดยมีความพยายามเร่ งรัดขั้นตอนการรังวัดปั ก
หมุดเขตพื้นที่คาขอประทานบัตรและโรงงานแต่งแร่ เพื่อประกอบการขอประทานบัตร แต่มีการคัดค้านจากประชาชนอย่างเข้มข้น
และต่อเนื่ องมานานกว่า 10 ปี (8.) โครงการเหมืองแร่ โพแทชจังหวัดนครราชสี มา 3 อาเภอด่ านขุนทด เมื่อ 18 สิ งหาคม 2553 บริ ษทั
ไทคาลิ จากัด ได้รับอาชญาบัตรสารวจแร่ โพแทชในพื้นที่รวมทั้งสิ้ น 40,000 ไร่ มีอายุอาชญาบัตร 5 ปี ในพื้นที่ ตาบลบัวตะเกี ยด
ตาบลหนองไทร และตาบลโนนเมืองพัฒนา
77

เหมืองแร่ โพแทชที่อาเภอบาเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ ตลอดจนสอบถามความเห็นจากประชาชน


ในพื้นที่ที่จะได้รับผลกระทบ
วุฒิสภาและคณะกรรมาธิการร่ วมของสภาผูแ้ ทนราษฎรและวุฒิสภาได้แก้ไขร่ าง พ.ร.บ.
แร่ ให้รอบคอบมากขึ้น เมื่อเปรี ยบเทียบกับผลการพิจารณาของสภาผูแ้ ทนราษฎร อย่างไรก็ตามยังมี
ข้อถกเถียงต่อไปว่าเจตนารมณ์ของการแก้ไขร่ าง พ.ร.บ.แร่ ยังคงเหมือนเดิมที่จะอนุญาตให้มีการทา
เหมืองแร่ ใต้ดินทัว่ ประเทศไทยได้ โดยได้สิทธิ การทาเหมืองใต้ดินลึ กกว่า 100 เมตร และไม่ตอ้ ง
แสดงหลักฐานต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ว่าผูข้ อจะมีสิทธิ ทาเหมืองใต้ดินล่วงแดนกรรมสิ ทธิ์ ของผูอ้ ื่น
แต่ให้มีการจัดทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมประกอบการยื่นคาขอประทานบัตร ทา
เหมืองใต้ดิน และต้องมี การรั บฟั งความคิดเห็ นจากประชาชนในพื้นที่ อย่างไรก็ตามปั จจุบนั ทุก
โครงการเหมืองแร่ โพแทชในภาคอีสานได้ ยืน่ ขออนุญาตเปิ ดพื้นที่ตาม พ.ร.บ.แร่ ปี 2510 มาตรา 6
ทวิ ที่ระบุว่า “ เพื่อประโยชน์ในการดาเนิ นการสารวจ การทดลองการศึกษาหรื อวิจยั เกี่ ยวกับแร่
ให้รัฐมนตรี โดยการอนุ มตั ิของคณะรัฐมนตรี มีอานาจประกาศในราชกิ จจานุ เบกษากาหนดพื้นที่
ใดๆ ให้เป็ นเขตสาหรับดาเนินการสารวจ การทดลอง การศึกษา หรื อการวิจยั เกี่ยวกับแร่ ได้...”
กล่าวเฉพาะในพื้นที่ลุ่มน้ าสงครามมีขอ้ เสนอในการพัฒนาโครงการเหมืองแร่ เกลือและ
โพแทช ในลักษณะการทาเหมืองใต้ดิน คือโครงการเหมืองแร่ โพแทชสกลนคร โดยปั จจุบนั ได้มี
การยื่นขออาชญาบัตรพิ เศษส ารวจแร่ โพแทช โดยบริ ษ ทั ไชน่ า หมิ ง ต๋ า โพแทช คอร์ ป อเรชั่น
(ประเทศไทย) จากัด โครงการนี้ จึงเป็ นพื้นที่ที่มีเป้ าหมายการพัฒนาการทาเหมืองแร่ เกลือและโพ
แทชในลุ่มน้ าสงคราม
กองเทคโนโลยีการท าเหมื องใต้ดิน กรมทรัพ ยากรธรณี กระทรวงอุ ตสาหกรรม ได้
คาดการณ์ วา่ โครงการทาเหมืองแร่ โพแทชและการผลิตโพแทสเซี ยมคลอไรด์ของอาเซี ยน อาเภอ
บาเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่ ง ครอบคลุมพื้นที่ 100 ตารางกิโลเมตร จะมีผลพลอยได้ที่เป็ นเกลือ
โซเดียมคอลไรด์ (NaCl) และแมกนีเซี ยมคลอไรด์ (MgCl2) โดยเกลือที่ได้จะเป็ นเกลือที่มีความ
บริ สุทธิ์ เทียบกับเกลือสิ นเธาว์ที่ผลิตในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือและสามารถใช้ในอุตสาหกรรม
เคมีภณั ฑ์ได้ โดยปริ มาณเกลือที่ได้จากขั้นตอนการเตรี ยมทาเหมืองและจากการผลิตปุ๋ ยโพแทช เป็ น
เกลือที่ได้จากการก่อสร้างอุโมงค์เข้าชั้นแร่ และการดาเนินงานทาเหมืองโพแทชขั้นแรกเป็ นผลิตผล


บริ ษทั ไชน่ า หมิงต๋ า โพแทช คอร์ ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จากัด เป็ นบริ ษทั จากัด ทะเบียนเลขที่ : 0105547017409
(เลขทะเบียนเดิมคือ 0107554702563)วันที่จดทะเบียน : 06/02/2547 (ข้อมูลกรมพัฒนาธุ รกิ จการค้า ณ วันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ.
2549)
78

พลอยได้ข องโครงการประมาณ 100,000 ตัน เป็ นเกลื อ ที่ มี ค วามบริ สุ ท ธิ์ สามารถใช้ใ น
อุตสาหกรรมเคมีภณ ั ฑ์ และในช่วงการก่อสร้างโรงงานผลิตปุ๋ ยโพแทชในระหว่างปี พ.ศ.2543-
2546 หากมีความต้องการใช้เกลื อ โครงการสามารถผลิตเกลือในชั้นแร่ เกลือหิ นใต้ช้ นั แร่ โพแทช
เพื่อรองรับอุตสาหกรรมเคมีภณั ฑ์ได้ในอัตราประมาณ 300,000 ตันต่อปี นอกจากนี้ ในช่วงการผลิต
เป็ นเวลา 30 ปี โครงการจะมีเกลือที่ได้จากการทาเหมืองแร่ โพแทชประมาณ 2,310,000 ตันต่อปี
(สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ, 2549)
สาเหตุของการผลักดันเหมืองโพแทช ไม่ใช่เพียงเพราะผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นจากแร่
โพแทชเพียงอย่างเดียว แต่เกลือปริ มาณมหาศาลคือเป้ าหมายอีกอย่างหนึ่ง และหากเกิดเหมืองแร่ โพ
แทชขึ้นจริ ง ผูผ้ ลิ ตเกลื อสิ นเธาว์ในภาคอีสานก็จะไม่สามารถแข่งขันเอาชนะทางธุ รกิ จกับผูผ้ ลิ ต
เกลือรายใหญ่ที่มีกาลังผลิ ตสู งจากเหมืองแร่ โพแทชได้ และเกลือที่ได้จากการทาเหมืองโพแทชมี
ปริ มาณล้นความต้องการใช้ภายในประเทศในปั จจุบนั ถึง 3 เท่าตัว ขณะที่การผลิตแบบต้มตากใน
ปั จจุบนั ผลิตได้เพียงแค่ปีละ 4 – 6 แสนตัน ดังนั้น แผนการขายเกลือออกสู่ ต่างประเทศและพัฒนา
อุตสาหกรรมเคมีต่อเนื่องโดยใช้เกลือและโพแทชจากเหมืองแร่ โพแทชอาเซี ยนและแหล่งอุดรใต้จึง
ถู กกาหนดขึ้น โดยที่ เหมื องแร่ โพแทชอาเซี ยน กระทรวงอุตสาหกรรมได้นาเสนอแนวทางการ
พัฒ นาอุ ต สาหกรรมเคมี โ ดยใช้ เ กลื อ และโพแทชขึ้ นไว้แ ล้ว ส่ ว นแหล่ ง อุ ด รใต้ก ารพัฒ นา
อุตสาหกรรมเคมีโดยใช้แร่ โพแทชเป็ นวัตถุดิบถูกผลักดันโดยนักธุ รกิ จเอกชนที่ร่วมหุ ้นกันจัดตั้ง
นิ คมอุตสาหกรรมโนนสู ง ซึ่ งอยู่ติดกับที่ต้ งั โรงงานสกัดแร่ โพแทชแหล่งอุดรใต้ ทั้งนี้ ก็เพื่อสร้าง
มู ล ค่ า เพิ่ ม ของเกลื อ โดยวางแผนก่ อ ตั้ง โรงงานอุ ตสาหกรรมเคมี ณ แหล่ ง วัตถุ ดิบ เชื่ อมต่ อกับ
โครงการความร่ วมมื อ เพื่ อ พัฒ นาลุ่ ม น้ า โขง ระหว่า งประเทศไทยกับ ประเทศเพื่อ นบ้า น เช่ น
โครงการถนนเชื่ อมต่อตะวันออก-ตะวันตก (East-West Corridor) ซึ่ งจะตัดผ่านท่าเรื อน้ าลึกเมือง
ดานัง ประเทศเวียดนาม ผ่ากลางอีสานเชื่อมต่อไปที่เมืองมะละแหม่ง ประเทศพม่า และเชื่อมต่อกับ
สี่ เหลี่ ยมเศรษฐกิ จที่ จัง หวัดพิษณุ โลก เข้าสู่ นิคมอุตสาหกรรมเชี ยงแสน จังหวัดเชี ย งราย เข้า สู่
ประเทศจีนได้ท้ งั ทางน้ าและทางบก อันเป็ นเส้นทางขนส่ งสิ นค้าสายใหม่ที่จะเชื่อมภาคอีสานไปสู่
ภูมิภาคอื่น ๆ ได้อย่างรวดเร็ ว (เลิศศักดิ์ คาคงศักดิ์ และเบญจรัชต์ เมืองไทย, 2549: 66 – 74)
ข้อเสนอเรื่ องการทาเหมืองแร่ โพแทชในประเทศไทยมักจะเป็ นการทาเหมืองใต้ดิน เช่น
โครงการเหมื อ งแร่ โ พแทชอาเซี ย นจัง หวัด ชัย ภู มิ ได้มี ข้ ึ น ภายหลัง กรมทรั พ ยากรธรณี จัด ตั้ง
โครงการสารวจและพัฒนาแร่ โพแทช ซึ่ งเริ่ มเจาะสารวจแร่ โพแทช มาตั้งแต่ เดือนกันยายน 2516
ต่ อมาในเดือนกุมภาพันธ์ 2522 กระทรวงอุ ตสาหกรรมประกาศให้พ้ืนที่อาเภอบาเหน็จณรงค์
จังหวัดชัยภูมิ เป็ นพื้นที่เพื่อการสารวจ ทดลอง ศึกษา และวิจยั เกี่ ยวกับแร่ ตามมาตรา 6 ทวิ แห่ ง
79

พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 ต่อมาในปี 2525 กรมทรัพยากรธรณี เริ่ มก่อสร้างอุโมงค์ที่ 1 เข้าสู่ ช้ นั


แร่ ทั้งนี้ ในเดือนมีนาคม 2532 คณะรัฐมนตรี มีมติอนุมตั ิให้โครงการทาเหมืองแร่ โพแทช ที่อาเภอ
บาเหน็ จณรงค์ จัง หวัดชัย ภูมิ เป็ นโครงการอุ ตสาหกรรมอาเซี ย น และในเดื อนกันยายน 2533
คณะรัฐมนตรี มีมติอนุ มตั ิให้ กระทรวงอุตสาหกรรม จัดตั้งองค์กรผูถ้ ือหุ ้นของฝ่ ายไทยเข้าร่ วมทุน
จัดตั้งบริ ษทั เหมื องแร่ โพแทชอาเซี ยน จากัด (บริ ษทั APMC) และให้บ ริ ษ ทั ดัง กล่ า วเข้าไป
ดาเนิ นการในเขตพื้นที่โครงการได้ในฐานะตัวแทนของกรมทรัพยากรธรณี ในที่สุดในปี 2541 –
2542 บริ ษทั APMC พัฒนาการทาเหมือง จนถึงชั้นแร่ ที่ระดับความลึก 180 เมตร จากผิวดิน และยื่น
ขอประทานบัตรเพิ่มเติมเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2547 บริ ษทั APMC ยื่นคาขอประทานบัตรในการ
ดาเนิ นโครงการฯ ในเขตท้องที่ ต.บ้านตาล ต.บ้านเพชร และ ต. ห้วยทะเล อ.บาเหน็จณรงค์ จ.
ชัยภูมิ จานวน 1 แปลง เนื้ อที่ จานวน 9,708 ไร่ และเมื่ อ 16 พฤศจิกายน 2547 สานักงาน
อุตสาหกรรมจังหวัดชัยภูมิ ลงทะเบียนให้บริ ษทั APMC เป็ นผูข้ อประทานบัตรทาเหมืองใต้ดิน
ทั้งนี้ เมื่อ 6 มกราคม 2548 กระทรวงอุตสาหกรรมได้ขอความร่ วมมือกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อมเปิ ดพื้นที่ดงั กล่าว ตามมาตรา 6 ทวิ แห่ ง พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2510 ปั จจุบนั อยูร่ ะหว่าง
การพิจารณาของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม การให้ความรู้และชี้ แจงทาความ
เข้า ใจกับ ผูน้ าชุ ม ชนและประชาชนในพื้น ที่ โครงการท าเหมื องแร่ โ พแทชของอาเซี ย น อ าเภอ
บาเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ โดยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
นอกจากนี้ ยงั พบว่ากระทรวงอุตสาหกรรมได้อนุญาตอาชญาบัตรสารวจแร่ โพแทชใน
พื้นที่ ตาบลบัวตะเกี ย ด ตาบลหนองไทร และตาบลโนนเมื องพัฒนา อาเภอด่ า นขุนทด จัง หวัด
นครราชสี มา ให้แก่บริ ษทั ไทคาลิ จากัด เมื่อวันที่ 18 สิ งหาคม 2553 รวมพื้นที่ท้ งั สิ้ น 40,000 ไร่ มี
อายุอาชญาบัตร 5 ปี (รายงานใบอนุ ญาตอาชญาบัตร กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ,
30 กันยายน 2554) และโครงการเหมืองแร่ โพแทชอุดรธานีที่บริ ษทั เอเชียแปซิ ฟิ ค โพแทชคอปอร์
เรชัน่ จากัด ในเครื อบริ ษทั อิตาเลี ยนไทย จากัด มหาชน ที่ได้ทาการสารวจแล้วเสร็ จและกาลังยื่น
ขอประทานบัตรทาเหมืองแร่ ใต้ดิน
บริ ษทั เอเชียแปซิ ฟิค โพแทชคอร์ ปอร์ เรชัน่ จากัด ได้เสนอวิธีการทาเหมืองแร่ โพแทช
ใต้ดินด้วยวิธีแบบช่องทางสลับค้ ายัน (Room and Pillar) โดยการเจาะช่องอุโมงค์จากพื้นดินลงไป
ลักษณะลาดเอียง ขนาดกว้าง 6 เมตร สู ง 4.5 เมตร จานวน 2 ช่อง ยาวประมาณ 2.7 กิโลเมตร เพื่อ
เป็ นเส้ นทางลงสู่ ช้ นั แร่ และขนส่ งลาเลี ยงแร่ จนเมื่อถึ งชั้นความลึ กที่ระดับประมาณ 300 เมตร
จากนั้นจะขุดเป็ นอุโมงค์ใต้ดินไปตามสายชั้นแร่ ในแนวราบ ขณะเดียวกันก็จะเว้นผนังบางส่ วนไว้
เป็ นเสาค้ ายันเพื่อป้ องกันดินทรุ ด ดังนั้นจะมีการขุดเอาแร่ ออกประมาณ 60 – 70% ส่ วนที่เหลือทิ้ง
80

ไว้ใ ห้เป็ นเสาค้ ายัน เมื่ อท าการขุดแร่ จะถู ก ลาเลี ย งโดยสายพานสู่ โรงแต่ ง แร่ บ นพื้ นดิ น โดยตัว
โรงงานแยกแร่ จะอยูบ่ นพื้นที่ 2,000 ไร่ ใช้วิธีการลอยแร่ ตกตะกอนแยกแร่ และอบแห้ง เพื่อให้ได้
โพแทชสาหรับเป็ นวัตถุดิบทาปุ๋ ย มีกาลังการผลิตที่ประมาณ 6,000 ตัน/วัน หรื อสู งสุ ดปี ละ 2 ล้าน
ตัน(บาเพ็ญ ไชยรักษ์ ผูเ้ รี ยบเรี ยง, 2554: 73)
หากการพัฒนาอุ ตสาหกรรมเหมืองแร่ เกลื อและโพแทชได้จริ งตามแผนยุท ธศาสตร์
เกลือของกระทรวงอุตสาหกรรม ในอนาคตในพื้นที่แหล่งแร่ เกลือหินและโพแทชในภาคอีสานของ
ไทยจะมีโพรงเกลื ออันเกิ ดจากการทาเหมืองแร่ ใต้ดินกระจายอยู่ทว่ั ไป และจากข้อมูลเรื่ องโพรง
เกลือจากเหมืองแร่ โพแทชในต่างประเทศพบว่าหลังจากปิ ดเหมืองแล้วมักจะใช้โพรงเกลือดังกล่าว
เป็ นแหล่งเก็บขยะอันตราย หรื อขยะกัมมันตภาพรังสี มีบางแห่งใช้สาหรับเป็ นแหล่งท่องเที่ยว ส่ วน
ในประเทศไทยพบว่ามีแนวทางในการศึกษาการใช้โพรงเกลือใต้ดินในการเก็บขยะอันตราย และ
กากกัมมันตภาพรังสี ระดับต่า และระดับกลาง
การศึ ก ษาศัก ยภาพเชิ ง กลศาสตร์ ข องโพรงใต้ดินในชั้นเกลื อหิ นส าหรั บ การทิ้ ง กาก
นิ วเคลี ยร์ ในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อของประเทศไทย (คมกริ ช เวชสัสถ์, 2545: 1-2) ระบุว่า
ปริ มาณกากนิ วเคลี ยร์ ที่เพิ่มขึ้นในประเทศไทย มีแนวโน้มที่จะก่ อให้เกิ ดอันตรายต่อมนุ ษย์และ
สิ่ งแวดล้อม การกาจัดกากนิวเคลียร์ที่ดาเนินการอยูใ่ นประเทศที่พฒั นาแล้ว เช่น สหรัฐอเมริ กาและ
เยอรมนี ได้ใช้วิธีการทิ้งในชั้นหิ นลึกที่มีคุณสมบัติในการกักเก็บซึ่ งได้พิสูจน์ว่าเป็ นวิธีที่ปลอดภัย
ที่สุดและถูกที่สุด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีช้ นั เกลือหิ นแพร่ กระจายอยูม่ ากและมีคุณสมบัติใน
การกักเก็บที่ คล้ายคลึ งกับที่ ใช้ในต่างประเทศ เพราะปริ มาณกากนิ วเคลียร์ หรื อของเสี ยจากวัตถุ
กัมมันตรังสี ในระดับต่าถึงกลางที่เพิ่มขึ้นในประเทศไทยที่มาจากการอุตสาหกรรม การเกษตรกรรม
และโรงพยาบาลต่างๆ ทั้งนี้ ขอ้ มูลจากสานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (พปส.) รายงานว่ามีกาก
นิ วเคลี ยร์ ที่อยู่ในความรั บผิดชอบประมาณ 20 ลูกบาศก์เมตร และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นอีกปี ละ 30
ลู ก บาศก์ เ มตร ทั้ง หมดปั จ จุ บ ัน อยู่ใ นโรงเก็ บ และยัง ไม่ มี แ ผนที่ จ ะก าจัด อย่ า งถาวร และภาค
ตะวันออกเฉี ยงเหนื อของประเทศไทยมีช้ นั เกลือหิ นแพร่ กระจายอยู่มากและมีคุณสมบัติในการกัก
เก็บที่คล้ายคลึ งกับที่ใช้เก็บกากนิ วเคลียร์ ในต่างประเทศเพราะเกลื อหิ นมีคุณสมบัติเด่ น คือ มีค่า
ความซึ มผ่านต่า มีความสามารถในการเชื่อมประสานตัวเอง และทนความร้อนได้สูง
งานวิจยั ของ คมกริ ช เวชสัสถ์ (2545: 2) ระบุวา่ มีจุดประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพ
เชิ งกลศาสตร์ ของชั้นเกลื อหิ นเพื่อการทิ้งกากนิ วเคลี ยร์ โดยอาศัย แนวคิดของเหมืองเกลื อแบบ
ละลายเพื่อเป็ นแหล่ งทิ้ง กากนิ วเคลี ยร์ ระดับ ต่ า การออกแบบพิจารณาถึ งรู ปทรงของโพรง การ
81

วิเคราะห์จะมุ่งไปที่ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมในระยะยาวให้นอ้ ยที่สุดคือ กาหนดให้มีการทรุ ดตัว


ของพื้นดิ นเหนื อโพรงและการหดตัวของโพรงน้อยที่สุด ขอบเขตของงานวิจยั มุ่งเน้นเฉพาะชั้น
เกลือหิ นในบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยไม่ได้คานึงถึงการเปลี่ยนแปลงทางเคมีและ
ระดับน้ าใต้ดิน (ความซึ มผ่าน) อุณหภูมิของชั้นเกลือหิ นจะถือว่ามีค่าคงที่ตลอดระยะเวลาการทิ้ง
กากนิ วเคลียร์ 500 ปี การคานวณเพื่อการออกแบบจะใช้สมมุติฐานแบบอนุ รักษ์เพื่อผลของการ
ออกแบบที่มีความปลอดภัยค่อนข้างสู งและลดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม
ผลที่ ไ ด้ร ะบุ ว่า พื้ น ที่ ที่ เ หมาะสมมี อ ยู่ 5 กลุ่ ม พื้ น ที่ ทั้ง นี้ ผลการวิเ คราะห์ ค านวณ
แบบจาลองพบว่า โพรงรู ปทรงกลมขนาดรัศมีเท่ากับ 20 เมตร (ปริ มาตร 33,000 ลูกบาศก์เมตร) ที่มี
ความเหมาะสมควรอยู่ที่ระดับความลึกเท่ากับ 585 เมตร การหดตัวของโพรงในแนวดิ่ งและแนว
ระดับควรน้อยกว่าร้ อยละ 0.5 และการทรุ ดตัวของผิวดินควรน้อยกว่า 0.22 เมตร ในช่ วง 500 ปี
หลังจากสร้ างโพรงจึงเหมาะสมที่จะทาการศึกษาเบื้องต้นทางกลศาสตร์ ของเกลื อหิ นเพื่อการทิ้ง
กากนิ วเคลียร์ โดยระบุพ้ืนที่ที่เหมาะสม 5 กลุ่มพื้นที่ได้แก่ 1) บ้านเก่าอาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี
2) บ้านศรี เมือง อาเภอวานรนิ วาส จังหวัดสกลนคร 3) บ้านกุดจิก อาเภอวานรนิ วาส จังหวัด
สกลนคร 4) บ้านโพธิ์ พาน อาเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม และ 5) บ้านหนองปู อาเภอบรบือ
จังหวัดมหาสารคาม(คมกริ ช เวชสัสถ์.2545 : 1) ผลการวิจยั สรุ ปจากการวิเคราะห์คานวณ
แบบจาลองทางคอมพิวเตอร์ โพรงทรงกลมจะมีเสถี ยรภาพสู งสุ ดเมื่อเปรี ยบเทียบกับโพรงทรงรี
และทรงกระบอก จากผลกระทบความต่างทางโครงสร้างธรณี วิทยาซึ่ งมีโพรงทรงกลมขนาดรัศมี
เท่ากับ 20 เมตร(ปริ มาตรเท่ากับ 33,000 ลูกบาศก์เมตร) พบว่าทุกกลุ่ มพื้นที่มีแนวโน้มความ
เหมาะสมในการทิ้งกากนิ วเคลียร์ ได้แก่ กลุ่มพื้นที่บา้ นเก่า อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี , บ้านศรี
เมื อ ง และบ้า นกุ ด จิ ก อ าเภอวานรนิ ว าส จัง หวัด สกลนคร,บ้า นโพธิ์ พาน และบ้า นหนองปู
อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ที่ระดับความลึกถึงหลังคาโพรงเท่ากับ 484, 610, 585, 680 และ
799 เมตร ตามลาดับ โดยการหดตัวของโพรงในแนวดิ่งและแนวระดับควรน้อยกว่าร้อยละ 1 และ
การทรุ ดตัวของผิวดินเหนื อโพรงละลายเกลือควรน้อยกว่า 0.22 เมตร ตลอดระยะเวลา 500 ปี หลัง
การทิ้งกากนิวเคลียร์ (คมกริ ช เวชสัสถ์, 2548: 2)
ผลการวิจยั ยังพบว่าศักยภาพทางกลศาสตร์ ของชั้นเกลือหิ นมีแนวโน้มความเหมาะสม
ในการทิ้งกากนิวเคลียร์ หรื อของเสี ยจากวัตถุกมั มันตรังสี แต่ยงั ต้องมีการปรับปรุ งให้เหมาะสมทั้ง
ในเชิงปริ มาณและคุณภาพต่อไป นอกจากนี้ในงานศึกษา ศักยภาพเชิงกลศาสตร์ ของโพรงใต้ดินใน
ชั้น เกลื อ หิ น ส าหรั บ การทิ้ ง กากนิ ว เคลี ย ร์ ใ นภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ ของไทย (Mechanical
Performance of Underground Cavern in Rock Salt Formations for Nuclear Waste Repository in
82

Northeastern Thailand) ระบุเช่นกันว่าการกาจัดกากนิวเคลียร์ ที่ดาเนิ นการอยูใ่ นประเทศทางซี ก


โลกเหนื อ เช่น สหรัฐอเมริ กา เยอรมนี ได้ใช้วิธีการทิ้งในชั้นหิ นลึกที่มีคุณสมบัติในการกักเก็บซึ่ ง
ได้พิสูจน์วา่ เป็ นวิธีที่ปลอดภัยที่สุดและถูกที่สุด ในภาคอีสานมีช้ นั หิ นเกลือแพร่ กระจายอยูม่ ากและ
มีคุณสมบัติในการกักเก็บ เกลือหิ นมีคุณสมบัติเด่น คือ มีค่าความซึ มผ่านต่า มีความสามารถในการ
เชื่ อมประสานตัวเอง และทนความร้อนได้สูง จึงมีแนวโน้มเหมาะสมในการทิ้งกากนิ วเคลียร์ หรื อ
ของเสี ยจากวัตถุ กมั มันตรังสี นอกจากนี้ เสถียรภาพของโพรงละลายเกลือยังสามารถประยุกต์ใช้
ประโยชน์ ใ นการทิ้ ง ของเสี ย อันตรายได้อีก เช่ น ของเสี ย เคมี ของเสี ย ติ ดเชื้ อโรค และของเสี ย
อุตสาหกรรม เป็ นต้น
ทั้ง นี้ ได้ มี ก ารลงนามข้อ ตกลงหุ ้ น ส่ ว นทางเศรษฐกิ จ ไทย-ญี่ ปุ่ น (Japan-Thailand
Exploitation Partnership Agreement: JTEPA) หรื อข้อตกลงเขตการค้าเสรี ไทย-ญี่ปุ่น ระหว่างพล
เอกสุ รยุทธ์ จุลานนท์ นายกรัฐมนตรี ของไทย และนายชินโซะ อาเบะ นายกรัฐมนตรี ญี่ปุ่น เมื่อวันที่
3 เมษายน 2550 ที่ประเทศญี่ปุ่นซึ่งมีขอ้ ผูกมัดให้ไทยต้องยอมรับหรื ออนุญาตหรื อส่ งเสริ มให้ญี่ปุ่น
ส่ งขยะของเสี ยอันตรายเข้ามาทิ้งในไทย จึงน่ าจะพอมองเห็นรางๆ ได้ว่าแนวนโยบายการพัฒนา
เหมืองแร่ เกลือหิ นและโพแทชในอนาคตอันใกล้น้ ี จะต้องคานึ งถึงประโยชน์ในการใช้เป็ นสถานที่
ทิ้งกากนิวเคลียร์ หรื อของเสี ยจากวัตถุกมั มันตรังสี และขยะของเสี ยอันตราย ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา
อุตสาหกรรมในประเทศและนาเข้าจากประเทศญี่ปุ่น(จรัญญา วงษ์พรหม และคณะ, 2550: 205)
พัฒนาการการผลิ ตเกลื อในภาคอีสานและในลุ่ มน้ าสงคราม ชี้ ให้เห็นว่าการแสวงหา
แหล่งเกลื อหรื อการผลิ ตเกลื อนั้นไม่ใช่ เพียงสาหรับบริ โภคให้ร่างกายอยู่รอดเท่านั้นแต่ยงั เป็ นแร่
ธาตุที่มีความต้องการเกลือเพื่อพัฒนาสังคมมนุ ษย์ให้เป็ นสังคมที่ซับซ้อนขึ้นในหลากหลายแง่มุม
เห็นได้จากเกลือเป็ นแร่ ธาตุสาคัญมากในทางประวัติศาสตร์ ในลุ่มน้ าสงครามที่ดึงดูดผูค้ นเข้ามาตั้ง
ถิ่นฐานถาวร และเชื่ อมโยงสัมพันธ์คา้ ขายเกลือกับชุ มชนภายนอก เพราะเป็ นแร่ ธาตุที่ทาให้มนุษย์
พัฒนาวัฒนธรรมการบริ โภคและถนอมอาหาร การปรุ งรส และเป็ นแร่ ธาตุที่ช่วยให้อุตสาหกรรม
หลอมโลหะ และเคมีภณั ฑ์ที่กา้ วหน้าขึ้นมาเรื่ อยๆ เป็ นลาดับ


บทความนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของวิท ยานิ พนธ์วิศวกรรมศาสตร์ มหาบัณฑิ ต โปรแกรมวิชาวิศวกรรมธรณี สาขาวิช า
เทคโนโลยีธรณี สานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี พ.ศ.2545 ของ คมกริ ช เวสสัสถ์ ได้รับทุนอุดหนุ นการ
วิจยั จากสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) และสานักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (พปส.) ได้รับความอนุ เคราะห์ตวั อย่าง
เกลือหิ นเพื่อการทดสอบทางกลศาสตร์ ของหิ นจาก Mr.Kieth S. Crosby, Asia Pacific Potash Co.,Ltd. โดยมี รศ.ดร. กิตติเทพ เฟื่ อง
ขจร หัวหน้าโครงการการประเมินศักยภาพทางกลศาสตร์ ของเกลือหิ นเพื่อทิ้งกากนิ วเคลียร์ ในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อของประเทศ
ไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เป็ นที่ปรึ กษาในการทาวิจยั ชิ้นนี้
83

อัตราการผลิตและใช้ เกลือ
เกลือต้มใช้ เกลือตากใช้ในอุตสาหกรรม อุตสาหกรรม เกลือผสมไอโอดีน
บริโภค 20-30 % 70-80% 80-90% 10 %

แหล่งผลิตเกลือ เกลือทะเล เกลือต้ม/ตากอีสาน เหมืองเกลือพิมาย


2-3 แสนตัน/ปี 4-5 แสนตัน/ปี 1.1 ล้านตัน/ปี

1.7 ล้านตัน/ปี
63 ล้านคน
ครัวเรือนและ อุตสาหกรรมเคมี อืน่ ๆ
อุตสาหกรรมอาหาร 1,102,500 126,600
472,500 ตัน/ปี ตัน/ปี ตัน/ปี

7.5 ก.ก./คน/ปี 17.5 ก.ก./คน/ปี 2 ก.ก./คน/ปี

การใช้เกลือ

28 % 65 % 7%

ภาพที่ 1 แผนภาพแสดงอัตราการผลิตและใช้เกลือในประเทศไทย
ที่มา: เลิศศักดิ์ คาคงศักดิ์ และเบญจรัชต์ เมืองไทย, การวิเคราะห์นโยบายสาธารณกรณี ศึกษาการ
จัดการเกลืออีสาน จากวิถีชีวิตสู่ อุตสาหกรรม (กรุ งเทพฯ: สภาที่ปรึ กษาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ, 2549), 81.

ดังนั้นเมื่อสังคมหนึ่งๆ สามารถผลิตเกลือได้ เกลือก็กลายมาเป็ นตัวกลางแลกเปลี่ยนกัน


ระหว่างกลุ่มชนต่างๆ และกลายเป็ นสิ นค้าระยะไกลชนิ ดแรกๆ ที่คา้ ขายกันระหว่างรัฐกับรัฐ จน
เกิดเส้นทางการค้าที่ยงั คงเป็ นเส้นทางสัญจรหลัก และมีการสร้างกฎเกณฑ์การซื้ อขายแลกเปลี่ยน
ระหว่างกันขึ้น ในสมัยโบราณ เมื่อผ่านเข้าสู่ ยุคที่เทคโนโลยีท้ นั สมัยขึ้นความสัมพันธ์ระหว่างผูค้ น
และเกลื อที่ เปลี่ ยนแปลงไปย่อมส่ งผลต่อความสัมพันธ์ของคนกับระบบนิ เวศ และคนกับสังคม
อย่างมีนยั สาคัญ นอกจากนี้ในทางการเมืองเราพบว่าในอดีตเกลือก็เข้าไปมีบทบาทค้ าจุนอานาจของ
ผูค้ รอบครองเกลื อไว้จนรั ฐชาติ หรื ออาณาจักรต่างๆ ต้องพยายามยึดกุมแหล่ งเกลื อหรื อเข้าไป
จัดการเกลื อ ควบคุ มการซื้ อขายหรื อเคลื่ อนย้ายเกลือ จนผูท้ ี่ทรงอานาจทั้งหลายในแต่ละยุคสมัย
84

หวังจะครอบครองและผูกขาดการค้าเกลื อมาตลอด ดังนั้นเทคโนโลยีการเสาะหาเกลือและผลิ ต


เกลือ จึงเป็ นสิ่ งท้าทายพัฒนาการความรู้ใหม่ๆ เป็ นแรงผลักดันให้มีการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต
การขนส่ ง ในทางวิทยาศาสตร์ การเล่ นแร่ แปรธาตุจนสามารถปฏิ วตั ิสังคมมนุ ษย์สู่ โลกยุคใหม่
เกลือยังเป็ นแร่ ธาตุที่ทาให้เกิดการเรี ยนรู้หลักการทางเคมีและธรณี วทิ ยา
ดัง นี้ พัฒ นาการการผลิ ตเกลื อ ในลุ่ ม น้ า สงครามตั้ง แต่ ก ารขูดดิ นเอี ย ด การขุดบ่ อน้ า
เรื่ อยมาจนเจาะน้ าบาดาล การต้ม ตาก และมีแนวโน้มจะพัฒนาไปสู่ การทาเหมืองใต้ดินได้สะท้อน
ให้เห็นว่าแหล่งเกลือในลุ่มน้ าสงครามนั้นมีความสัมพันธ์กบั ความเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์
และเศรษฐกิจในลุ่มน้ าสงครามในหลายแง่มุมดังจะได้อธิบายต่อไป
บทที่ 3
ความเปลีย่ นแปลงของชุ มชนแหล่งผลิตเกลือในลุ่มนา้ สงคราม

ข้อมูลทางโบราณคดี การผลิตเกลือในภาคอีสานระบุ วา่ เมื่อราว 3,000 ปี มาแล้วที่มนุษย์


ในภูมิภาคนี้เริ่ มพัฒนาความรู ้ในการผลิตเกลือจากคราบความเค็มบนเนื้อดินโดยการใช้น้ าํ แยกความ
เค็มออกจากเนื้ อดิน แล้วนํานํ้าเค็มมาต้มด้วยหม้อดินเผาจนเป็ นเกลือแล้วทุบหม้อทิ้งเอาเกลือไปใช้
ทั้งเพื่อบริ โภคและใช้ในการถลุงเหล็ก หรื อบางแห่ งที่มีน้ าํ เค็มตามบ่อเกลือต่าง ๆ ก็ใช้น้ าํ เค็มนั้นมา
ต้มโดยตรง การผลิตเกลือเช่นนี้ ดาํ เนินมาอย่างต่อเนื่องยาวนานและมีพฒั นาการเพียงเล็กน้อยตรง
ภาชนะในการต้มเกลือที่เปลี่ยนจากหม้อดินเผามาเป็ นกระทะโลหะในเวลาต่อมา จนเมื่อประมาณ
30 ปี ที่ผา่ นมาหลังการสํารวจพบแหล่งเกลือหิ นใต้ดินอีสาน ขณะที่สังคมไทยได้เริ่ มมีพฒั นาทาง
อุตสาหกรรมมากขึ้น ต้องการใช้เกลือมากขึ้นจึงได้มีการขยายพื้นที่ผลิตมายังภาคอีสานรวมทั้งใน
ลุ่มนนํ้าสงคราม โดยนํารู ปแบบภาชนะแบบใหม่ และเชื้ อเพลิ งใหม่ ๆ มาใช้ตม้ เกลือ ก่อนจะนํา
วิธีการทํานาเกลือตามพื้นที่เมืองชายทะเลเข้ามาใช้
ปั จจุบนั ในลุ่มนํ้าสงครามได้พฒั นาการผลิตเกลือหลายแบบแตกต่างกันในแต่ละแหล่ง
ผลิต ในงานศึกษานี้เลือกพื้นที่แหล่งผลิตเกลือแบบนาเกลือส่ วนหนึ่ งในจังหวัดสกลนคร เป็ นพื้นที่
ศึกษาหลัก คือ(1) ชุมชนแหล่งผลิตเกลือแบบทํานาเกลือหมู่บา้ นโนนดอกไม้แดง ตําบลหนองนํ้าใส
อําเภอสี สวย ซึ่ งเป็ นพื้นที่ที่ผลิตเกลือแบบตาก หรื อนาเกลือ เพื่อขายส่ งสู่ ภาคอุตสาหกรรม
นอกจากนี้ยงั มีพ้นื ที่สังเกตการณ์ชุมชนแหล่งผลิตเกลือเพื่อศึกษาบริ บทการทําเกลือด้วย
เทคโนโลยีแบบต่างๆ ในลุ่มนํ้าสงครามอย่างกว้างๆ ได้แก่ (2) ชุมชนแหล่งผลิตเกลือแบบต้มเกลือ
ด้วยฟื นบ่อหัวแฮด บ้านท่าสะอาด อําเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ โดยนํานํ้าเค็มจากบ่อเกลือกลางนํ้า
สงครามขึ้นมาต้ม เป็ นชุ มชนแหล่งผลิตเกลือที่มีประวัติการผลิตเกลือมายาวนานนับร้อยปี และยัง
ผลิตอยูใ่ นปั จจุบนั (3) ชุ มชนแหล่งผลิตเกลือแบบต้มเกลือด้วยแกลบบ้านกุดเรื อคํา ตําบลกุดเรื อคํา
อําเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร และ (4) พื้นที่โครงการเหมืองแร่ โพแทชสกลนคร อําเภอวานร
นิวาส จังหวัดสกลนคร พื้นที่โครงการเหมืองแร่ เกลือและโพแทชใต้ดินที่บริ ษทั เอกชนกําลังยื่นขอ
อาชญาบัตรสํารวจแร่ เกลือและโพแทช (ดูที่ต้ งั พื้นที่ศึกษาจากแผนที่ลุ่มนํ้านํ้าสงคราม ภาพที่ 2)


ชื่ อหมู่บา้ น ตําบล และอําเภอ ที่ปรากฎนี้ เป็ นชื่ อสมมุติ ใช้แทนหมู่บา้ นแหล่งผลิตเกลือแห่ งหนึ่งในจังหวัด
สกลนคร
85
86

ภาพที่2: แผนที่สงั เขปลุ่มนํ้าสงคราม


ที่มา: ปรับปรุ งจากแผนที่ลุ่มนํ้าสงคราม ใน บําเพ็ญ ไชยรักษ์, แม่ น้าสี เขียวคราม. (กรุ งเทพฯ: อมริ นทร์
พริ้ นติ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง, 2552), 2.
นาเกลือ บ้ านโนนดอกไม้ แดง
ตาบลหนองนา้ ใส อาเภอสี สวย จังหวัดสกลนคร

1. ประวัติความเป็ นมาของชุ มชนบ้ านโนนดอกไม้ แดง


บรรพบุ รุ ษ ของชาวบ้า นโนนดอกไม้แ ดง ตั้ง ชุ ม ชนขึ้ น จากคนกลุ่ ม ชาติ พ ัน ธุ์ โ ซ่ 7
ครัวเรื อน ที่อพยพจากแถบลุ่มนํ้าอูน อําเภอพังโคน (ปั จจุบนั คือส่ วนที่แยกเป็ นอําเภอพรรณานิคม)
เพื่อมาตั้งบ้านเรื อนอยูใ่ นเขตพื้นที่ราบลุ่มริ มห้วยบ่อแดงเพราะบริ เวณนี้ อุดมสมบูรณ์ดว้ ยนํ้าและป่ า
ผืนใหญ่กว้างล้อมรอบ พวกเขาพากันบุกเบิกนาข้าวในบริ เวณที่ซ่ ึ งเรี ยกว่า "บะดอกไม้แดง" ซึ่ งเป็ น
พื้นที่ลาดนํ้าไหลผ่านทางทิศตะวันออก ที่มีแหล่งนํ้า และดินสมบูรณ์ดีเหมาะแก่ทาํ นาข้าว ชาวโซ่
87

กลุ่มนั้นได้มาตั้งบ้านเรื อนเป็ นกลุ่มบ้านขนาดเล็กที่ในทางการปกครองขึ้นอยูก่ บั บ้านหนองนํ้าใส


(ปั จจุบนั หมู่บา้ นนี้ ได้รับยกฐานะเป็ นตําบล) โดยมีการผูช้ ่ วยผูใ้ หญ่บา้ นดูแล การปกครองยังเป็ น
ส่ วนหนึ่ งของบ้านหนองนํ้าใสระยะหนึ่ งจนมาในปี พ.ศ. 2467 กลุ่มบ้านนี้ ได้ขยายใหญ่ข้ ึนจึงแยก
ออกมาตั้งหมู่บา้ นให้ชื่อตามลักษณะที่ต้ งั เดิมว่า "บ้านบะดอกไม้แดง" ส่ วนชื่อบ้านโนนดอกไม้แดง
ที่ใช้เรี ยกในปั จจุบนั เป็ นเพราะบริ เวณหมู่บา้ นเดิมเป็ นที่ลุ่มริ มห้วย มักเกิ ดนํ้าท่วม และมีพ้ืนที่คบั
แคบล้อมรอบด้วยนาข้าวไม่ อาจจะขยายพื้นที่บ ้านเรื อนได้ท าํ ให้ต้องย้า ยหมู่บา้ นมาตั้งอยู่บ นที่
"โนน" หรื อพื้นที่สูงทางทิศตะวันตกเรื่ อยไปจนทางทิศใต้ แต่ยงั เล่าสื บมาว่าเดิมทีคนกลุ่มแรกที่มา
นั้นไม่ได้ต้ งั บ้านบริ เวณนี้แต่ต้ งั อยู่บริ เวณริ มห้วยบ่อแดงซึ่ งมีลกั ษณะลาดลงเป็ นที่ราบลุ่มทางทิศ
ตะวันออกของหมู่บา้ นในปั จจุบนั ในภาษาท้องถิ่นเรี ยกลักษณะนิเวศที่ลาดชายป่ าโคกที่มีน้ าํ ไหล
ผ่านและขังในฤดูฝนเช่ นนี้ ว่า "บะ" นอกจากนี้ บริ เวณดังกล่าวยังล้อมรอบด้วยป่ าต้นดอกไม้แดง
หรื อ “แสบง” ในภาษาอีสาน หรื อ “ยางเหียน” ในภาษาไทยกลางซึ่งเป็ นไม้ยนื ต้นผลัดใบในวงศ์ยาง
ชนิ ดหนึ่ ง ลําต้นสู งใหญ่ เปลือกต้นเป็ นสี เทาเข้ม หนา มีร่องแตกลึก ใบมีลกั ษณะคล้ายรู ปไข่กว้าง
ปลายป้ านหรื อกลมทั้งสองด้าน ดอกสี ชมพูสดเป็ นช่อกลุ่มละ 3 -7 ดอกห้อยลงมีกลีบสี ชมพูเข้ม
5 กลีบซ้อนเหลื่อมกันเหมือนใบจักร ลูกกลมมีปีก 2 ปี ก ยาวห้อยลงสี แดงสด สิ้ นฝนอากาศแห้งลง
ต้นไม้น้ ี จะทิ้งใบร่ วง เมื่อย่างสู่ ฤดูหนาวจะออกดอกสี แดงอมชมพูร่วงเต็มลานดิน ถึงฤดูแล้งจะติด
ลูกสี แดงมีปีกลักษณะเป็ นเหมือนกังหันลม ครั้นลมแล้งพัดชายทุ่งลูกไม้สีแดงจะร่ อนบินร่ วงหว่าน
สี แดงสดไว้บนพื้นดิน
ความสวยงามของทุ่ ง ดอกไม้แ ดงที่ ล้อ มรอบหมู่ บ ้า นนี้ อยู่ใ นความจดจํา รํ า ลึ ก ของ
ชาวบ้านที่มีอายุราว 30 ปี ขึ้นไปถึงความสวยงามและเรื่ องราวการทํามาหากิน การใช้ประโยชน์ทุ่ง
ดอกไม้แดงในการยังชี พ ดังนั้นชื่ อหมู่บา้ นจึงตั้งขึ้นจากลักษณะพันธุ์ไม้เด่นและสวยงามในบริ เวณ
ที่บรรพบุรุษชาวโนนดอกไม้แดงเลือกเป็ นทําเลสมบูรณ์เหมาะในการตั้งรกรากเป็ นหมู่บา้ นครั้งแรก
“บะดอกไม้แดง” ซึ่ งเป็ นที่ต้ งั หมู่บา้ นเดิมนั้นเป็ นที่ ลาด ลุ่ ม มักจะเกิ ดนํ้าท่วมขัง และ
ล้อมรอบด้วยนาข้าว จึงขยายหมู่บา้ นไม่ได้ ชาวบ้านจึงพากันย้ายที่ต้ งั บ้านเรื อนขึ้นมาตั้งอยูท่ างทิศ
ตะวันตกเฉี ยงใต้ของที่ต้ งั เดิมซึ่ งมีสภาพนิเวศเป็ น ‚โนน‛ หรื อที่เนินกว้างขวาง มีสภาพพื้นที่เป็ นป่ า
เต็งรังหรื อ “โคก” ซึ่งปกติตน้ ดอกไม้แดงจะไม่มีข้ ึนในสภาพนิเวศแบบนี้ คําว่า "โนนดอกไม้แดง"


ชื่อสมมุติ

ฐานใบเป็ นรู ปหัวใจขนาดใหญ่ 15 - 30 x 10 -18 เซนติเมตร ใบอ่อนมีขนาดยาวแหลมใบแก่ดา้ นบนเขียวเข้มมีขน
บนเส้นใบและขอบใบ ด้านล่างสี ออกเขียว มีขนเป็ นรู ปดาวบนเส้นใบและขนสี ขาวยาวกว่าด้านบน เส้นใบข้าง 10 – 18 คู่กา้ นใบ 2.5
– 4เซนติเมตร มีขนสี น้ าํ ตาลอมเหลือง
88

เมื่อกว่า 30 ปี ก่อนหน้านี้ หมู่บา้ นนี้ ไม่มีนาเกลือในหมู่บา้ น ชาวบ้านจะไปทําเกลือแบบ


ขูดดินเอียด หรื อดินขี้ทา มาหมักกับนํ้าเค็มให้น้ าํ ละลายเกลือที่แทรกอยูใ่ นเนื้ อดินออกมาเป็ นนํ้าเค็ม
ที่เข้มข้นพอที่จะนํามาต้มจนตกผลึกเป็ นเกลือ ณ บ่อเกลือใกล้ๆห้วยบ่อแดง ซึ่ งอยูใ่ นเขตบ้านหนอง
นํ้าใสที่เป็ นเขตติดกัน ชาวบ้านในละแวกนี้ จะมาทําเกลือในฤดูแล้ง บริ เวณ บ่ อดิ นสอ และ บ่ องิ ้ว
เป็ นแหล่งที่มีคราบดินเค็มรอบๆหนองนํ้าเรี ยกว่า "ดินขี้ทา" หรื อ "ดินขุย" เป็ นดินที่มีคราบเกลือขึ้น
ชาวบ้านจะขูดดินนี้มาหมักกับนํ้ากรองเอานํ้าเค็มไปต้มเป็ นเกลือสิ นเธาว์ไว้บริ โภคในครัวเรื อน ทํา
ปลาร้ า ปลาส้ ม ปลาแห้ง ฯลฯ นอกจากนี้ ยงั มีบางครอบครัวที่ผลิ ตไว้มาก ๆ จนสามารถใช้เป็ น
สิ นค้าแลกเปลี่ยนกับข้าว และของใช้จาํ เป็ นอย่างอื่น ๆ ได้ ชาวบ้านโนนดอกไม้แดงบางคนจะไปทํา
เกลื อแต่ส่วนใหญ่ไม่นิยมไปเพราะอยู่ห่างหมู่บา้ นออกไป แต่นิยมนําข้าว พริ ก ฟื น หรื อข้าวของ
อย่างอื่นไปแลกเกลือมาไว้บริ โภคในครัวเรื อแทน
บ้านโนนดอกไม้แดงมีเจ้าจํ้าประจําหมู่บา้ น 2 คน คือจํ้าใหญ่ (จํ้าที่อาวุโสกว่า) และจํ้า
น้อย (จํ้าที่อาวุโสน้อยกว่า) ทําหน้าที่เป็ นผูส้ ื่ อสารกับวิญญาณบรรพบุรุษชาวโซ่ หรื อ ‚เอาะนาย‛
ในภาษาโซ่ หมายถึ ง ‚ผีปู่ย่า‛ ซึ่ ง ปั จจุ บนั จากความที่ มี กลุ่ มคนหลายชาติ พ นั ธุ์ เข้ามาอาศัยผสม
กลมกลืนกันอยูใ่ นชุมชนบางคนจึงเรี ยกผีบรรพบุรุษนี้วา่ ‚ผีปู่ตา‛
จํ้าใหญ่ วัย 66 ปี ผูม้ ีรูปร่ างสู งใหญ่ แม้สูงวัยแต่ยงั แข็งแรงสามารถออกไปเลี้ยงวัวฝูง
ใหญ่กว่า 20 ตัวทุกวันตั้งแต่เช้ายันเย็น จํ้าใหญ่ประวัติถึงความเปลี่ยนแปลงในหมู่บา้ นโนนดอกไม้
แดงอย่างละเอียดว่า ตนเกิดอยูท่ ี่บา้ นโนนดอกไม้แดง เพราะพ่อของตนเดินทางติดตามปู่ และย่า ซึ่ ง
เป็ นคู่สามีภรรยา "คนโซ่" มาจากบ้านห้วยบุ่น – นาเลา อําเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร เพื่อหาที่ทาํ
ไร่ ทาํ นาในที่ดินที่อุดมสมบูรณ์ ซึ่ งเป็ นคนกลุ่มแรกที่อพยพมาตั้งถิ่นฐานบริ เวณนี้ ผูเ้ ล่าจึงเป็ นคน
รุ่ นที่ 3 ที่ต้ งั หลักแหล่งทํามาหากิ นในอาณานิ เวศของหมู่บา้ นโนนดอกไม้แดงแห่ งนี้ (นายสมใจ
นวลใจ, [นามสมมุติ]. (2554).
ความเปลี่ยนแปลงในบ้านโนนดอกไม้แดงสามารถแบ่งได้ 4 ยุคซึ่ งมีระยะเวลาที่เหลื่อม
ซ้อนกันอยู่ตามความเห็ นจากการสนทนากลุ่มกับผูอ้ าวุโสในหมู่บา้ น ณ วัดบ้านโนนดอกไม้แดง
และจํ้าประจําหมู่บา้ นทั้งสองท่าน ดังนี้
89

ภาพที่ 3 แผนที่ลกั ษณะภูมิประเทศและที่ต้ งั บ้านโนนดอกไม้แดง


ที่มา: ปรับปรุ งจากแผนที่ภูมิประเทศมาตราส่ วน 1: 50,000 (กรุ งเทพฯ: กรมแผนที่ทหาร, 2540)
90

1.1.ยุคดงหนาป่ าใหญ่ คือช่ วงก่อน 2500 อันหมายถึ งยุคที่ชนชาวโซ่ จากริ มฝั่ งนํ้าอู
นอพยพมาก่อตั้งหมู่บา้ น ก่อนปี 2467 ที่มีชื่อหมู่บา้ นอย่างเป็ นทางการ จนถึงก่อนปี 2500 สภาพ
นิเวศรอบ ๆชุมชนมีความอุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่ าไม้ สัตว์ป่า และกบ เขียด ปู ปลาในแม่น้ าํ อันเป็ น
เหตุผลสําคัญ ที่ดึงดูดผูค้ นให้ยา้ ยมาตั้งถิ่นฐานบริ เวณนี้เพราะความ “สมบูรณ์ นา้ สมบูรณ์ ป่า” หรื อ
ที่ภาษาโซ่เรี ยกว่า "หมัดรึ " ปลูกอะไรก็งามโดยเฉพาะอย่างยิง่ ที่ราบริ มฝั่งห้วยบ่อแดง นอกจากนี้ ยงั
มีดงหนาป่ าใหญ่คือป่ าบริ เวณดงพะลาด เป็ นป่ าดงที่มีตน้ ไม้ใหญ่ พวก ไม้ยุง ไม้ยาง หวาย สาน มี
สัตว์ป่า พวก เนื้อกวาง เสื อ ช้าง เนื้อทราย ละมัง่ ฯลฯ นอกจากดงหนานี้ ยงั มีป่าเบญจพรรณ และป่ า
โคกเต็งรังล้อมรอบ ดง ป่ า และโคก เหล่านี้ คืนต้นธารของสายห้วยหลายสายที่สามารถหาปูหาปลา
ตามห้วยตามหนองใกล้หมู่บา้ น เช่นห้วยทุ่งใหญ่ ห้วยตะลือ ห้อยบ่อแดง ห้วยมะค่าโมง ห้วยงัวน้อย
เป็ นต้น เรี ยกได้วา่ "ถ้ าอยากกินเนือ้ เพราะเบื่อปลาก็ไปล่ าสั ตว์ หาของป่ าไปดง" ด้วยเหตุน้ ี ชาวโซ่ ที่
อพยพมาจึงจับจองที่ดินบุกเบิกทําไร่ ไถนา และสร้างบ้านแปงเฮือนเป็ นหมู่บา้ น มีนาข้าวบริ เวณทุ่ง
ดอกไม้แดงที่ไม่เคยขาดนํ้า นอกจากนี้ยงั สามารถทํามาหากินยังชีพด้วยการพึ่งพาความอุดมสมบูรณ์
ตามธรรมชาติบนป่ าดง ป่ าโคก ผูค้ นทํามาหากินพึ่งพากันฉันญาติมิตร เพราะเป็ นกลุ่มชนที่มีพ้ืนเพ
มาจากถิ่นเดียวกันนับญาติกนั ได้ อาศัยช่วยเหลือแรงงานในไร่ นากัน
1.2.ยุคความขัดแย้ งทางการเมือง ช่วงประมาณปี 2500 - 2525 หลังจากที่ก่อตั้งหมู่บา้ น
ได้ราวสองชัว่ อายุคนก็ยา่ งสู่ ช่วงที่ 2 ในหมู่บา้ นที่มีพ้นื ที่นิเวศล้อมด้วยดงหนาเชิงเทือกเขาภูพานริ ม
ฝั่งแม่น้ าํ สงคราม ห่ างไกลอํานาจการปกครองของรัฐบาลส่ วนกลาง จึงคล้ายว่าตั้งอยู่แยกตัวเป็ น
อิสระเพราะล้อมรอบด้วยป่ าดง และโคกอันหนาทึบโดยเฉพาะดงพะลาด ดงหม้อทอง ดงอีบ่าง
มีการแทรกแซงของแนวคิดสังคมนิยมจากพรรคคอมมิวนิตส์แห่ งประเทศไทยในตอน
นั้น มี คนของพรรคฯ เข้า มาจัดตั้งทางความคิ ดเรื่ องความเท่ าเที ยมกันในสังคม และชี้ ให้เห็ นว่า
หมู่บา้ นนี้ เป็ นกลุ่มชนที่ถูกทอดทิ้งไม่ได้รับความสนใจจะมาพัฒนาจากรัฐไทย โดยมีสหายหรื อ
สมาชิกพรรคคอมมิวนิตส์แห่งประเทศไทยเข้ามาขยายมวลชนมาจากฐานปฏิบตั ิการเดิมบริ เวณเขต
ภูพาน โดยมาอยู่กินกับชาวบ้าน ช่ วยเหลือทํางานในไร่ นา และเริ่ มจัดตั้งความคิด ยํ้าให้เห็นความ
เหลื่อมลํ้าตํ่ายากของชาวนา ที่เจ้านายหรื อรัฐบาลไม่ดูแลใส่ ใจประชาชนไม่พฒั นา ถนนหนทางไม่
มี ขูดรี ดภาษี มีความเหลื่ อมลํ้าตํ่าสู งไม่เป็ นธรรม "เราจะยอมให้ อานาจเหยี ยบยา่ เราอยู่อย่ างเดิ ม
ไม่ ได้ ต้องลุกขึน้ สู้เพื่อปลดแอกและสร้ างความเสมอภาคเพียงกันเสมอหน้ ากลองชัย"


ดงพะลาด คือชื่อเรี ยกป่ าดงผืนใหญ่ใกล้บา้ นโนนดอกไม้แดง ตามลักษณะสภาพพื้นที่ในดงที่จะมีพะลานหิ นกว้าง
เวลาเดินมักจะ “ลื่นล้ม” หรื อ "พะ-ลาด" ในภาษาถิ่นอีสาน
91

ชาวนาในหมู่บา้ นหลายคนรู้สึกเห็นพ้อง และกลายเป็ นสมาชิก หรื อแนวร่ วมของพรรค


คอมมิ วนิ ตส์ ใ นขณะนั้นโดยเฉพาะกลุ่ มผูช้ ายวัย กลางคน ชาวบ้า นที่ท าํ ไร่ ทาํ นาอยู่ก็ มีส หายมา
ชักชวนไปฟั งอบรมเพื่อให้แนวคิดเรื่ องความเท่าเทียมเสมอภาคของคน บางครั้งพวกสหายในป่ าก็
มาช่วยทําไร่ ไถนาเพราะสหายบางคนก็เป็ นคนในหมู่บา้ นเมื่อเข้าป่ าแล้วก็ยงั กลับมาช่วยทํางานใน
ฤดูเพาะปลูกก็มี จนที่สุดพรรคคอมมิวนิสต์สามารถจัดตั้งชาวบ้านได้แทบทั้งหมด ผูช้ ายในหมู่บา้ น
ตัด สิ น ใจเข้า ป่ าไปหลายคนที่ เ หลื อ ก็ ก ลายเป็ นแนวร่ ว มสนับ สนุ น การเคลื่ อ นไหวของพรรค
คอมมิวนิสต์ในขณะนั้นอย่างเต็มที่
ในช่วงนั้นพื้นที่แถบนี้ เริ่ มถูกเพ่งเล็งจากรัฐบาลจัดเป็ น "พื้นที่สีแดง" หรื อพื้นที่ที่ได้รับ
อิทธิ พลของพรรคคอมมิวนิ สต์เข้ามาแทรกแซงสร้างมวลชน และฝ่ ายข้าราชการเห็นว่าเป็ นพื้นที่
อันตรายสําหรับข้าราชการไม่วา่ จะเป็ นข้าราชการครู ตํารวจ ทหาร รวมถึงกํานัน ผูใ้ หญ่บา้ นด้วย
การขยายฐานมวลชนของพรรคคอมมิวนิตส์ แห่ งประเทศไทย เริ่ มขยายออกมาบริ เวณ
เขตงานดงพะลาดหรื อที่เหล่าสหายรู้จกั กันในนามเขตงานที่ 02 ซึ่ งเป็ นรอยต่อกับดงหม้อทอง ดงอี
บ่าง โดยการนําของสหายสิ นธ์ ซึ่ งเป็ นสหายนําในเขตนี้ ตอนนั้นชาวบ้านในหมู่บา้ นเข้าป่ ารวมแล้ว
ประมาณกว่า 20 คนที่เข้าฝึ กอบรมเป็ นทหารป่ า และหมู่บา้ นนี้ ถือเป็ นหมู่บา้ นมวลชนพื้นฐานของ
พรรคเพราะคนที่อยูบ่ า้ นก็เป็ นแนวร่ วมจน ทหารป่ าสามารถถือปื นเดินในหมู่บา้ นได้เพราะเขาถือว่า
สามารถกุมสภาพมวลชนได้เต็มที่
นายสมใจ นวลใจ, [นามสมมุติ]. (2554). เล่าประสบการณ์ของตนว่า ประมาณหลังปี
2509 ตอนนั้นตนกําลังเป็ นหนุ่มอายุประมาณ 21 ปี หลังจากผ่านการคัดเลือกทหารกลับมาบ้านก็
ตัดสิ นใจเข้าป่ าไปกับเขาด้วยเพราะการดํารงชีวิตเป็ นชาวนา และการถูกเรี ยกให้ไปคัดเลือกทหาร
นั้นทําให้เห็นชัดถึงความสู งตํ่าไม่เท่าเทียมกัน และชนชั้นชาวนาอย่างตนก็ถูกกดขี่จริ งๆ แต่เมื่อเข้า
ป่ าไปก็เจอเข้ากับสถานการณ์ที่เคร่ งเครี ยดมากในป่ าเมื่อตรงกับช่วงที่รัฐบาลสมัยเผด็จการจอมพล
ถนอม กิตติขจร ใช้มาตรการรุ นแรงในการปราบปรามกองทัพป่ า ตลอดจนแนวร่ วมที่เป็ นนักศึกษา
ในเมื องทํา ให้มี นัก ศึ ก ษาจํา นวนมากหนี เข้า มาเป็ นแนวร่ วมในป่ าเพิ่ ม ขึ้ น การเข้า ไปอยู่ใ นป่ า
ระยะแรกก็จะได้เข้ารับการอบรมระเบียบวินยั ต่างๆ ของพรรคในเขตป่ าอย่างเคร่ งครัด ในป่ าไม่มี
รถ ไม่มีถนนหนทาง มีแต่ป่าไม้หนาทึบ โดยช่วง 3 เดือนแรกเป็ นการเข้าไปฝึ กอบรมการใช้อาวุธ
ใช้ปืน อยูไ่ ด้เพียงไม่นานในปี 2510 ก็เกิดการปิ ดล้อมและปะทะกันอย่างรุ นแรงในป่ า ทหารรัฐบาล
ล้อมปราบโจมตีโดยเข้ามายึดหมู่บา้ นโนนดอกไม้แดงคืนจากทหารป่ า และตั้งเป็ นฐานที่มน่ั ของ
ทหารฝ่ ายรัฐบาลโดยใช้พ้ืนที่บริ เวณโรงเรี ยนเป็ นฐานทัพตั้งปื นใหญ่ เพื่อหวังจะยึดฐานที่มนั่ ดงพะ
ลาดและพื้นที่ใกล้เคียงของพรรคคอมมิวนิ ตส์ คืนด้วย รวมทั้งหมู่บา้ นใกล้เคียงคือบ้านนาสี นวล
92

บ้านห้วยทราย บ้านโพธิ์ ชยั ทหารได้เข้าไปยึดและตั้งฐานทัพเพื่อหวังจะปิ ดล้อมเขตดงพะลาดให้ได้


การที่ทหารเข้ายึดหมู่บา้ นและควบคุมการส่ งเสบียงให้ทหารป่ าของชาวบ้าน บีบบังคับ
ทําร้ายนํ้าใจสมาชิกในครอบครัวของผูท้ ี่เป็ นทหารป่ าหลายครั้งเพื่อจะบีบเค้นความลับจากชาวบ้าน
ชาวบ้านคนใดจะไปไร่ ไปนาต้องไปแจ้งเวลาเข้าออกจากหมู่บา้ น นอกจากนี้ โดยรอบหมู่บา้ นมีการ
ทํารั้วรอบโอบล้อมด้วยลวดหนาม และมีการนําพงหนามสู งมาโอบไว้อีกชั้น โดยจะทําประตูเข้า
ออกติดเกราะเป็ นระฆังเตือนหากมีใครล่วงลํ้าเข้ามา มันจะส่ งเสี ยงดังทุกครั้งที่มีคนเปิ ดเข้าออก
และรอบกําแพงก็จะมีคนอยู่เฝ้ าระวังการเข้าออกตลอดเวลา ชาวบ้านจะได้รับอนุ ญาตให้ทาํ นาที่
บริ เวณทุ่งดอกไม้แดงทางทิศตะวันออกของหมู่บา้ นเท่านั้นไม่ให้เข้าไปในเก็บหาของป่ าล่าสัตว์ใน
ดงที่ห่างจากตัวหมู่บา้ น ทําให้พ้ืนที่หาอยูห่ ากิ นจํากัดคับแคบลงอาหารการกินร่ อยหรอไม่เพียงพอ
เมื่อถูกปิ ดล้อมตัดทางส่ งเสบียงขาดการติดต่อกับมวลชนในหมู่บา้ น การใช้ชีวิตในป่ าก็เดือดร้อน
หนัก ไม่มีอาหาร ต้องหาหัวเผือกหัวมันกิ น บางครั้งทหารป่ าต้องลักลอบไปลําเลียงดินเอียด (ดิน
เค็ม) ที่บริ เวณป่ าคําชะโนด (อําเภอบ้านดุงในปั จจุบนั ) ซึ่ งตั้งอยูค่ นละฟากแม่น้ าํ สงครามเพื่อเอามา
ทําเกลือใช้ในป่ า แม้ระหว่างทางจะมีการซุ่มโจมตีของทหารรัฐบาลเป็ นระยะ ตอนนั้นจํ้าใหญ่ ผูเ้ ล่า
ประสบการณ์ในป่ า บอกว่าตนเกิดความรู้สึกทดท้อมากเพราะทั้งเหนื่อย อด หิ ว และก็กลัว แต่ก็ไม่
กล้าออกมาจากป่ ากลัวว่าจะถูกฆ่าตาย ความกดดันในป่ าเป็ นอยูเ่ ช่นนั้นระยะหนึ่ง
จนกระทัง่ ต่อมาเมื่อมีนโยบายใหม่ ที่ใช้แนวทาง "การเมืองนําการทหาร" ในสมัยที่พล
เอกเปรม ติ ณ สู ล านนท์ เป็ นผูบ้ ญั ชาการทหารขณะนั้น ได้ป ระกาศเชิ ญชวนชาวบ้า นที่เข้า ร่ วม
ขบวนการพรรคคอมมิวนิ ตส์ ให้ออกมามอบตัวเพื่อเข้าเป็ นผูร้ ่ วมพัฒนาชาติไทย ทําให้สหายหลาย
คนตัดสิ นใจหนีออกมาจากป่ า แต่จะไม่มีการชักชวนกันในหมู่ทหารป่ าด้วยกันใครตัดสิ นใจจะออก
จากป่ าก็หนีออกมาเลยเพราะไม่มีใครแน่ใจอุดมการณ์ในใจของใครหากชักชวนอาจจะเป็ นอันตราย
อย่างไรก็ตาม จํ้าใหญ่ยงั ไม่ตดั สิ นใจออกมาจากป่ าในตอนแรกเพราะยังกลัวว่าออกมาอาจจะโดน
ทหารฆ่าตาย เพราะเคยเห็ นว่าหลายคนจะออกมาก็โดนฆ่าอยู่ชายป่ านัน่ เอง แต่แล้วอยู่มาวันหนึ่ ง
สหายนําคนหนึ่งทะเลาะกับสหายนําอีกคน หนึ่งในสองสหายนําจึงตัดสิ นใจเดินออกจากป่ ามามอบ
ตัวกับทหาร แล้วทหารก็ใช้สหายนําผูน้ ้ นั เป็ นคนออกมาประกาศชักชวนสหายคนอื่นให้ออกจากป่ า
โดยทหารให้ข้ ึนเครื่ องบินประกาศไปทัว่ อีกทั้งยังโปรยใบปลิวเชิญชวนให้ทหารป่ ากลับมาบ้าน ไม่
ต้องทนกับความเหนื่ อยยากและหิ วโหยในป่ าอีกต่อไป และไม่ตอ้ งกลัวว่าจะถูกทําร้าย จํ้าใหญ่ใน
เวลานั้นจึ งได้ตดั สิ นใจออกมาจากป่ า และเมื่อออกมาแล้วก็พบว่ามีโครงการพัฒนาถนนหนทาง
สร้ างถนนเพื่อการเกษตรเข้าไปในป่ าตีนดง คนที่ออกมาจากป่ าแล้วรัฐบาลก็พาไปฝึ กอบรมเพื่อ
ฟื้ นฟูจิตใจ และสอบถามถึงความคับข้องใจที่เกิดขึ้น และการเข้าฝึ กอบรมนั้นทําอยูท่ ี่ในบริ เวณวัด
93

ป่ าสุ ทธาวาส ในเมืองสกลนคร อยูก่ ินในเขตวัดและทํากิ จกรรมต่าง ๆ นาน 3 เดือนก่อนจะสําเร็ จ


หลัก สู ตรอบรมฟื้ นฟู จิตใจที่ รัฐบาลจัดให้ และวันสุ ดท้า ยก็ จะทํา พิธี บ ายศรี สู่ ข วัญ เหมื อนการ
รับขวัญให้กลับคืนบ้านมาใช้ชีวติ ตามปกติ
1.3. ยุคเปิ ดป่ าสั มปทานไม้ ช่วงประมาณปี 2520 - 2535 หลังจากความขัดแย้งในเขตป่ า
คลี่คลายลง ป่ าดงพะลาด ดงหม้อทอง ดงอีบ่าง และโคกรอบ ๆ หมู่บา้ นก็กลายเป็ นพื้นที่สัมปทาน
ป่ าไม้ผืนใหญ่ที่รัฐบาลได้ให้สัมปทานผูกขาดให้นายทุนที่รู้จกั กันในชื่ อนายจรมิตร พ่อค้าไม้ราย
ใหญ่ ป ระจําเมื องสว่างแดนดิ น ไม้จาํ นวนมากมายถูก ตัดและชัก ลากออกมา ถนนที่ส ร้ า งเชื่ อม
ระหว่างอําเภอสว่างแดนดินมายังหมู่บา้ นคือเส้นทางขนชักลากไม้ในอดีต ชาวบ้านหลายคนรวมทั้ง
สหายที่เพิ่งออกจากป่ ามา ล้วนเคยไปรับจ้างตัดไม้ที่รัฐบาลสัมปทานให้นายทุน เพราะรัฐบาลถือว่า
บริ เวณนี้คือพื้นที่ป่าสงวนของรัฐบาลที่สามารถให้สัมปทานนายทุนได้ มีชาวบ้านจับจองทําไร่ นา
อยูเ่ ป็ นหย่อม ๆ แม้ในไร่ ในนาของชาวบ้านเองต้นไม้ก็เป็ นของรัฐ รัฐบาลสามารถตัดได้ไม่มีใคร
ห้ามใครหวงได้ อาจจะเพราะป่ ามันเยอะมากในตอนนั้น ที่สุดป่ าไม้ใหญ่ก็หมด เหลือแต่ป่าโคก
เล็กน้อย ซึ่ งต่อมาก็มีการส่ งเสริ มการปลูกมัน ปลูกปอ และพื้นที่ป่าสงวนเสื่ อมโทรมลงแล้วรัฐบาล
ก็นาํ มาจัดสรรแก่ราษฎร เป็ นพื้นที่ สปก. 4-01 ในภายหลัง
ภายหลังมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานพวกไฟฟ้ า แหล่งนํ้า ถนนหนทางแล้วในปี พ.ศ.
2530 ตําบลหนองนํ้าใสแยกการปกครองออกจากตําบลเดิม และ "บ้านบะดอกไม้แดง" ได้เปลี่ยน
ชื่อมาเป็ น "บ้านโนนดอกไม้แดง" สื บมา
1.4.ยุคนาเกลือ ช่วงประมาณปี 2523 - ปั จจุบนั ก่อนหน้านี้ หลายปี มีฝรั่งมาสํารวจเจาะ
นํ้ามันหลายรอบ ครั้งแรกประมาณปี 2518 และก็มีการเข้ามาสํารวจเพิ่มเติมและในที่สุดก็พบว่า
บริ เวณรอบ ๆ หมู่บา้ นโดยเฉพาะบริ เวณทุ่งดอกไม้แดงมีเกลือจํานวนมาก มีโดมเกลือใหญ่ใต้ดิน
นายทุนจากทางจังหวัดนครราชสี มา และจังหวัดสมุทรสงคราม และกรุ งเทพฯ ก็มาซื้ อที่ดินขุดบ่อ
นํ้าบาดาลเพื่อสู บนํ้าเค็มมาต้มเกลือ ในระยะแรกชาวบ้านก็มาทําการต้มเกลือโดยตัดฟื นจากป่ ารอบ
ๆ หมู่บา้ นมาต้มเกลืออยูป่ ี สองปี แล้วนายทุนก็เริ่ มมาบุกเบิกซื้ อที่นาทํานาเกลือ และมันก็เพิ่มมาก
ขึ้นมากขึ้นทุ่งดอกไม้แดงที่ดอกแดงเต็มทุ่งหายไป ต้นดอกไม้แดงขนาดใหญ่ถูกตัดโค่นออกจากทุ่ง
ไม่เหลือไว้กระทัง่ ตอหรื อรากเพราะการเตรี ยมดินทํานาเกลือจะต้องบดอัดและเปลี่ยนนาข้าวเป็ นนา
เกลือหมด เพียงในปี ต่อมาหลังการทํานาเกลือ ก็มีชาวนาเริ่ มเดือดร้อนจากผลกระทบจากนํ้าเค็มดิน
เค็ม ชาวบ้านหลายคนจึงคิดหาทางแก้ปัญหาโดยการยื่นหนังสื อร้องเรี ยนไปยังเจ้านาย(นายอําเภอ)
ว่าพวกตนได้รับเดื อดร้ อนทํานาข้าวไม่ได้แต่ก็ไม่มีการแก้ไขปั ญหา ซํ้ายังถูกกล่ าวหาว่าตีตนไป
ก่อนไข้ ในที่สุดนาชาวนาหลายรายจําต้องทยอยขายที่นาให้นายทุนเกลือ
94

จํ้าใหญ่ ผูซ้ ่ ึ งสื บทอดมรดกผืนนาในทุ่งดอกไม้แดงจากบรรพบุรุษชาวโซ่ กลุ่มแรกที่เข้า


มาก่อตั้งชุ มชนเองก็จาํ ต้องขายไปเป็ นพื้นที่นาไป 10 ไร่ ราคา 100,000 บาท เหลือแต่พ้ืนที่นาโคกที่
จับจองไว้เดิมประมาณ 40 ไร่ และนําเงินที่ได้จากการขายนาทุ่งไปซื้อที่นามาเพิ่มเพื่อเก็บไว้แบ่งให้
ลูกๆ โดยได้ที่นามาเพิ่มจาก 10 ไร่ เดิมเป็ น 15 ไร่ แต่เป็ นที่นาโคกไม่สมบูรณ์เท่านาทุ่งแปลงเดิม จํ้า
ใหญ่ผเู ้ ล่าความนี้ มีลูกทั้งหมด 6 คนยังอยูใ่ นหมู่บา้ น 4 คนและทําไร่ ทาํ นาเหมือนพ่อ ฤดูแล้งก็ไป
รับจ้างนาเกลือ อีกสองคนไปทํางานต่างจังหวัด
จํ้าใหญ่ มีความเห็นว่าข้อดีของนาเกลือคือมีรายได้ แต่ขอ้ เสี ยคือพอหลายปี เข้าแผ่นดิน
มันทรุ ดมันถล่มมากขึ้นเรื่ อยๆ และถ้าเป็ นไปได้ใจอยากให้หยุดทํานาเกลื อ ถ้าหยุดจริ งทิ้งไว้สัก
ระยะหนึ่งตนคิดว่าธรรมชาติอาจจะค่อยๆ ฟื้ นฟูกลับคืนมา แต่ฝ่ายอุตสาหกรรมเขาก็มาพูดชักชวน
ชาวบ้านว่า "นาข้าวกับนาเกลื ออยู่ดว้ ยกันได้" ทั้งที่จริ งๆ แล้วเวลามีปัญหาดินทรุ ดก็ไม่ได้มีคน
รับผิดชอบอะไร แต่ก็พูดอะไรไม่ได้มากเพราะนายทุนใช้วิธีการเอาคนในหมู่บา้ นซึ่ งเป็ นลูกหลาน
ของชาวบ้านเองไปเป็ นคนของเขาคือจ้างงานรายเดือน ให้เป็ นลูกนา ผลิตเกลือขายตกเขียวให้เขาซึ่ ง
ทําให้หลายคนมีพนั ธะหนี้สินอยูก่ บั นายทุนเป็ นจํานวนมากก็มี
“แผ่ นดินเหลือเท่ าฮอยไก้ (กระจง) ต้ นไม้ เท่ าลาเที ยน" ทุกอย่างทุกวันนี้ ทรัพยากรเหลือ
น้อยเต็มทีไม่รู้จะหันไปหากินหรื อพึ่งพาอะไรดี ยังคิดหนักใจอยูว่ า่ ต่อไปยิง่ จะต้องดินรนมากยิง่ ขึ้น

2. นิเวศชุ มชนบ้ านโนนดอกไม้ แดง


บ้านโนนดอกไม้แดงตั้งอยูท่ างทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ ของอําเภอสี สวย ห่ างจากตัวอําเภอ
ประมาณ 15 กิโลเมตร ที่ต้ งั หมู่บา้ นมีพ้ืนที่ประมาณ 160 ไร่ ชุมชนตั้งอยูบ่ นที่โนน มีที่ราบลุ่มริ ม
ห้วยทางด้านทิศเหนือจดบ้านหนองนํ้าใส ซึ่ งปัจจุบนั ใช้เป็ นพื้นที่ทาํ นาเกลือรวมพื้นที่ประมาณ 500
ไร่ (เฉพาะในเขตบ้านโนนดอกไม้แดงไม่รวมกับพื้นที่บา้ นหนองนํ้าใสซึ่ งเป็ นพื้นที่นาเกลื อผืน
ใหญ่ที่สุดในจังหวัดสกลนคร) สภาพทัว่ ไปเป็ นพื้นราบลุ่มมีสายห้วยขนาดเล็กเป็ นห้วยสาขาของ
หัวบ่อแดงไหลผ่านหมู่บา้ นและลําห้วยสายนี้ จะไหลไปบรรจบกับลําห้วยซาง ก่ อนจะไหลลงสู่
แม่น้ าํ สงครามที่บริ เวณตําบลซาง อําเภอบ้านม่วง ด้านทิศตะวันตกซึ่ งลักษณะเป็ นพื้นที่โคก โนน
บะ และที่ราบลุ่มริ มฝั่งห้วยขนาดเล็กมีลกั ษณะเป็ นพื้นที่ราบลอนคลื่นสู งๆ ตํ่าไปตามร่ องห้วยซึ่ ง
เป็ นลําห้วยสาขาของแม่น้ าํ สงคราม(ไหลไปสู่ แม่น้ าํ สงครามที่บริ เวณตําบลบ้านม่วง อําเภอบ้านดุง
จังหวัดอุดรธานี ) บริ เวณนี้ เป็ นพื้นที่การเกษตรนาข้าว ไร่ ขา้ ว สวนยางพารา สวนยูคาลิ ปตัส ที่
สําคัญที่สุดอยูบ่ ริ เวณที่ชาวบ้านเรี ยก "นาโคก" เป็ นส่ วนใหญ่ ด้านทิศใต้ของหมู่บา้ นจดกับพื้นที่นา
ข้าวริ มห้วยมะค่าโมงและจดกับพื้นที่นาข้าวของชาวบ้านดงบาก ด้านทิศตะวันออกมีลาํ ห้วยบ่อแดง
95

ไหลผ่านที่ชายหมู่บา้ นมีสภาพเป็ นนาเกลือ แต่เมื่อข้ามห้วยบ่อแดงไปจะเป็ นเขตแดนบ้านหนอง


ปลาหมัด ซึ่ งเป็ นพื้นที่ทุ่งนาข้าวซึ่ งเชื่อมโยงกับนาโคกและป่ าหัวไร่ ปลายนาที่ปัจจุบนั เริ่ มบุกเบิก
ปลูกยางพารา ยูคาลิปตัส และมันสําปะหลัง
พื้นที่นิเวศบ้านโนนดอกไม้แดงในปั จจุบนั จัดเป็ นที่โนนที่มีลาํ นํ้าสงครามล้อมรอบเป็ น
รู ปครึ่ งวงกลมแม้จะตั้งอยู่ห่างจากลํานํ้าสงครามประมาณ 10 กิ โลเมตร รอบๆ หมู่บา้ นมีลาํ ห้วย
ขนาดเล็ กเป็ นจํา นวนมากซึ่ งเป็ นสายห้วยสาขาของแม่ น้ าํ สงคราม ลํา ห้วยสํา คัญมี ตน้ ห้วยจาก
บริ เวณป่ าโคกด้านทิศตะวันตกแล้วไหลผ่านหมู่บา้ น และนาเกลือ คือห้วยมะค่าโมง ห้วยใหญ่ ห้วย
วังขอนจาน ห้วยวังงัวน้อย ลําห้วยตาด ซึ่งไหลรวมลงไปในลําห้วยบ่อแดงทางด้านทิศตะวันออกอีก
ด้านหนึ่ งมีลาํ ห้วยที่ไหลผ่านพื้นที่การเกษตร เป็ นลําห้วย ขนาดเล็กที่เกิ ดจากโคกเนิ นต่างๆ แล้ว
ไหลไปสู่ ลาํ นํ้าสงครามทางด้านทิศตะวันตกของหมู่บา้ น (รายละเอียดตามภาพที่ 4)
ตารางที่ 3 ลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินในบ้านโนนดอกไม้แดง

ลักษณะการใช้ ประโยชน์ ที่ดนิ พืน้ ที่โดยประมาณ (ไร่ )


ทํานานํ้าฝน 2,000
ทําข้าวไร่ 23
ทําสวน 800
อยูอ่ าศัย 160
ทํานาเกลือที่ชาวบ้านโนนดอกไม้แดงเป็ นเจ้าของที่ดิน 38
ทํานาเกลือที่นายทุนจากภายนอกเป็ นเจ้าของที่ดิน 477

ในหมู่บา้ นมีการจัดการแหล่งนํ้าเพื่อการอุปโภคบริ โภคโดยมีระบบประปาหมู่บา้ นที่ได้


นํ้าดิบจากสระนํ้าบริ เวณยอดห้วยมะค่าโมงทางด้านทิศใต้ของหมู่บา้ นเป็ นบ่อดินขุดพื้นที่ประมาณ
4 ไร่ ลึกโดยเฉลี่ยประมาณ 4 เมตร สามารถเก็บนํ้าไว้ใช้ภายในหมู่บา้ นได้ตลอดปี ทั้งนี้ มีครัวเรื อนที่
ใช้น้ าํ ประปาทั้งสิ้ น 115 ครัวเรื อน นอกจากนี้ ยงั มีบ่อนํ้าบาดาลสาธารณะ 2 แห่ งแต่ชาํ รุ ดทั้งสองบ่อ
และรอบบริ เวณหมู่บา้ นยังมี ฝายและทํานบกั้นนํ้าไว้ใช้เพราะปลูกและเลี้ ยงสัตว์ในฤดูแล้งรวม 7
แห่ง ได้แก่ฝายใต้ดอนปู่ ตา ฝายเหนือดอนปู่ ตา ฝายมิยาซาวาห้วยมะค่าโมง ทํานบกรมพัฒนาที่ดิน
ในห้วยมะค่าโมง (ใต้บ่อประปา) สระวังม่วง 2 สระ และทํานบห้วยบ่อแดงซึ่ งเป็ นทํานบที่สร้าง
ขึ้นมาใหม่เพื่อป้ องกันนํ้าเค็มจากนาเกลือเมื่อประมาณ 2 ปี ที่ผานมา นอกจากนี้ พบว่ามีครอบครัวที่
96

ใช้น้ าํ บาดาลโดยขุดบ่อบาดาลไว้ใช้ในครัวเรื อน 3 ครัวเรื อนซึ่ งเป็ นนํ้าจืดที่ค่อนข้างกร่ อย


ชุมชนบ้านโนนดอกไม้แดงมีพ้ืนที่ ที่เป็ นที่ต้ งั หมู่บา้ นประมาณ 160 ไร่ นอกจากนั้นจะ
เป็ นพื้นที่เกษตรกรรมทํานาข้าวซึ่ งเป็ นนานํ้าฝนทั้งสิ น 2,000 ไร่ พื้นที่สวน 800 ไร่ พื้นที่ทาํ ข้าวไร่
23 ไร่ (รายละเอียดในตารางที่ 3) และพื้นที่ป่าสาธารณประโยชน์ 3 แห่ง ได้แก่ ป่ าช้า 17 ไร่ ป่ าปู่ ตา
7 ไร่ ป่ าวังม่วง - ห้วยใหญ่ประมาณ 15 ไร่
2.1 นิเวศชุ มชนก่ อนการพัฒนาอุตสาหกรรมเกลือ
ลักษณะนิเวศของบ้านโนนดอกไม้แดงมี 2 แบบ ได้แก่แบบพื้นที่ราบลุ่มนํ้าท่วมสลับที่
ลาดเนิ น หมายถึ งบริ เวณบะดอกไม้แดงซึ่ งเป็ นที่ต้ งั ชุ มชนเดิ ม เป็ นพื้นที่ที่เคยมีระบบนิ เวศแบบ
‚โคก - ทาม‛ หรื อบางทีก็เรี ยกว่า ‚บะ‛ ซึ่ งเป็ นพื้นที่ที่มีลกั ษณะเป็ นที่ลาดค่อนข้างเนิ นผสมกับ
พื้นที่ลุ่มนํ้าท่วม ซึ่ งได้รับอิทธิ พลจากนํ้าหลากขึ้นมาจากลําห้วยบ่อแดง ห้วยใหญ่ ห้วยมะค่าโมง ซึ่ ง
เป็ นสายห้วยสาขาของลําห้วยซางที่เชื่อมต่อไปยังแม่น้ าํ สงครามเมื่อถึงฤดูฝนนํ้าจากโคกเนินจะไหล
ลงเติมในลําห้วยต่าง ๆ ขณะที่น้ าํ จากลําห้วยก็มีระดับสู งขึ้นเพราะอิทธิ พลจากแม่น้ าํ ใหญ่ทาํ ให้เกิด
นํ้าหลากขึ้นท่วมพื้นที่โคกในบางครั้ง พื้นดินจึงขังนํ้า ประกอบด้วยบริ เวณบะจะมีไม้ยืนต้น พวก
บางเหี ยน หรื อพลวง ขึ้นอยูท่ ว่ั ไปโดยเฉพาะเหี ยน นอกจากนี้ ยงั มีร่องนํ้า หรื อฮ่องห้วย หลายสาย
ไหลผ่าน ได้แก่ ฮ่องดู่ ห้วยวังขอนจาน ห้วยงัวน้อย เป็ นต้น
ในบริ เวณใกล้เคียงกับบ้านโนนดอกไม้แดง ลักษณะนิเวศแบบ ‚บะ‛ หรื อ ‚โคกทาม‛
เช่ นนี้ ยัง เหลื อสภาพให้ เห็ น อยู่บ ริ เวณริ ม ฝั่ ง ห้วยบนพื้นที่ อาํ เภอบ้า นม่ วง และอํา เภอคํา ตากล้า
จังหวัดสกลคร ในอดี ตการบุ กเบิกพื้นที่เพื่อทํานาข้าว หรื อ ‚ซ่ าวนา‛ นั้นจะไม่ตดั ไม้ยืนต้นออก
หมดแต่จะยังเหลื อไว้เป็ นร่ มเงาเพื่อชะลอนํ้า ลักษณะเช่ นนี้ ชาวบ้านเรี ยกว่า ‚นาบะ‛ (ภาพที่ 6)
ลักษณะนิเวศเช่นนี้ยงั มีให้เห็นอยูท่ ว่ั ไปในพื้นที่ลุ่มนํ้าสงครามบริ เวณนี้
นอกจากลักษณะโคกทามหรื อบะแล้วยังมีลกั ษณะนิ เวศอีกแบบ ได้แก่พ้ืนที่ราบริ มฝั่ง
ห้วยต่างๆ จะมี สภาพพื้นที่ เป็ น “ป่ าบุ่งป่ าทาม” ที่พรรณไม้ที่ข้ ึนในพื้นที่ราบนํ้าท่วมถึ ง เช่ น ท่ม
เปื อยนํ้า ไผ่กะซะ เป็ นต้น ซึ่ งเชื่อมต่อกับบะ แล้วเชื่อมต่อกับโคก หรื อ โนนอันเป็ นที่ต้ งั หมู่บา้ นใน
ปั จจุบนั เมื่อฝนตกนํ้าจะไหลผ่านลงมาจากไปยังบะ ซึ่ งจะมีหนองนํ้ากระจายอยู่แล้วไหลเรื่ อยไป
ผ่านไปยังทาม ขังอยูต่ ามแอ่ง หรื อ หนองนํ้า ที่กระจายอยูใ่ นป่ าทาม แล้วลงไหลโยงใยไปตามสาย
ห้วย สู่ น้ าํ สงครามสายหลักต่อไป
การใช้ประโยชน์พ้ืนที่นิเวศโคก บะ และทาม บริ เวณรอบชุ มชนบ้านโนนดอกไม้แดง
นั้น เมื่อประมาณ 30 – 35 ปี ก่อนหน้าที่จะเปลี่ยนสภาพเป็ นนาเกลือพื้นที่บริ เวณนี้เป็ นแหล่งทํานา
97

ข้าว แหล่ งเลี้ ยงวัวควายในฤดู แล้ง และเก็บหาอาหารได้ตลอดทั้งปี เช่ น ในช่ วงฤดูฝนนํ้าหลาก


บริ เวณป่ าทามริ มฝั่งห้วยจะเป็ นแหล่งที่ปลาจากลํานํ้าสงครามสายหลักจะอพยพเข้ามาวางไข่ ขณะที่
ที่บริ เวณบะ หรื อโคกทามจะเป็ นแหล่งที่กบเขียดชุ กชุ มมากสามารถหากิ นได้อย่างสบาย ขณะที่
บริ เวณห้วยหนองต่าง ๆ ในทุ่งดอกไม้แดงนั้นจะเป็ นพื้นที่หาปลาได้ในฤดูแล้งด้วย เมื่อนํ้าเริ่ มแห้ง
งวดลง นอกจากนี้ บริ เวณนี้ ยงั เป็ นแหล่งนํ้าดืม โดยสามารถขุดบ่อนํ้าตื้นเพียงไม่กี่เมตรแล้วคอยนํ้า
ซับ ไหลออกมาเป็ นนํ้า สะอาดใช้ดื่ม ได้ นอกจากนี้ ท ามยัง มี พื ช พรรณต่ า ง ๆ ที่ เป็ นอาหาร เช่ น
หน่อไม้ ผักกระโดน ผักไคหางนาค ฯลฯ รวมทั้งในบะ เช่น ผักเม็ก ผักหูลิง เป็ นที่หาเห็ด เป็ นต้น

ภาพที่ 4 แผนที่สงั เขปแสดงระบบนิเวศชุมชนบ้านโนนดอกไม้แดง


ที่มา: ปรับปรุ งจากแผนที่นิเวศชุมชน ที่วาดจากการสนทนากลุ่ม กรรมการหมู่บา้ นโนนดอกไม้แดง ณ ที่
ทําการผูใ้ หญ่บา้ น, 20 กรกฎาคม 2554

ลัก ษณะนิ เวศแบบที่ ส องคื อ พื้นที่ ด้า นทิ ศ ตะวันตกของหมู่บ ้า น มี ล ัก ษณะเป็ นพื้น ที่
‚โคก‛ หรื อ ‚ดง‛ หมายถึงพื้นที่สูงนํ้าท่วมไม่ถึง บริ เวณนี้เคยเป็ นป่ าไม้ใหญ่มีท้ งั ที่เป็ นป่ าโคก หรื อ
98

ป่ าเต็งรัง มีสภาพหน้าดินเป็ นดินลูกรัง ชาวบ้านจะเรี ยกนิเวศแบบนี้ วา่ ‚โคก‛ ซึ่ งบางที่มีสภาพเป็ น


ป่ าเบ็จพรรณ หรื อ ป่ าดิบแล้ง ชาวบ้านเรี ยกสภาพป่ าแบบนี้วา่ ‚ดง‛ มีหน้าดินเป็ นดินร่ วนปนทราย

ภาพที่ 5 (ซ้าย) ลักษณะนิเวศแบบ ‚โคก - ทาม‛ ถ่ายจากอําเภอศรี สงคราม จังหวัดนครพนม


ภาพที่ 6 (ขวา) ลักษณะของ ‚นาบะ‛ บริ เวณอําเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร
พื้นที่สูงเหล่านี้จดั เป็ นแหล่งเก็บหาของป่ า เช่น เห็ด ผักหวาน ไข่มดแดง ดอกกระเจียว เป็ น
ต้น และยัง เป็ นแหล่ ง ล่ า สั ต ว์ แต่ ภ ายหลัง จากเหตุ ก ารณ์ ค วามขัด แย้ง ทางการเหมื องบริ เวณนี้
กลายเป็ นป่ าสัมปทาน และจัดสรรให้แก่เกษตรกรในภายหลัง และเป็ นพื้นที่ที่ชาวบ้านที่ขายที่นา
ให้กบั กลุ่มทํานาเกลือแล้วไปซื้ อหรื อบุกเบิกพื้นที่เป็ นนาโคก ทั้งนี้มีพ้นื โคกหรื อโนนส่ วนหนึ่ งที่ใช้
เป็ นที่ต้ งั หมู่บา้ นในปั จจุบนั (รายละเอียดในภาพที่ 4 )
พื้นที่นิเวศแบบโคกหรื อดงนี้ ถือเป็ นแหล่งต้นนํ้าของสายห้วยและแม่น้ าํ สงคราม เป็ น
พื้นที่ที่ป่าพลัดใบเขตร้อน ที่มีพนั ธุ์พืชที่หลากหลายทั้งนิ ดพันธุ์และปริ มาณ เป็ นแหล่งพืชอาหาร
แหล่งไม้ใช้สอย แหล่งเลี้ยงสัตว์ และแหล่งพืชสมุนไพร โดยในดง หรื อโคกนั้นจะมีหนองนํ้าหรื อ
ทุ่งหญ้าแพ็ก แทรกสลับ ที่เนิ นเหล่ านี้ ไม่ได้แยกอยู่โดดแต่เชื่ อมโยงเข้ากับระบบนิ เวศแบบอื่น ๆ
ด้วยสภาพพื้นที่เป็ นลอนสู งตํ่า มีหนองนํ้า หรื อวังนํ้าที่มีน้ าํ ขังตลาดปี ใช้ บะหรื อพื้นที่เก็บซับนํ้ามี
ความชุ่มชื้นสู งกว่าโคกทัว่ ไป เช่น บะนกเขียน บะหัวหล่อน ซึ่ งเชื่อมต่อกับลําห้วย ฮ่องนํ้าต่าง ส่ วน
ดงพะลาด ดงไร่ ดงแข้ ดงขาม โคกหนองแต้ หรื อดงน้อย ซึ่ งถือเป็ นสันแบ่งนํ้าที่บงั คับนํ้าไหลมา
ด้านทิศตะวันออก ลงสู่ ที่ลุ่มของหมู่บา้ น ถือเป็ นต้นห้วยสาขาของลําห้วยบ่อแดง เช่น ห้วยวัวน้อย
ห้วยวังขอนจาน ห้วยมะค่าโมง เป็ นต้น ขณะที่ดา้ นทิศตะวันตกก็บงั คับนํ้าให้ไหลสู่ ลาํ ห้วยสาขา
และลงสู่ น้ าํ สงครามที่บริ เวณอําเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี
99

ภาพที่ 7 ป่ าทามริ มห้วย บริ เวณห้วยซาง ก่อนบรรจบแม่น้ าํ สงคราม อําเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร


ภาพที่ 8 สภาพการปนเปื้ อนนํ้าเค็มที่หว้ ยบ่อแดง บริ เวณที่ไหลผ่านนาเกลือบ้านโนนดอกไม้แดง

2.2 นิเวศชุ มชนหลังการพัฒนาอุตสาหกรรมเกลือ


เมื่อประมาณ 30 ที่ผ่านลักษณะนิ เวศชุ มชนที่กล่าวมาข้างต้นได้เปลี่ยนแปลงไปอย่าง
สิ้ นเชิงภายหลังการเข้ามาของอุตสาหกรรมเกลือ ทาม โคกทาม และบะ บริ เวณบะดอกไม้แดง หรื อ
ทุ่งดอกไม้แดง ซึ่ งเป็ นพื้นที่นาข้าว และแหล่งหาอยูห่ ากินหลังของชุมชนได้เปลี่ยนเป็ นโรงต้มเกลือ
ในระยะแรก และถูกไถเบิกปรับเป็ นนาเกลือ ทั้งหมดโดยกลุ่มนักลงทุนจากภายนอกชุ มชน ที่เข้า
มากว้านซื้ อที่ ดิน ระบบฮ่อง ห้วย หนองนํ้า บะโคก ทาม และลําห้วยเดิ ม สิ้ นสภาพอย่างสิ้ นเชิ ง
ภายในใน 1 - 5 ปี ต่อมาก็กลายสภาพเป็ นนาเกลือทั้งหมดในบริ เวณด้านทิศเหนื อและด้านทิศ
ตะวันออกของหมู่บา้ นไม่อาจจะเข้าไปใช้ประโยชน์อย่างอื่นได้ ทําให้ปัจจุบนั ชาวบ้านหันไปใช้
ประโยชน์จากพื้นที่นิเวศโคก ทางทิศตะวันตกของหมู่บา้ นเป็ นหลัก ทั้งเป็ นนาข้าว ที่เลี้ยงสัตว์ และ
เก็บหาของป่ า เช่นการหาเห็ด กบ เขียด ในทุ่งนา และตามแหล่งนํ้าในฤดูฝน เป็ นพื้นที่หาผักหวาน
ดอกกระเจียว กิ่ งก่า นก หนู ฯลฯ ในฤดูแล้ง สภาพพื้นที่เป็ นทุ่งนาสลับกับป่ าหัวไร่ ปลายนาที่ยงั
หนาแน่ น และกําลังมีการบุกเบิกพื้นที่ป่าเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่ น ยูคาลิตสั หรื อ ยางพารา โดย
ว่าจ้างรถแทร็ กเตอร์ ไถเบิกป่ าออก แล้วใช้เป็ นพื้นที่ปลูกข้าวไร่ ในช่วง 1 – 3 ปี แรกแล้วค่อยปรับไป
ปลู ก ยางพาราหลัง จากดิ น จื ด ให้ ผลิ ตข้า วลดลง ส่ วนพื้ น ที่ ด งพะลาด ที่ อยู่ห่า งพื้ นที่ ท าํ กิ น ของ
100

ชาวบ้านออกไปนั้นปั จจุบนั ถูกบุกเบิกเป็ นพื้นที่ปลูกยางพาราโดยชาวบ้านจากหมู่บา้ นอื่น ๆ มีป่า


เหลือเพียงเล็กน้อย

ภาพที่ 9 ข้าวไร่ ที่เพิ่งหว่านบริ เวณป่ าโคก ภาพที่ 10 นาโคกและป่ าโคกหัวไร่ ปลายนา


3. ระบบการคมนาคม
บ้านโนนดอกไม้แดงอยูห่ ่างจากอําเภอสี สวยประมาณ 13 กิโลเมตร และอยูห่ ่ างจากจังหวัด
สกลนครประมาณ 90 กิ โลเมตร มีถนนลูกรังตัดแยกออกจากทางหลวงระหว่างอําเภอสาย 2092
ประมาณ 3 กิโลเมตรเป็ นถนนเข้าหมู่บา้ นเส้นนี้ขรุ ขระมาก เต็มไปด้วยหลุมบ่อเพราะมีรถบรรทุก
เกลื อวิ่ง เข้าออกจํา นวนมากตลอดปี โดยเฉพาะฤดู กาลผลิ ตเกลื อ จนชาวบ้านสัญจรไปมาได้ไ ม่
สะดวก ในฤดูฝนถนนลื่นเป็ นหลุมบ่อ เต็มไปด้วยโคลน ในฤูดูแล้งที่ผลิตเกลือเข้มข้นรถบรรทุกวิ่ง
มากเกิดการฟุ้ งกระจายของฝุ่ นดิน และฝุ่ นเกลือ ทําให้ตอ้ งเลี่ยงไปใช้เส้นทางสาย 4015 ที่ออ้ มไป
ไกล นอกจากนี้ยงั สามารถเข้าถึงหมู่บา้ นได้ทางถนนสายสว่างแดนดิน – บ้านม่วง โดยมาเลี้ยวซ้ายที่
แยกบ้านหนองแวง บ้านหนองปลาหมัด ซึ่ งเส้นทางนี้เป็ นถนนลาดยางมาจนถึงบ้านหนองปลาหมัด
แล้วต่อจากนั้นจะเป็ นถนนลูกรังเชื่ อมต่อกับบ้านโนนดอกไม้แดง หมู่บา้ นนี้ ไม่มีรถประจําทางหาก
ต้องการจะเข้าไปที่จงั หวัดสกลนครจะต้องขับรถจักรยานยนต์ไปขึ้นรถบัสประจําทางที่อาํ เภอซึ่ งจะ
วิ่งไปกลับประมาณวันละประมาณ 3 เที่ยวใช้เวลาเดินทางประมาณ 3 – 4 ชัว่ โมงค่าโดยสาร
ประมาณ 60 บาท หรื ออีกทางหนึ่ งมีรถสองแถวจากหมู่บา้ นใกล้เคียง 2 คันวิ่งผ่านในตอนเช้าตรู่
ประมาณ 6.00 – 7.00 น. เข้าไปที่อาํ เภอสว่างแดนดินระยะทางประมาณ 30 กิโลเมตรค่าโดยสาร
ประมาณ 25 บาท และกลับมาประมาณเที่ยงวันหรื อบ่าย ดังนั้นชาวบ้านจึงนิยมมีจกั รยานยนต์ และ
หากจําเป็ นต้องเดินทางไปจังหวัดสกลนครเร่ งด่วนจะจ้างเหมารถปิ๊ กอัพซึ่ งคิดราคาประมาณ 1,000
– 1,200 บาท
101

ภาพที่ 11 แผนผังแสดงที่ต้ งั บ้านเรื อนในชุมชนบ้านโนนดอกไม้แดง


ที่มา: ปรับปรุ งมาจาก แผนพัฒนาหมู่บ้านโนนดอกไม้ แดง. (ม.ป.ท.,2551), 5
4. อาชีพและการทามาหากินของชาวโนนดอกไม้ แดง
บ้านโนนดอกไม้แดงมีประชากรทั้งสิ้ น 209 ครัวเรื อน มีประชากรทั้งสิ้ น 919 คน เป็ น
ชาย 469 คน เป็ นหญิง 450 คน (ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ ปี 2553) ซึ่ งสามารถจําแนกตามลักษณะการ
ประกอบอาชีพ ได้แก่

อาชีพทํานา 150 ครัวเรื อ


อาชีพทําสวน 10 ครัวเรื อ
อาชีพรับจ้างทัว่ ไป 20 ครัวเรื อน
อาชีพค้าขาย 7 ครัวเรื อน
อาชีพเลี้ยงสัตว์ 49 ครัวเรื อน
(รวมมีววั ควายประมาณ 150 ตัว เป็ ด–ไก่ประมาณ 1,200 ตัว)
จากการสํารวจข้อมูลพบว่าชาวบ้านโนนดอกไม้แดงมีอาชี พรับจ้างทํางานในนาเกลือ 69
ครัวเรื อนแต่ละครัวเรื อนอาจจะมีสมาชิกทํางานนาเกลือประมาณ 1-2 คนหรื อมากกว่ารวมแล้วคนที่
ทํานาเกลื อประมาณ 121 คนหรื อคิดเป็ นร้อยละ 33 ของจํานวนครัวเรื อนทั้งหมด นอกจากนี้ มี
102

ชาวบ้านโนนดอกไม้แดงที่มีอาชี พเช่ าที่นาเกลือ และมีฐานะเป็ น ‚ลูกนา‛ ให้กบั เจ้าของที่ดินหรื อ


พ่อค้าเกลือ หรื อรับจ้างเจ้าของนาเกลือรายใหญ่ 6 ครัวเรื อนคิดเป็ นร้อยละ 3 ของจํานวนครัวเรื อน
ทั้งหมด รวมพื้นที่ประมาณ 155 ไร่ ที่เช่าจากเจ้าของที่ดินต่างถิ่นคิดเป็ นร้อยละ 27 ของพื้นที่ทาํ นา
เกลือทั้งหมดในหมู่บา้ น ทั้งนี้ จะได้แจกแจงรายละเอียดไว้ในตารางจํานวนผูผ้ ลิตเกลือในเขตพื้นที่
บ้านโนนดอกไม้แดง(รายละเอียดในตารางที่ 8) ซึ่ งจะกล่าวต่อไป
ชาวบ้านโนนดอกไม้แดงที่มีที่ดินส่ วนใหญ่ในหมู่บา้ นซึ่ งเป็ นที่อยูอ่ าศัยนั้นชาวบ้านจะ
ถือครองที่ดินครอบครัวละประมาณ 1/2 - 2 ไร่ ซึ่ งลักษณะการถือครองคือ นส.3 หรื อโฉนดรวม
แล้วประมาณ 160 ไร่ ท้ งั หมู่บา้ น ส่ วนพื้นที่ ทาํ กิ นเป็ นพื้นที่เกษตรกรรม นาข้าว ไร่ ข ้าว สวน
ยางพารา สวนยูค าลิ ปตัส เป็ นต้น ที่ ส่วนใหญ่เป็ นพื้ นที่ สปก.4-01 ซึ่ งเป็ นพื้นที่ ที่เคยผ่า นการ
สั ม ปทานป่ ามาก่ อ น แม้จ ะเป็ นที่ ดิ น เดิ ม ถื อ ครองทํา กิ น มาตั้ง แต่ ส มัย บรรพบุ รุ ษ แต่ เ มื่ อ รั ฐ มา
ประกาศเขตป่ าสงวนทําให้ที่ดินของชาวบ้านส่ วนใหญ่ตกเป็ นพื้นที่ สปก. 4-01 ภายหลังการปฏิรูป
ที่ดินสําหรับเกษตรผูย้ ากไร้ โดยประมาณ 70 ครัวเรื อนซึ่ งเป็ นครัวเรื อนดั้งเดิมและที่ทาํ กิ นเหล่านี้
อยูห่ ่ างจากหมู่บา้ นออกไปประมาณ 1,200 เมตรโดยจะถือครองที่ดินประมาณ 20 – 50 ไร่ และ
นอกจากนี้ ครอบครัวใหม่ที่ยงั ทํากินอยู่ในที่ไร่ นาของพ่อแม่ที่เป็ นครอบครัวดั้งเดิมอีกประมาณ 40
ครอบครัวที่ยงั ไม่มีสิทธิ ในที่ดินตามกฎหมายแต่พ่อแม่ก็แบ่งที่นาที่ดินให้ทาํ กินอยูใ่ นปั จจุบนั ส่ วน
ครัวเรื อนอีกประมาณ 25 – 30 ครัวเรื อนที่มีที่ทาํ กิ นที่อยูร่ อบ ๆ หมู่บา้ นในรัศมีประมาณ 500 –
1,000 เมตร แม้ว่าครอบครั วเหล่ านี้ จะเป็ นครอบครัวดั้งเดิ มและทํากิ นในพื้นที่ดงั กล่ าวมาเป็ น
เวลานานแต่ไม่มีเอกสารสิ ทธิ ใด ๆ แม้กระทั้ง สปก. 4-01 ขณะนี้ กาํ ลังอยู่ในขั้นสํารวจแนวเขตว่า
พื้นที่ดงั กล่าวเป็ นพื้นที่ สปก. หรื อพื้นที่ป่าสงวนเพื่อจะจัดการปัญหาเรื่ องสิ ทธิในที่ดินของราษฎรที่
ถือครองตามประเพณี สืบต่อกันมานาน นอกจากนี้ ยงั มีราษฎรอีกประมาณ 20 ครัวเรื อนที่มีอาชี พ
รับจ้างและไม่มีที่ดินทํากินต้องเช่าที่ทาํ นา(นายวรวัฒน์ จันทร์ตระกูล, [นามสมมุติ]. (2554.)
5. ความสั มพันธ์ ทางสั งคมและชาติพนั ธุ์
ชุ มชนบ้านโนนดอกไม้แดง เริ่ มก่อตั้งเป็ นชุ มชนชาวนาของชาวโซ่ ต่อมามีการอพยพ
เข้ามาของชนกลุ่มอื่น ๆ จนมีความหลากหลายทางชาติพนั ธุ์ที่เกิดการผสมกลมกลืนกันจนปั จจุบนั
ไม่อาจจะแยกแยะได้ชดั เจนว่าใครมาจากกลุ่มชาติพนั ธุ์ใด แต่เมื่อสนทนากลุ่มและซักถามประวัติ
ความเป็ นมาสามารถพิจารณาจนลักษณะของกลุ่มชาติพนั ธุ์ของกลุ่มคนต่าง ๆ ที่เข้ามาจะผ่านระบบ
ครอบครัวและความเป็ นเครื อญาติ ซึ่ งอพยพติดตามกันเข้ามาตั้งรกรากที่หมู่บา้ นนี้ได้แก่
กลุ่มชาติพนั ธุ์โซ่ จากลุ่มนํ้าอูน เป็ นกลุ่มเครื อญาติซ่ ึ งมีระบบความสัมพันธ์ที่แน่ นแฟ้ น
เมื่อเทียบกับกลุ่มอื่นๆ ในหมู่บา้ นเพราะเป็ นกลุ่มที่เข้ามาตั้งรกรากเป็ นกลุ่มแรก และในภายหลังมีผู้
103

ที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างเขื่อนนํ้าอูนอพยพตามญาติพี่นอ้ งมาอยูเ่ พิ่มเติมอีกจํานวนหนึ่ ง บ้าน


เดิ มของชนชาวโซ่ เหล่านี้ อยู่ริมฝั่งแม่น้ าํ อูน ในระยะแรกกลุ่มชาวโซ่ กลุ่มแรกที่อพพยเข้ามาก่อตั้ง
ชุมชนก็เพื่อแสวงหาพื้นที่ที่ ‚หมัดรึ ‛ หรื อพื้นที่ดินดํานํ้าชุมเหมาะแก่การทําไร่ ทาํ นา เก็บหาอาการ
ส่ ว นกลุ่ ม ชาวโซ่ ที่ อ พยพมาภายหลัง เป็ นกลุ่ ม ที่ จ ํา ต้อ งย้า ยมาอยู่ที่ นี่ เ พราะที่ ดิ น ทํา กิ น ได้รั บ
ผลกระทบจากการสร้างเขื่อนนํ้าอูน ทําให้น้ าํ ท่วม จึงตัดสิ นใจย้ายมาอยูก่ บั ญาติชาวโซ่ที่มาอยูก่ ่อน

ตารางที่ 4 ปฏิทินการทํางานเกษตรกรรมและงานทัว่ ไปในชุมชนบ้านโนนดอกไม้แดง

กิจกรรม ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
เกษตรกรรม
นาข้าว เกี่ยว ไถ หว่าน ปั กดํา ปั กดํา ดูแล เกี่ยว
สวนยาง
สวนมัน
พืชผัก
หาปลา
เลี้ยงสัตว์
การทาอาชีพอืน่ ๆ
ค้าขาย
รับจ้าง
ร้านตัดผม
โรงสี ขา้ ว
หัตถกรรม
อพยพแรงงาน

ทํางานเต็มเวลา
ทํางานไม่เต็มเวลา
104

พ่อกับแม่ตดั สิ นใจย้ายมาจากบ้านเก่ามาจับจองซื้ อที่ ในบริ เวณที่ มีดงหนาป่ ากว้างเพื่อ


บุกเบิกทํากิน ตอนยุคที่พ่อของตนย้ายมาที่นี่เป็ นกลุ่ม 7 ครอบครัวแรกเพราะหมายตาที่ดินที่
ยังเป็ นดงช้างป่ าเสื อที่ยงั ว่างเปล่าพากันเดินเท้าจากบ้านเดิมมาสองวันมาพักที่สว่างแดนดินคืน
หนึ่ งแล้วเดินต่อแต่เช้ามืดอีกวันหนึ่ งจนมาถึง 'บะดอกไม้แดง' ประมาณคํ่า ตอนนั้นแต่งงาน
แล้วอายุ 17 ปี ก็อพยพมา ตอนนั้นยังเป็ นพื้ นที่ ที่เต็มไปด้วยสัตว์ป่ามากมาย กระต่ าย มัง่
ออกมาหากินเหมือนฝูงควาย ช้าง เสื อ ก็ยงั มีเต็มป่ า แต่ก่อนมาก็จบั ที่ บุกเบิ กทําไร่ ทํานา หา
กินตามห้วยมะค่า ห้วยใหญ่ ซึ่ งล้วนไหลไปห้วยบ่อแดงและไหลต่อไปบรรจบแม่น้ าํ สงคราม
ในยามแล้งคนในหมู่บา้ นนิ ย ม ออกไปหากิ นที่ ป่ าทามนํ้าสงคราม ไปหาหน่ อไม้ หน่ อข่ า
ผักหนาม หาปลา ตามป่ ากะซะ ช่วงเดือนห้าเดือนหกชาวบ้านจะรวมกลุ่มกันเพื่อเดินทางด้วย
เกวียนเป็ นคาราวานไปหากินที่ริมฝั่งสงคราม ปี หนึ่ งราว 3- 4 ครั้งในการไปหากินนํ้าสงคราม
บางทีก็ข้ ึ นไปดงพะลาดไปหาของป่ าล่าสัตว์หาของป่ า (นางบัวงาม รวยลีลา, [นามสมมุติ].
(2554.)
“บ้านโนนดอกไม้แดง” ชื่ อเดิมคือ ‚บ้านบะดอกไม้แดง‛ เพราะที่ทา้ ยหมู่บา้ นด้านทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือมีทุ่งนาที่เต็มไปด้วยต้นดอกไม้แดงขนาดใหญ่คนสองคนโอบ เมื่อหน้าแล้งทุ่ง
ทั้งทุงมองไปสี แดงด้วยดอกดอกไม้แดงที่บางเต็มไปหมด บรรดาผูห้ ญิงในหมู่บา้ นสมัยนั้นล้วนเคย
ได้ไปขุด "นํ้าบ่อสร้าง" หรื อบ่อนํ้าตื้นที่ขุดลึกประมาณ 1- 3 เมตร เลาะลําห้วยบ่อแดงแล้วคอยให้
นํ้าซับไหลเต็มบ่อก็ค่อยตักนํ้ามาไว้ใช้ดื่มในบ้านเรื อน เพิ่งจะเลิกตักนํ้าบ่อสร้างหลังนาเกลือเข้ามา
และตอนนี้ น้ าํ ดื่ มต้องอาศัยนํ้าฝน ถ้าไม่พอก็ตอ้ งซื้ อ โดยจะมีรถมาส่ งเป็ นถัง ๆ หรื อบางคนก็ใช้
วิธีการซื้ อนํ้าจากรถบรรทุกนํ้าขายมากเก็บใส่ โอ่งแดง ไว้ดื่มตลอดปี
คนยุคแรกที่มาก็นิยมบุกเบิก "ซาวนา" ริ มห้วยทําเป็ นนาทุ่งกันทั้งนั้น จะไปจับจองโคก
ไม่ได้เพราะช้าง เสื อ ลิง จะมากิ นทําลายพืชพรรณที่ปลูกไว้ ต่อมาสํารวจพบเกลือใต้ผืนทุ่งที่
ตอนนั้นก็ปลูกข้าวงามสมบูรณ์ ดีมาก เมื่ อมีนายทุ นเริ่ มมาทํานาเกลื อ นาที่ เหลือก็โดนเกลื อ
กลายเป็ นลานเกลือ ไม่สามารถปลูกข้าวได้ก็จาํ เป็ นต้องพากันขายย้ายที่ ไปบุกเบิ กทํานาผืน
ใหม่ตามโคก บ้างก็ไปซื้ อที่ นาแปลงใหม่ แต่ ตอนนั้นโคกก็เป็ นเขตป่ าสงวนและหลังเปิ ด
สั ม ปทานตัด ป่ าก็ ก ลายเป็ นเขตป่ าเสื่ อ มโทรมก็ มี ก ารจัด แบ่ ง กลายเป็ นพื้ น ที่ จัด สรรเพื่ อ
เกษตรกร (สปก. 4-01) มาจนปั จจุบนั ส่ วนใหญ่จะได้รับจัดสรรที่ดินครอบครัวละประมาณ
50 ไร่ และตอนนี้ ก็แบ่งให้ลูกหลานทํากิ นคนละนิ ดละหน่ อย (นางบัวงาม รวยลีลา, [นาม
สมมุติ]. (2554 )
105

กลุ่มชาวลาวจากลุ่มนา้ อูน เป็ นอีกกลุ่มชนหนึ่งซึ่ ง ย้ายมาจากบ้านเก่าคือบ้านหนองบัว


อําเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร ตั้งอยูค่ นละฝั่งแม่น้ าํ อูนตรงข้ามกับบ้านชนเผ่าโซ่ที่เคยย้ายมาอยูท่ ี่
บ้านโนนดอกไม้แดงก่อนหน้านี้เลยได้ข่าวกันว่าที่นี่ "ไฮ่หนานาดีโคกกว้างป่ าขวาง" จึงย้ายมา
เพราะมีญาตจากบ้านเดิมเคยมาอยูท่ ี่นี่ก่อนแล้ว

เกิดที่บา้ นหนองบัว อําเภอพังโคน แล้วย้ายมาอยูบ่ า้ นโนนดอกไม้แดงนี้ เพราะตามญาติ


ชาวโซ่ ที่ มาอยู่ก่อ น มาจับ จองที่ ทาํ ไร่ ท ํา นา ที่ ต ้องอพยพมาจากบ้า นเดิ มก็ เ พราะที่ นาใน
หมู่บา้ นเดิมนํ้าท่วมหลังสร้างเขื่ อนนํ้าอูน เหลือที่ ดินเล็กน้อยทํานาไม่พอกิ น ได้รับค่าชดเชย
4,000 บาทจึงนําเงินนั้นมาติ ดต่อซื้ อที่ดินในพื้นที่บา้ นโนนดอกไม้แดง ซึ่ งใช้ทาํ นาข้าวเลี้ยง
ปากเลี้ยงท้องคนในครอบครัวมาจนปั จจุบนั คนบ้านโนนดอกไม้แดงตอนนี้ นอกจากชาวโซ่
ที่มาชุ ดแรก แล้วชาวโซ่ และลาวจากลุ่มนํ้าอูนก็ยา้ ยมาเพิ่มเติ มหลังสร้างเขื่ อนนํ้าอูนแล้วนํ้า
ท่วมก็ตามญาติมาจับจองซื้ อที่ดิน ต่อมามี 'ไทครัว' คือคนเผ่าต่าง ๆ หลายเผ่าย้ายมาเพิ่มเติ ม
เช่ น กลุ่มไทลาวที่ มาจาก ดงหลวง มุกดาหาร หรื อ บางกลุ่มมาจากอุดรธานี แต่กลุ่มใหญ่มา
จากพังโคน ...ตอนที่ยา้ ยมาประมาณปี 2506อายุประมาณ 14 ปี หมู่บา้ นมีอยู่ประมาณ 30 – 40
ครัวเรื อนแล้วโดยมีชาวโซ่ ที่มาตั้งบ้านอยู่เดิม และต่อมามีกลุ่มคนที่ยา้ ยมาจากอําเภอดงหลวง
จังหวัดมุกดาหาร บางกลุ่มอพยพย้ายมาจากบ้านหนองผือนาไน อําเภอพรรณานิ คม จังหวัด
สกลนคร เพราะบริ เวณนี้ยงั อุดมสมบูรณ์หากินสบาย เมื่อฝนตกใหม่ "เขียดอีโม้" ร้องระงมทุ่ง
ดอกไม้แดง พากันไปจับเขี ยดได้มากมาทําเขี ยดตากแห้ง ตอนนี้ เด็กรุ่ นใหม่ไม่รู้จกั เขี ยดนี้
(นางมูล คมคาย, [นามสมมุติ](2554.)

“เวลาเราไปทํางานตามไร่ นาในป่ าในดงก็จะพบกับสหาย เวลาถามหรื อพูดคุยกับเขา


ถามว่าสหายคื ออะไร หน้าตาเป็ นอย่างไร พวกทหารป่ าก็จะหัวเราะแล้วบอกว่า 'ผมนี่ แหละ
ครับทหารป่ า แต่ไม่ทาํ อะไรหรอก เป็ นคนธรรมดา' บรรดาสหายบอกว่าพวกเขาตั้งทัพอยู่ป่า
เพื่อสูร้ บต่อต้านรัฐบาล บริ เวณที่พวกเขาตั้งฐานคือดงพะลาด ดงสี ชมภู ดงสามหนอง ดงอีบ่าง
และมักจะเกิ ดการสู ้รบกันระหว่างทหารและกองทัพทหารป่ าเสมอ มี ครั้ งหนึ่ งพาลูกที่ เพิ่ ง
คลอดใหม่ตวั แดง ๆ ไปทํางานอยู่ในนา ตอนนั้นเกิดการปะทะยิ่งกันเสี ยงปื นสนัน่ หวัน่ ไหวมี
เฮลิคอปเตอร์ บินว่อนเหนื อฟ้ า และทหารรัฐบาลมักจะทิ้งระเบิ ดหรื อระดมยิงบริ เวณต้นไม้
ใหญ่ ตนตกใจกลัวมากต้องอุ ม้ ลูกแดงๆ ที่ ร้ องไห้จ้า หนี ต ายกลับหมู่บ้า นอย่า งทุ ลกั ทะเล
ต่อมาในหมู่บา้ นมีการตั้งแคมป์ ของทหาร และอาสาสมัครรักษาดินแดน (อส.) ที่โรงเรี ยนเพื่อ
ลาดตระเวนและป้ องกันชาวบ้านส่ งข้าวส่ งนํ้าให้พวกสหาย อยู่มาวันหนึ่ งทหารป่ าหรื อสหาย
บุกโจมตีเผาแคมป์ ยิงฝ่ าย อส.ตาย 2 คนนัน่ คือเหตุการณ์ใหญ่ที่เกิดกลางหมู่บา้ นไม่นบั เหตุ
ปะทะกันกลางป่ าที่ เกิ ดเสมอนับไม่ถว้ น แม้จะมี ชาวบ้านบางคนเข้าป่ าไป แต่ชาวบ้านที่ อยู่
106

บ้านจริ งๆ แล้วส่ วนใหญ่คนธรรมดาอย่างพวกเราไม่เข้าใจหรอกว่าพวกสหายเขาคิ ด หรื อมี


อุดมการณ์ อะไรแต่ ได้ยินเสมอว่า เขา 'ต่ อสู ้เพื่ อการปลดแอกประชาชน จากการกดขี่ ของ
ฝ่ ายรัฐบาล' ปลดแอกคืออะไรก็ไม่เข้าใจ แม้จะเข้าใจถึงความไม่เท่าเทียม ความตํ่าสู งของคน
แต่มาถึงตอนนี้คิดว่ามันชักจะมีเค้าอย่างที่สหายเขาเคยว่าแล้วแหละเพราะตอนนี้ 'ได้ ปลดแอก
ควายมาใช้ รถไถแล้ วจริ ง ๆ'” (นางมูล คมคาย, [นามสมมุติ]. (2554.)
กลุ่มชาวข่ าจากมุกดาหาร ที่อพยพมามาอยูบ่ า้ นโนนดอกไม้แดงเพราะได้ข่าวรํ่าลืมถึงความ
อุดมสมบูรณ์และยังมีป่ากว้างใหญ่ให้จบั จอง
“ตอนอายุ 12 ปี อพยพมาจากบ้านเดิมพร้อมญาติ มา 4 ครอบครัวคือครอบครัว
จากอําเภอดงหลวงมุกดาหาร เพราะบ้านเดิ มนั้นที่ ดินคับแคบคนอยู่กนั หนาแน่ นทําให้ เริ่ ม
ชักชวนกันมาโดยการไล่ตอ้ นวัวควายเดินเท้าเป็ นเวลา 5 วันกว่าจะมาถึงที่ บา้ นโนนดอกไม้
แดง โดยที่ก่อนหน้านั้นมีกลุ่มหัวหน้าครอบครัวเดินทางมาสํารวจก่อนแล้ว มาก็ซ้ื อที่ดินหรื อ
จับจองที่ดินบุกเบิกทําไร่ ไถนา และอยู่ร่วมกับกลุ่มคนอื่นๆ ที่ อยู่มาก่อนโดยปั จจุบนั ตั้งกลุ่ม
บ้านเรื อนอยู่ใน 'คุม้ คนมุก' แถวทางไปวัดในปั จจุบนั แม้ว่าในระยะแรก ๆ ก็มีคนมาจากมุก
เดิ นทางมาเพิ่มเติ มจํานวนมากแต่ อยู่ได้ระยะหนึ่ งก็ยา้ ยกลับไปบ้านเดิ มบางส่ วนก็มี ทําให้
ปัจจุบนั เหลืออยูเ่ พียงไม่มากนัก” (นางปลาน้อย สี หวาน, [นามสมมุติ]. (2554.)
นอกจากกลุ่มชาติ พนั ธุ์โซ่ ลาว และข่า ที่อพยพมาอาศัยความสมบูรณ์ ของดงหนาป่ า
ใหญ่บริ เวณโนนดอกไม้แดงแล้ว ในระยะหลังยังมีกลุ่มผู้มาทาไม้ และประกอบการเกลือจากจังหวัด
ต่าง ๆ ได่แก่กลุ่มที่มาจากจังหวัดนครพนมเพื่อมาทําไม้ บริ เวณดงหม้อทอง ดงอีบ่าง ดงพะลาด ซึ่ ง
ป่ าไม้ริมฝั่งแม่น้ าํ สงครามในปี 2521 ซึ่ งเป็ นช่วงที่มีกฎหมายให้สามารถสัมปทานป่ าทําไม้ได้ และ
ในช่วงเวลาไล่เลี่ยกันนั้นได้มีกลุ่มผูท้ ี่อพยพมาจากจังหวัดนครราชสี มาเพื่อเข้ามาลงทุนทํานาเกลือ
“มาอยู่ที่นี่ราว พ.ศ. 2515 เมื่อสามียื่นขอทําไม้ที่บริ เวณดงพะลาด ตอนนั้นเป็ นป่ าดิ บ
หนาทึบสัตว์ป่ามากมายโดยมาซื้ อป่ าจากชาวบ้านที่ขายไม้ให้ในราคาถูก ๆ ก็เลื่อยแล้วเอาไป
ขายที่โรงเลื่อยบ้านไต้ อําเภอสว่างแดนดิน โดยใช้รถลากไม้ยาวประมาณ 12 – 15 เมตรไป
ส่ งไปสว่างแดนดิน‛ (นางวิเวก ต้นโพธิ์ ศรี , [นามสมมุติ]. (2554.)
ชาวบ้านหลายคนบอกว่า "บ้านโนนดอกไม้แดงเป็ นหมู่บา้ นสหาย" หรื อเป็ นหมู่บา้ นแนว
ร่ วมของพรรคคอมมิวนิ ตส์ แห่ งประเทศไทย ในปี 2515 สหายบุกเข้ามายิงถล่มแคมป์ ตํารวจ และ
แคมป์ อส. แต่ตาํ รวจที่ประจําอยูน่ ้ นั เป็ นคนบ้านคําลอด ชาวบ้านที่เป็ นแนวร่ วมก็นึกสงสารคนบ้าน
เดียวกันจึงออกมาส่ งข่าวบอกตํารวจก่อนคนที่รู้ก็ออกจากแคมป์ คนที่ไม่รู้ก็ถูกยิงตาย
107

จําเหตุการณ์น้ นั ได้ดี ตอนนั้นตนอายุประมาณ 23 ปี มีลูก 3 คนแล้ว และการเป็ นคนค้า


ไม้ทาํ ให้ไปมีความสัมพันธ์กบั พวกสหายเมื่อไปซื้ อไม้เขาก็จะให้เอาข้าว เอายาไปส่ งให้ถือ
เป็ นคนส่ งของจําเป็ นให้สหาย แต่ในอีกทางหนึ่ งถ้ารู ้ข่าวจากป่ าว่าจะมีปฏิบตั ิการเช่นจะมีการ
มาทําร้ ายใครในหมู่บา้ นก็ส่งข่ าวให้ชาวบ้านรู ้ เพราะคนเป็ นพ่อค้าต้องเข้าได้ทุกทาง ในปี
2523 สหายออกมามอบตัวเป็ นผูร้ ่ วมพัฒนาชาติ ไทยสามี ต นกลายเป็ นอาสาสมัครรั กษา
ดินแดนตอนนั้นและสามีของตนเดินเข้าป่ าไปพาเพื่อนสหายออกมามอบตัวก็มี ส่ วนการทํานา
เกลือเริ่ มหลังจากมีคนต่างชาติมาเจาะสํารวจเมื่อราว 45 ปี ที่แล้วโดยใช้รถใหญ่บุกเหยียบไร่
นาชาวบ้านขุดเจาะบอกว่าเจาะหานํ้ามันประมาณปี 2518 ส่ วนการเข้ามาทํานาเกลื อโดย
นายทุนนั้นเริ่ มต้นประมาณปี 2523 โดยมีการเช่านํ้าเกลือจากเจ้าของนาที่เจาะนํ้าบาดาลแล้ว
สู บขึ้ นมาต้มส่ วนชาวบ้านก็มีไปตั้งตูบต้มเกลือโดยไปเช่านํ้าเกลือจากเจ้าของนามาต้มเกลือ
แล้วก็มีคนอีกจํานวนหนึ่ งตามไปต้มเกลือด้วยแต่ภายหลังก็เลิกไปหมดเพราะหาฟื นยากและ
นาทุนขยายพื้นที่ ตากเกลือมากขึ้ น และมีนายทุนนาเกลือประมาณ 7- 8 คนปั กหลักสร้าง
บ้านเรื อนอยู่ในหมู่บา้ น ถึ งแม้หมู่บา้ นนี้ จะเป็ นแหล่ งผลิ ตเกลื อแต่ ก็ตอ้ งซื้ อเกลื อต้มราคา
กิโลกรัมละ 2 บาทมากิน เพราะเกลือมีทวั่ ไปในร้านค้าของหมู่บา้ นจึงไม่มีเกลือขาย" (นาง
วิเวก ต้นโพะธิ์ ศรี , [นามสมมุติ]. (2554.)
6. ภาวะเศรษฐกิจชุ มชน
บ้า นโนนดอกไม้แดง ในปั จจุบ นั แม้มีนาเกลื อล้อมรอบแต่ช าวบ้า นส่ วนใหญ่ เข้า ไป
เกี่ยวข้องกับนาเกลือในฐานะลูกจ้างรายวันที่ได้รับค่าแรงตามปริ มาณงานที่ได้เช่นการตักเกลือ ขูด
เกลื อ มีชาวบ้านเพียงไม่กี่คนที่เป็ นลูกจ้างประจํามีรายได้ประมาณ 4,000 – 6,000 บาทในช่ วง
ฤดูกาลผลิตเท่านั้น มีชาวบ้านที่เป็ นคนท้องถิ่นเพียง 3 ครัวเรื อนที่เป็ นเจ้าของที่ดินและกลายมาเป็ น
ชาวนาเกลือหลังเกิ ดปั ญหาดิ นเค็มจนทํานาข้าวไม่ได้ แต่ผปู้ ระกอบการนาเกลือที่เป็ นคนท้องถิ่น
เหล่านี้ก็มีฐานะเป็ นเพียงลูกนาที่ทาํ พันธสัญญาตกเขียวเกลือ รับเงินนายทุนรายใหญ่มาล่วงหน้าเพื่อ
ลงทุนแต่จะต้องขายเกลือให้นายทุนตามราคาที่กาํ หนดกว่าจะใช้หนี้หมด ไม่มีอาํ นาจต่อรองใด ๆ
การทํานาเกลื อไม่ใช่ รายได้หลักของชาวโนนดอกไม้แดง แต่รายได้หลักมาจากการทํา
นาข้าวเพื่อบริ โภค มีเหลือขายในบางครอบครัว นอกจากนี้ ไปรับจ้างทํานาเกลือในฤดูแล้ง ส่ วนคน
วัยแรงงานหรื อวัยรุ่ นมักอพยพแรงงานไปทํางานก่อสร้าง งานโรงงานตามเมืองใหญ่ ไปทํางานสวน
ยางที่ภาคใต้ เพื่อส่ งเงินมาจุนเจือครอบครัว หรื อจ้างแรงงานในฤดูทาํ นา ส่ วนคนที่อยูใ่ นหมู่บา้ นจะ
ไปรับจ้างทํานาเกลือ หรื อไปรับจ้างไถนา ดํานา หรื อเกี่ยวข้าว ตามฤดูกาล ส่ วนชาวบ้านวัยกลางคน
ที่มีครอบครัวแล้วบางรายออกไปรับจ้างต่างถิ่นนอกฤดูกาลทํานา เช่น เมื่อเกี่ยวข้าวเสร็ จในแต่ละปี
ก็ไปทํางานและกลับมาช่ วงสงกรานต์เพื่อเตรี ยมเริ่ มต้นฤดูกาลผลิ ตใหม่ ตัวเลขรายได้เฉลี่ยของ
108

ประชากรบ้า นโนนดอกไม้แดงอยู่ที่ 186,907บาทต่ อครั วเรื อนต่ อปี (รายละเอี ย ดในตารางที่ 5)


ขณะที่ครัวเรื อนทัว่ ประเทศไทยมีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 23,544 บาท(สํานักงานสถิติแห่ งชาติ. 2554)
หรื อ 282,528 บาทต่อปี รายได้ครัวเรื อนของชุ มชนบ้านโนนดอกไม้แดงจัดว่าตํ่ากว่าเกณฑ์เฉลี่ย
ครัวเรื อนไทย 1.5 เท่า
7. ความสั มพันธ์ ภายในชุ มชน
7.1 กลุ่มองค์ การทางสั งคมทีเ่ ป็ นทางการ
กลุ่มองค์กรในหมู่บา้ นที่ปรากฏเป็ นกลุ่มที่เป็ นทางการที่จดั ตั้งขึ้นโดยกระทรวงต่าง ๆที่
ทํางานชุ มชน โดยแบ่งการดูแลออกเป็ น 7 คุม้ ได้แก่ คุม้ โอเวียงจันทร์ ,คุม้ รัฐพัฒนา, คุม้ สุ กสมหวัง
,คุม้ น้องใหม่พฒั นา,คุม้ สามัคคีธรรม,คุม้ ประชาสุ ขสันต์, คุ ม้ สุ ขเกษม แต่ละคุม้ จะมีหัวหน้าคุ ม้ 1
คนเพื่อช่วยประสานงานหรื อกิจกรรมต่าง ๆ ของหมู่บา้ นร่ วมกับผูใ้ หญ่บา้ น
ปั จจุ บนั มี ตาํ แหน่ งตามโครงสร้ างการปกครองของกระทรวงมหาดไทย คือตําแหน่ ง
ผูใ้ หญ่ บา้ น 1 คน ผูช้ ่ วยผูใ้ หญ่บา้ น 2 คน ทั้งนี้ สมาชิ กองค์การบริ หารส่ วนตําบล 2 คน มี
อาสาสมัครป้ องกันภัยฝ่ ายพลเรื อน(อปพร.) 11 คน และกรรมการหมู่บา้ นรวม 15 คน ซึ่ งถือว่าเป็ น
กลุ่ มผูน้ าํ อย่างเป็ นทางการในหมู่บา้ น และยังมีคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นจํานวน 11 คน,
อาสาสมัครสาธารณสุ ขหมู่บา้ น (อสม.) จํานวน 15 คน,อาสาพัฒนาชุมชน 4 คน และคณะกรรมการ
ศูนย์สงเคราะห์ประจําหมู่บา้ นจํานวน 6 คน,ผูแ้ ทนเกษตรกร ซึ่ งได้รับเลือกตั้งจากชาวบ้านเพื่อให้
เป็ นสมาชิ ก สภาเกษตรกร มี บ ทบาทสํารวจข้อมูล เรื่ องการเกษตรในหมู่บ ้า นแต่ ก ารเป็ นผูแ้ ทน
เกษตรกรนี้ เพิ่งเริ่ มต้นปี นี้ ยงั ไม่แน่ชดั ว่าต้องทําอะไรบ้าง ส่ วนกลุ่มอาชี พได้แก่กลุ่มแม่บา้ น (กลุ่ม
ทอเสื่ อกก และทอผ้า) ตั้งขึ้นเมื่อประมาณปี 2536 โดยการสนับสนุนของ กรมการพัฒนาชุมชน มี
สมาชิก 30 คนออกเงินคนละ 100 บาทเพื่อซื้ ออุปกรณ์ฝ้าย กี่ ทอผ้าขาวม้าขายผืนละ 50 บาท 3 ผืน
100 บาท แต่ตอนนี้กลุ่มสลายตัวต่างคนต่างทอในบ้านตัวเอง
7.2.กลุ่มองค์ การทางสั งคมทีไ่ ม่ เป็ นทางการ
กลุ่ มทางสังคมที่ ไม่เป็ นทางการ ได้แก่ กลุ่ มเครื อญาติที่มีประวัติความเป็ นมาร่ วมกัน
นอกจากนี้ ยงั มีกลุ่มช่วยเหลือทางสังคมที่เกิดจากความสัมพันธ์เช่น บ้านใกล้กนั จะไปช่วยเหลือทํา
นา เช่นดํานา หรื อเกี่ ยวข้าว เพราะตามปกติหมู่บา้ นนี้ จะว่าจ้างแรงงานในฤดูกาลผลิตทําให้ค่าจ้าง
แรงงานสู งมากราว 150 – 200 บาทต่อวัน โดยเจ้าภาพจะต้องเลี้ยงข้าว 2 มื้อคือเช้าและเที่ยง ทั้งนี้
ต้องมีเครื่ องดื่ม เช่ น นํ้าเย็น หรื อ กาแฟ เตรี ยมไว้ให้ดว้ ย ทําให้หลายครอบครัวไม่มีความสามารถ
จะจ้างแรงงานแต่จะไหว้วานเอาแรงช่ วยเพื่อนบ้านก่อน พอถึงคราวครอบครัวของตนก็จะมีเพื่อน
บ้านไปช่ วยตามจํานวนวันที่ตนเคยไปช่ วยเขามาก่อนเป็ นต้น นอกจากนี้ เครื อข่ายความช่ วยเหลือ
109

อย่า งไม่ เ ป็ นทางการเหล่ า นี้ ยัง เกิ ด ขึ้ น ซ้อ นอยู่ ใ นความสั ม พัน ธ์ อ ย่า งเป็ นทางการเช่ น ที ม งาน
คณะกรรมการหมู่บา้ น ผูใ้ หญ่บา้ น ผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ น หรื อสมาชิก อบต. จะมีความสัมพันธ์ให้ความ
ช่ วยเหลื อการทํางานในไร่ นากันในบางครั้งซึ่ งอาจจะโยงใยกลับไปว่าเป็ นเครื อญาติกนั หรื อไม่ก็
เป็ นระบบความสัมพันธ์ใหม่ที่เกิดขึ้นภายหลังจากที่ได้ร่วมทํางานทางการเมืองในหมู่บา้ นก็ได้

ตารางที่ 5 ตารางแสดงรายได้รวมและเฉลี่ยต่อครัวเรื อนต่อคนต่อปี ในบ้านโนนดอกไม้แดง


รายได้ จากการประกอบอาชีพ จานวนรายได้ เฉลีย่ (บาท)
1. รายได้รวมทั้งหมูบ่ า้ น 24,671,712
2. รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรื อนต่อปี 186,907
3. รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี 29,094

ที่มา: ข้อมูลเศรษฐกิจชุมชน รายได้ครัวเรื อนในหมู่บา้ นจากการประกอบอาชี พ (จปฐ.ข้อ 30) และรายจ่าย


ของหมู่บา้ น (จปฐ.ข้อ 31) อ้างถึงใน แผนพัฒนาหมู่บา้ นโนนดอกไม้แดง, (2551: 7)

ตารางที่ 6 ตารางแสดงภาระหนี้สินของประชาชนในหมู่บา้ นโนนดอกไม้แดง


รายได้ จากภาวะหนีส้ ินของประชาชนในหมู่บ้าน จานวนหนีส้ ิน (บาท)
1. หนี้สินรวม 24,671,712
2.หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรื อน 54,167
3.หนี้สินเฉลี่ยต่อคน
- หนี้ ธ.ก.ส.รวมทั้งหมูบ่ า้ น 2,735,000
- หนี้สหกรณ์รวมทั้งหมู่บา้ น 600,000
- หนี้กลุ่มในหมู่บา้ นทั้งหมด 1,140,000
- หนี้นายทุนทั้งหมด 680,000
- หนี้อื่น ๆ ทั้งหมด 2,320,000

ที่มา: ข้อมูลเศรษฐกิ จชุมชน อ้างอิงจากรายได้ครัวเรื อนในหมู่บา้ นจากการประกอบอาชี พ (จปฐ.ข้อ 30)


และรายจ่ายของหมู่บา้ น (จปฐ.ข้อ 31) อ้างถึงใน แผนพัฒนาหมู่บา้ นโนนดอกไม้แดง, (2551: 7)
110

นอกจากนี้กลุ่มเครื อญาติที่อยูใ่ นกลุ่มชาติพนั ธุ์เดียวกัน หรื อมาจากบ้านเดิมด้วยกันจะมี


ความสัมพันธ์กนั ใกล้ชิด เช่น ในงานศพ งานแต่งงาน จะมาช่วยเหลือทางานอย่างต่อเนื่องตลอดงาน
และยังนิยมแลกเปลี่ยนแรงงานแบบรับค่าจ้าง ในช่วงเวลาที่ขาดแคลนแรงงานในไร่ นา ทาให้กลุ่ม
คนที่ มีเครื อญาติ จา้ งงานได้ง่ายกว่า การไปรั บจ้า งดังกล่ าวถื อเป็ นการแสดงน้ า ใจกับผูท้ ี่มีค วาม
สัมพันธ์กนั ใกล้ชิดมากกว่า และหากครอบครัวใดหาจ้างแรงงานไม่ได้นนั่ แสดงว่าความสัมพันธ์กบั
ครอบครัวอื่นไม่ดี ต้องไปจ้างแรงงานต่างหมู่บา้ น ต้องเสี ยค่าจ้างรถรับส่ ง หรื อจ่ายค่าจ้างแพงขึ้น
8. ครอบครัวและการขัดเกลาทางสั งคม
ครอบครั ว บ้านโนนดอกไม้แดงมีลกั ษณะครอบครัวขยายเป็ นส่ วนใหญ่ กล่าวคือเมื่อ
หนุ่ มสาวแต่งงานกันแล้วส่ วนใหญ่มกั จะแต่งฝ่ ายชายมาอาศัยอยู่บา้ นผูห้ ญิง (แต่ก็ไม่แน่ เสมอไป
แล้วแต่ท้ งั สองฝ่ ายจะตกลงกัน) และจะอาศัยอยูก่ บั พ่อแม่ไปจนกว่าจะมีกาํ ลังทางเศรษฐกิจในการ
สร้างบ้านใหม่ บางครอบครัวที่แต่งงานกันใหม่สมัยก่อนอาจจะอยู่ช่วยพ่อแม่ทาํ ไร่ ไถนา แต่หนุ่ ม
สาวยุคใหม่แต่งงานกันแล้วอาจจะแยกไปทํางานในเมืองใหญ่ไประยะหนึ่ งจนสามารถสร้างเนื้ อ
สร้างตัวได้สามารถสร้างบ้านเรื อนของตัวเองได้ และแม้จะแยกบ้านเรื อนออกไปแล้วก็มกั จะอยูใ่ น
อาณาบริ เวณใกล้กนั ดังนั้นปู่ ย่า หรื อตายาย จะเป็ นคนดูแลลูกหลาน เมื่อพ่อแม่ตอ้ งไปทํางานในไร่
นา ไปทํางานนาเกลื อ หรื อไปทํางานในเมืองใหญ่ หรื อต่างจังหวัด โดยพ่อแม่เด็กจะส่ งเงินมาให้
เป็ นค่ า ใช้ จ่ า ยในบ้า น เช่ น ค่ า อาหาร เสื้ อผ้า ค่ า ใช้จ่ า ยในการเรี ย นหนัง สื อ ของเด็ ก เป็ นต้น
โดยเฉพาะครอบครัวของชาวโซ่ที่ครอบครัวที่แต่งงานใหม่จะอยูท่ าํ งานกับพ่อแม่ไประยะหนึ่ งก่อน
จะแยกบ้านเรื อนของตัวเอง ยกเว้นครอบครั วใหม่ ที่แต่ง งานและไปทํางานต่า งจังหวัด ซึ่ งเมื่ อ
กลับมาบ้านก็จะอยูใ่ นบ้านพ่อแม่ไปจนกว่าจะสามารถมีทุนรอนสร้างบ้านของตัวเองได้
โรงเรียนบ้ านโนนดอกไม้ แดง มีนกั เรี ยนนักหมด 80 คน เปิ ดสอนตั้งแต่ระดับอนุบาลถึง
ประถมศึกษาปี ที่ 6 หลังจากนั้นนักเรี ยนที่จบชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 แล้วจะต้องไปเรี ยนภาคบังคับ
เพิ่มเติ มจนจบชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 3 ที่โรงเรี ยนขยายโอกาสทางการศึ กษาบ้ านหนองกวั่ง หรื อ
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาบ้ านโพธิ์ชัย ส่ วนใหญ่นิยมส่ งบุตรหลายไปเรี ยนต่อที่โรงเรี ยน
บ้านโพธิ์ ชยั เพราะเห็นว่าเป็ นโรงเรี ยนที่ใส่ ใจการเรี ยนการสอนรวมทั้งการกีฬา ทั้งนี้ เด็กส่ วนใหญ่
ในหมู่ บ ้า นจะเรี ย นจบแค่ ภ าคบัง คับ มี จ าํ นวนน้อ ยเท่ า นั้น ที่ จ ะสามารถเรี ย นต่ อ ในระดับ ชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย หรื อระดับการศึกษาขั้นสู งขึ้นไป เพราะไม่มีเงินส่ งลูกหลานให้เรี ยนต่อไป
ทั้งนี้ ผปู ้ กครองนักเรี ยนมักจะบ่นว่าเด็กนักเรี ยนในปั จจุบนั มักจะไม่สนใจเรี ยนหนังสื อ
จบประถมศึกษาไปโดยอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ อย่างไรก็ตามช่วงสองสามปี ที่ผา่ นมาโรงเรี ยนบ้าน
โนนดอกไม้แดงได้ก่อตั้งวงโปงลาง “แก่นแสบง” เพราะคุณครู คนใหม่ที่มาสอนในโรงเรี ยนถึง 2
111

คนสําเร็ จการศึกษาสาขานาฏศิลป์ และมีความสามารถเมื่อครู เริ่ มมาฝึ กสอนนักเรี ยนไประยะหนึ่งก็


ทราบว่านักเรี ยนมี ความสามารถมาก จึงริ เริ่ มก่ อตั้งวงโปงลาง โดยขอบริ จาคเงิ นสนับสนุ นจาก
ผูป้ กครอง บางครอบครัวที่ไม่มีเงินก็บริ จาคเป็ นข้าวเพื่อซื้ ออุปกรณ์การแสดง เป็ นชุด เครื่ องดนตรี
ต่อมาวงโปงลางวงนี้ สามารถเข้าประกวดการแสดงดนตรี พ้ืนเมืองและได้รับรางวัลชนะเลิศหลาย
รางวัล ทําให้มีคนเชิญไปแสดงตามงานต่าง ๆ หรื อบางทีก็มีคนมาว่าจ้างให้ไปแสดงทําให้นกั เรี ยนมี
รายได้ และนักเรี ยนบางคนก็มีความสามารถพิเศษโดยสามารถได้รางวัลชนะเลิศแข่งดนตรี พ้ืนบ้าน
เช่ น ชนะเลิ ศ การเดี่ ย วพิ ณ ชนะเลิ ศ การประกวดเดี่ ย วโหวด เป็ นต้น และเมื่ อ เรี ยนจบชั้ น
ประถมศึกษานักเรี ยนบางคนได้รับทุนการศึกษาไปเรี ยนต่อโรงเรี ยนนาฏศิลป์ กาฬสิ นธุ์
ปั จจุบนั วงแก่นแสบงจัดเป็ นวงโปงลางของเด็กประถมศึกษาที่มีลีลาการแสดงน่ารัก และมี
ความสามารถเชิ งดนตรี อย่างน่ าอัศจรรย์แม้จะก่อตั้งมาเพียง 2 ปี กว่า ๆ และมีชื่อเสี ยงในระดับ
ภูมิภาคและเป็ นที่ภาคภูมิใจของเด็ก ชาวบ้านและคณะครู บา้ นโนนดอกไม้แดงเป็ นอย่างมาก
วัดบ้ านโนนดอกไม้ แดง มีพระสงฆ์จาํ วันอยูเ่ พียง 1 รู ปซึ่ งเป็ นชาวบ้านโนนดอกไม้แดง
เองบวชมานานแล้ว ในวันสําคัญทางศาสนาพบว่ามีคนมาร่ วมงานเป็ นจํานวนมากและพร้อมเพรี ยง
ทั้งนี้ ข้ ึนอยูก่ บั ภารกิ จการงาน เช่ น ในวันเข้าพรรษามีชาวบ้านมาร่ วมพิธีวนั เข้าพรรษาเป็ นจํานวน
มากประมาณด้วยสายตากว่า 400 คนเต็มศาลาการเปรี ยญ หากแต่ช่วงเวลาดังกล่าวเป็ นช่วงที่ฝนเพิ่ง
ตกติดต่อกันหลังจากที่ทิ้งช่วงมาระยะหนึ่ งทําให้ชาวบ้านส่ วนใหญ่ยงั ดํานาไม่เสร็ จ พิธีกรรมในวัด
เป็ นไปอย่า งรวบรั ดและทันที ที่ พิธี ก รรมจบลงผูค้ นจํา นวนมากต่ า งแตกกระจายกลับ บ้า นด้ว ย
พาหนะที่นาํ มาอย่างรวดเร็ วราวมดแตกรัง สอบถามคนที่เหลืออยูเ่ พียงไม่ถึง 20 คนซึ่ งล้วนแต่เป็ น
ผูห้ ญิงสู งอายุและในจํานวนนี้ มี 6 คนสวมอาภรณ์สีขาวมาถือศีลอยูท่ ี่วดั พบว่าชาวบ้านส่ วนใหญ่
รี บเร่ งไปดํานาหลังจากที่รอคอยมานาน และเมื่อเวลาคํ่ามาถึงปกติตอ้ งมีพิธีกรรมเวียนเทียน แต่คืน
นี้มีคนไม่ถึงสิ บคนมาจุดเทียนตามแนวรั้ววัดไม่มีการเวียนเทียน เป็ นต้น
ทุกเช้ามีคนจํานวนหนึ่ ง นิ ยมเตรี ยมนึ่ งข้าวเหนี ยว ทําอาหาร ไว้คอยใส่ บาตรพระเป็ น
ประจําทุกวันทั้งนี้มีเยาวชนผูห้ ญิงนิยมมาใส่ บาตรทําบุญที่วดั ในวันพระเป็ นประจําทําให้ในวันพระ
มีคนมาทําบุญที่วดั ประมาณ 40 – 50 คน นอกจากนี้ในวันพระยังมีคนผูส้ ู งอายุที่เป็ นผูห้ ญิงมาถือศีล
นอนวัดประมาณ 6 – 10 คน ส่ วนในวันปกติก็จะมีคนมาทําบุญที่วดั ประมาณ 20 – 30 คน แต่
ชาวบ้านนิยมใส่ บาตรหน้าบ้านของตัวเองด้วยข้าวเหนียวในตอนเช้า
112

9. ความเชื่อและศาสนา
9.1. ความเชื่อใน “เอาะนาย” หรือ “ผีปยู่่ า”
ความเชื่อผีปู่ย่าเป็ นความเชื่อที่มีบทความสําคัญในชุมชน อันสื บเนื่องมาจากประวัติการ
ก่อตั้งชุ มชนของคนกลุ่มชาติพนั ธุ์ (เผ่า) โซ่ แล้วกลุ่มคนจากหลายกลุ่มชาติพนั ธุ์ที่อพยพเข้ามา
ภายหลังแต่ก็ยงั ถื อฮีตคลองความเชื่อตามที่คนเก่าคนแก่ชาวโซ่ ถือปฏิบตั ิกนั มา เช่น ครอบครัวชน
เผ่าโซ่ นับถื อผีปู่ย่า โดยมี จ้ าํ ซึ่ งเชื่ อว่าผีเป็ นผูเ้ ลือกว่าจะให้ทาํ หน้าที่ จํ้า เพื่อสื่ อสารกับผีปู่ย่า เช่ น
เวลาเลี้ ยงผี ในวันออกใหม่สามคํ่าเดือนสามนั้นจํ้าจะสื่ อสารกับผี "เอาะนาย" หรื อ ผีปู่ย่า (เอาะ
หมายถึงปู่ + นาย หมายถึงย่า) และชาวโซ่ จะถือผีขา้ งพ่อ คําว่าเอาะนาย เป็ นภาษาโซ่ ที่ใช้เรี ยกผี
บรรพบุรุษ เพราะถือผูม้ าก่อตั้งหมู่บา้ นเป็ นชาวโซ่ และวิญาณท่านนั้นติดตามมาจากบ้านเดิม จึงถือ
ว่าท่านเป็ นบรรพบุ รุษของชาวโซ่ ของเรา (เอาะไฮ หมายถึ งปู่ ย่าของเรา) ทั้งนี้ ที่ได้ยินชาวบ้าน
เรี ยกว่าปู่ ตาเพราะมีการผสมผสานกันหลายกลุ่มคนทําให้คาํ โซ่ คือเอาะนายไม่เป็ นที่รู้จกั แต่คาํ ว่า "ผี
ปู่ ตา" เป็ นที่รู้จกั มากกว่า
นอกจากนี้ ในบ้านเรื อนชาวโซ่ จะมีการถือผีแจ หรื อผีบรรพบุรุษหรื อผีพ่อผีแม่ที่ประจํา
ในเรื อนชานนั้น โดยจะมีการสร้ างหิ้ งของรักษาไว้ที่มุมขวาด้านทิศตะวันออกสุ ดของตัวเรื อนกัน
พื้นที่ไว้หนึ่ งห้องถือเป็ นพื้นที่ศกั ดิ์สิทธิ์ ของบ้าน หรื อ "เปิ งบ้ าน" โดยจะมีขอ้ ห้ามคือห้ามคนนอก
ตระกูลล่วงลํ้า คนที่เป็ นลูกสะใภ้ลูกเขยก็ถือว่าเป็ นคนนอกตระกูลไม่สามารถเดินผ่านเข้าไปใน
บริ เวณเปิ งได้แต่ลูกหลานที่เกิดมาถือว่าเป็ นสมาชิกคนในในตระกูลสามารถล่วงผ่านไปในเปิ งได้
ถ้าคนนอกเผลอหรื อตั้งใจเดินเข้าไปถือว่าเป็ นคน "แต้ มแก่ " หรื อไม่เคารพนับถือสิ่ ง
ศักดิ์สิทธิ์ ของบ้านเป็ นการ "ล่ วงเปิ ง" ปู่ ย่า ถือว่าผิดผีเฮือนผีซานอาจจะมีอนั เป็ นไปอย่างร้ายแรง
เช่ น เจ็บท้อง เจ็บ หัว บางรายอาจจะรุ นแรงล้ม ลงชัก ถึ ง ตายได้ ถ้าใครหลงลื มตัวเดิ นล่ วงเปิ ง ก็
จะต้องทําขันธ์ 5 ดอกไม้ธูปเทียนห้าคู่ มาขอขมาหรื อ "ขออ่ อนขอยอม" หรื อไป "ขออ่ อนราบคาบ
หญ้ า" เสี ยค่าปรับไหมเป็ นเหล้าไห ไก่ ตวั พร้อมด้วยเงิ น 12 บาท ผ้าซิ่ นผืนหนึ่ ง ผ้าแพรวาหนึ่ ง
นํามาสมมาต่อพ่อเจ้าบ้าน และกล่าว "ขอร้ องอย่ าให้ ผีถือผิดถือแมน ลูกมาขออ่ อนราบคาบหญ้ า
แล้ ว" หรื อหากมี กิจการงานต่างๆในบ้านในเฮือนก็จะแจ้งคอบบอกแก่ผีแจ เช่น จะมีลูกแต่งงาน
ออกเรื อนไป ก็จะต้องแจ้งบอกเป็ นต้น
บ้านของคนโซ่ จะแบ่งพื้นที่ใช้ตามศักดิ์ในบ้าน โดยมุมด้านตะวันออกสุ ดเป็ นห้องเปิ ง
บ้าน ล่างลงมาก็จะเป็ นส้วมพ่อส้วมแม่(ที่นอนพ่อแม่) ก่อนจะเป็ นส้วมใภ้ส้วมเขย(ที่นอนของสะใภ้
หรื อเขย) ซึ่งถือเป็ นคนนอกตระกูล
113

พิธีกรรมในชีวติ ชาวโซ่มีไม่มาก ในอดีตจะปฏิบตั ิอย่างเคร่ งครัดแต่ปัจจุบนั ไม่เห็นแล้ว


คือพิธีตะโฮน คือเมื่อมีเด็กเกิ ดจะทําพิธี "ตะโฮน" หรื อ "ลูกผีลูกคน" คือวางเด็กเกิ ดใหม่ไว้ใน
กระด้งแกว่งโยนไปมาแล้วบอกว่า "ลูกผีหรื อลูกคน...ถ้ าลูกคนให้ อยู่ถ้าลูกสู เอาไปมือ้ นี่ " เป็ นการ
เสี่ ยงทายให้กาํ ลังใจเด็ก และแม่ ตลอดจนครอบครัว ซึ่ งเดิมทีจะอยู่ไฟ 12 วันให้แม่แข็งแรงกิ น
ยาฮากไม้ ออกกรรม หรื อเมื่อออกไฟจะทําการผูกแขนให้แม่ลูกอ่อนและเด็ก รวมถึงหมอตําแยที่มา
ช่วยเหลือดูแล โดนเลือดโดนยางคนในบ้านเราถือเป็ นผูม้ ีพระคุณ (แต่ปัจจุบนั นี้ ไม่ค่อยมีพิธีน้ ี คน
ส่ วนใหญ่คลอดที่โรงพยาบาล และอยู่ไฟไม่ถึงอาทิตย์แต่ยงั มีการผูกแขนแม่และเด็กอยู่) กินดอง
หรื องานแต่ง ซึ่ งจะมีการแห่ ใภ้แห่ เขยมา จะต้องแจ้งแก่ปู่ตาโดยการหาพาข้าว กอกยา ขันหมากขัน
พลู อาหาร 4 ถ้วย อีกทั้งขันธ์ 5 เพื่อไปคอบปู่ ต่าว่าจะมีใภ้หรื อเขยใหม่เข้ามาเป็ นสมาชิก หรื อจะมี
คนออกเรื อนไปอยู่ที่อื่น นอกจากนี้ รวมถึงคนมาใหม่เช่ น ครู ทหาร ที่มาทํางานในหมู่บา้ นก็จะมี
การคอบเข้าหรื อคาดออกด้วยเช่นกัน
การเป็ นจา้ ได้มาด้วยความเชื่อว่าผีปู่ย่าเป็ นคนเลือกเอา ตอนนี้ ในหมู่บา้ นมีจ้ าํ สองคนคือ
จํ้าใหญ่ และจํ้าน้อย ที่ถูกเลือกจากพิธีเสี่ ยงทายในวันเลี้ยงผีปู่ย่า โดยใช้ไม้กีบทําจากไม้ไผ่ควํ่าหนึ่ง
อันหงายหนึ่งอัน และจะเสี่ ยง 3 ครั้ง คนที่ได้เป็ นจํ้าส่ วนใหญ่มกั จะเป็ นสื บเชื้ อสายมาจากผูช้ ายใน
ครอบครัวที่เคยเป็ นจํ้าเวลาเสี่ ยงทายก็จะถูกเลือก การเลือกคือให้ผชู้ ายในหมู่บา้ นที่สืบเชื้ อสายมา
จากครอบครัวที่เป็ นชาวโซ่ (ไม่อนุ ญาตให้คนครัว หรื อคนอพยพมาจากเผ่าอื่นมาเข้าแถว) มาเข้า
แถวและเริ่ มเสี่ ยงไม้กีบทุกคนว่าปู่ จะเลือกใครบ้าน
พิธีเลีย้ งปู่ ย่ า ซึ่ งจัดว่าเป็ นพิธีกรรมใหญ่และสําคัญของหมู่บา้ นคืองานเลี้ยงปู่ ย่าในวัน
ขึ้นสามคํ่าเดือนสาม ทุกบ้านเรื อนไม่วา่ จะเป็ นโซ่ หรื อไม่ที่อาศัยอยูใ่ นอาณาบริ เวณหมู่บา้ นจะต้อง
นําไก่เป็ นมาบ้านละตัว เหล้าหนึ่งไห ธูปเทียน ดอกไม้ มารวมกัน ส่ วนไก่ก็จะจับไปรวมที่ดอนหอ
เอาไปฆ่าและปรุ งต้มแกง โดยจะต้องนําไปถวายปู่ ก่อนหมดทุกตัวเมื่อต้มแล้วอาจจะได้ไก่หลายปี บ
จํ้าจะเริ่ มทําพิธีประมาณ 9 นาฬิกา จํ้าจะนําไหว้ โดยจํ้าจะพาไหว้ถวายไก่ เหล้า ยาอาหาร ขอขมา
ความผิดล่วงลํ้า ขอบคุณที่ปกป้ องรักษา แล้วเสี่ ยงทาย ระหว่างนี้จะสื่ อสารกับผีปู่ย่าเป็ นภาษาโซ่
“เกาะหนึ่งกินให้ อิ่มเด้ อปู่ " โดยจะเสี่ ยงทายว่าปู่ ชอบอาหารการกินที่เลี้ยงหรื อไม่โดย
การจะเสี่ ยงไม้กีบ ถ้ายังไม่พอก็ตอ้ งเริ่ มหาข้าวยกพาข้าวใหม่ และเสี่ ยงไปเรื่ อยจนกว่าจะออกว่าอิ่ม
พอใจแล้วจึงหยุด แล้วจะให้ลูกหลานเอาดอกไม้ ผึ้งเทียนที่เตรี ยมมาขึ้นวางที่หอที่โฮงบ้านละหนึ่งคู่
ทําเช่ นนั้นทุ กบ้านแล้ว ปู่ ตาย่าเฒ่าก็จะทํานายทายทัก เรื่ องสภาพบ้านเมืองในรอบปี นี้ จะมีทุกข์
เดือดร้อนอะไรหรื อไม่ ปอบเป้ า ผีโพง ผีห่าบ่มาเบียดเบียนบ้านเมือง หรื อไม่มีอุบตั ิเหตุ ทํานายเรื่ อง
ฟ้ าฝนในปี นี้ จะอุดมสมบูรณ์หรื อไม่จะต้องเริ่ มไถหว่านทํานาเดือนใด เป็ นต้น การเสี่ ยงทายที่วา่ จะ
114

ใช้ไม้กีบ หรื อ "อันล่ อง" ทุกครั้งควํ่าหนึ่ งหงายหนึ่ งในการเสี่ ยงโยนไม้อนั ล่อง 3 ครั้ง ลูกหลาน
ชาวบ้านจะเชื่อทุกอย่างที่ปรากฏคําเสี่ ยงทายที่ออกมาตามอันล่อง ปู่ จะบอกทุกอย่างในไม้
เคยเกิ ดปั ญหาใหญ่ในหมู่บา้ นเมื่อปี 2539 เพราะมีการทําบุญบ้านก่อนจะมีการเลี้ยงผี
ปู่ ย่า ซึ่ งถือเป็ นการดูหมิ่นปู่ ตาทําให้มีคนตายในหมู่บา้ น 9 ศพ โดยที่แต่ละคนป่ วยกะทันหันและล้ม
ตายไปเลย ทําให้ชาวบ้านเกิดความหวาดกลัวว่าอาจจะมีการทําผิดบ้านผิดเมือง จึงไปเชิญหมอธรรม
หมอส่ องมาทํานายทายทัก จึงรู ้ว่าปู่ โกรธเพราะชาวบ้านทําบุญก่อนจะเลี้ยงผีปู่ย่า ชาวบ้านต้องเอา
ดอกไม้ผ้ งึ เทียนไปอ่อนไปยอมเหตุการณ์จึงคลี่คลาย
ชาวบ้านเชื่ อว่าผีปู่ มีรูปร่ างสู งใหญ่ผิวดําคลํ้าท่านหวงป่ าของท่านมากจึงมีขอ้ ห้ามคือ
ต้นไม้หรื อสิ่ งมีชีวิตทุกอย่างในดอนปู่ จะล่วงลํ้าไม่ได้ มีเรื่ องเล่าว่าเคยมีคนคนหนึ่ งท้าทายปู่ มาตัด
ไม้แต่แล้ววันหนึ่ งชายคนนั้นก็ตายใต้ตน้ ไม้ในดอนปูตา เพราะอะไรก็ไม่รู้แต่ชายคนนั้นผูกคอตาย
ใต้ตน้ ไม้ตน้ หนึ่งในดอน สิ่ งที่มองไม่เห็นไม่อาจจะลบหลู่ได้ และภายในบริ เวณหมู่บา้ นห้ามจับเต่า
เด็ดขาดเพราะเชื่อว่าเป็ นควายของปู่ ที่เลี้ยงไว้ (ตะเลียนเอาะ) ไม่ให้กิน
หลังจากเสี่ ยงทายเสร็ จแล้วจะเริ่ มการกิ นและเล่ น โดยจะตัก ต้มไก่ มาแจกจ่ายให้แก่
ชาวบ้านที่มาร่ วม กินกัน และก็จะมีการกินเลี้ยงเหล้ายา และเล่นการพนัน ไพ่ ไฮโล ไก่ชน โบก ซึ่ ง
เล่นกันทั้งผูห้ ญิงและผูช้ าย และจะต้องกินต้องเล่นเช่นนี้ ไปตลอดวันจนสี่ โมงเย็นค่อยจะเลิกราแยก
ย้ายกันกลับบ้าน ชาวบ้านยังเชื่ อว่าถ้าปี ใดไม่ทาํ การเลี้ยงปู่ ตา หรื อทําบุญอื่นก่อนเลี้ยงปู่ ตาประจําปี
จะมีเหตุร้ายเกิดขึ้นในหมู่บา้ น เช่นได้มีการบันทึกเหตุการณ์รายวันที่สําคัญ ในสมุดบันทึกรายงาน
การปกครอง ที่บนั ทึกโดยผูใ้ หญ่บา้ นระบุวา่
"วันที่ 9 ตุลาคม 2547 เวลา 7.00 – 22.10 น. ชาวบ้านได้ทาํ พิธีจบั ผีปอบร่ วมกับหมอผีใน
ระหว่างวันที่ 7 – 9 ตุลาคม 2547 โดยหมอผีได้จบั ปอบได้ 13 ตัวโดยจับใส่ ไหแล้วนําไปเผา
ในป่ าช้า และใช้เงินในการดําเนิ นการ 16,000 บาท โดยได้เงินมาจากการบริ จาคของชาวบ้าน
ต้นเทียนพรรษา เพราะก่อนหน้านี้ มีปัญหาคนในหมู่บา้ นตายแบบผิดปกติเดือนละ 3 – 4 ศพ
พิธีกรรมนี้ทาํ ให้เกิดความผาสุ กของราษฎร"

บันทึกนี้สอดคล้องกับความเชื่อของชาวบ้านที่วา่ ในปี นี้ ได้มีการทําบุญหมู่บา้ นโดยที่ยงั


ไม่มีการเลี้ ยงปู่ ตาทําให้มีความเดื อดร้อนขึ้นในหมู่บา้ น และนอกจากนี้ เพื่อป้ องกันเหตุเดือดร้อน
ดังที่เกิดขึ้นในหมู่บา้ นได้มีการตั้งกฎระเบียบของหมู่บา้ นอันเกี่ยวเนื่องกับความเชื่อปู่ ย่า ได้แก่
ห้า มตัดไม้ ห้า มขนฟื นผ่า นหมู่บ ้า น ห้า มใช้เครื่ องจัก รสู บ นํ้า เกลื อ ห้า มสี ข ้า ว หรื อ
อาจจะกล่าวได้วา่ ห้ามใช้เครื่ องจักรหนักและส่ งเสี ยงดัง ทั้งนี้ เดิมทีจะมีการปรับไหมโดยเจ้าจํ้าเป็ น
115

เหล้า 1 ขวดและเงิน 12 บาท แต่ต่อมาคนไม่เกรงกลัวค่าปรับราคาถูกโดยเฉพาะผูท้ าํ นาเกลือทําให้


ได้มีการประชุ มประชาคมหมู่บา้ นเพื่อปรับปรุ งการคิดค่าปรับเป็ นเงินอย่างเดียว 500 บาท โดยจ่าย
เข้ากองกลางของหมู่บา้ นหากมีการละเมิดกฎดังกล่าวจะมีมาตรการทางสังคมดังที่มีบนั ทึกไว้ใน
สมุดบันทึกผลการปฏิบตั ิหน้าที่ในการรักษาความสงบเรี ยบร้อย การให้บริ การ และการแก้ไขปั ญหา
ของประชาชนประจําหมู่บา้ น กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ที่บนั ทึกโดยผูใ้ หญ่บา้ นว่า
“เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2553 ผูช้ ่ วยผูใ้ หญ่บา้ นและกรรมการหมู่บา้ น ได้ปรับผูฝ้ ่ าฝื น
กฎระเบียบหมู่บา้ น จากนายโย ภูมิลา ที่ได้ขนไม้ผา่ นหมู่บา้ นในวันพระ 14-15 คํ่า จึงปรับตาม
กฎของประชาคมหมู่บา้ นในอัตรา 500 บาทเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้ว"

9.2 ความเชื่ อในพุทธศาสนา


ชาวบ้านโนนดอกไม้แดงนับถื อศาสนาพุท ธโดยมีวดั ประจําหมู่ บา้ นคือวัดป่ าที่สร้ า ง
ตั้งแต่ก่อตั้งหมู่บ ้านคื อวัดบ้านโนนดอกไม้แดงซึ่ งเป็ นวัดเก่ าแก่ คู่บา้ นโนนดอกไม้แดง โดยเริ่ ม
ก่อตั้งจากชาวบ้านคนหนึ่งบวชเป็ นพระและชักชวนชาวบ้านสร้างวัดขึ้นที่บริ เวณที่ต้ งั โรงเรี ยนบ้าน
โนนดอกไม้แดงในปั จจุบนั ต่อมาสร้างโรงเรี ยนวัดก็ยา้ ยไปอยูอ่ ีกด้านหนึ่ งซึ่ งเป็ นที่ต้ งั ในปั จจุบนั
โดยชาวบ้านร่ วมกันสร้างศาลาการเปรี ยญด้วยไม้สูงชั้นเดียว ต่อมาเมื่อราวปี 2535 ก็ได้สร้างศาลา
หลังใหม่เป็ นศาลาหลังใหญ่ 2 ชั้น ปั จจุบนั มีพระสงฆ์จาํ วัดประจําอยู่ 1 รู ป และในช่วงเข้าพรรษา
อาจจะมีพระ หรื อเณรมาอยู่จาํ วัดปี ละรู ปสองรู ปก็มีแต่อยูไ่ ม่นานครบพรรษาก็สึก นอกจากนี้ เมื่อ
ไม่นานมานี้ได้มีพระมาก่อตั้งสํานักสงฆ์ที่ใกล้ๆ ป่ าช้าเพิ่งก่อตั้งเมื่อราว 10 ปี ที่ผา่ นมาบริ เวณป่ าช้า
มี พระจําวัดอยู่ 1 รู ป นอกจากนี้ ยงั มีส ถานปฏิ บตั ิธรรมขอบมูลนิ ธิส ว่างไพศาล มาเปิ ดสาขาที่
หมู่บา้ นโดยเจ้าของนาเกลื อชาวพิมายนําเข้ามาเมื่อประมาณ 10 ปี ที่ผา่ นมา โดยเป็ นศาสนาพุทธที่
นับถื อบูชาเจ้าแม่กวนอิ ม และมี อาจารย์สอนศาสนาจากไต้หวันมาสอนวิธีการปฏิบตั ิธรรม ซึ่ งมี
สมาชิกในหมู่บา้ นเข้าร่ วมปฏิบตั ิธรรมทุกวันเสาร์ประมาณ 10 คน
ชาวบ้า นจะนิ ย มไปวัดบ้างซึ่ งเป็ นสถานที่ ประกอบพิ ธี ก รรมตามความเชื่ อทางพุ ทธ
ศาสนาในรอบหนึ่ งปี โดยมีวนั สําคัญที่ชาวบ้านจะร่ วมกันไปทําบุญที่วดั ได้แก่ วันขึน้ ปี ใหม่ เป็ น
วันปี ใหม่สากลตรงกับวันที่ 1 มกราคมของทุกปี จะมีชาวบ้านนิยมไปทําบุญเริ่ มต้นปี ใหม่ บุญกอง
ข้ าว จะทํากันหลังเลี้ ยงปู่ ตาที่ทาํ กันในวันขึ้นสามคํ่าเดือนสามของทุกปี แล้วชาวบ้านจะตกลงกัน
กําหนดวันทําบุญกองข้าว โดยชาวบ้านจะนําข้าวลงมาทําบุญบางปี ก็ได้มากถึง 100 กระสอบปุ๋ ยซึ่ ง
กรรมการหมู่บา้ นจะนําข้าวที่ได้ขายให้กบั ชาวบ้านที่ขาดแคลนข้าว หรื อพ่อค้าเพื่อนําเงินที่ได้มาใช้
ในการสาธารณกุศล เช่น สร้างหอระฆัง สร้างซุ ้มประตูวนั ปรับปรุ งห้องนํ้า เป็ นต้น วันสงกรานต์
116

จะมีการแห่ดอกไม้มาที่วดั เพื่อสงฆ์น้ าํ พระเหมือนวัดอื่น ๆ ทัว่ ไป วันเข้ าพรรษา วันขึ้น 15 คํ่าเดือน


8 ผูใ้ หญ่บา้ นจะประกาศเพื่อขอรับเงินบริ จาคจากชาวบ้านตามศรัทธาแต่ไม่ต่าํ กว่า 50 บาทเพื่อ
จัดซื้ อเครื่ องใช้และเทียนพรรษาเพื่อถวายวัดร่ วมกัน และบางครอบครัวอาจจะเตรี ยมเทียนส่ วนตัว
ไปด้วย โดยจะมีการถวายเทียนพรรษาที่วดั บางปี ก็มีการเวียนเทียน บางปี ก็ไม่มีถา้ ฝนตกมาก แต่ก็
จะมีการจุดเทียนตามหน้าบ้านหรื อหลุมศพของบรรพบุรุษ เป็ นต้น บุญข้ าวประดับดิน เป็ นวันแรม
15 คํ่าเดือน 9 ชาวบ้านเชื่ อว่าเป็ นวันที่ผีจะสามารถออกมารับส่ วนบุญได้โดยก่อนวันงานผูห้ ญิง
ชาวบ้านจะไปตัดใบตอง เตรี ยมห่ อข้าวต้ม (ขนมต้ม) ข้าวหนม (ขนมเทียน) จํานวนมากแล้วเวลาตี
สาม ของวัน นั้น จะนํา ขนมหวานที่ ท าํ นั้น ไปวางไว้ข ้า งกํา แพงวัด หรื อ เอาไปแจกให้ผีไ ร้ ญ าติ
ทั้งหลายมารับส่ วนบุญที่เราทําทานให้น้ ี และในตอนเช้าก็นาํ ขนมที่แบ่งไว้และข้าวปลาอาหารมา
ทําบุญถวายแด่พระสงฆ์ที่วดั ด้วย บุญข้ าวสาก จะทํากันในวันขึ้น 15 คํ่าเดือน 10 ก่อนวันงานผูห้ ญิง
ชาวบ้านจะไปตัดใบตอง เตรี ยมห่ อข้าวต้ม (ขนมต้ม) ข้าวหนม (ขนมเทียน) ข้าวตอกจํานวนมาก
เพื่อไปถวายแด่พระสงฆ์ที่วดั ในตอนเช้าเมื่อเสร็ จพิธีกรรมแล้วก็จะนําข้าวต้ม ข้าวตอกนั้นไปแจก
หรื อวางไว้ตามธาตุหรื อที่เก็บอัฐิของญาติพี่นอ้ งหรื อบรรพบุรุษ หรื อบางคนก็นาํ ไปใส่ ไร่ นาให้ผีมี
คุณตามไร่ นาได้กินอิ่มหนําดูแลข้าวกล้าในนา วันออกพรรษา คือวันขึ้น 15 คํ่าเดือน 11 ผูใ้ หญ่บา้ น
จะประกาศขอรับบริ จาคจากชาวบ้านครัวเรื อนตามกําลังศรัทธาแต่ไม่ต่าํ กว่าครอบครัวละ 50 บาท
เพื่อจัดซื้ อผ้าอาบนํ้าฝน ปราสาทผึ้ง และเครื่ องไทยทานถวายวัดในวันออกพรรษา ในเช้าวันออก
พรรษาชาวบ้านจะมาร่ วมงานเป็ นจํานวนมากมีการตักบาตรดอกไม้ โดยจะมีการเตรี ยมข้าวสาร
อาหารแห้ง ขนม และดอกไม้มาทําบุญ โดยจะตักบาตรกันสามรอบ รอบแรกเป็ นการตักบาตร
ข้าวสารอาหารแห้ง (ของคาว) รอบที่สองเป็ นการตักบาตรขนมต้ม (ของหวาน) และรอบที่สามเป็ น
การตักบาตรดอกไม้ ก่อนจะทําพิธีถวายภัตตาหารและเครื่ องไทยธรรมแด่ พระสงฆ์ อันเป็ นการ
เสร็ จพิธี ชาวบ้านบางส่ วนจะทยอยกลับบ้านแต่ชาวบ้านบางส่ วน (ส่ วนน้อยและมักจะเป็ นผูส้ ู งอายุ
ผูห้ ญิง) ที่ยงั อยูร่ ับอาหารจากพระมารับประทานร่ วมกัน บุญกฐิ น หลังออกพรรษาก็จะมีการเตรี ยม
รับบุญกฐิ นซึ่ ง ปกติ จะมี บุญกฐิ นทุ กปี โดยชาวบ้า นจะร่ วมกันเป็ นเจ้าภาพจัดเพื่อทอดถวายที่วดั
ประจําหมู่บา้ นทุกปี
9.3.ผีกบั การทานาเกลือ
ชาวนาเกลื อที่เป็ นนายทุนจากภายนอกส่ วนใหญ่ไม่มีความเชื่ ออะไรเป็ นพิเศษเกี่ ยวกับ
นาเกลือไม่มีพิธีกรรมเฉพาะของชาวนาเกลือ ทุกคนในหมู่บา้ นที่ต้ งั บ้านเรื อนในหมู่บา้ นจะต้องเข้า
ร่ วมพิธีเลี้ ยงหรื อไหว้ “เอาะนาย” หรื อผีปู่ย่าประจําปี ในวันขึ้ นสามคํ่าเดื อนสามเพื่อขอบคุ ณต่อ
ความคุ ้ม ครองในปี ที่ ผ่า นมาและขอฝนเพื่อเริ่ ม ฤดู ก าลผลิ ตที่ จะมาถึ ง แต่ ช าวนาเกลื อที่ ม าจาก
117

ภายนอกมักจะไม่เข้าใจธรรมเนียมปฏิบตั ิน้ ี ชาวบ้านส่ วนใหญ่จะนําเครื่ องไหว้คือ ดอกไม้ ธูปเทียน


เหล้า 1 ขวด ไก่ซ่ ึ งรวบรวมกันไว้ในเย็นวันก่อนงานเมื่อถึงวันงานก็จะเอามารวมกันทั้งหมู่บา้ นเพื่อ
ต้มและกินร่ วมกันเพื่อขอฝนก่อนจะเริ่ มการเพาะปลูก ส่ วนชาวนาเกลือที่เป็ นลูกนารายย่อยที่เป็ น
ชาวบ้านท้องถิ่นเดิมกลับขอสิ่ งตรงกันข้าม พวกเขาจะบนบานขอให้ไม่มีฝนให้เก็บเกลือทําเกลือได้
นาน ๆ ขอให้แดดจัด ๆ บางรายมีการสร้างศาลเจ้าที่ไว้ตรงนาเกลือโดยเฉพาะอย่างยิง่ เจ้าของที่นา
เกลือซึ่ งเคยเป็ นนาข้าวเดิมยังมีความเชื่อว่าผีนายังอยูท่ ี่เดิมเมื่อไม่มีตน้ ไม้แล้วก็จะสร้างศาลไว้ให้เจ้า
ที่ได้อาศัยดูแลกิจการการทํานาเกลือช่วยเหลือเจ้าของนาเกลือ การไหว้ขอหรื อบนขอไม่ให้ฝนตกนี้
ขัดกับความต้องการของชาวบ้านที่เป็ นเกษตรกร ชาวนาส่ วนใหญ่ที่ไหว้วอนขอให้มีฝนตกอุดม
สมบูรณ์ จะได้เริ่ มต้นทํานาข้าว
10.ความเจ็บป่ วยและการรักษาพยาบาล
จากการประชุ มกลุ่มย่อยแม่บา้ นชาวบ้านโนนดอกไม้แดงจํานวน 6 คน ระบุวา่ สิ่ งที่จะ
ทําให้ชาวบ้านสุ ขภาพดีคือการมีอาหารการกิน หาอยูห่ ากินได้ในห้วยหนองมีปลา มีกบ ปู ป่ าโคกมี
เห็ ด มีหน่ อไม้ คนอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เช่ น มีความร่ วมมือกันดีในงานบุญกุศล งานเลี้ยงปู่ ตา
หรื อกิจกรรมของหมู่บา้ น คนไม่เป็ นหนี้ และมีรายได้ มีที่อยูอ่ าศัยที่แข็งแรง และมีงานที่ทาํ ได้อย่าง
ไม่หนักจนเกิ นไปก็สามารถทําให้แข็งแรงได้ มีการออกกําลังกายจึงจะไม่มีโรคภัยเบียดเบียน มี
อาหารการกินที่สมบูรณ์พอกินและสะอาด คือปั จจัยที่จะกําหนดความมีสุขภาพดีร่วมกันของคนใน
ชุมชน
หากเกิ ดอาการเจ็บป่ วยชาวบ้านนิ ยมซื้ อยาในร้าค้ามากิ น เช่ น ยาแก้ปวด ยาธาตุ ยาแก้
อักเสบ เป็ นต้น และหากเจ็บป่ วยมากจะไปใช้บริ การการแพทย์แผนปั จจุบนั เพราะปั จจุบนั ไม่มี
แพทย์แผนโบราญหรื อคนที่มีความรู้เรื่ องยาแผนโบราณแล้วในหมู่บา้ น ถ้าอาการป่ วยทัว่ ไปจะไป
ใช้บริ ก ารที่ โรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพตําบลหนองนํ้าใส ถ้า อาการหนัก ขึ้ นก็ จะไปใช้บ ริ ก าร
โรงพยาบาลอําเภอ และโรงพยาบาลสกลนคร ขึ้ นอยู่กบั ลักษณะอาการป่ วย ถ้าบาดเจ็บเป็ นแผล
ธรรมดาก็มกั จะใช้บริ การโรงพยาบาลส่ งเสริ มสุ ขภาพตําบลหนองนํ้าใส แต่ถา้ ป่ วยหนัก เช่ น เป็ น
ไข้หนัก ปวดท้องมากก็จะใช้บริ การโรงพยาบาลในอําเภอบ้านม่วง และหากอาการรุ นแรงชาวบ้าน
จะนิ ย มส่ ง ตัวไปรั กษาที่ โรงพยาบาลสกลนคร โดยการรั ก ษาพยาบาลนั้นชาวบ้า นส่ วนใหญ่ ใ ช้
สิ ท ธิ บ ตั รทองรั ก ษาพยาบาล โดยจะเดิ นทางไปโรงพยาบาลต่ างๆ เองซึ่ ง อยู่ไ ม่ ไ กลมากนัก แต่
เส้ นทางคมนาคมจะขรุ ข ระ และหากอาการหนักก็ ตอ้ งเช่ าเหมารถไป ซึ่ ง ก็ จะมีค่ า ใช้จ่า ยสู ง แต่
ชาวบ้านพึ่งพาการแพทย์แผนปั จจุบนั ในการรักษาหลังการเกิดโรค หรื ออาการของโรคแล้วเท่านั้น
118

การคลอดลูกเมื่อประมาณ 25 – 30 ปี ที่ผา่ นมาเด็กๆในหมู่บา้ นส่ วนใหญ่ไปคลอดอยูท่ ี่


โรงพยาบาลบ้านม่วง และหมอตําแยคนสุ ดท้ายของหมู่บา้ นได้เสี ยชี วิตลงไปแล้วในปี นี้ ดังนั้นจึง
กล่าวได้วา่ ชาวบ้านโนนดอกไม้แดงปัจจุบนั นี้เด็กทุกคนคลอดที่โรงพยาบาล และบางคนที่มีแม่เป็ น
หมอตําแย ก็ไม่ได้สืบทอดความรู ้เรื่ องการทําคลอดและรู้สึกกลัวหากจะต้องคลอดลูกในหมู่บา้ น
ชาวบ้านโนนดอกไม้แดงป่ วยและเสี ยชีวติ ด้วยโรคมะเร็ งตับหรื อมะเร็ งลําไส้ เป็ นอันดับ
หนึ่งรองลงมาคือโรคเบาหวาน และความดันโลหิ ตสู ง โดยจะมีโรคไตและโรคอื่น ๆ บางครั้ง ทั้งนี้
สาเหตุของการป่ วยและเสี ยชี วิตด้วยโรคเหล่านี้น่าจะเกิดขึ้นมาจากพฤติกรรมการกิน เช่น การกิ น
ปลาดิ บ ปลาร้ าดิบ หรื ออาหารที่จบั จ่ายมาจากตลาดซึ่ งบางทีอาจจะมีสารพิษ ทําให้เกิดโรคมะเร็ ง
ตับและมะเร็ งลําไส้ ส่ วนโรคอื่น ๆ ก็เช่นกันน่าจะมีสาเหตุจากนิสัยการบริ โภคอาหาร
คนที่ทาํ งานนาเกลื อจะพบว่ามีโรคผิวหนังเปื่ อย พุพอง และผิวหนังถูกแดดเผารุ นแรง
ส่ วนอาหารการกินของคนงานที่ทาํ งานในนาเกลือมักจะจับจ่ายจากรถเร่ ขายอาหารถุง นอกจากนี้ ก็
ซื้ อ หรื อ เชื่ อ จากร้านค้าในหมู่บา้ นเพราะช่วงทํางานในนาเกลือเป็ นช่วงที่ทาํ งานหนัก แม้จะดีที่มี
รายได้ไม่ตอ้ งออกไปทํางานไกลบ้านได้อยูก่ บั ครอบครัว
ผลกระทบต่อสุ ขภาพอีกด้านหนึ่ งที่มองเห็นได้ชดั เจนคือการที่การทํานาเกลือทําให้เกิด
สภาพดิ นเค็มตามห้วยหนองที่เคยมีปลาก็มีนอ้ ยลง มีเพียงปลาตัวเล็ก ๆ เท่านั้น และนาทุ่งดอกไม้
แดงที่เคยเป็ นนาข้าวที่สมบูรณ์ตน้ ข้าวแผ่ให้ผลผลิตดีมากก็ตอ้ งสู ญสิ้ นสภาพ และต้องไปทํานาที่ดิน
ซึ่ งไกลกว่าเดิม ดิ นไม่สมบูรณ์ ตอ้ งลงทุนใส่ ปุ๋ยมากขึ้น นํ้าขาดแคลนทําให้ได้ผลผลิตตํ่ากว่านาทุ่ง
และที่สาํ คัญเมื่อประมาณ 10 ปี ที่ผา่ นเริ่ มมีปรากฎการณ์ แผ่นดินทรุ ดจากการสู บนํ้าเกลือ ที่กล่าวมา
นี้ คือสิ่ ง เหล่ านี้ ทาํ ให้ช าวบ้านเห็ นว่า เป็ นสาเหตุ ทาํ ให้โนนดอกไม้แดงอยู่ในภาวะยากลําบาก มี
ความรู ้ สึกเสี่ ยง ไม่มน่ั คงในชี วิตโดยเฉพาะบ้านเรื อนที่ต้ งั อยู่ทางด้านทิศเหนื อและทิศตะวันออก
ของหมู่บา้ นที่อยูใ่ กล้กบั นาเกลือนั้นเกิดปั ญหาบ้านเอียง บ้านทรุ ด และรู้สึกไม่ปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สิน เช่น บางครั้งชาวบ้านนําควายไปเลี้ยงเมื่อผ่านหลุมยุบควายก็ลงไปกินนํ้าแล้วตกลงไปใน
รู หลุมยุบต้องช่วยกันลากควายขึ้นอย่างยากลําบาก เป็ นต้น
11. การประกอบกิจการเกลือทีบ่ ้ านโนนดอกไม้ แดง
11.1. ประวัติความเป็ นมา
โครงการสํารวจนํ้าบาดาลในภาคอีสานเจาะพบชั้นเกลือหิ นและนํ้าบาดาลเค็มทัว่ ภาค
อีสานในปี พ.ศ. 2498 ต่อเนื่ องมาได้มีโครงการสํารวจแร่ ในลุ่มแม่น้ าํ โขง พ.ศ. 2508 ที่ได้ทาํ การ
สํารวจอย่างละเอียดและพบเกลื อหิ นและโพแทชปริ มาณมาหาศาลใต้ดินภาคอีสาน และมีความ
ชัดเจนเรื่ องแหล่ งเกลื อหิ นและโพแทชในภาคอีสานมีมากขึ้ นเมื่อกรมทรัพยากรธรณี กระทรวง
119

อุตสาหกรรม สํารวจแร่ โพแทชและหิ นเกลือทัว่ ภาคอีสานในปี พ.ศ. 2516 – 2526  และเริ่ มมีการ
ทํานาเกลือเพื่อส่ งขายให้ภาคอุตสาหกรรมมากขึ้นเรื่ อยๆ และการทําเกลือในพื้นที่บา้ นโนนดอกไม้
แดงเริ่ มต้นขึ้นภายหลังเกิดวิกฤตดินเค็มนํ้าเค็มจากการทําเกลือในลุ่มนํ้าเสี ยว อําเภอบรบือ จังหวัด
มหาสารคาม จนคณะรัฐมนตรี มีมติหา้ มการทําเกลือในลุ่มนํ้าเสี ยว
การทําเกลือเพื่อส่ งขายให้ภาคอุตสาหกรรมในบ้านโนนดอกไม้แดงเริ่ มทํากันตั้งแต่ราว
ปี 2523 ก่อนหน้านี้ หลายปี มีฝรั่งมาสํารวจเจาะนํ้ามันหลายรอบครั้งแรกประมาณปี 2518 และก็มี
การเข้ามาสํารวจเพิม่ เติมและในที่สุดก็พบว่าบริ เวณรอบ ๆ หมู่บา้ นโดยเฉพาะบริ เวณทุ่งดอกไม้แดง
มีเกลือปริ มาณมาก นายทุนจากทางจังหวัดนครราชสี มา และจังหวัดสมุทรสงคราม ก็มาซื้ อที่ดินขุด
บ่อนํ้าบาดาลเพื่อสู บนํ้าเค็มมาต้มเกลือ ในระยะแรกชาวบ้านมาทําการต้มเกลือโดยตัด ฟื นจากป่ า
รอบ หมู่บา้ นมาต้มเกลืออยูป่ ี สองปี แล้วนายทุนก็เริ่ มมาบุกเบิกซื้ อที่นาทํานาเกลือ และเพิ่มมากขึ้น
ทุ่งดอกไม้แดงที่ดอกแดงเต็มทุ่งหายไป ต้นดอกไม้แดงใหญ่ถูกตัดโค่นออกจากทุ่งเปลี่ยนเป็ นนา
เกลือหมด มีชาวนาเริ่ มเดื อดร้ อนจากผลกระทบจากนํ้าเค็มดินเค็ม จึงมีการรวมตัวกันของชาวบ้าน
คิดหาทางร้องเรี ยนไปยังเจ้านายว่าเดือดร้อนทํานาไม่ได้แต่ก็ไม่มีการแก้ไขปัญหา
พื้นที่ ทาํ เกลื อบ้านโนนดอกไม้แดงเป็ นส่ วนหนึ่ งของแหล่ งเกลื อหนองคาย ตั้งอยู่ใ น
พื้นที่ลุ่มนํ้าสงคราม และปั จจุบนั เฉพาะการทําเกลือในพื้นที่บา้ นโนนดอกไม้แดงและพื้นที่รอยต่อ
นั้นมีเนื้อที่ประมาณ 1,800 ไร่ (รวมเขตบ้านหนองนํ้าใส และจากการสํารวจในพื้นที่พบว่าเฉพาะใน
เขตปกครองบ้านโนนดอกไม้แดงมีพ้ืนที่ประมาณ 500 ไร่ ) อยูด่ า้ นทิศตะวันออกและเหนือของบ้าน
โนนดอกไม้แดงและทิศตะวันออกของบ้านหนองกวัง่ (ซึ่ งเป็ นรอยต่อเป็ นผืนนาเกลือขนาดใหญ่)
และจากการสํารวจของกรมทรัพยกรธรณี ต้ งั แต่ปี พ.ศ.2539 พบว่ามีการยุบตัวของแผ่นดินเป็ นหลุม
ยุบขึ้ นหลายครั้ งโดยเฉพาะในปี พ.ศ.2542 มีหลุ มยุบ ขนาดใหญ่ และรอยแตกเกิ ดขึ้ นทัว่ ไปใน
หมู่บา้ นทั้งสอง (ประมวล เจนคุณาวัฒน์, 2554)
11.2. กรรมวิธีการผลิตเกลือ
การทําเกลื อในบ้านโนนดอกไม้แดงเป็ นการทําเกลื อแบบนาตากบนลานดิ นทั้งหมด
โดยจะทําการปรับพื้นที่และเริ่ มตากเกลือในเดือนตุลาคมของทุกปี โดยมีกิจกรรมในนาเกลือดังนี้


เอกสารประกอบโครงการ ‘ความร่ วมมือทางวิชาการในการพัฒนาท้องถิ่น : อุตสาหกรรมเกลืออีสาน การพัฒนา สังคม
วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ จะไปทางไหนดี’ 28 –29 ตุลาคม 2546 ณ สถาบันราชภัฎอุดรธานี , องค์กรความร่ วมมือ สถาบันราชภัฎ
อุด รธานี สถาบัน วิ จยั และพัฒ นา มหาวิ ท ยาลัย ขอนแก่ น คณะทํา งานศึ ก ษาและติ ด ตามเหมื องแร่ โ พแทช จัง หวัด อุ ด รธานี
คณะกรรมการประสานงานองค์กรเอกชน(กป.อพช.อีสาน)พัฒนาชนบทอีสาน ศูนย์ขอ้ มูลการเมืองท้องถิ่นอีสาน วิทยาลัยการเมือง
การปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โครงการศึกษาและปฏิบตั ิการงานพัฒนา (โฟกัส )
120

11.2.1 กวาดเลน เนื่ องจากพื้นที่นาเกลือเป็ นพื้นที่ราบนํ้าท่วมขังเป็ นประจําทุกปี เมื่อ


สิ้ นฤดูฝนในช่วงประมาณเดือนตุลาคมของทุกปี จะเริ่ มทําการกวาดขี้เลนที่อยูใ่ นพื้นนาเดิม
11.2.2 บดอัดดิน ตีแปลงปรับแต่งคันนาที่ยกสู งประมาณ 60 เซนติเมตร แล้วปรับให้
เป็ นแปลงนาขนาดประมาณ 15x20 เมตร แล้วปรับพื้นดินให้เรี ยบเสมอกันและบดอัดจนเน้นโดย
ใช้ลูกกลิ้งไม้ หรื อซี เมนต์ให้เน้นดีโดยจะทําการบดอัดเช่นนี้ 3 รอบเพื่อป้ องกันนํ้าซึ มปนเลนดินปน
ขึ้นมา ทําให้เกลือสกปรกราคาไม่ดี
11.2.3 สู บน้าเค็มเข้ าแปลงนา โดยจะใช้เครื่ องปั๊ มลมลงไปบนบ่อนํ้าเกลือผ่านท่อขนาด
1 นิ้ว เพื่อสู บนํ้าเกลือขึ้นมาส่ งไปตามท่อพีวีซี สู่ แปลงนา หากแปลงใดอยูไ่ กลอาจจะปล่อยนํ้าเค็ม
ไปบนร่ องดินสู่ แปลงนา ปริ มาณนํ้าเกลือที่ปล่อยลงแปลงนาในระดับ 10 – 15 เซนติเมตรในแต่ละ
แปลงนา หรื อประมาณ 280 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ (โดยเฉลี่ย 1 ชัว่ โมงจะสามารถสู บนํ้าเกลือขึ้นมา
ได้ 1.5 ลูกบาศก์เมตร) ดังนั้นจึงต้องสู บนํ้าเกลือตลอดทั้งวันทั้งคืนจนกว่าจะได้น้ าํ เกลือตามระดับที่
ต้องการจะใช้ เวลาในการสู บทั้งสิ้ น 37.3 ชัว่ โมงต่อพื้นที่นาเกลือ 1 ไร่ หรื อประมาณ 1 วันหนึ่งคืน
กับอีก 13 ชัว่ โมง
ตารางที่ 7 ปฏิทินการทํางานนาเกลือในหมู่บา้ นโนนดอกไม้แดง

กิจกรรม ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
กวาดเลน
บดอัดดิน
สูบนํ้าเค็มเข้า
ตากเกลือ
เก็บเกลือ
เข็นเกลือเข้าฉาง
โกยเกลือขึ้นรถ
ส่งเกลือขาย
เก็บ/ปิ ดนาเกลือ
121

11.2.4 การตากเกลือ หลังจากปล่อยนํ้าเกลือสู่ แปลงนาปล่อยตากแดดจัดไว้ราว 3 - 4 วัน


นํ้าจะเริ่ มระเหยออกทําให้น้ าํ ที่เหลือเป็ นนํ้าเกลือเค็มเข้มข้นขึ้นเรื่ อย ๆเกิดผลึกเกลือจับเป็ นแผ่นบาง
เมื่อตากเกลือไปประมาณ 2 สัปดาห์จะเห็นเป็ นผลึกเกลือหนาจมอยูใ่ ต้น้ าํ เค็มที่ยงั ไม่ตกผลึก จะตาก
เกลือไปเรื่ อย ๆ จนราวสัปดาห์ที่ 3 ผลึกเกลือจะหนาขึ้นประมาณ 10 เซนติเมตร ทั้งนี้ การตกผลึก
เกลือจะขึ้นอยูก่ บั สภาพดินฟ้ าอากาศ เช่น แสงแดด ระดับความชื้ นในบรรยากาศ เช่น ในช่วงที่แดด
ร้อนจัดอากาศแห้งจะใช้เวลาตากเกลือ ประมาณ 20 – 25 วัน โดยที่ปกติแล้วนาเกลือแปลงหนึ่งจะมี
ขนาดประมาณ 15 x 20 เมตร จะได้เกลือ 4 ตันต่อรอบหรื อประมาณ 80 กระสอบ กระสอบหนึ่งจะ
ได้เกลือประมาณ 50 – 60 กิโลกรัม
11.2.5 การเก็บเกลือ เมื่อเกลือตกผลึกหนาพอสมควร คนงานนาเกลือจะลงเก็บเกลือ
โดยใช้ "ไม้คะทา" คือแผ่นไม้กว้างยาวประมาณ 15 x 50 เซนติเมตรหนาประมาณ 2-3 เซนติเมตร
ต่อเข้ากับด้ามจับยาวประมาณ 2 – 3 เมตร ใช้สําหรับกวาดเกลือ โดยนําไม้น้ ี พาดกับบ่าไถกรี ดไป
บนแผ่นผลึกเกลือเป็ นร่ องยาวแล้วกวาดมารวมเป็ นกองๆ จากนั้นจะใช้แผ่นไม้อีกอันกวาดใส่ ตาข่าย
พลาสติกหรื อบุง้ กี๋ ซ้อนเกลื อใส่ เข่ง หรื อกระสอบปุ๋ ย(เข่งหรื อกระสอบจะบรรจุได้ประมาณ 50 –
60 กิโลกรัม) วางเรี ยงกันไว้บนคันนา การเก็บเกลือในแปลงนาจะดําเนินการอย่างรวดเร็ วเพื่อให้
สามารถปล่อยนํ้าเกลือลงนาเพื่อตากรอบใหม่ให้เร็ ว ปกติแต่ละแปลงจะใช้เวลาเก็บเกลือประมาณ
7- 10 วัน โดยชาวนาเกลือจะระดมจ้างคนงานเก็บเกลือให้มากที่สุดในราคาเข่ง/กระสอบ ละ 3 บาท
คนงานอาจจะทํางานเป็ นคู่ หรื อเป็ นกลุ่ม เริ่ มเก็บเกลือตั้งแต่เช้ามืดจนพลบคํ่าเพื่อให้สามารถเก็บ
เกลือได้มากที่สุดเพื่อทํารายได้สูงที่สุดเท่าที่จะทําได้
11.2.6 เข็นเกลือเข้ าฉาง คนงานเข็นเกลื อเข้าฉางจะต้องเป็ นชายที่ร่างกายแข็ง แรง
คล่องแคล่วและมีรถเข็นหรื อรถอีแต๊กเป็ นของตัวเอง จะรับจ้างยกและเข็นเข่ง หรื อกระสอบเกลือที่
มีคนเก็บไว้บนคันนาไปเทรวมไว้ในกองรอให้รถบรรทุกมารับไปส่ งเกลือขาย หรื อเข็นไปรวมไว้
ในฉางเก็บเกลือเพื่อคอยให้เกลือมีราคาแล้วค่อยส่ งขายต่อไป คนงานจะเริ่ มงานแต่เช้าตรู่ และจะคิด
ค่าจ้างเป็ นเข่ง/กระสอบละ 3 บาท แรงงานสองคนพร้อมรถอีแต๊กและต้องออกค่านํ้ามันรถเอง จะ
สามารถขนเกลือได้มากที่สุดประมาณ 500 เข่ง/กระสอบ จะมีรายได้ประมาณ 1,500 บาท
11.2.7โกยเกลือขึน้ รถบรรทุก จะจ้างเหมาและปั จจุบนั ผูป้ ระกอบการมักจะใช้รถ แบ็ก
โฮในการตักเกลือใส่ รถบรรทุกแทนจ้างแรงงานคน
11.2.8 ส่ งเกลือขาย เป็ นหน้าที่ของผูป้ ระกอบการ หรื อพ่อค้าคนกลางที่จะมารับซื้ อและ
ตักเกลือขึ้นรถบรรทุกเพื่อส่ งเกลือให้โรงงานอุตสาหกรรมต่อไป ผลผลิตเกลือที่ได้จะเฉลี่ย 100 –
150 ตันต่อไร่ ต่อปี ขึ้นอยูก่ บั สภาพดินฟ้ าอากาศ การเตรี ยมพื้นที่ และความเค็มของนํ้า เป็ นต้น
122

“ผลผลิตเกลือในแต่ละปี จะขึ้ นอยู่กบั โควต้าที่ ได้รับจากบริ ษทั ผูซ้ ้ื อเกลือ โดยจะมีการ


ติ ด ต่ อ ขอโควต้า จากบริ ษ ัท รั บ ซื้ อ ซึ่ งเป็ นโรงงานอุ ต สาหกรรมในกรุ ง เทพฯ และภาค
ตะวันออกของประเทศไทย ปั จจุบนั เขาทําธุ รกิ จเกลือโดยจัดตั้งห้างหุ ้น และรับโควต้าจาก
บริ ษทั อดิตยาเบอร์ล่าเคมีคลั ส์ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่ งมีอยูห่ ลายสาขาซึ่ งเป็ นบริ ษทั ผลิตและ
ขายส่ งเคมีภณ ั ฑ์รายใหญ่ที่สุดแห่ งหนึ่ งในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
จังหวัดระยอง บริ ษทั นี้จะนําเอาเกลือไปใช้เป็ นวัตถุดิบตั้งต้นในการทําสารเคมี และจัดว่าเป็ น
บริ ษทั ที่ใช้เกลือมากที่สุดในประเทศไทยเดือนละประมาณ 10,000 ตัน‛ (นายเข้ม แก้วเขียว,
[นามสมมุติ]. (2554.)

บริ ษทั อดิตยาเบอร์ ล่าเคมีคลั ส์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็ นที่รู้จกั เพราะเพิ่งเกิดเหตุโรงงาน


สาขาหนึ่ ง ซึ่ ง เป็ นโรงงานผลิ ตเคมีภณ ั ฑ์ โซดาไฟ คลอรี น ที่ ต้ งั อยู่ที่นิคมอุ ตสาหกรรมเหมราช
ตะวันออก(มาบตาพุด) ตําบลห้วยโป่ ง อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2553
โรงงานดัง กล่ า วได้เกิ ดเหตุ ก๊ า ซรั่ วมี ผูบ้ าดเจ็บ จากการได้รับ ก๊ า ซด้วยการหายใจโดยมี รายงาน
ผูบ้ าดเจ็บกว่า 200 ราย ถูกนําส่ งโรงพยาบาลมาบตาพุด ด้วยอาการ แสบตา แสบจมูก แน่นหน้าอก
หายใจไม่ออก แพทย์รักษาและให้กลับบ้านได้ ยังเหลือผูท้ ี่อาการสาหัส 43 ราย รักษาตัวอยู่ตาม
โรงพยาบาลต่างๆ หลายแห่ งอุบตั ิเหตุการรั่วไหลของก๊าซดังกล่าวเกิดจากถังบรรจุสารโซเดียมไฮ
โปคลอไรท์(NaOCl) ล้มกระแทกกับกําแพงซี เมนต์แล้วตกกระแทกท่อลําเลียงกรดไฮโดรคลอริ ก
(2HCl) ทําให้สารเคมีท้ งั สองชนิดนี้ทาํ ปฏิกิริยากันแล้วได้ก๊าซคลอรี น(Cl2) ซึ่ งเป็ นก๊าซสี เหลืองเข้ม
มี ก ลิ่ น ฉุ น เฉพาะตัว และมี ผ ลกระทบที่ เ ป็ นอัน ตรายต่ อ ระบบทางเดิ น หายใจ(สํ า นั ก งาน
คณะกรรมการสุ ขภาพแห่ งชาติ และมูลนิธินโยบายสาธารณะ, 2553: 1) นอกจากนี้ ห้างหุ ้นส่ วนที่
ผลิ ตเกลื อที่ บ ้า นโนนดอกไม้แดงแห่ ง นี้ ยัง ส่ ง เกลื อป้ อนให้บ ริ ษทั เคมเม็ก อุ ตสาหกรรม จํา กัด
(Voicrtv, 2554) ซึ่ งเป็ นโรงงานผลิตโซเดี ยมไฮดรอกไซด์ (โซดาไฟ) คลอรี นเหลว กรดเกลื อ
โซเดียมไฮโปคลอไรท์ และบริ ษทั สยามพีวีซี เคมีคอล จํากัด ซึ่ งผลิตพลาสติกพีวซี ี เป็ นต้น
“นอกจากผลิ ต เกลื อ ยัง รั บซื้ อ เกลื อ มาเก็ บไว้ในฉางเพื่ อสํา รองเกลื อ สํา หรั บส่ ง ให้
โรงงานให้ครบจํานวนตามโควต้าที่ตกลงกันไว้ และยังได้จดั สร้างโรงล้างเกลือ แล้วเสร็ จเมื่อ
ปี ที่ แ ล้วโดยจะนํา เกลื อ ที่ ไ ด้จ ากลานตากที่ ไ ม่ ส ะอาดมาล้า งด้วยนํ้า เกลื อให้ส ะอาด ทั้ง นี้
สามารถล้างเกลือได้ประมาณเดือนละประมาณกว่า 100 ตัน มีคนงานประจํา 4 คน ปี หนึ่ งจะ
ล้างเกลือได้ประมาณ 1,500 – 2,000 ตันต่อนาหนึ่ งแปลง มีที่ดินนาเกลือของตัวเอง 4 แปลง
ดังนั้นจะสามารถล้างเกลือได้ประมาณ 6,000 – 8,000 ตันต่อปี สาเหตุที่ตดั สิ นใจลงทุนสร้าง
โรงล้างเกลือเพราะเกลือที่ลา้ งทําความสะอาดแล้วจะสามารถส่ งขายได้ราคาสู งขึ้นคือตันละ
123

ประมาณ 1,110 บาทโดยจะต้องส่ งให้บริ ษทั ตามโควต้าและตามเวลาที่ กาํ หนด ในอีกด้าน


หนึ่ งเพื่อที่ จะมีเกลือพอสําหรับส่ งตามโควต้าที่ได้รับมาก็จะใช้วิธีตกเขี ยวเกลือคือให้เงินลูก
นาคนอื่นกูเ้ งินไปทํานาเกลือก่อนโดยตกลงกําหนดโควต้าว่าผลิตเกลือให้หา้ งหุ่ นส่ วนของเขา
มากเท่าไร แล้วห้างหุน้ ส่ วนจะจ่ายเงินล่วงหน้าเป็ นราคาตกเขียวเกลือให้ลูกนาประมาณตันละ
300 – 350 บาท และเมื่อลูกนาส่ งเกลือให้เราได้จาํ นวนตามที่ตกเขียวไว้แล้ว เกลือที่เหลือที่
ลูกนาผลิ ตได้ก็สามารถต่ อรองราคาเพิ่ มขึ้ นตามราคาตลาดได้‛ (นายเข้ม แก้วเขี ยว, [นาม
สมมุติ], (2554.)

ปั จจุ บนั นี้ ห้างหุ่ นส่ วนของนายเข้ม มีลูกนาที่ตกเขียวหรื อรับซื้ อเกลือเป็ นประจํารวม
ทั้งหมด 10 เจ้า ซึ่ งลูกนาแต่ละคนจะมีนาเกลือของตัวเองคนละประมาณ 5 ไร่ รวมแล้วปี หนึ่ งลูกนา
ทั้งหมดจะส่ งเกลือให้นายเข้มได้ประมาณ 15,000 – 20,000 ตันต่อปี ในระยะเวลาการผลิตราว 6
เดือน และผูบ้ ริ หารห้างหุ ้นส่ วนแห่ งนี้ประมาณการณ์ว่าพื้นที่บา้ นหนองกวัง่ และบ้านโนนดอกไม้
แดง มีพ้นื ที่ทาํ นาเกลือประมาณ 500 ไร่ ที่แจ้งต่ออุตสาหกรรม และผลิตเกลือได้ราว 100,000 ตันต่อ
ปี เฉพาะของห้างหุ ้นของนายเข้มปั จจุบนั คิดว่าผลิตเกลือได้ไม่ต่าํ กว่าปี ละ 10,000 ตันซึ่ งเป็ นเกลือ
สะอาดผ่านการล้างเกลือ โรงล้างเกลือนั้นขออนุญาตตั้งตามกฎหมายโรงงานและจ่ายภาษีตามปกติ
ตลอดจนค่าธรรมเนียมให้อุตสาหกรรมจังหวัดและภาษีโรงเรื อน
“ ในความจริ งการทํานาเกลือมีปัญหาที่ แก้ไม่ตกหลายอย่าง และปั จจุบนั นาเกลือแทบ
ทั้งหมดบริ เวณบ้านหนองนํ้าใส -โนนดอกไม้แดงเป็ นเหมือนทําเกลือเถื่อนไม่มีใบอนุ ญาต
ประกอบกิ จการเกลือ และไม่ได้เป็ นไปตามเงื่ อนไขที่ อุตสาหกรรมกําหนด เพราะเงื่ อนไข
ดังกล่าวนั้นทําได้ยาก เช่น อุตสาหกรรมกําหนดว่าบ่อสู บนํ้าเกลือต้องห่ างกันบ่อละ 50 เมตร
แต่ ทาํ อย่างนั้นไม่ได้เพราะแหล่งนํ้าใต้ดินใช่ ว่าจะเค็มทุ กบ่ อเพี ยงย้ายตําแหน่ งบ่ อนํ้าเกลื อ
คุณภาพนํ้าเกลือก็เปลี่ยนไปแล้ว บางบ่ออาจจะไม่เค็มเลยก็มี ในทางปฏิบตั ิเจ้าของนาเกลือจึง
มักจะเจาะบ่อสู บนํ้าเกลือห่ างกันเพียง 5 เมตรต่อบ่อและปกติแล้วจะมีบ่อนํ้าเกลือหนึ่ งบ่อต่อ
นาเกลือหนึ่ งแปลง กรณี นาเกลือของผมจะเจาะหนึ่ งบ่อต่อนาเกลือหนึ่ งแปลง ใช้น้ าํ เกลือทั้ง
สําหรับตากเกลือและล้างเกลือด้วย คนที่มีบ่อเกลือมากที่ สุดก็ไม่น่าจะเกิน 2 บ่อต่อแปลงถ้า
เป็ นแปลงนาเกลือขนาดใหญ่ ในบริ เวณบ้านหนองนํ้าใสซึ่ งเป็ นเขตนาเกลือรอยต่อกับบ้าน
โนนดอกไม้แดง‛(นายเข้ม แก้วเขียว, [นามสมมุติ]. (2554.)
ปั จจุ บนั นี้ บริ เวณบ้านโนนดอกไม้แดง ผูท้ ี่ มีดินทํา นาเกลื อมากที่ สุ ดคื อห้า งหุ่ นส่ วน
จํากัด แห่งหนึ่งที่มีสาํ นักงานอยูใ่ นจังหวัดอุดรธานี แต่จะให้ลูกนาเช่าที่นาเกลือทําเกลือโดยเจ้าของ
ห้างหุ่นส่ วนแห่งนี้จะปล่อยกูเ้ งินลงทุนล่วงหน้าให้ หรื อ ตกเกลือเขียว ได้ในราคาตํ่าเพราะถือว่าเขา
เป็ นเจ้าของที่ดินที่เป็ นนาเกลือหลายแปลง การเป็ นเจ้าของที่ดินด้วยรับซื้ อเกลือด้วยทําให้สามารถ
124

ต่อราคาเกลือกับลูกนาได้มากกว่าเพราะเท่ากับต้องคิดเป็ นค่าเช่าที่ดินในการทํานาเกลือด้วย
11.2.9 เก็บอุปกรณ์ /ปิ ดนาเกลือ ประมาณเดือนเมษายน ชาวนาเกลือจะเก็บอุปกรณ์และ
ปิ ดนาเกลือก่อนจะเริ่ มฤดูฝนอีกครั้ง
11.2.10 การจัดการนา้ เกลือทีเ่ หลือในแปลงนา การตากเกลือแต่ละครั้งเมื่อเก็บเกลือเสร็ จ
จะมีน้ าํ เค็มที่เหลืออยูใ่ นแปลงนาไม่ตกผลึกเป็ นเกลือประมาณร้อยละ 20 – 30 ของปริ มาณนํ้าเค็มที่
ปล่อยเข้ามาในแปลง ชาวนาเกลือเรี ยกว่า "นํ้าขม" เพราะนํ้าดังกล่าวจะมีรสชาติขม หรื อเค็มมาก
จนขม ผูป้ ระกอบการบางรายอาจจะระบายนํ้าขมกลับลงไปยังท่อระบายนํ้าทิ้งปล่อยกลับลงไปใต้
ดินตามเติมโดยจะต้องขุดเจาะทําท่อระบายนํ้าทิ้งในระดับความลึก 50 – 70 เมตรเช่นเดียวกันกับบ่อ
นํ้าเกลือ แต่มีบางรายที่ปล่อยนํ้าส่ วนเกินไปตามคลองระบายนํ้าหรื อแหล่งนํ้าธรรมชาติ หรื อแปลง
นาข้างเคียงซึ่ งวิธีการนี้มกั จะทําให้เกิดความขัดนํ้าเค็มในแหล่งนํ้าธรรมชาติ แต่บางรายอาจจะใช้น้ าํ
ขมอีกครั้งโดยจะสู บนํ้าเค็มมาเพิ่มเติมในแปลงนาให้ได้ระดับนํ้า 10 – 15 เซนติเมตรแล้วเริ่ มตาก
นํ้าเกลืออีกครั้งแต่จะใช้เวลาตากเกลือนาน
11.3 สถานการณ์นาเกลือในชุ มชนบ้ านโนนดอกไม้ แดง
การทํานาเกลื อในบ้านโนนดอกไม้แดงว่าตอนแรกหลังจากการมาเจาะสํารวจโดยรอบ
พื้นที่หมู่บา้ นโดยเจ้าหน้าที่กรมทรัพยากรธรณี ซ่ ึ งบอกแก่ชาวบ้านว่าเป็ นการขุดเจาะหานํ้ามัน แล้ว
พบว่าในบริ เวณใต้ดินทัว่ ลานป่ าและนาทุ่งดอกไม้แดงรอบหมู่บา้ นนั้นมีเกลือหิน และนํ้าบาดาลเค็ม
ปริ มาณมาก จึ งได้เริ่ มมีชาวบ้านต้มเกลือ ต่อมาก็มีนายทุนจากนาเกลือทะเลเข้ามาทํานาเกลือใน
บริ เวณทิ ศ ตะวันออกของหมู่บ ้า นโดยกว้า นซื้ อที่ดินซึ่ ง เป็ นนาข้า วในบริ เวณป่ าดอกไม้แดงใน
ระยะแรกที่มีการทํานาเกลือแล้วมีผลกระทบต่อนาข้าวที่อยูข่ า้ งเคียง
ครอบครัวของนายเรี ยน ลอยเรื อ (นามสมมุติ) เป็ นหนึ่ งในลูกหลานชาวโซ่ ที่เป็ น
ชาวนาข้าวในบริ เวณทุ่งดอกไม้แดง พ่อของเขา พร้อมตัวเขากับชาวบ้านได้รวมตัวกัน
เพื่อเคลื่ อนไหวคัดค้านการทํานาเกลื อ โดยมีแกนนําคือผูใ้ หญ่บา้ นในขณะนั้น ได้ทาํ
หนังสื อร้ องเรี ยนนายอําเภอให้หยุดทํานาเกลื อแต่ตอนนั้นนายอําเภอบอกว่า "เขายัง
ไม่ ได้ ทาให้ เดือดร้ อนเลยโวยวายเสี ยแล้ ว" นายอําเภอไม่รับเรื่ องร้องเรี ยนดังกล่าวอีกทั้ง
ยังกล่าวหาว่าชาวบ้านยังไม่เดือดร้อนเลยก็ป่าวร้องแล้วตีตนไปก่อนไข้ เวลาผ่านไป 30
กว่าปี ตอนนี้แม้อยากย้อนกลับไปตอนเริ่ มต้นแต่มนั ย้อนไม่ได้ ที่สุดครอบครัวนายเรี ยน


นา้ ขม เป็ นนํ้าเกลือที่มีความเค็มสู งแต่ไม่สามารถตกผลึกเป็ นเกลือได้อีก เพราะเป็ นนํ้าที่มีองค์ประกอบของแมกนี เซี ยม
และโปแตสเซียมสูง เป็ นนํ้าเกลือที่มีความเข้มข้นตั้งแต่ 30 โบเม่ข้ ึนไป ส่ วนนํ้าเค็มที่สามารถตกผลึกเป็ นเกลือแกงหรื อโซเดียมคลอ
ไรต์ (NaCl) ในช่วงที่น้ าํ เกลือมีความเข้มข้นระหว่าง 25.4 – 30 โบเม่ (รติมยั พิสยั สถาน, 2546 : 26)
125

ก็ตอ้ งกลายมาเป็ นคนทําเกลือ "มันเหมือนคนขึ้นหลังเสื อแล้วลงไม่ได้ ต้องทํานาเกลือ


รับใช้นายทุนทุกปี แต่ก็มีหนี้ สินพัวพันมากขึ้ นเหมือนกัน‛ (นายเรี ยน ลอยเรื อ, [นาม
สมมุติ]. (2554.)
การรุ กเบียดของนาเกลือต่อนาข้าวเริ่ มต้นขึ้นสมัยบิดาของนายเรี ยน ซึ่ งเป็ นครอบครัว
ของชาวโซ่ กลุ่ มแรกที่ อพยพมาปั กหลักที่บ ้านโนนดอกไม้แดง สมัย บิดาของนายเรี ยน มีนาใน
บริ เวณทุ่งดอกไม้แดงจํานวน 32 ไร่ (ภายหลังเมื่อบิดานายเรี ยน เสี ยชีวิตก็ได้แบ่งกันกับน้องชายซึ่ ง
ตนเองได้ที่นามรดกจํานวน 14 ไร่ ) นาข้าวของบิดานายเรี ยนเริ่ มทํานาไม่ได้เพราะมีคนมาทํานา
เกลือล้อมรอบ และเจ้าของนาเกลือก็ไม่อนุญาตให้สัญจรผ่านเข้าออก เมื่อนายทุนก็บีบบังคับโดยไม่
ยอมให้เดินผ่านที่ดินนาเกลือของเขาเพื่อบีบให้ขายที่ดินในราคาถูก ๆ บิดานายเรี ยนไม่ยอม จึงต้อง
ซื้อที่ดินเป็ นทางผ่านเข้านาของตัวเองเป็ นเงิน 90,000 บาท ต่อมานายทุนมาเสนอราคาซื้ อที่ดินราคา
ตํ่ามากเพียงไร่ ละ 5,000 บาทซึ่ งตํ่ามากถ้าขายก็ไม่อาจจะไปหาซื้อที่ดินในราคาถูก ๆ เช่นนั้นได้ เมื่อ
ไม่ สามารถเข้า ไปทํา นาได้และขายก็ ไม่ คุม้ เพราะรอบ ๆมีแต่ นาเกลื อ จึ งตัดสิ นใจไปตกลงกับ
นายทุนว่าตนจะเลิกทํานาข้าวแต่จะไม่ขายที่และสมัครใจจะผลิตเกลือให้นายทุนเกลือโดยขอกูเ้ งิน
เขามา 170,000 บาท(เมื่อปี 2529)โดยที่นายทุนคิดดอกเบี้ยร้อยละ 3 บาทต่อเดือน และให้ทาํ นาเกลือ
ใช้หนี้ทุกปี มานาน 15 ปี แต่กลับปรากฏว่าหนี้ไม่ได้ลดลงเลยนายทุนจึงฟ้ องร้องจะยึดที่นา ภายหลัง
เมื่อบิดาเสี ยชีวติ นาเกลือแปลงดังกล่าวจึงอยูใ่ นความรับผิดชอบของตน ซึ่ งต้องไปกูเ้ งินธนาคารเพื่อ
การเกษตรและสหกรณ์การเกษตรมาเป็ นเงิน 350,000 บาท พร้อมทั้งขายควายที่มีอยู่ท้ งั หมดเพื่อ
ปลดนี้จากนายทุนได้เมื่อปี 2544
ปั จจุบนั นาเกลือ 14 ไร่ ได้ผลผลิตเกลือประมาณ 2,000 ตันต่อปี โดยมีระยะเวลาในการ
ผลิตช่วงฤดูที่ไม่มีฝนประมาณ 5 เดื อน(เก็บเกลือประมาณเดือนละ 1 ครั้ง) เริ่ มตั้งแต่เดือน
พฤศจิกายนของทุกปี และจะต้องหยุดสูบนํ้าเกลือในวันที่ 1 เมษายนของทุกปี ซึ่ งตนจะพยายาม
ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่อุตสาหกรรมกําหนดอย่างเคร่ งครัด ตอนนี้ นาเกลือของตนและน้องชาย
เป็ นนาเกลือที่ได้รับใบอนุญาตประกอบกิ จการเกลือถูกต้องจากอุตสาหกรรมจังหวัด โดยจะ
จ่ายภาษี 300 บาทต่อปี (ใบอนุญาตใบเดียวแต่มี 2 แปลงคือของตนและของน้องชาย รวมพื้นที่
นาเกลือ 32 ไร่ ) นาเกลือในส่ วนของตนผลิตเกลือได้ 2,000 ตันราคาขายตันละ 350 บาท
ต้นทุนประมาณ 70,000 บาทสําหรับเตรี ยมพื้นที่ คืออัดดินเตรี ยมนาซึ่ งไม่รวมค่าแรงงานและ
ค่าสูบนํ้าและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ (นายเรี ยน ลอยเรื อ, [นามสมมุติ]. (2554.)
เมื่อสู บนํ้าเข้านาเกลือแล้วก็จะตากเกลือประมาณ 15 - 20 วันก็เก็บเกลือได้โดยจะมี
คนงานมาเก็บเกลือในนาเกลือแปลงนี้ ประมาณ 10 คนต่อวันทํางานเก็บเกลือประมาณ 7- 10 วัน
คนงานที่ ม าทํา งานจะมี ค นในหมู่บา้ นและหมู่ บา้ นรอบ ๆ โดยจะมี หัวหน้า คนงานเป็ นคนเรี ย ก
126

ประสานงานหาคนงานมาให้ นอกจากนี้ ก็จะมีค่าใช้จ่ายอื่นเช่ นค่าเครื่ องสู บนํ้า ค่านํ้ามัน ค่าซ่ อม


บํารุ ง และค่าดูแลคนงาน เช่ น การเตรี ยมนํ้าแข็ง กาแฟ สําหรับคนงานเพราะถ้าไม่ดูแลก็ไม่มีใคร
อยากมาทํางานในนาของตนเพราะเป็ นแปลงนาเล็ก โดยจะจ่ายค่าแรงงานแก่คนงานตามลักษณะ
และปริ มาณงานที่ทาํ คือกวาดและตักเกลือกระสอบละ 3 บาท เข็นเกลือไปกองกระสอบละ 3 บาท
(สองคนงานพร้อมรถไถจะเข็นเกลือได้ประมาณวันละ 500 กระสอบ)
“ก่อนฤดูกาลทําเกลือจะไปคุยกับนายทุนโดยจะตกลงกันว่าปี นี้ จะผลิตเกลือให้เขาได้กี่
ตันแล้วนายทุนก็จะให้เงินมาลงทุนปรับปรุ งนาเกลือแปลงละประมาณ 70,000 แต่เราจะต้อง
ลงทุนค่าแรงคนงาน ค่านํ้ามัน(ประมาณ 200 ลิตร) ค่าอาหาร รายได้จากการทํานาเกลือตลอด
ปี จะประมาณ 200,000 – 700,000 บาทต่อปี (ยังไม่หกั ค่าใช้จ่าย) และเมื่อสิ้ นสุ ดฤดูกาลทํา
เกลือ ก็ไม่ได้ทาํ นาข้าวเพราะไม่มีนาข้าวต้องซื้ อข้าวกิ นตลอดปี และอาหารทั้ง 3 มื้อต้องซื้ อ
ทุ กอย่าง ผิดจากตอนก่ อนจะกลายมาเป็ นนาเกลื อพื้ นที่ นา 32 ไร่ ของพ่อเคยผลิ ตข้าวได้
ประมาณ 250 กระสอบ (กระสอบละประมาณ 28 กก.) สามารถหาปลา หาอยู่หากินตามห้วย
ได้ตอนนี้ไม่อาจจะทําได้เค็มหมด ตอนนี้มีลกู ทั้งหมด 6 คน แต่งงานมีครอบครัวไปแล้ว 3 คน
อีก 3 คนยังอยูใ่ นบ้านและกําลังเรี ยนหนังสื ออยู่ จึงตัดสิ นใจไปเช่านาข้าวเขาทํา บางปี อาศัยทํา
นาของลูกเขยที่ อยู่หมู่บา้ นใกล้ ๆ ทําพอให้มีขา้ วกิ นโดยไม่ตอ้ งซื้ อลดภาระค่ าใช้จ่ายและ
หนี้สินลง‛ (นายเรี ยน ลอยเรื อ, [นามสมมุติ]. (2554.)

เมือเปลี่ยนอาชีพจากชาวนาข้าว มาเป็ นชาวนาเกลือ นายเรี ยนก็ยงั เชื่ออยูว่ า่ บนผืนนานั้น


มีผีนาเหมือนเวลาทํานาข้าว นายเรี ยนมีความเชื่ อในการทําเกลือคือมีการเลี้ ยงบ่อเกลือก่อนทํานา
เกลื อในวันขึ้นสามคํ่าเดื อนสามของทุกปี โดยร่ วมกับชาวบ้านที่เป็ นวันเลี้ ยงผีปู่ย่า ประจําปี ของ
หมู่บา้ นอยู่แล้ว แต่คาํ อฐิษฐานของเขาเปลี่ยนไปจากที่เคยขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล เป็ นขอให้
แดดดี และขอให้น้ าํ เค็ม ๆ ได้เกลื อมากๆ นอกจากนี้ ในหมู่บา้ นได้มีระเบียบปฏิ บ ตั ิร่วมกันของ
ชาวนาเกลือคือ ห้ามสู บนํ้าเครื อ หรื อเดินเครื่ องจักรในวันพระผูใ้ ดฝ่ าฝื นจะปรับเป็ นเงิน 500 บาท
โดยจ่ายเงิ นเข้าบัญชี กรรมการหมู่บา้ น ซึ่ งมีอตั ราปรับเท่ากันกับการทําผิดข้อห้ามอื่นของหมู่บา้ น
เช่ น ห้ามสี ขา้ ว ห้ามขนฟื นผ่านหมู่บา้ นในวันพระ เป็ นต้น การเลี้ ยงปู่ ตาถือเป็ นการทําพิธีเลี้ ยงบ่อ
เกลือก่อนจะลงทํานาเกลือทุกปี ขอไม่ให้ฝนตก ขอให้น้ าํ เค็ม
จากตารางที่ 8 จะเห็นว่าชาวบ้านโนนดอกไม้แดงที่เป็ นเจ้าของที่ดินและกิจการนาเกลือ
มีเพียง 3 ครัวเรื อน และจากการสํารวจข้อมูลพบว่าชาวบ้านโนนดอกไม้แดงมีอาชีพรับจ้างทํางาน
ในนาเกลือ 69 ครั วเรื อนแต่ละครัวเรื อนอาจจะมีสมาชิ กทํางานนาเกลื อประมาณ 1-2 คนหรื อ
มากกว่ารวมแล้วคนที่ทาํ งานรับจ้างในนาเกลือประมาณ 121 คนหรื อคิดเป็ นร้อยละ 33 ของจํานวน
127

ครัวเรื อนทั้งหมด ทั้งนี้ มีผปู ้ ระกอบการนาเกลือที่เป็ นเจ้าของที่ดิน 11 ครัวเรื อนคิดเป็ นร้อยละ 5


ของจํานวนครัวเรื อนทั้งหมด และในจํานวนนี้ มีชาวบ้านโนนดอกไม้แดงเพียง 3 ครัวเรื อนหรื อ
ประมาณร้อยละ 1 ของจํานวนครัวเรื อนทั้งหมด ซึ่ งประกอบกิจการเกลือในพื้นที่รวมประมาณ 38
ไร่ คิดเป็ นร้อยละ 8ของพื้นที่นาเกลือทั้งหมดในหมู่บา้ น ส่ วนผูป้ ระกอบการเกลือที่เป็ นเจ้าของที่ดิน
ที่เหลือเป็ นบุคคลที่ยา้ ยมาจากภายนอก 8 ครัวเรื อนหรื อประมาณร้อยละ 2 ของคํานวนครัวเรื อน
ทั้งหมด รวมพื้นที่นาเกลือของบุคคลภายนอกประมาณ 439 ไร่ หรื อคิดเป็ นร้อยละ 92 ของพื้นที่นา
เกลือทั้งหมดในหมู่บา้ น นอกจากนี้ มีชาวบ้านโนนดอกไม้แดงที่มีอาชีพเช่ าที่นาเกลือ และมีฐานะ
เป็ น ‚ลูกนา‛ ให้กบั เจ้าของที่ดินหรื อพ่อค้าเกลือ หรื อรับจ้างเจ้าของนาเกลือรายใหญ่ 6 ครัวเรื อนคิด
เป็ นร้อยละ 3 ของจํานวนครัวเรื อนทั้งหมด รวมพื้นที่ประมาณ 155 ไร่ ที่เช่าจากเจ้าของที่ดินต่างถิ่น
คิดเป็ นร้อยละ 27 ของพื้นที่ทาํ นาเกลือทั้งหมดในหมู่บา้ น
“ปี 2522 เป็ นปี ที่เริ่ มมีการสร้าง "ทางเกษตร" ของทหารเพื่อตัดจากหมู่บา้ นไปดงพะลาด
ตอนนั้นหมู่บา้ นมีประมาณ 50 – 60 ครัวเรื อนและเริ่ มมีการต้มเกลือแล้ว ทํากันอยู่เพียง 2 ปี ก็
เริ่ มมีนายทุนมาทํานาเกลือเมื่อนายทุนเข้ามาก็เริ่ มมีการกว้านซื้ อที่ดินเพื่อตัดเบิกไม้ปรับนาให้
เรี ยบเสมอกันโดยจะใช้รถแทร็ กเตอร์ ขนาดใหญ่ โดยมีกลุ่มของ "ยายเขียว" “ยายจันทร์ " จาก
อําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสี มาเข้าเป็ นกลุ่มแรก เป็ นกลุ่มที่เข้ามาซื้ อไร่ ซ้ื อนาที่เป็ นที่ราบลุ่ม
ริ มห้วยบ่อแดงรอบหมู่บา้ นในราคาไร่ ละประมาณ 10,000 บาทในตอนนั้นชาวบ้านที่เริ่ มขาย
ที่แล้วก็ไปซื้ อที่ดินผืนใหม่เป็ นนาโคกที่ราคาถูกกว่าแต่อุดมสมบูรณ์นอ้ ยกว่า ก่อนหน้าที่จะมี
คนมากว้านซื้ อที่ดินนั้นไม่นาน มีการเริ่ มทําเกลืออยู่ก่อนแล้วในทางทิศเหนื อของหมู่บา้ น ณ
บริ เวณที่เรี ยกว่าโนนกกดู่ มีการเจาะบ่อเกลือต้มเกลืออยู่ก่อนแล้ว‛ (นายทนง ศาสตรา,[นาม
สมมุติ]. (2554. )

“การทํานาเกลือต้องเจาะนํ้าบาดาลขนาดใหญ่ซ่ ึ งตอนนั้นส่ วนใหญ่จะใช้เครื่ องสู บนํ้ามา


สู บนํ้าบาดาลมาตากบนนาเกลือโดยใช้รถไถ 11 แรงพ่วงปั๊ ม 3 ตา ต่อมาก็เปลี่ยนเป็ นเครื่ อง
ไดนาโม เครื่ องซับเมิ ส และปั๊ มลม ที่ ใช้ไ ฟฟ้ าหรื อบางที ก็ใช้เ ชื้ อเพลิ งเป็ นนํ้า มันเบนซิ น
หลังจากรับจ้างตัดไม้ออกจนหมด ต่อมาก็ไปรับจ้างทํางานในนาเกลือ ไปช่วยเขาปรับที่นาอัด
พื้นดิ น กลิ้งลูกกลิ้งที่ ทาํ ด้วยปูนเพื่ออัดพื้นให้แน่ น บางที ก็ใช้รถบดดิ น การบดอัดดิ นในนา
เกลือต้องบดอัดถึง 3 รอบเพื่อให้พ้ืนดินแน่นปล่อยนํ้าเข้าแล้วไม่เป็ นตะกอน เมื่อบดอัดแน่นดี
แล้วสู บนํ้าเกลือใส่ ตอนแรกการทํางานในนาเกลือจะได้ค่าแรง 120 – 150 บาทต่อวันจะต้อง
เริ่ มทํางาน 8 โมงเช้า เลิกงาน 17.00 น. เมื่อตากจนได้เกลือแล้วก็ไปรับจ้างขนเกลือ เข่งละ 1
บาทเริ่ มทํางานตั้งแต่ตี 4 – ตี 5 แล้วก็เลิกประมาณ 4 โมงเย็นจะได้เกลือประมาณ 300 เข่ง แบ่ง
ครึ่ งหนึ่งคนละประมาณ 150 บาทกับคู่ที่ทาํ งานด้วย‛ (นายทนง ศาตรา.[นามสมมุติ], (2554.)
128

จากระยะเริ่ ม แรกที่ คนมีงานให้ไ ด้รับจ้า งรายวันมีรายได้ และที่ ดินราคาสู งขึ้ นอย่า ง


รวดเร็ วทําให้คนหลายคนเริ่ มขายที่ดินบริ เวณทุ่งดอกไม้แดงแล้วไปหาซื้ อที่ดินแปลงใหม่ที่ราคาถูก
กว่าขณะเดี ยวกันนั้นยังมีชาวนาจํานวนหนึ่ งที่ไม่ยอมขายที่ดินและพยายามดินรนต่อสู้ต่อรองกับ
กิจการนาเกลื อ เช่ น การไปร้ องเรี ยนเรื่ องผลกระทบจากความเค็มในแหล่งนํ้าและที่นาของตนแต่
กลับไม่เป็ นผล แม่จะมีอยูป่ ี หนึ่งที่ได้รับค่าชดเชยไร่ ละ 3,000 บาทแต่ความเค็มก็ยงั ทวีข้ ึนเรื่ อย ในปี
ต่อ ๆ มาจนในที่สุดนิเวศนาข้าวทุ่งดอกไม้แดงก็ลุ่มสลายลงอย่างสิ้ นเชิงในเวลาไม่นานนัก

ตารางที่ 8 รายชื่อผูผ้ ลิตเกลือในเขตพื้นที่บา้ นโนนดอกไม้แดง

ลาดับ ชื่อผู้ผลิต พืน้ ทีน่ าเกลือ พืน้ ทีน่ าเกลือ


(มีกรรมสิทธิในทีด่ นิ ) (เช่ าจากผู้อนื่ )
1 นางมรกต 6 ไร่ 14 ไร่ เช่าจาก
(ย้ายมาจาก อ.พิมาย จ.นครราชสี มา) หจก.กอไก่
2 นายเดชฤทธิ์ 21 ไร่ -
(ย้ายมาจาก อ.พิมาย จ.นครราชสี มา)
3 นางอินทนิล 40 ไร่ -
(ย้ายมาจาก อ.พิมาย จ.นครราชสี มา)
4 นายพาย ไวว่อง 6 ไร่ 10 ไร่ เช่าจาก
หจก.กอไก่
5 นายปรัชญา คิดควร 18 ไร่ (มีใบอนุญาต) 20 ไร่ เช่าจาก หจก.
นางดอกไม้
6 นายเรี ยน ลอยเรื อ 14 ไร่ (มีใบอนุญาต) -
7 นายเข้ม แก้วเขียว (เป็ นชาวนครพนม เป็ น 42 ไร่ 16 ไร่ เช่าจาก
ผูท้ าํ นาเกลือ รับซื้อและเป็ นเจ้าของกิจการ ชาวบ้าน
โรงงานล้างเกลือ)
8 นายจิตดี (ชาวบ้านหนองนํ้าใส) 21 ไร่ (มีใบอนุญาต) -


ชื่ อบุคคล และห้างหุ ้นส่ วนจํากัด ที่ปรากฎในตารางนี้ เป็ นชื่ อสมมุติ ใช้แทนชื่ อจริ งของบุคคลและห้างหุ ้นส่ วนนั้น
129

ตารางที่ 8 รายชื่อผูผ้ ลิตเกลือในเขตพื้นที่บา้ นโนนดอกไม้แดง (ต่อ)

ลาดับ ชื่อผู้ผลิต พืน้ ทีน่ าเกลือ พืน้ ทีน่ าเกลือ


(มีกรรมสิทธิในทีด่ นิ ) (เช่ าจากผู้อนื่ )
9 นางดอกไม้ (หจก. นางดอกไม้ เป็ นผูร้ ับ 182 ไร่ 25 ไร่ เช่าที่นา
ซื้อเกลือรายใหญ่ มีนาเกลือในหลาย (ให้เช่าบางส่วน เน้นแต่รับ หจก.กอไก่
หมู่บา้ น เป็ นเจ้าที่ดิน สวนยางพารา สวนยู ซื้อและจ้างลูกนา จัดการ
คาลิปตัสหลายพันไร่ ในเขตนี้) พื้นที่นาเกลือมีลูกนา 4 ราย
ในบ้านโนน ดอกไม้แดง)
14 นายรสดี สวยสด - 10 ไร่
เช่าที่นา หจก.
นางดอกไม้
15 นายสมประสงค์ - 10 ไร่
เช่าที่นา หจก.
นางดอกไม้
รวมพื้นที่นาเกลือ 372 105 ไร่
ไม่รวมพื้นที่เช่าจาก หจก.
นางดอกไม้
รวมพื้นที่ที่มีใบอนุญาต 53 ไร่ -
รวมพืน้ ทีน่ าเกลือทั้งสิ้น 477 ไร่

“พ่อจําต้องกลายมาเป็ นชาวนาเกลือเพราะเมื่อนายทุนมาทํานาเกลือล้อมนาข้าวในที่สุด
ก็จาํ เป็ นต้องเปลี่ยนอาชีพจากชาวนาข้าวมาเป็ นคนทํานาเกลือ นับเป็ นนาข้าวผืนสุ ดท้ายในทุ่ง
ดอกไม้แดง เมื่อพ่อเสี ยก็แบ่งนาเกลือมรดกกับพี่ชายได้มา 18 ไร่ แล้วเริ่ มต้นทํานาเกลือเมื่อปี
2544 ก่อนนั้นทํางานเป็ นคนรับส่ งเอกสารที่กรุ งเทพฯ‛ (นายปรัชญา ควรคิด, [นามสมมุติ].
(2554.)
การทํานาเกลื อต้องลงทุนสู ง ทําให้ตอนลงทุนเริ่ มแรกบิดาของนายปรัชญา เมื่อนาข้าว
ไม่ให้ผลผลิตเพราะได้รับผลกระทบจากความเค็มของเกลือมานานหลายปี พ่อจึงตัดสิ นใจนําที่ดิน
แปลงสุ ดท้ายจํานวน 32 ไร่ ไปขายฝากไว้กบั นายทุนนาเกลือ เพื่อนําเงินก้อนมาลงทุนขุดปรับพื้นที่
ทําแปลงนาเกลือ บดอัดดินให้แน่น ตลอดจนค่าใช้จ่ายในการสู บนํ้าบาดาลมาตากเป็ นเกลือ ทําให้
ชาวนาเกลือท้องถิ่นหน้าใหม่ทุนน้อย ตกลงไปในวงเวียนหนี้สินจนที่ดินเกือบตกเป็ นของนายทุน
130

“ตอนมารับช่วงทํานาเกลือจากพ่อ นายทุนกําลังจะมายึดที่นาเพราะหนี้ ดอกเบี้ย จึงต้อง


ไปกูห้ นี้มาปลดหนี้ และลงทุนทํานาเกลือต่อ เริ่ มจากการที่ที่ดินแปลงนี้ ไม่มีบ่อนํ้าเกลือจึงไป
ซื้ อที่ขดุ บ่อนํ้าเกลืออีกที่หนึ่งเป็ นพื้นที่ 1 งานราคา 70,000 บาท จ้างเจาะบ่อนํ้าเกลืออีก 50,000
บาท(เจาะลึกประมาณ 50 – 60 เมตร)บ่อนํ้าเกลื อห่ างจากผืนนาเกลือของตนประมาณ 1
กิโลเมตรทําให้ตอ้ งลงทุนซื้ อเครื่ องสู บนํ้าเกลืออีก 70,000 บาทไม่รวมค่าใช้จ่ายซื้ อท่อ PVC
ส่ งนํ้ามาเข้านากว่าจะทํานาเกลือได้ก็ลงทุนมาก‛ (ปรัชญา ควรคิด. [นามสมมุติ], อายุ 42 ปี
สัมภาษณ์ 6 ตุลาคม 2554)
นอกจากนี้ หลังเตรี ยมโครงสร้ างพื้นฐานเสร็ จ ในแต่ละปี ต้องทําการบดอัดเตรี ยมดิ น
ใหม่ทุกปี แล้วก็จะสู บนํ้าเกลือลงใส่ นาจนเต็มใช้เวลาประมาณ 20 ชัว่ โมงจึงจะเต็มนาโดยปล่อยนํ้า
ให้สูงขึ้นมาประมาณ 10 เซนติเมตรแล้วตากไว้ราว 25 วัน นํ้าจะระเหยออกส่ วนเกลือก็จะตกผลึก
เป็ นเม็ดเกลื อ โดยปกติการสู บนํ้าเกลือขึ้นมาทํานาเกลือนั้นกระทรวงอุตสาหกรรมอนุ ญาตให้สูบ
นํ้าเกลือได้ต้ งั แต่ 1 ตุลาคม – 31 มีนาคมของทุกปี ซึ่ งอาจจะยืดเวลาในการเก็บเกลือได้ถึงสิ้ นเดือน
เมษายน ได้ ทั้งนี้ เมื่อเริ่ มฤดูกาลผลิตจะไปตกลงขอเบิกเงินจากนายทุนโดยทําสัญญากันว่าปี นี้ จะ
ผลิตเกลือให้เขากี่ตนั ก็จะได้เงินมาลงทุนและเขาก็จะรับซื้อเกลือตันละ 350 บาท โดยที่ในปี นี้ ตนได้
สัญญาจะส่ งเกลือให้นายทุน 300 ตันก็จะได้เงินมาใช้ในการลงทุน 105,000 บาท(ลักษณะการไปรับ
เงิ นมาแล้วส่ งเกลื อให้นายทุนนี้ เรี ยกว่า ตกเขียวเกลื อ) และต้องผลิตเกลือใช้หนี้ เขาให้หมดตาม
จํานวนที่ตกลงไว้ก่อนจึงสามารถขายเกลือนอกเหนือจากจํานวนที่ตกลงกันไว้
ในรอบการผลิตหนึ่งจะเก็บเกลือได้ประมาณ 4 – 5 รอบ ซึ่ งบางปี อาจจะฝนตกเก็บเกลือ
ได้เพียง 2 รอบก็มี ธรรมดาปี หนึ่ งจะสามารถผลิตเกลือประมาณ 1,400 – 1,500 ตันต่อปี แต่ราคา
เกลือจะขึ้นลงได้ประมาณ 250 – 800 บาทต่อตัน
“นอกจากทํานาเกลือของตัวเองแล้วยังรับเป็ นลูกนา (คือการที่ชาวนามีที่ดินของตัวเอง
แต่สญั ญาจะผลิตเกลือให้กบั ผูร้ ับซื้ อ) และรับทํางานให้ นางดอกไม้ เจ้าของห้างหุ น้ ส่ วนจํากัดราย
ใหญ่แห่ งหนึ่ ง โดยทําหน้าที่ ควบคุมดูแลกิ จการทํานาเกลือให้เจ้าของที่ ดินนาเกลือรายใหญ่ใน
หมู่บา้ น โดยตนได้เงินเดือนเดือนละ 8,000 บาท‛ (นายปรัชญา ควรคิด, [นามสมมุติ]. (2554.)
การเป็ นลู ก นาแบบจ้า งประจําจะต้องทําหน้าที่ บริ หารจัดการนาเกลื อเพื่ อผลิ ตเกลื อ
ควบคุ มคนงานให้เจ้าของนาซึ่ งมี ที่นาเกลื อในพื้นที่โนนดอกไม้แดงประมาณ 182 ไร่ (ปั จจุบนั
ไม่ได้ทาํ นาเกลือทั้งหมดปล่อยทิ้งว่างไว้เฉย ๆเป็ นส่ วนมาก) ทั้งนี้ ยงั มีที่ดินและพื้นที่นาเกลือในเขต
หมู่บา้ นอื่นที่เป็ นแหล่งผลิ ตเกลือหรื อทํานาเกลืออีกหลายร้อยไร่ ทั้งนี้ในเขตบ้านโนนดอกไม้แดง
ที่ดินนายทุนรายนี้ ทาํ นาเกลื อจริ งๆ ประมาณ 40 ไร่ ข้ ึนอยูก่ บั ราคาเกลือและสภาพดินฟ้ าอากาศที่
131

บางปี อาจจะขยายพื้นที่ทาํ เกลือมากขึ้น บางปี อาจจะจํากัดพื้นที่ลงแต่จะไม่นอ้ ยกว่า 40 ไร่ ท้ งั นี้ มีคน


ที่ เป็ นลู กจ้างนาเกลื อคื อนายปรั ช ญา เป็ นคนดู แลงานการผลิ ตเกลื อให้ก ับ ห้า งหุ่ นส่ วนของนาง
ดอกไม้ เป็ นเหมือนผูจ้ ดั การนาและได้เงินเดือนประจํา 8,000 บาททุกเดือน และสามารถตกเขียวเงิน
มาลงทุนทํานาเกลือในที่ดินของนางดอกไม้ โดยจะต้องจ่ายค่าเช่าเป็ นเกลือตามที่ตกลงกัน นอกจาก
นายปรัชญาแล้วห้างหุ น้ ส่ วนของงนางดอกไม้ มีลูกนาในบ้านโนนดอกไม้แดงอีก 3 คน
นายปรัชญา เช่านาเกลือนางดอกไม้ 2 ลักษณะคือ คือเช่าแบบขาดตัวหมายถึงตีราคาราย
ปี ว่าตกลงเช่ากี่บาทก็จ่ายเป็ นเกลือจํานวนเท่านั้นเป็ นพื้นที่ 10 ไร่ เกลือที่เหลือสามารถนําไปขายให้
ใครก็ได้ในราคาตามท้องตลาด และเช่ าแบบตกเขียวเกลือ 10 ไร่ กล่าวคือสามารถกูเ้ งินจากนาง
ดอกไม้ มาลงทุนก่อนเป็ นค่าปรับที่ดิน ค่าเครื่ องจักร นํ้ามัน เป็ นต้น ทั้งนี้ ตอ้ งจ่ายกลับให้เจ้าของ
ที่ดินเป็ นเกลือคือต้องขายเกลือที่ผลิตได้ท้ งั หมดให้กบั เจ้าของนา คือ หจก. ของนางดอกไม้ ในราคา
350 บาท ไม่วา่ ราคาตลาดจะขึ้นจะลงเท่าไรก็ตอ้ งขายในราคานี้ เท่านั้น ทั้งนี้ เจ้าของนามีมาตรการ
จูงใจให้ผลิตเกลื อได้มากคือ การเช่านาเกลือทั้ง 2 แบบนี้จะได้รับเงินพิเศษจากจํานวนเกลือที่ผลิต
ได้ตนั ละ 0.50 บาท ผูเ้ ช่านาของนางดอกไม้อีก 3 รายเช่าคนละ 10 ไร่ เป็ นการเช่าแบบตกเขียวเกลือ
10 ไร่ ทั้งนี้ลูกนา 3 รายหลังจะได้รับเงินเดือนละ 4,000 บาทเฉพาะในฤดูทาํ นาเกลือเท่านั้น ซึ่ ง
แตกต่างจากนายปรัชญาที่ได้รับเงินเดือนประจําเดือนละ 8,000 บาทตลอดปี เพราะต้องรับผิดชอบ
งานที่เพิ่มขึ้น เช่นดูแลฉางเกลือของ หจก. ทั้งหมด ดูแลซ่อมบํารุ งเครื่ องจักร อุปกรณ์ทาํ นาเกลือ ถือ
เป็ นลูกจ้างประจําของ หจก. แต่ไม่สัญญาจ้างหรื อมีสวัสดิการตามกฎหมาย

ภาพที่ 12 คนงานกวาดเกลือในนาเกลือ ภาพที่ 13 คนงานตักเกลือใส่ เข่ง


132

ภาพที่ 14 คนงานหาบเข่งเกลือ ภาพที่ 15 คนงานขนเกลือ

ภาพที่ 16 คนงานเก็บเกลือในนาเกลือ ภาพที่17 คนงานขนเกลือเข้าฉาง

ภาพที่ 18 เครื่ องจักรทํางานในลานกลองเกลือ ภาพที่ 19 เครื่ องจักรโกยเกลือขึ้นรถบรรทุก


133

“หจก.นางดอกไม้ จําเป็ นต้องผลิตเกลือให้ได้แน่นอนจึงใช้วิธีจ่ายค่าจ้างลูกนา เพื่อป้ อน


โรงงานของบริ ษทั เคมเม็กอุตสาหกรรม จํากัด ซึ่ งเป็ นโรงงานผลิ ตโซเดี ย มไฮดรอกไซด์
(โซดาไฟ) คลอรี นเหลว กรดเกลือ โซเดียมไฮโปคลอไรท์ และนําไปใช้ในโรงงานฟอกย้อม
แห่งหนึ่งของบริ ษทั โดยที่ หจก.นางดอกไม้แห่ งเดียวจะต้องผลิตเกลือป้ อนให้กบั บริ ษทั เค็ม
แม็ก ไม่ต่าํ กว่าเดือนละ 1,000 ตันหรื อปี ละประมาณ 12,000 – 15,000 ตันไม่ให้ขาด บริ ษทั
หรื อโรงงานผูร้ ับซื้ อเกลือแห่งนี้นิยมซื้ อเกลือจาก หจก.นางดอกไม้ เพราะถือเป็ นผูส้ ่ งเกลือราย
ใหญ่มีเงิ นทุ นสํารองมากและจะเรี ยกเก็บเงิ นจากบริ ษทั ผูใ้ ช้เกลื อปี ละเพี ยง 2 ครั้ งเท่ านั้น
แตกต่างจากผูส้ ่ งเกลือรายอื่ นที่ ตอ้ งเรี ยกเก็บเงิ นงวดต่ องวดหรื อเรี ยกเก็บรายเดื อน‛ (นาย
ปรัชญา ควรคิด, [นามสมมุติ]. (2554.)

ทั้งหมู่บา้ นโนนดอกไม้แดงมีผปู้ ระกอบการในกลุ่ มผูป้ ระกอบการเกลื อสิ นเธาว์บา้ น


โนนดอกไม้แดง หรื อคนทําเกลือและลูกนารวม 15 คน (คิดจากการรวบรวมเก็บเงินหากเกิ ดกรณี
ผลกระทบซึ่ งบางปี เกิ ดดิ นทรุ ด 2 – 3 ครั้งหรื อเกิดมีบา้ นเรื อนที่อยู่ใกล้นาเกลือแตกร้าวจากการ
ยุบตัวของดิ น และในบรรดา 15 คนนี้ มีแต่ระดับลูกนาเท่านั้นที่ร่วมรับผิดชอบช่ วยเหลื อแก้ไข
ปั ญหาที่เกิดขึ้น ไม่มีคนที่เป็ นนายทุนรายใหญ่ที่เป็ นเจ้าของที่ดิน แต่อยูน่ อกพื้นที่มาร่ วมรับผิดชอบ
หรื อรับรู ้ปัญหาในพื้นที่ดว้ ย)
คนงานที่มาทํางานในนาเกลือจะจ้างเหมาตามลักษณะงาน เช่น ขนเกลือเข้าฉางกระสอบ
ละ 3 บาท กวาดและตักเกลือขึ้นจากนาเข่งละ 3 บาท เกลือที่ผลิตได้จากบ้านโนนดอกไม้แดงจะ
ส่ งไปที่โรงงานย้อมผ้า ที่นิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร บริ ษทั ซี แม็ก จํากัดซึ่ งมีนายทุนใหญ่ที่รับ
ซื้อและขนส่ งเกลือคือ ห้างหุ่นส่ วนจํากัดนางดอกไม้ ห้างหุ่นส่ วน กอ.ไก่ จํากัด และห้างหุ ้นส่ วน ว.
เกลือ ซึ่ งเป็ นเจ้าของเดียวกันกับ ห้างหุน้ ส่ วนจํากัด ว.แหวน ทั้ง 4 ห้างหุ ้นส่ วนนี้ เป็ นผูผ้ ลิตรายใหญ่
หรื อคนกลางในการรวบรวมเกลือจากลานเกลือบ้านโนนดอกไม้แดงไปส่ งโรงงาน
นายทุนหรื อบริ ษทั หรื อห้างหุ ้นส่ วนหนึ่ งๆ อาจจะมีลูกจ้างคอยดูแลรวบรวมเกลือจาก
ลูกนานอกจากนี้จะมีรายได้จากค่าหัวคิวตามปริ มาณเกลือที่ผลิตได้ ตันละประมาณ 20 – 30 บาท
“ผมเป็ นเหมือนหัวหน้างานดูแลนาเกลือให้นางดอกไม้ เขาจ้างผมให้ตกเช่านาเขาแบบ
ตกเขียวเกลือซึ่ งนางดอกไม้จะให้เงินทุนมา และยังได้รับเงินเดือนเดือนละ 4,000 บาทตลอด
ช่ วงทําเกลือ เพราะนายจ้างมีนาเกลือหลายแปลง งานที่ ตอ้ งรับผิดชอบคื อ อัดดิ นเตรี ยมนา
ลงทุนประมาณ 50,000 บาทในการจ้างคนงาน นํ้ามัน และซ่ อมรถ สู บเติมนํ้าเค็มลงใส่ ให้เต็ม
นา เก็บเกลื อ จ้างคนงานตักเกลื อ จ้างคนงานเข็นเกลื อ และในการลงทุ นคิ ดเป็ นรอบๆ ละ
ประมาณ 20,000 – 30,000 บาท ตากเกลือประมาณ 4 สัปดาห์ได้เกลือประมาณ 200 ตัน ใน
134

หนึ่ งปี การผลิตจะผลิตเกลือได้ 5 รอบใช้เวลาประมาณ 5 เดื อน‛ (นายบรรจง ใจดี , [นาม


สมมุติ]. (2554.)
การทํานาเกลือแบบลานดิน ที่บา้ นโนนดอกไม้แดงเป็ นการสู บนํ้าเค็มขึ้นมาตากบนลาน
ดิน เป็ นวิธีการผลิตเกลือที่ใช้พ้ืนที่มากที่สุดในลุ่มนํ้าสงครามในปัจจุบนั
“ผมคนพื้นเพมาจาก อําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสี มา มาที่บา้ นโนนดอกไม้แดงเพราะ
มาทํา นาเกลื อ รู ้ เ รื่ องเกลื อที่ นี่เพราะเดิ มก่ อนมาอยู่ที่นี่ตนก็มีอาชี พรั บจ้างทํางานทัว่ ไป มี
นายทุนคนหนึ่งมาหาเขาเป็ นเฒ่าแก่ใหญ่ เป็ นชาวบ้านลังกา อําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสี มา
มาชวนตนให้มาทํางานต้มเกลือขาย ตอนนั้นเขาบอกว่ารายได้วนั ละเป็ นพันตั้งแต่เมื่อสามสิ บ
ปี ก่อน เมื่อมาถึงบ้านโนนดอกไม้แดงก็เริ่ มที่ทาํ งานรับจ้างเขาทําเกลือสักพักก็เก็บหอมรอมริ บ
จนซื้ อที่ดินอยู่และตั้งเตาต้มเกลือของตัวเอง ข้อสําคัญที่มาที่นี่และอยู่ที่นี่เพราะใต้ดินบริ เวณ
รอบบ้านโนนดอกไม้แดงนี้ มีน้ าํ เกลือเค็มมาก เจาะนํ้าบาดาลที่ระดับความลึกประมาณ 70 –
100 เมตร จะพบธารนํ้าเค็มที่มีความเค็มสูง‛ (นายคู่ดี ดินสมบูรณ์, [นามสมมุติ]. (2554.)
กลุ่มคนที่เข้ามาทําเกลืออยูก่ ่อนแล้วบางส่ วนก็เป็ นคนโคราช มาจากอําเภอพิมาย อําเภอ
ชุมพวง ซึ่ งหลายคนก็ประสบล้มเหลวเลิกกิจการกลับไปแล้ว เพราะราคาเกลือขึ้นๆ ลงๆ ไม่แน่นอน
การทํานาเกลือถ้าปี ไหนฝนชุกก็มกั จะขาดทุน คนทํานาเกลือรายย่อยจึงมักจะเสี ยเปรี ยบเพราะราคา
เกลือนั้นเจ้าของโรงงานหรื อพ่อค้าคนกลางเป็ นคนกําหนด
“ปั จจุบนั นี้ ทาํ เกลือส่ งให้นายทุ นโดยตกลงกันตั้งแต่ ตน้ ปี ว่าปี นี้ จะทําเกลื อให้เขามาก
น้อยเท่าไหร่ ตอนนี้ ตนมีที่ดินที่ เป็ นนาเกลือของตัวเอง 7 ไร่ ทาํ เกลือได้มากที่ สุดประมาณ
200-500 ตันต่อปี ต้องลงทุนประมาณ 100,000 บาท ราคาเกลือก็จะตกอยู่ระหว่าง 350 – 1,000
บาท ใน ช่วงที่เกลือขาดราคาเกลือก็จะสู งขึ้น โดยจะจ้างคนทํางานประจําประมาณ 5 - 6 คน
ต่อปี ค่าแรงวันละ 200 บาท และต้องจ่ายค่าจ้างคนงานเก็บเกลือต่างหากประมาณ 10 คน ใน
แต่ละรอบโดยจ่ายค่าตักเกลือเข่งละ 3 บาท และค่าเข็นเกลือเข่งละ 3 บาท ในปี หนึ่ งจะทํางาน
เก็บเกลือได้ประมาณ 5 รอบ เพราะต้องใช้เวลาตากราว 1 เดือนต่อรอบ ถ้าอากาศร้อน ๆ ก็จะ
ใช้เวลาตากประมาณ 25 วันต่อรอบแต่ละรอบในพื้นที่นา 7 ไร่ ก็จะได้ผลผลิตเกลือราว 100
ตัน ซึ่ งแต่ก่อนเป็ นนาเกลือที่มีใบอนุญาตที่ตอ้ งต่อทุกปี จ่ายค่าธรรมเนียมราว 10,000 กว่าบาท
แต่หลังๆ ไม่มีเพราะถูกยึดใบอนุญาตไปบอกว่าไม่ทาํ ตามเงื่อนไขที่อุตสาหกรรมกําหนด และ
บริ เวณนี้เป็ นบริ เวณห้ามสูบนํ้าเกลือ‛ (นายคู่ดี ดินสมบูรณ์, [นามสมมุติ]. (2554.)
จากที่ กล่ า วมาจะเห็ นได้ว่าสภาวะการผลิ ตเกลื อในชุ มชนบ้า นโนนดอกไม้แดงนั้นมี
แรงผลักดันจากความต้องการเกลือของโรงงานอุตสาหกรรมในภาคกลาง โดยมีห้างหุ ้นส่ วนจํากัด 4
แห่ งที่ เข้ามามี บทบาทเป็ น ‚พ่อค้าคนกลาง‛ ที่ทาํ หน้าที่รวบรวมเกลื อให้ได้มากพอ ถื อเป็ นการ
135

เชื่อมโยงการผลิตในนาเกลือกับโรงงานอุตสาหกรรม โดยใช้ระบบ ‚ตกเขียว‛ หรื อการทํานาเกลือ


แบบพันธสัญญา เพื่อที่จะผูกพันธหนี้สินที่เกิดจากระบบนี้โยงชาวนาเกลือรายย่อย หรื อลูกนา เข้าสู่
กลไกลการค้าในตลาดผูกขาดแบบโควต้าการผลิตที่ทาํ ความตกลงกันระหว่างโรงงานผูใ้ ช้เกลือกับ
ห้างหุ่นส่ วนคนกลางโดยผูใ้ ช้เกลือหรื อโรงงานนั้น ๆ จะกําหนดราคาจากระบบการประมูลแข่งขัน
กันถ้าพ่อค้าจะต้องส่ งเกลือป้ อนให้ถึงหน้าโรงงานในราคาที่เสนอได้ต่าํ ที่สุดเท่าที่จะเป็ นไปได้ ทํา
ให้ราคาดังกล่าวไม่ได้สะท้อนต้นทุนการผลิตที่แท้จริ ง เช่น ผูป้ ระกอบการรายย่อยมักจะระบุวา่ การ
ลงทุนจะตกที่ประมาณ 50,000 – 70,000 บาทต่อไร่ ซึ่ งเป็ นการมองต้นทุนการผลิตที่ต่าํ มากหาก
เที่ยบกับการคํานวนของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม สํานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม (2549.) ซึ่ งแบ่งต้นทุนการผลิตออกเป็ นต้นทุนเริ่ มแรกได้แก่
ค่าที่ดิน, ค่าปรับสภาพพื้นนา, ค่าจ้างเจาะบ่อนํ้าเกลือ,ค่าเครื่ องอัดลมและอุปกรณ์ และค่าสร้างฉาง
เกลือ ประมาณ213,000 -700,000 บาทต่อพื้นที่นาเกลือ5 ไร่ หรื อประมาณ 43,600- 140,000บาทต่อ
ไร่ ทั้งนี้ ข้ ึนอยู่กบั จํานวนพื้นที่การผลิตที่เหมาะสม และต้นทุนการผลิ ตได้แก่ค่าวัตถุดิบ เช่ น ค่า
กระแสไฟฟ้ า นํ้ามัน ฯลฯ, ค่าแรงงาน และค่าโสหุ ้ยการผลิตอื่นๆ ตกประมาณ 130 – 160 บาทต่อ
ตัน ดังนั้นต้นทุนที่ผปู ้ ระกอบการรายย่อยคิดแบบประมาณการณ์น้ นั จึงไม่สะท้อนต้นทุนที่แท้จริ ง
ในการผลิต และไม่บวกผลกระทบที่เกิดขึ้นเป็ นต้นทุนการผลิตด้วยแต่อย่างใด

“บ่ อหัวแฮด” บ่ อเกลือโบราณ


บ้ านท่าสะอาด อาเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ

1. ประวัติการตั้งถิ่นฐานของชุ มชนบ้ านท่าสะอาด


แหล่งเกลือบ่อหัวแฮด จัดเป็ นแหล่งทําเกลือที่มีความสําคัญสื บเนื่องมาจนปั จจุบนั การ
ตั้งชุ มชนบ้านท่าสะอาดนั้นมีบนั ทึกไว้วา่ เริ่ มตั้งหมู่บา้ นอย่างเป็ นทางการราวปี 2465 เป็ นคนจากที่
ต่างๆ ซึ่ งมีอาชีพเป็ นพ่อค้าเกลือจากศรี สงคราม ไชยบุรี นครพนม และมุกดาหาร ใช้เรื อฉลอมหรื อ
‚เรื อกระแชง‛ ถ่อขึ้นมาตามลํานํ้าสงคราม ขายสิ นค้าที่นาํ มาด้วย เมื่อถึงบ่อหัวแฮดก็ตม้ เกลือหรื อ
ซื้อเกลือจากชาวบ้านที่ตม้ ไว้แล้วจึงกลับ อีกส่ วนหนึ่ งมาค้าเกลือโดยเฉพาะ เป็ นพวกที่มาจากปาก
ยาม, ท่าอุเทน และนครพนม พอฤดูน้ าํ หลากก็ถ่อเรื อมาตามลํานํ้าสงคราม เมื่อต้มหรื อซื้ อเกลือเต็ม
ลําเรื อก็ล่องไปขายหรื อแลกเปลี่ ยนสิ นค้า บริ เวณสองฟากฝั่งแม่น้ าํ สงครามและแม่น้ าํ โขง แหล่ง
เกลื อจากบ่อหัวแฮดนี้ ถือเป็ นแหล่งสําคัญที่เลี้ ยงชุ มชนในแถบแม่น้ าํ สงครามและแม่น้ าํ โขง (วลัย
ลักษณ์ ทรงศิริ, 2539: 51 – 52)
136

จากงานศึกษาของกุสุมา หงษ์ชูตา (2543: 57) ระบุว่าบ้านท่าสะอาดเมื่อเริ่ มก่ อตั้งมี


ประมาณ 10 ครัวเรื อนตั้งอยูบ่ ริ เวณท่านํ้าริ มฝั่งแม่น้ าํ สงครามบริ เวณที่มีตน้ เปลือย(ต้นตะแบกขนาด
ใหญ่) รอบๆ หมู่บา้ นเป็ นป่ าดงดิบ ชาวบ้านเรี ยกชุมชนของตัวเองว่าบ้าน "ท่าเลิงเปลือย" ตั้งหมู่บา้ น
มาจากกลุ่มคนที่มีอาชี พเป็ นพ่อค้าเกลือ เมื่อประมาณ พ.ศ. 2484 ได้มีผอู้ พยพมาจากนครพนม ธาตุ
พนม และศรี สงคราม เข้ามาอาศัยอยู่ โดยการล่องเรื อมาตามนํ้าสงครามเพื่อค้าขายสิ นค้าต่างๆ เมื่อ
มาถึงบ้านท่าเลิงเปลือยที่มีบ่อเกลือหัวแฮดเป็ นแหล่งผลิตเกลือสิ นเธาว์ได้ จึงชักชวนกันอพยพมาตั้ง
ถิ่นฐาน ทําให้ชุมชนนี้ขยายเป็ นชุ มชนขนาดใหญ่ ต่อมานายอําเภอบึงกาฬจึงประกาศตั้งบ้านท่าเลิง
เปลื อ ยเป็ นหมู่ บ ้า นอย่า งเป็ นทางการ และให้ ชื่ อ ใหม่ ว่า บ้า นท่ า สะอาด มี น ายอุ่ น กัส ปะ เป็ น
ผูใ้ หญ่บา้ นคนแรก จนกระทัง่ ปี 2525 ได้ยกฐานะเป็ นตําบลท่าสะอาดแยกจากตําบลท่ากกแดงเดิม

2. ตานานการค้ นพบบ่ อเกลือหัวแฮด


จากคําบอกเล่าของชาวบ้านเรื่ องการค้นพบบ่อเกลือหัวแฮด ซึ่ งเป็ นหมู่บา้ นที่ต้ งั อยู่บน
จุดที่หกั พับของแม่น้ าํ สงคราม ตามที่ปรากฏอยูใ่ นแผนที่ภูมิประเทศของพื้นที่ ฝั่งทางทิศตะวันออก
ของแม่น้ าํ เป็ นเขต อําเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ ในปั จจุบนั ซึ่ งค่อนข้างสู งและเป็ นที่ต้ งั ของหมู่บา้ น
ส่ วนทางฝั่งทิศตะวันตกของแม่น้ าํ เป็ นเขตอําเภอคําตากล้า จังหวัดสกลนคร จะลุ่มกว่า สังเกตได้
จากบริ เวณโดยรอบเป็ นป่ าทาม และบริ เวณนี้ ก็เป็ นส่ วนที่โค้งพับของแม่น้ าํ สงคราม ทิศตะวันตก
เลยกลับเป็ นเขตอําเภอเซกา และตะวันออกเป็ นเขตอําเภอคําตากล้า เพราะใช้แม่น้ าํ เป็ นตัวแบ่ง ตรง
นี้เป็ นจุดที่มีบ่อเกลือแหล่งผลิตเกลือโบราณที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับชุมชนต่างๆ ตลอดสายนํ้า

ภาพที่ 20 การเตรี ยมเครื่ องไหว้ปู่คําแดง ภาพที่ 21 เครื่ องไหว้ปู่พ่อคําแดง บ่อหัวแฮด


“เจ้าพ่อคําแดง หรื อท้าวคําแดงเมื่อเก่าเมื่อก่อน ซึ่ งเป็ นน้องชายร่ วมบิ ดามารดาของเจ้า
พ่อผาแดง (ตามตํานาน ผาแดง - นางไอ่) จากเมื องหนองหานหลวง (เมื องสกลนครใน
ปั จจุบนั ) กล่าวคือท้าวคําแดงไล่ล่าแฮด (แรด) มาจนถึงบริ เวณริ มฝั่งนํ้าสงคราม ก็ใช้ปืนยิง
137

แรดจนตายและทําการชําแหละตัดหัวออกเอาคลุกดิ นไว้ แล้วเอาเนื้ อไปย่าง อยู่ที่หนองหิ้ ง


(บ้านหนองหิ้ ง อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย ที่อยู่ไม่ไกลนัก) ผ่านไปสามวันปรากฏว่าหัว
แรดที่คลุกกับดินนั้นไม่เหม็นเน่า จึงรู ้ว่าดินบริ เวณนั้นเค็มเป็ นเกลือ และเมื่อขุดลงไปในดินก็
มีน้ าํ ซับที่มีรสเค็มจัดไหลออกมาเป็ นบ่อนํ้าเค็ม ชาวบ้านพากันนําเอามาต้มก็ได้เป็ นเม็ดเกลือสี
ขาวบริ สุทธิ์ ชาวบ้านจึงนับถือว่าเจ้าพ่อคําแดงนี้ เป็ นเจ้าพ่อผูค้ น้ พบและเป็ นเจ้าของบ่อเกลือ
รวมทั้งเป็ นผูป้ กครองดูแลหมู่บา้ นนี้ เพราะเป็ นชุ มชนเริ่ มก่ อตั้งบ้านมาจากกลุ่มคนที่ มาต้ม
เกลือ ชาวบ้านจะเคารพศรัทธาเจ้าพ่อคําแดงมาก โดยจะมีการสร้างศาลเจ้าพ่อไว้ตามจุดต่างๆ
ในหมู่บา้ น 4 แห่งไว้บูชาสําหรับกลุ่มอาชีพต่างๆ เช่น ชาวบ่อเกลือ ชาวประมง แม่คา้ ในตลาด
และบางคนยังสร้างศาลหน้าบ้านของตนและอัญเชิญเจ้าพ่อไปอยู่เพื่อคุม้ ครอง ชาวบ้านจะจัด
พิธีเลี้ยงเจ้าพ่อเป็ นประจําทุกปี ‛ (นายออน นนท์ชมพู อายุ 76 ปี เจ้าจํ้า อ้างถึงใน บําเพ็ญ ไชย
รักษ์, 2552: 83 - 84)
จากการเข้า สั ง เกตการณ์ พิธี ก รรมเลี้ ย งเจ้า พ่อคํา แดง ของชาวบ่ อ เกลื อหัวแฮด และ
ชาวบ้านท่าสะอาด ในตอนเช้าตรู่ ของวันขึ้น 3 คํ่าเดือน 3 ตรงกับวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2554 ในตอน
เช้าตรู่ ก่อนตะวันจะขึ้นที่ ขอบฟ้ า ริ มฝั่ งแม่น้ าํ สงคราม สมาชิ กโรงต้มเกลื อ 13 โรงที่มาจาก 13
ครอบครัวที่ยงั สื บทอดการต้มเกลื อมาจากบรรพบุรุษต่างตระเตรี ยมเครื่ องไหว้ได้แก่ธงกระดาษสี
แดง พานดอกไม้สีแดงพวกดอกหงอนไก่ เฟื่ องฟ้ า นํ้าแดง เหล้า ฝ่ ายหญิงเตรี ยมข้าว และเครื่ องคาว
หวานของครอบครัวมานัง่ ล้อมเตรี ยมอยูห่ น้าศาลเจ้าพ่อคําแดงบริ เวณริ มฝั่งบ่อเกลือ ส่ วนฝ่ ายชาย
กําลังล้อมวงกันเชือดหมูป่าตัวใหญ่สองตัวที่ผกู อยูใ่ ต้ตน้ ไม้ถดั ออกไป ถ่อนไม้ท่อนใหญ่ฟาดลงไป
ที่ หัวหมู ที่ คลุ ม ด้วยกระสอบ มี ดปลายแหลมทิ่ มลงตรงเส้นเลื อดใหญ่ ที่ ค อ เลื อดสี แดงสดไหล
ออกมาตรงชามรองเลื อดที่ ช ายคนหนึ่ ง เพิ่ ง ยื่นเข้าไป หมูป่ าผิวหนัง สี ดาํ ตัวเขื่ องทั้ง สองซึ่ ง เป็ น
เครื่ องเซ่ นไหว้แน่ นิ่งในวงล้อมของเหล่าชายทั้งหนุ่ม ทั้งแก่ และเด็กชาย ช่วยกันชําแหละเพียงชัว่
ไม่นาน หมูสองตัวก็เหลื อแต่ซี่โครง ส่ วนเครื่ องในและหัวหมูนาํ ลงไปต้มในปี บใหญ่ที่เตรี ยมไว้
ด้านเนื้ อ ซี่ โครง และชิ้นส่ วนอื่นนําไปย่างไฟ จนหอมได้ที่ บางส่ วนทําก้อยใส่ เลือดสด ๆ หมูสอง
ตัวนี้ได้มาจากการเรี่ ยไรเงินจากสมาชิกกลุ่มผูต้ ม้ เกลือที่ปัจจุบนั มีอยู่ 13 ครอบครัวเท่านั้น และเมื่อ
เครื่ องคาวปรุ งเสร็ จยกไปสมทบกับ เครื่ องไหว้อื่น ๆ ที่หน้าศาลเจ้าพ่อ ทุก อย่า งพร้ อมเมื่อเวลา
ประมาณสองโมงเช้าการเคลื่อนไหวของผูค้ นเริ่ มสงบลง
138

ภาพที่ 22 บ่อหัวแฮด บ่อเกลือกลางลํานํ้าสงคราม ภาพที่ 23 บ่อสูบนํ้าบาดาลเค็มบริ เวณบ่อหัวแฮด


จากการเข้า สั ง เกตการณ์ พิธี ก รรมเลี้ ย งเจ้า พ่อคํา แดง ของชาวบ่ อ เกลื อหัวแฮด และ
ชาวบ้านท่าสะอาด ในตอนเช้าตรู่ ของวันขึ้น 3 คํ่าเดือน 3 ตรงกับวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2554 ในตอน
เช้าตรู่ ก่อนตะวันจะขึ้นที่ ขอบฟ้ า ริ มฝั่ งแม่น้ าํ สงคราม สมาชิ กโรงต้มเกลื อ 13 โรงที่มาจาก 13
ครอบครัวที่ยงั สื บทอดการต้มเกลื อมาจากบรรพบุรุษต่างตระเตรี ยมเครื่ องไหว้ได้แก่ธงกระดาษสี
แดง พานดอกไม้สีแดงพวกดอกหงอนไก่ เฟื่ องฟ้ า นํ้าแดง เหล้า ฝ่ ายหญิงเตรี ยมข้าว และเครื่ องคาว
หวานของครอบครัวมานัง่ ล้อมเตรี ยมอยูห่ น้าศาลเจ้าพ่อคําแดงบริ เวณริ มฝั่งบ่อเกลือ ส่ วนฝ่ ายชาย
กําลังล้อมวงกันเชือดหมูป่าตัวใหญ่สองตัวที่ผกู อยูใ่ ต้ตน้ ไม้ถดั ออกไป ถ่อนไม้ท่อนใหญ่ฟาดลงไป
ที่ หัวหมู ที่ คลุ ม ด้วยกระสอบ มี ดปลายแหลมทิ่ มลงตรงเส้นเลื อดใหญ่ ที่ ค อ เลื อดสี แดงสดไหล
ออกมาตรงชามรองเลื อดที่ ช ายคนหนึ่ ง เพิ่ ง ยื่นเข้าไป หมูป่ าผิวหนัง สี ดาํ ตัวเขื่ องทั้ง สองซึ่ ง เป็ น
เครื่ องเซ่ นไหว้แน่ นิ่งในวงล้อมของเหล่าชายทั้งหนุ่ม ทั้งแก่ และเด็กชาย ช่วยกันชําแหละเพียงชัว่
ไม่นาน หมูสองตัวก็เหลื อแต่ซี่โครง ส่ วนเครื่ องในและหัวหมูนาํ ลงไปต้มในปี บใหญ่ที่เตรี ยมไว้
ด้านเนื้ อ ซี่ โครง และชิ้นส่ วนอื่นนําไปย่างไฟ จนหอมได้ที่ บางส่ วนทําก้อยใส่ เลือดสด ๆ หมูสอง
ตัวนี้ได้มาจากการเรี่ ยไรเงินจากสมาชิกกลุ่มผูต้ ม้ เกลือที่ปัจจุบนั มีอยู่ 13 ครอบครัวเท่านั้น และเมื่อ
เครื่ องคาวปรุ งเสร็ จยกไปสมทบกับ เครื่ องไหว้อื่น ๆ ที่หน้าศาลเจ้าพ่อ ทุก อย่า งพร้ อมเมื่อเวลา
ประมาณสองโมงเช้าการเคลื่อนไหวของผูค้ นเริ่ มสงบลง
139

ภาพที่ 24 โรงต้มเกลือบ่อหัวแฮด ภาพที่ 25 ตักเกลือในกะทะต้มเกลือ


ชาวบ้านไปรวมกันอยูท่ ี่ศาลเจ้าพ่อคําแดงบริ เวณริ มตลิ่งแม่น้ าํ สงครามใกล้ๆ บ่อเกลือ
กันเป็ นส่ วนใหญ่แล้ว ชาวบ้านกลุ่มผูห้ ญิงและคนแก่รวมทั้งเด็กๆ ส่ วนใหญ่สวมเสื้ อสี แดง หรื อไม่
ก็โพกผ้าแดงรอบศีรษะ บนผ้าแดงนั้นบางผืนเขียนว่า ‚ลูกปู่ คําแดง‛ คนกว่าห้าสิ บคนนัง่ ล้อมกันอยู่
หน้าศาล แต่ละคนมีธูปเทียน ดอกไม้ และขวดนํ้าสําหรับบูชา พร้อมทั้งกระติ๊บข้าวเหนียวและถ้วย
ชามสําหรับใส่ เครื่ องเลี้ยง เจ้าจํ้าถามให้แน่ใจว่ามาพร้อมกันหรื อยังก่อนจะเริ่ มพิธี ทันใดนั้นมีรถคัน
ใหญ่ว่ิงมาจอดพร้ อมกับพานใบตองทรงสู งขนาดใหญ่ถูกยกลงมาสองพาน พานหนึ่ งนํามาตั้งไว้ที่
ศาลเจ้าพ่อหลังเก่าที่ทาํ ด้วยปูนสร้ างติดดิน ส่ วนอีกพานยกไปไว้ที่ศาลหลังใหม่ที่สร้างด้วยไม้ยก
พื้นสู งถัดไปจากศาลหลังเก่ า พร้ อมว่าพานนี้ เป็ นของหลานสาวที่แต่งงานกับคนต่างชาติตอนนี้
อาศัยอยูต่ ่างประเทศ ปี นี้ก็เหมือนทุกปี เขาไม่เคยลืมคุณเจ้าพ่อที่ปกป้ องคุม้ ครองแม้ตวั มาไม่ได้ เมื่อ
เตรี ยมอาหารเสร็ จสรรพ พิธีกรรมก็เริ่ มขึ้น เจ้าจํ้าเรี ยกชาวบ้านมารวมกันอยูร่ อบๆ ศาล แล้วพากัน
นําจานดอกไม้ธูปเทียนออกมาจุดและถวายเครื่ องไหว้ หลังจากที่เจ้าจํ้าเป็ นผูเ้ ริ่ มต้นและนําไหว้โดย
การสวดคาถาไหว้ที่ไม่สามารถฟังเข้าใจได้ จากนั้นก็ยกเครื่ องเซ่นไหว้คือหัวหมู และสํารับกับข้าว
ทั้งหลายที่เพิ่งจะปรุ งเสร็ จ นํ้าเหล้าเด็ด 40 ดีดกรี สีขาวใสริ นใส่ แก้ว พร้อมกับเสี ยงร้องเชิญเจ้าพ่อลง
มารั บ เอาเครื่ องบวงสรวง ก่ อนจะพากันริ นนํ้า ที่ต่า งถื อมาในมื อ เป็ นการกรวดนํ้า แผ่เมตตาต่ อ
วิญญาณทั้งหลายที่ว่ายเวียน แล้วผูใ้ หญ่ในบริ เวณนั้นจะแบ่งเครื่ องไหว้บางส่ วนยกไปไว้บนโคน
ต้นไม้ ต่างว่าแบ่งข้าวปลาอาหาร เครื่ องคาวหวาน เครื่ องดื่มให้เหล่าทหาร เสนาของเจ้าพ่อได้กิน
ก่อน เสร็ จแล้วชาวบ้านจึงชักชวนพากันล้อมวงรับพาข้าว อาหารการกิน และเครื่ องดื่มจากพิธีกรรม
มาร่ วมกันกินเลี้ยงอย่างเรี ยบง่าย และถือว่าเป็ นอันเสร็ จพิธีสาํ หรับชาวบ่อเกลือ
เสี ยงพลุ ตะไลดังมาจากอีกโค้งนํ้าไกล ๆ ประกอบเสี ยงดนตรี ดงั ลัน่ ตามมา เสี ยงชาวโรง
เกลื อต่างสรวลเส หยอกล้อ ชักชวนกันไปร่ วมพิธีกรรมไหว้พ่อคําแดงอีกโค้งนํ้าหนึ่ งซึ่ งจัดโดย
เทศบาลตําบล ที่ปีนี้จดั งานไหว้เจ้าพ่อคําแดงใหญ่โต มีนายอําเภอมาเป็ นประทานในพิธี โดยจัดที่
140

ปากทางโค้งก่อนเข้ามาบ่อเกลือโดยบริ เวณนั้นทางเทศบาลตําบลได้จดั สร้างศาลเจ้าพ่อคําแดงหลัง


ใหญ่ไว้เพื่อให้ชาวบ้านท่าสะอาดทุกสาขาอาชีพที่ต่างมีความเชื่อว่าเจ้าพอคําแดงศักดิ์สิทธิ์ และเป็ น
ผูป้ กป้ องคุม้ ครองและส่ งเสริ มอาชีพของตนเอง
ราวกว่าสามโมงเช้าเมื่อเดินห่างออกมาจากบ่อเกลือเพียงไม่เกิน 500 เมตรบริ เวณศาลเจ้า
พ่อคําแดงหลังใหญ่ประดับประดาด้วยธงทิว ตุงรู ปพญานาคสี แดงผืนยาวหลายผืน ขณะผูค้ นซาลง
แล้วว่ากันว่าพิธีกรรมไหว้น้ นั เริ่ มขึ้นพร้อมๆ กับชาวบ่อเกลือ ยังเหลือคนที่คอยเก็บข้าวของและยัง
ล้อมวงรับประทานอาหารอยูจ่ าํ นวนหนึ่ งที่ลว้ นสวมเสื้ อแดง หรื อโพกผ้าแดงเช่ นกัน ผูม้ าใหม่ถูก
เชื้ อเชิ ญเข้า ร่ วมวงอย่างว่าง่ ายพร้ อมทั้งเรี ย กให้ข้ ึ นไปจุดธู ปเที ยนไหว้เจ้าพ่อคําแดงบนศาล ที่ มี
เครื่ องไหว้พานดอกไม้ มาลัยดอกไม้ และเครื่ องธูปเทียนที่เพิ่งจุดใหม่และที่จุดไหว้แล้วจํานวนมาก
เมื่อซักถามว่าทําไมต้องเลี้ ยงแยกกันได้ความว่าชาวบ่อเกลื อยังถือมัน่ ว่าเจ้าพ่อคําแดง
เป็ นผูค้ น้ พบบ่อเกลือบ้านที่แท้จริ งของท่านคือริ มฝั่งแม่น้ าํ สงครามตรงบ่อเกลือ และโรงต้มเกลือที่
ยังดําเนิ นการอยูใ่ นปั จจุบนั และเมื่อชาวบ้านทุกคนในหมู่บา้ นก็ต่างสื บเชื้ อสายมาจากผูท้ ี่อพยพมา
ต้ม เกลื อ บริ เวณนี้ แ ม้ปั จ จุ บ ันไม่ ไ ด้ป ระกอบอาชี พ ต้ม เกลื อ แล้วแต่ ย งั มี จิต ใจผูก สั ม พันธ์ อ ยู่ก ับ
ประวัติศ าสตร์ ด้ งั เดิ ม ของหมู่ บ ้า นทํา ให้มี ก ารสร้ า งศาลเจ้า พ่อไว้หลายที่ แต่ เมื่ อเทศบาลตํา บล
สนับสนุนกิจกรรมนี้ และสร้างศาลเจ้าพ่อไว้ตรงนี้ก็ง่ายกว่าจะเข้าไปบริ เวณบ่อเกลือ
นัง่ สังเกตการณ์อยูจ่ นคนซาลงเมื่อแขกไหว้ลาจะกลับออกไปที่หมู่บา้ น แม่งานพ่องานที่
ยังอยูย่ งใต้เต็นท์แบ่งอาหารที่ยงั เหลือคือไข่ตม้ จํานวนมากพร้อมเครื่ องดื่มให้แขกกลับไปด้วย
“พ่อแม่ของตนมาจากบ้านสะโงม จังหวัดนครพนม เอาครก หม้อดินเผา และเตา ที่ซ้ื อ
จากคนญวน (ชาวเวียดนาม) บรรทุกใส่ เรื อกระแชงมาจากปากนํ้าไชยบุรีแล้วแวะขายตาม
หมู่บา้ นต่างๆ ตามลํานํ้าสงครามขึ้ นมา โดยที่ในเรื อมีลูกเรื อ 4 คนและคนคุมหางเสื อเรื อคน
หนึ่ ง คนงานจะช่ ว ยกันใช้ต ะขอเกี่ ย วกิ่ งไม้เ อาเรื อทวนนํ้า ขึ้ นมา เมื่ อเรื อจะจอดเที ย บท่ า
หมู่บา้ นใดคนเรื อจะเป่ าสะไน (ปี่ เขาควาย) เมื่อชาวบ้านได้ยินเสี ยงสะไนสัญญาณว่ามีเรื อ
กระแชงจะเทียบท่า ชาวบ้านชายหญิงและเด็ก จะพากันวิ่งลัดเรื อกระแชง มาที่ท่านํ้า เพื่อคอย
ดูสินค้า หรื อมารับจ้างขนของให้นายฮ้อยเฮื อกระแชง เท่าที่จดจําได้นายฮ้อยเรื อกระแชงมี
หลายคน มาจากหลายบ้าน เช่น นายฮ้อยอ่าง บ้านปากยาม นายฮ้อยจันทร์ แปง หรื อ 'แม่ค่าย'
เมียนายฮ้อยจันทร์ แปง ชาวบ้านท่าบ่อ ตอนนั้นตนยังเด็กอายุ 7- 8 ปี อาศัยอยู่ที่หมู่บา้ น
บริ เวณบ่อเกลือเมื่อได้ยินเสี ยงสะไนเรื อกระแชง จะชักชวนกันกับเพื่อนๆ ไปรับจ้างแบกเกลือ
ซึ่ งบรรจุเป็ นกะทอที่สานขึ้นมาจากไม้ไผ่ข้ ึนเรื อ บรรยากาศในบ่อต้มเกลือเวลาต้มเกลือจะใช้
หม้อขาง (หม้อกระทะ) ใบใหญ่ปากหม้อมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 50 เซนติเมตร ก่อนจะ
เปลี่ยนมาเป็ นถัง 200 ลิตรผ่าครึ่ งในภายหลัง เวลาตักนํ้าเกลือจากบ่อขึ้นมาต้มก็จะใช้เชื อกปอ
141

พันกับรอกผูกติดกับคุไม้ไผ่ที่ยาด้วยชันหย่อนลงไปตักนํ้าเค็มจากนํ้าสร้างเกลือที่ขุดลึกลงไป
ในดินประมาณ 40 เมตรปากบ่อกว้างประมาณ 1.5 x 2 เมตร บริ เวณบ่อหัวแฮดจะมีบ่อสร้าง
เกลือนับ 100 บ่อ เคยมีเรื อกระแชงลําใหญ่มาจอดเรี ยงรายเต็มท่าเลิงเปื อย (ชื่ อเดิ มบ้านท่ า
สะอาดคือบ้าน ท่าเลิงเปื อยเพราะมีตน้ เปื อยนํ้า หรื อตะแบกนํ้าขึ้นบริ เวณท่านํ้ามาก) นับ 10 –
20 ลํา นอกจากนี้ ยงั มีตูบ หรื อผาม ต้มเกลือเป็ นจํานวนมาก 200 – 300 ตูบ คนที่มาต้มเกลือก็
หลายร้อยคนอาจจะร่ วมพัน มีร้านค้าร้านข้าวอยู่ตรงท่ านํ้าด้วย เกลื อที่ ได้จะบรรจุลงไปใน
กะทอซึ่ งขนาดใหญ่จุเกลือได้ประมาณ 30 – 40 กิโลกรัมต่อหนึ่งกะทอ ได้เกลือแล้วจะมีพ่อค้า
หรื อนายฮ้อยมารับซื้ อ ทั้งทางเกวียน ทางเรื อ‛ (นางละเอียด รองศรี , 2554)
เดิ มการต้มเกลือที่บ่อหัวแฮด ทําเฉพาะในฤดูแล้ง เพราะต้องคอยให้น้ าํ แห้งลงบ่อที่อยู่
ในเกาะหรื อสันดอนกลางแม่น้ าํ สงครามโผล่ข้ ึนมาก่อน หม้อต้มเกลือทําจากถังแดงผ่าครึ่ ง และใช้
ฟื นที่หาได้ตามป่ าทามรอบๆ บ่อ หรื อบางทีก็จบั ไม้ที่ลอยมาตามนํ้า แต่คนที่มาต้มเกลือจะมาจาก
หลายที่ ล่องเรื อขึ้นมากันทีละหลายกลุ่ม ฤดูกาลต้มเกลือก็เป็ นฤดูกาลที่สนุกสนานเฮฮาของชาวบ่อ
เกลือ เพราะคนงานต้มเกลือมีท้ งั ผูห้ ญิงผูช้ าย จะเกี้ยวพากัน หลายคู่แต่งงานเป็ นครอบครัวต้มเกลือ
ผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ในหมู่บา้ นตามริ มฝั่งนํ้าสงครามมักเกี่ยวข้องกับการเดินทางมาทําการต้มเกลือ
หรื อแลกเปลี่ยนซื้ อขายสิ นค้าได้แก่เกลือ ไห และปลาแดก จากบ่อหัวแฮด ซึ่ งเมื่ออดีตจะสัญจรไป
มาค้าขายทางเรื อล่องขึ้นลงไปตามลํานํ้าสงคราม เรื่ อยไปตามแม่น้ าํ โขงอยูห่ ลายชุมชน จนกระทัง่
เมื่อมีการพัฒนาเส้นทางคมนาคมทางบกขึ้นมาเมื่อประมาณหลังปี 2520 เป็ นต้นมา เส้นทางสัญจร
ทางเรื อเพื่อแลกเปลี่ยนซื้ อขายแลกเปลี่ยนสิ นค้าทั้ง ปลา - เกลือ - ไห ก็ยงั มีอยู่ แต่เปลี่ยนเป็ นการ
ขนส่ งทางรถยนต์แทน เพราะเป็ นที่รู้กนั ทัว่ ไปว่าเกลือบ่อหัวแฮดเป็ นเกลือที่มีคุณภาพดี ผ่านการ
เคี่ยวด้วยความร้ อนจากไฟจนเป็ นผลึ กเกลือ หรื อ “เกลือสุ ก‛ ไม่ใช่ เกลื อตาก ชาวบ้านจึงนิ ยมนํา
เกลือจากบ่อหัวแฮดมาบริ โภค หมักปลาแดก ปลาส้ม (บําเพ็ญ ไชยรักษ์, 2552: 89)
“จะว่าทุกข์กะทุกข์หลาย จะว่าม่วนชื่นกะม่วนชื่นหลาย ตอนนั้นกําลังเป็ นหนุ่มอายุ 17 -
18 ปี รับจ้างลงเฮือกระแชงไปต้มเกลือบ่อหัวแฮด ได้ค่าจ้างเดือนละ 26 บาท ฮูส้ ึ กว่าหลาย
ขนาดตอนนั้น‛(นายคําหวา คําลือ อายุ 65 ปี ชาวบ้านแก้วปั ดโป่ ง ตําบลไชยบุรี อําเภอท่าอุ
เทน จังหวัดนครพนม อ้างถึงใน บําเพ็ญ ไชยรักษ์, 2552: 89)
การเดิ น ทางมาทํา เกลื อ ที่ บ่ อ หั ว แฮดจะเริ่ มขึ้ นหลัง ฤดู ก าลเก็ บ เกี่ ย วปลายเดื อ น
พฤศจิกายนท้องฟ้ าร้ างฝนผืนใหญ่กว้างเป็ นสี น้ าํ เงินทําให้หมู่นายฮ้อยออกหาลูกเรื อ เรื อที่ตนเคย
เป็ นลูกเรื อยาวราวๆ 20 เมตร กว้างประมาณ 4 - 5 เมตร จะต่อโครงหลังคากันแดดกันฝนขึ้นไป
สําหรับเป็ นที่บรรทุกสิ นค้าและหลับนอนตอนท้ายเรื อ เว้นทางเดินไว้รอบๆ มีนายท้ายและคนถ่อ
142

เรื อด้วยไม้ไผ่ยาวๆ เรื อลําหนึ่ งมีลูกจ้างตั้งแต่ 5 - 6 คนแล้วแต่ บางลําไปทํางานกันเป็ นครัวเรื อน


ปลายปี เป็ นช่ วงที่ น้ าํ ยังหลากอยู่ก็จะถ่อเรื อทวนนํ้าขึ้นมาเรื่ อยๆ ตามลํานํ้าสงคราม บางทีก็อาศัย
ต้นไม้ริมนํ้าซึ่ งมีอยูห่ นาแน่นในการคํ้ายันเกาะเกี่ยวรั้งเรื อให้ไปข้างหน้า การอยูก่ ินก็อยูบ่ นเรื อ โดย
จะหาปลาหาผักที่พอหาได้ตามริ มนํ้า การเดินทางจะใช้เวลาประมาณ 1 เดือนหรื อมากกว่า ก็จะถึง
ปลายทางคือบ่อเกลือกลางแม่น้ าํ สงคราม
การเดินทางขึ้นล่องหลายปี ทําให้ชาํ นาญทาง จําได้วา่ โค้งคุง้ ใดในลํานํ้าควรแวะพัก การ
เดินทางทําได้เฉพาะกลางวัน พอตกเย็นก็จะจอดพักตามท่านํ้าในหมู่บา้ นตามรายทาง ตอนขึ้นไปบ่อ
เกลื อถ้าไม่มีสินค้าขายก็ไม่สนุ กสนานนัก บางทีมีสินค้าก็จะแวะเยี่ยมเสี ยวสายคนรู้จกั ไปตามราย
ทาง หากมีโอกาสดีมีงานบุ ญก็แวะไปเที่ยวไปเล่น ผูกเสี่ ยวเกี้ ยวสาวตามประสาคนหนุ่ ม และเมื่อ
ไปถึงบ่อเกลือก็จะเริ่ มทํางานตั้งแต่สร้างเพิ่งพักชัว่ คราว หาฟื น ขุดรื้ อบ่อเกลือ ตักนํ้าเกลือจากบ่อที่
มีขนาดกว้างประมาณเมตรกว่าๆ ยาวสองเมตรกว่าๆ ลึกลงไปในดินไม่มากนักสัก 10 กว่าเมตร
เพราะบริ เวณดังกล่าวเป็ นบ่อนํ้าซับ และจะใช้ไม้คนั หลาว (ไม้ไผ่ที่มีขอ) ตักนํ้าขึ้นมา หรื อลงไปตัก
ส่ ง ขึ้ นมาให้กนั ด้วยมื อ ระยะหลัง จึ ง พัฒนาขึ้ นมาเป็ นการตัก นํ้าเกลื อแบบชักรอก เพราะระดับ
นํ้าเกลือจะอยูไ่ ม่ลึกนัก
“ยามเดือนสามเดือนสี่ เป็ นยามแล้ง มันร้อนและเหนื่ อยมาก ทํางานหนักจนมือแตกและ
แสบเมื่อถูกนํ้าเกลือ ต้มเกลือไปเรื่ อยๆ แบ่งงานกันทํา บางคนเป็ นผูส้ านกะทอใส่ เกลือ พอ
ได้มากพอก็จะเป็ นช่วงเดือนพฤษภาคม ฝนจะเริ่ มตก คนงานก็จะทยอยหาบเกลือที่บรรจุใส่ ใน
กะทอไม้ไผ่ไปลงเรื อจนเต็มเตรี ยมพร้อมคอยนํ้าแก่ง (นํ้าหลาก) ขึ้นมาก็จะล่องเรื อกลับลงไป
แวะตามท่าหมู่บา้ นต่างๆ ขายเกลือแลกปลาแดกแลกข้าว ล่องลงไปเรื่ อยๆ จนถึงนครพนม
ได้ค่าจ้างพอดีกบั ถึงฤดูกาลเพราะปลูกอีกครั้ง สมัยนั้นไปต้มเกลือก็เป็ นเหมือนการไปทํางาน
กรุ งเทพฯ ของหนุ่มสาวสมัยนี้เลยทีเดียว คนหนุ่มๆ ตามหมู่บา้ นต่างๆ นิ ยมเดินทางไปทํางาน
ที่บ่อเกลือ เป็ นการแสวงโชคครั้งหนึ่งในชีวิต ตนก็เช่นกัน ออกเดินเท้าจากบ้านยางงอย ไปยัง
บ้านท่าเลิงเปื อย (บ้านท่าสะอาด ที่ต้ งั บ่อเกลือในปัจจุบนั ) เพื่อไปดักรอขอทํางานกับนายฮ้อย‛
(สัมภาษณ์นายหัด ดายังหยุด อายุ 74 ปี ชาวบ้านยางงอย อําเภอศรี สงคราม จังหวัดนครพนม
อ้างถึงแล้วในบําเพ็ญ ไชยรักษ์, 2552: 90)
การทํางานบ่อเกลือเริ่ มตั้งแต่เดือนหนึ่ งถึงเดือนหก (ธันวาคม - พฤษภาคม) โดยขึ้นไป
เหนือบ่อเพื่อตัดฟื นก่อนอื่น พอได้ฟืนมากพอก็ทาํ แพล่องลงมา ตักนํ้าเกลือจากบ่อเกลือไปพักไว้ใน
บ่อดินที่ยาด้วยยางบง (ต้นไม้ชนิ ดหนึ่ งที่มีน้ าํ ยาง) ไม่ให้น้ าํ เกลือซึ ม และขุดไว้ในเพิงพักต้มเกลือ


กะทอ หมายถึง ภาชนะบรรจุเกลือสานขึ้นมาจากไม้ไผ่ขดั และใช้ใบตองชาดหรื อใบพลวงรองก่อนบรรจุเกลือ
143

แล้วก็เริ่ มต้มเกลือ การต้มเกลือจะต้มด้วยหม้อโลหะขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 1 เมตร ซึ่ งพ่อ


อุย้ ต้องต้มพร้อมกัน 5 หม้อทั้งวันทั้งคืน พอต้มได้เกลือมากพอก็จะสานกะทอไม้ไผ่และรองด้วย
ใบตองชาด  แล้วขนลงเรื อ บางส่ วนก็ขายไปให้กบั นายฮ้อยที่มีเรื อใหญ่ๆ แต่ตม้ เกลือได้ไม่พอ
(บําเพ็ญ ไชยรักษ์, 2552: 90)
จากการศึ ก ษาทางโบราณคดี ไ ม่ ระบุ แ น่ ชัดว่า การทํา เกลื อแบบโบราณที่ บ่ อ หัวแฮด
เริ่ มต้นขึ้นเมื่อใด แต่คงก่อนที่บา้ นท่าสะอาดจะก่อตั้งขึ้นราวปี 2460 และถือว่าบ่อหัวแฮดเป็ นแหล่ง
ผลิตเกลือที่ใหญ่ที่สุดและสําคัญมากในลุ่มนํ้าสงครามและแอ่งสกลนคร เพราะทําให้เกิดการซื้ อขาย
แลกเปลี่ ยนสิ นค้า และเคลื่ อนย้ายการตั้งถิ่ นฐานของชุ มชนในแถบลุ่มนํ้าในระยะเริ่ มแรกเมื่อราว
200 – 300 ปี ที่ผา่ นมา เมื่อมีพ่อค้าเกลือเดินทางจากมุกดาหาร นครพนม ท่าอุเทน ไชยบุรี ล่องเรื อ
กระแชงหรื อเรื อฉลอมถ่ อทวนนํ้าขึ้นมาตามลํานํ้าสงครามในช่ วงที่น้ าํ ยังหลากอยู่ระหว่างเดื อน
ตุลาคม – พฤศจิกายนของทุกปี เพื่อที่จะคอยให้น้ าํ แห้งลงก็เริ่ มต้มเกลือเมื่อเกาะกลางนํ้าโผล่พน้ นํ้า
บ่อเกลือแต่เดิมเป็ นบ่อที่ขดุ ลึกลงไปในดินด้วยแรงคน แล้วตักขึ้นมาต้มเป็ นระยะเวลาประมาณ 3 –
4 เดือน ได้เกลือจํานวนพอเต็มเรื อ รอจนนํ้าขึ้นอีกทีก็บรรทุกเกลือใส่ เรื อล่องลงมาตามลํานํ้า แวะ
พักแลกเปลี่ ยนสิ นค้ากันตามหมู่บา้ นริ ม นํ้าสงครามไปเรื่ อยๆ ออกสู่ แม่น้ าํ โขง กลับนครพนม
มุกดาหาร มีบางรายนําเรื อกระแชงล่องนํ้าโขงไปขายแถบอําเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย ล่องเข้า
สู่ ประเทศลาว ไปขายเกลือถึงเวียงจันทน์ ในประเทศลาวก็มี
3. สถานการณ์ การผลิตเกลือทีบ่ ่ อหัวแฮดในปัจจุบัน
กลุ่มคนต้มเกลือสร้างตูบต้มเกลือที่บริ เวณริ มฝั่งแม่น้ าํ ตรงบ่อเกลือที่เดิมที่เคยเป็ นแหล่ง
ต้มเกลื อโบราณ ตอนนี้ จดั ตั้งกลุ่ มผูผ้ ลิตเกลือสิ นเธาว์บา้ นท่าสะอาด เป็ นกลุ่มผูผ้ ลิตเกลือสําหรับ
บริ โภค มีสมาชิก 13 ครอบครัว เพิง่ ก่อตั้งอย่างเป็ นทางการปี นี้ (2554) เพราะกรมอนามัย กระทรวง
สาธารณสุ ขจะมีกฎหมายควบคุมเกลือสําหรับบริ โภค ซึ่ งจะต้องมีกระบวนการผลิตที่สะอาด และ
ผสมไอโอดี นสํา หรั บ เกลื อบริ โภค และกําหนดว่าต้องระบุ เกลื อที่ มีไ อโอดี ว่าเป็ นเกลื อสําหรั บ
บริ โภคไว้ที่บรรจุภณั ฑ์ และระบุเกลือไม่บริ โภคด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ได้รับอนุ ญาตจากเทศบาลตําบล
และให้ยมื เงินในการจัดตั้งกลุ่ม 13,000 บาท แต่เกลือที่ผลิตส่ วนหนึ่ งไม่ผสมไอโอดีน เพราะลูกค้า
ของเขาส่ วนใหญ่นาํ เกลื อไปทําปลาร้าและเกลือใส่ ไอโอดีนหากเอาไปทําปลาร้าจะทําให้ปลาเน่ า
ได้ปลาร้าที่ไม่มีคุณภาพ (สมทฤธิ์ เจริ ญชัย, 2554)


ใบตองชาด หมายถึง ใบของต้นยางชาด
144

4. กรรมวิธีการผลิตเกลือทีบ่ ่ อหัวแฮด
4.1. โรงต้ มเกลือ สถานที่ต้ งั โรงต้มเกลือบริ เวณริ มฝั่งแม่น้ าํ สงครามด้านทิศตะวันตก
ของหมู่บา้ นเป็ นที่ดินสาธารณประโยชน์ โรงต้มเกลือโรงหนึ่ งจะมีกระทะต้มเกลือ 1 – 2 กระทะ
ซึ่งมีขนาดแตกต่างกัน ในโรงต้มเกลือจะแบ่งพื้นที่ใช้สอย สําหรับสร้างเตาและวางกระทะต้มเกลือ
บ่อพักนํ้าเกลือที่ขุดลึกลงไปในดินประมาณ 2 เมตร ซึ่ งด้านบนจะสานกระแตะไม้ไผ่ปิดไว้สําหรับ
ตักเกลือที่ตม้ แล้วตักมาพักเก็บไว้ให้สะเด็ดนํ้า ก่อนจะบรรจุหีบห่ อส่ งขายต่อไป โดยปกติขา้ งโรง
ต้มเกลือจะมีการสร้างตูบหรื อเพิงพักสําหรับคนต้มเกลือซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นแรงงานในครัวเรื อนที่จะ
มาช่วยกันไม่ต่าํ กว่าครอบครัวละ 2 – 4 คน ปั จจุบนั มีสมาชิกกลุ่มต้มเกลือ 13 รายแต่มีโรงต้มเกลือ
จริ งๆ 12 โรง
4.2. เตาต้ มและกระทะต้ มเกลือ เตาต้มเกลือจะสร้างด้วยอิฐโบกปูนรู ปทรงสี่ เหลี่ยม ผืน
ผ้าขุดลึกลงไปในดินและสู งขึ้นมาพ้นผิวดินเล็กน้อยให้มีความลึกประมาณ 50 เซนติเมตร เปิ ดช่อง
ใส่ ฟืนไว้ 4 ช่องเตา ตามขนาดของกระทะต้มเกลือในปั จจุบนั จะสร้างกระทะต้มเกลือเท่ากับขนาด
แผ่นสังกะสี กว้าง 200 ยาว 720 ลึก 20 เซนติเมตร เป็ นขนาดมาตรฐานที่คนต้มเกลือนิยมใช้กนั จะ
ใช้ฟืนต้มเกลือ 5 คิวใช้เวลาต้มประมาณ 8 – 10 ชัว่ โมงจะได้เกลือ 600 กิโลกรัม เตาหนึ่ งจะตัก
กลางวันหนึ่งครั้งกลางคืนหนึ่งครั้ง ดังนั้น 24 ชัว่ โมง ผลิตเกลือได้ 1,200 กิโลกรัม
นอกจากนี้ ยงั มีเตาต้มเกลือของนาย นายมีชยั เหมะลา มีความสู งประมาณ 1.5 เมตร มี
ช่องใส่ ฟืนหรื อปากเตา 5 ช่อง ขนาดกระทะกว้าง 200 ยาว 800 ลึก 25 เซนติเมตร ใช้เวลาต้ม 8 – 12
ชัว่ โมงจะได้เกลือ 700 กิโลกรัมต่อการตักเกลือ 1 ครั้ง วันหนึ่งคืนหรื อ 24 ชัว่ โมงจะตักได้ 2 ครั้ง
หม้อขนาดนี้ได้เกลือ 1,400 กิโลกรัม และเตาของนายสุ ทิน พรหมมนต์ มีเตาต้มเกลือ 6 ปากเตา
(ช่องใส่ ฟืน) สําหรับกระทะขนาดใหญ่กว้าง 200 ยาว 1200 ลึก 30 เซนติเมตร ใช้เวลาต้ม 10 – 12
ชัว่ โมง ได้เกลือ 1,300 กิโลกรัม วันหนึ่งได้เกลือ 3,200 กิโลกรัม แต่ตอ้ งใช้เชื้อเพลิงมากที่สุด
4.3. สู บน้าเกลือ กลุ่มคนต้มเกลือจะมีบ่อนํ้าบาดาลที่ระดับความลึก 30 – 50 บ่อ กลุ่มผู้
ต้มเกลือจะใช้ร่วมกันอยูจ่ าํ นวน 2 บ่อ มีผขู้ ุดไว้นานแล้วคนต้มเกลือมีสิทธิ สูบมาใช้ตม้ เกลือ และ
ต้องจ่ายเงินภาษีให้กบั เทศบาลตําบลท่าสะอาดคนละ 1,000 บาทต่อปี โดยแต่ละวันผูต้ ม้ เกลือจะ
ผลัดเปลี่ยนกันสู บนํ้าเกลือไปเก็บไว้ในบ่อพักนํ้าเค็ม และเติมในกระทะต้มเกลือโดยใช้เครื่ องสู บนํ้า
ขนาด 5 แรงม้า ใช้เวลาสู บนํ้า 1- 1.5 ชัว่ โมง ซึ่ งจะใช้น้ าํ มันประมาณ 1.5 - 2 ลิตร เพื่อสู บนํ้าเกลือ
จากบ่อที่กน้ แม่น้ าํ ขึ้นมา
4.4. ต้ มเกลือ โดยกิจกรรมต้มเกลือจะเริ่ มต้นในเดือน พฤศจิกายนของทุกปี เพราะต้อง
คอยให้ น้ าํ ที่ ท่ ว มขัง ทามลดลงก่ อ นและจะต้ม อยู่จ นกระทั่ง ฝนตกมาอี ก ครั้ งทางลงมาทามปิ ด
ประมาณต้นเดือนพฤษภาคมหรื อกรกฎาคม ขึ้นอยูก่ บั ว่าฝนจะตกมาเมื่อใด
145

ในตอนเช้าประมาณ 06.00 น. ของทุกวันจะเริ่ มจุดเตาต้มเกลือ โดยใช้ฟืนสอดใส่ ลงไป


ในปากเตาทุกเตาให้ความร้อนส่ งให้น้ าํ เกลือในกระทะเดือดและต้องดูแลไฟให้สมํ่าเสมอเคี่ยวเกลือ
ไปเรื่ อยประมาณ 04.00 น.ก็จะเริ่ มตักเกลือ โดยใช้คราดกวาดเกลือมากกองรวมกันแล้วตักเกลือ
ออกไว้ที่ไม้ฟากที่ปิดบ่อพักนํ้าเกลืออยูเ่ กลือจะสะเด็ด ส่ วนนํ้าเค็มที่ติดออกมาก็หยดลงไปในบ่อพัก
นํ้า เมื่อตักเกลื อหมดแล้วก็สูบนํ้าจากบ่อพักนํ้าขึ้นใส่ กระทะอีกรอบก่อนจะเริ่ มจุดไฟอีกรอบและ
สุ มไฟเคี่ยวเกลือไปเรื่ อย แล้วจะได้ตกั อีกทีก็รุ่งเช้าวันต่อมา
ปริ มาณเกลื อที่ ได้ในแต่ละปี ขึ้ นอยู่กบั ฟื น ขนาดของเตาต้มเกลื อ และรอบในการต้ม
เกลื อของแต่ล ะเตา ฟื นที่ ใ ช้จะได้จากการไปตระเวนซื้ อ บางทีก็ซ้ื อจากกลุ่ มที่กาํ ลังเบิก ป่ าปลู ก
ยางพารา ซึ่ งเสี่ ยงกับการถูกตํารวจจับ หรื อบางทีก็หาซื้อไม้ยคู า ไม้มะม่วง หรื อไม้โตเร็ วที่เกษตรกร
ปลูกไว้ ถ้าไม่มีฟืนหรื อฟื นหมดก็ตอ้ งหยุดต้มเกลือไปหาซื้ อฟื นก่อน โดยที่ฟืน 1 รถ (ประมาณ 1
ตัน) จะสามารถต้มเกลือได้ 30 ตัน ในแต่ละปี เตาต้มเกลือหนึ่ง ๆ จะพยายามหาฟื นให้ได้ประมาณ
30 รถ ดังนั้นในบ่อหัวแฮดในปั จจุบนั เตาต้มเกลือแต่ละเตาสามารถผลิตเกลือได้ประมาณ 700 –
1,000 ตันต่อปี ขึ้นอยูก่ บั ว่าจะหาฟื นได้มากพอหรื อไม่ ราคาเกลือบ่อหัวแฮดจะสู งประมาณตันละ
1,500 บาท ในฤดูแล้งที่ทาํ เกลือได้มาก และราคาขยับขึ้นสู งได้ถึงประมาณตันละ 2,500 บาทในฤดู
ฝน ส่ วนหม้อต้มเกลือขนาดใหญ่ได้เกลือตันหนึ่ งต่อครั้ง หรื อขนาดเล็กที่สุดจะได้เกลือครั้งละ 400
กิโลกรัม
4.5 การขายเกลือ เกลือที่ได้อาจจะขายให้ผรู้ ับซื้ อโดยตรง หรื อจ้างให้คนงานมากรอกเกลือ
ใส่ ถุงโดยจะมีขนาดบรรจุต่าง ๆ คือขนาดนํ้าหนัก 3 ขีดขายราคาส่ ง 3 ถุง 10 บาท ขนาดบรรจุ 6 ขีด
ขายส่ ง 3 ถุง 20 บาท ขนาดบรรจุ 4 กิโลกรัมขายส่ ง 3 ถุง 50 บาท ขนาดบรรจุ 10 กิโลกรัมราคาขาย
ส่ ง 3 ถุง 100 บาท ขนาดบรรจุ 100 กิโลกรัมขายส่ งถุงละ 120 บาท
ถ้าเทียบกับการผลิตเกลือในแหล่งผลิตเกลืออื่นในชุมชนลุ่มนํ้าสงคราม แหล่งผลิตเกลือ
บ้านท่าสะอาดดําเนิ นการมาอย่างต่อเนื่ องนับร้ อยปี แต่ปรากฏว่ามีผลกระทบต่อระบบนิ เวศจาก
กระบวนการต้มเกลือ หรื อขนส่ งน้อยกว่าแหล่งอื่น แต่ก็พบร่ องรอยผลกระทบจากการสู บนํ้าบาดาล
ที่บ่อบาดาลอยูท่ ี่ใต้ทอ้ งนํ้าในแม่น้ าํ บางครั้งท่อสู บนํ้า หรื อฐานบ่อมีการรั่วซึ มทําให้น้ าํ เค็มรั่วไหลสู่
แม่น้ าํ ทําให้พบภาวะนํ้าเค็มกระจายรอบบริ เวณดังกล่าว ดังจะเห็นได้จากคราบเกลือในตลิ่งแม่น้ าํ ใน
ฤดู แล้ง อย่างไรก็ตามในรอบหนึ่ งปี จะทําเกลื ออยู่ประมาณ 6 – 7 เดื อน และหยุดทําเกลื ออยู่
ประมาณ 5 – 6 เดือน ทําให้สภาพสิ่ งแวดล้อมฟื้ นฟูกลับมาได้ระดับหนึ่ ง อีกทั้งการใช้ฟืนเป็ นเพลิง
ก็เป็ นสาเหตุของการทําลายป่ าไม้อีกทางหนึ่ง
146

ภาพที่ 26 แผนผังแสดงที่ต้ งั โรงต้มเกลือบริ เวณบ่อหัวแฮด อําเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ


147

ตารางที่ 9 รายชื่อสมาชิกกลุ่มผูผ้ ลิตเกลือสิ นเธาว์บ่อหัวแฮดและกําลังการผลิต

ลาดับ ชื่อผู้ผลิต ขนาดเตาต้ มเกลือ กาลังการผลิต/วัน


(ปากเตา) (กิโลกรัม)
1 นางละเอียด รองศรี 4 1,200
2 นายอุทิศ บุตรบุรี 4 1.200
3 นายสมบัติ ปั กกิ่ง 4 1,200
4 นางเกศริ นทร์ 4 1,200
5 นายสมฤทธิ์ เจริ ญชัย 4 1,200
6 นางศรี ไพ แก้วหาวงศ์ 4 1,200
7 นายมีชยั เหมะลา และนายอุดม เหมะลา 5 1,800
8 นายสุทิน พรหมมนต์ 6 2,600
9 นายมติ กองอ่อนศรี 4 1,200
10 นายไกรสอน มูลสาโคตร 4 1,200
11 นายเจียมใจ กิ่งหนองกอ 4 1,200
12 นายพิทกั ษ์ บุญเทียม 4 1,200
รวม 16,400

การผลิตเกลือต้ มด้ วยเชื้อเพลิงแกลบบ้ านกุดเรือคา


ตาบลกุดเรือคา อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร

1. ประวัติการตั้งถิ่นฐานของชาวบ้ านกุดเรือคา
"กุดเรื อคํา" เป็ นชื่ อหมู่บา้ นที่ได้มาเพราะบริ เวณที่ต้ งั หมู่บา้ นมีลาํ ห้วยสายหนึ่ งซึ่ งไหล
มาสิ้ นสุ ดที่ทุ่งนาไม่มีทางนํ้าไปต่อ ลักษณะแม่น้ าํ เช่ นนี้ ภาษาถิ่ น เรี ยกว่า "กุด" อันเกิ ดจากการ
เปลี่ ยนทิศทางของลําห้วย หรื อสายนํ้า ตามการเปลี่ยนแปลงของธรณี วิทยา เล่าลือกันว่าในกุดนี้ มี
เรื อล่องหนอยูบ่ ริ เวณนี้ เป็ นเรื อขนาดเล็กทําด้วยเรื อทองคํา ยาวประมาณ 1 เมตร เชื่อว่าเป็ นสมบัติ
ของเทวดา หากคนใดอยากเห็ นก็ตอ้ งกราบไหว้ออ้ นวอนขอเทวดาก็จะบันดาลให้เรื อทองคํานั้น
ปรากฏขึ้นมาลอยลําอยูบ่ นท้องนํ้าในกุดให้ได้เห็นแล้วก็อนั ตรธานหายไป และที่เป็ นเช่นนั้นเพราะ
148

เดิ มนั้นชาวบ้านที่อยู่อาศัยบริ เวณนี้ เป็ นคนซื่ อสัตย์ แต่อยู่ต่อมามีคนบางคนเต็มไปด้วยความโลภ


หลง หลายคนคิดอยากได้เรื อทองคําลํานั้นมาเป็ นสมบัติตน จึงไปเชิญหมอผีมาทําพิธีขบั ไล่เทวดา
รักษาเรื อคํา แต่ไม่มีใครทําสําเร็ จคนโลภเหล่านั้นก็มกั เสี ยชีวิตอย่างกะทันหันโดยหาสาเหตุไม่พบ
และนับแต่น้ นั มาก็ไม่มีใครได้เห็นเรื อทองคําในท้องกุดอีกเลย
จากแผนที่ภูมิประเทศ 1:50,000 กรมแผนที่ทหาร บ้านกุดเรื อคํา และตําบลกุดเรื อคํา
ตั้งอยูท่ ี่ราบลุ่มตํ่าความสู งประมาณ 152 เมตรจากระดับนํ้าทะเลปานกลาง เป็ นพื้นที่เพราะปลูก นา
ข้าว และมีลาํ ห้วยจํานวนมากหลายสายไหลลงมารวมบริ เวณนี้ก่อนจะไหลไปบรรจบกับลําห้วยซาง
ลําห้วยที่มีตน้ นํ้าไหลมาจากที่เนินทางทิศใต้ โดยมีหว้ ยเล็ก ๆ คือห้วยแสง ห้วยคํา ไหลลงสู่ ห้วยซาง
(ปั จจุบนั มีการสร้างอ่างเก็บนํ้าขนาดใหญ่) ก่อนที่ลาํ ห้วยซางจะไหลผ่านกลางหมู่บา้ น และบริ เวณ
สถานที่ทาํ นาเกลือ ก่อนจะไหลผ่านอีกหลายหมู่บา้ นและไหลไปบรรจบกับแม่น้ าํ สงครามในเขต
อําเภอบ้านม่วง ทางด้านทิศตะวันออกของหมู่บา้ นมีลาํ ห้วยผักกูด ห้วยดินจี และห้วยหิ นกรอง ด้าน
ทิศใต้มีหว้ ยซวงและห้วยประคําขาว ไหลมาสู่ หมู่บา้ นและบรรจบกับห้วยซาง ด้านทิศตะวันตกมีลาํ
ห้วยแสง ห้วยคํา ห้วยไร่ ไหลลงมาบรรจบกับห้วยซางที่บริ เวณท้ายหมู่บา้ น
บ้านกุดเรื อคําก่อตั้งอย่างเป็ นทางการเมื่อราวปี 2433 โดยได้มีคนหลายกลุ่มอพยพมาจาก
หลายจังหวัด เช่น กลุ่มคนที่อพยพมาจากจังหวัดนครนายก ตั้งถิ่นฐานทํามาหากินอยูบ่ ริ เวณ กุดเรื อ
คําเป็ นกลุ่มแรกไม่ทราบปี ที่แน่นอน ตามมาด้วยกลุ่มคนที่อพยพหนีศึกฮ่อมากจากริ มฝั่งแม่น้ าํ โขง
ไม่ทราบปี ที่แน่ นอน กลุ่มผูอ้ พยพมาจากจังหวัดอุบลราชธานีราวปี 2448 และกลุ่มที่อพยพมาจาก
จังหวัดขอนแก่น กลุ่มนี้ เป็ นกลุ่มที่ติดตามญาติที่เป็ นทหาร มาทํางานกองทหารพัฒนาบริ เวณนี้ใน
สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่ งเข้ามาในปี 2511 ตามมาด้วยกลุ่มคนที่อพยพมาจากบ้านนาคอย
อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม ซึ่ งเข้ามาราว พ.ศ. 2512 ซึ่ งต่อมาราวปี 2518 ก็มีคนอพยพมาจากนา
แกมาเพิ่มเติมอีก และบ้านกุดเรื อคําในปั จจุบนั ประชากร 500 ครัวเรื อนโดยแบ่งการปกครองที่เป็ น
ทางการออกเป็ น 5 หมู่บา้ นคือบ้านกุดเรื อคํา บ้านสันติสุข บ้านพัฒนา บ้านสามัคคี และบ้านฮ่องไร่
ทั้ง 4 หมู่บา้ นที่แยกออกมาจากบ้านกุดเรื อคําเดิมนี้ มีประชากรประมาณ 4,000 คน ซึ่ งเดิมทีบา้ นกุด
เรื อคําขึ้นอยูก่ บั ตําบลคูสะคาม อําเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร โดยได้แยกตัวออกเป็ นตําบลกุด
เรื อคําในปี 2537 และรวมเอาหมู่บา้ นต่าง ๆ 9 หมู่บา้ นเข้าไว้ในเขตการปกครองรวมประชากรทั้ง
ตําบลประมาณ 6,619 คน(ชัชวาลย์ น้อยคํายาง, 2545: 23 – 26)
2. ความเป็ นมาของการต้ มเกลือบ้ านกุดเรือคา
เกลื อแถบอําเภอบ้านม่วง อําเภอวานรนิ วาส เป็ นเกลือที่มีปริ มาณโซเดียมคลอไรด์สูง
เฉลี่ ยร้ อยละ 96 เมื่ อเที ย บกับเกลื อสมุ ทรนับว่าเป็ นเกลื อที่ มีคุณภาพสู ง มีความเหมาะสมที่ จะ
นําไปใช้ในอุ ตสาหกรรมหลายอย่าง เช่ น ผงชู รส สี ยาสี ฟัน ฟอกย้อมสี อุตสาหกรรมพลาสติ ก
149

ผงซักฟอก ยาปราบศัตรู พืช ยาฆ่าแมลง นํ้ายาดับเพลิง ทําฝนเทียม ถ่านไฟฉาย ฯลฯ (บริ ษทั จีโอ
เซอร์ เวย์ จํากัด, 2541 หน้า 5 อ้างถึงในชัชวัลย์ น้อยคํายาง, 2545: 29)
จากการศึกษาข้อมูลมือสองและลงพื้นที่สังเกตการณ์กิจกรรมการทําเกลือที่บา้ นกุดเรื อ
คําพบว่า หลังโครงการสํารวจนํ้าบาดาลใจจังหวัดสกลนครในช่วงปี 2520 ได้เจาะพบนํ้าบาดาลเค็ม
ใต้พ้ืน ดิ นบ้า นกุ ดเรื อ คํา และหมู่ บ ้า นใกล้เคี ย ง ชาวบ้า นจึ ง เริ่ ม พากัน ขุด บ่ อด้วยมื อ บางบ่ อ ใช้
เวลานานถึงหนึ่งสัปดาห์กว่าจะพบนํ้าเค็ม ต่อมาจึงใช้เครื่ องขุดเจาะนํ้าบาดาลแล้วใช้เครื่ องสู บนํ้ามา
ต้มโดยใช้กระทะที่ทาํ ขึ้นมาจากแผ่นสังกะสี กว้าง 2.6 เมตร ยาว 12 เมตร ลึกประมาณ 0.20 เมตร
ระยะแรกใช้ฟืนรอบ ๆ หมู่บา้ นในการต้มเกลือ โดยจะมีคนตัดฟื นเข็นมาขายให้กบั คนต้มเกลือเริ่ ม
จากฟื นไม้แห้ง แต่ต่อมาไม้แห้งหายากก็ตดั ฟื นไม้ดิบๆ มาขายในราคารถเข็นละ 200 บาท ทําให้ป่า
รอบๆ หมู่บา้ นหมดลงอย่างรวดเร็ วเพราะมีคนมาต้มเกลื อเป็ นจํานวนมาก เจ้าหน้าที่ป่าไม้ก็เริ่ ม
กวดขันจับกุมคนตัดไม้ คนต้มเกลือจึงหันมาใช้แกลบเป็ นเชื้อเพลิง(ชัชวาลย์ น้อยคํายาง, 2545: 65)
ชาวบ้านกุดเรื อคําทัว่ ไปมีอาชีพทํานา และมีคนกลุ่มหนึ่งที่มีอาชีพต้มเกลือ โดยจุดตั้งเตา
ต้มเกลือเดิมคือนาข้าวมาก่อนตั้งอยูร่ ิ มถนนเส้นทางหลวงหมายเลข 2092 (หนองแวง – บ้านดุง) ทั้ง
การเริ่ มต้นทําเกลือที่บา้ นกุดเรื อคําเริ่ มต้นขึ้นเมื่อมีการเจาะสํารวจนํ้าบาดาลของกรมทรัพยากรธรณี
และขุดพบว่าบ่อบาดาลในท้ายหมู่บา้ นเป็ นบ่อบาดาลที่ให้น้ าํ เค็ม โดยผูป้ ระกอบการจะลงทุนเจาะ
บ่อนํ้าด้วยกันและต้มด้วยกัน บางคนซื้ อนํ้าเค็มจากเจ้าของบ่อเกลือมาอาศัยที่ดินของตนเองตั้งเตา
ต้มเกลือซึ่ งไม่คุม้ จึงกลับไปรวมกลุ่มกันเจาะนํ้าบาดาลเพื่อสู บนํ้าเกลือขึ้นมาต้มด้วยกัน
บ้านกุดเรื อคํามีการขยายตัวขึ้นมาอย่างรวดเร็ วปั จจุบนั มีประชากรประมาณ 4,000 คน
ใน 5 หมู่บา้ นที่เป็ นบ้านกุดเรื อคําเดิม ปั จจุบนั มีผปู้ ระกอบการเกลือด้วยวิธีการตั้งโรงต้มเกลือ 30 -
40 ราย โดยส่ วนใหญ่จะมีกระทะต้มเกลือรายละ 2 กระทะ มีผปู้ ระกอบการที่ขออนุญาตในตําบล
กุดเรื อคําทั้งหมด 30 ราย โดย 15 รายจะใช้แรงงานในครอบครัวต้มเกลือเองและญาติพี่นอ้ ง ส่ วนผูท้ ี่
มีกระทะต้มเกลือมากตั้งแต่ 3 กระทะขึ้นไปจะจ้างแรงงานเพิ่มเติมจากแรงงานในครอบครัว เพราะ
การต้มเกลือ 1 กระทะจะต้องใช้แรงงาน 2 คนขึ้นไปทั้งนี้ ในฤดูกาลต้มเกลือจะมีคนหมุนเวียนเข้า
ทํางานต่าง ๆในโรงต้มเกลือประมาณ 400 คน
แกลบที่ใช้ในโรงต้มเกลือรับซื้ อจากโรงสี ในจังหวัดกาฬสิ นธุ์ มหาสารคาม ขอนแก่น
อุดรธานี และจังหวัดร้อยเอ็ด ส่ วนใหญ่ผรู้ ับซื้ อเกลือจะบรรทุกแกลบมาขาย รถบรรทุกหกล้อราคา
1,800 รถบรรทุกสิ บล้อราคา 2,300 บาท ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของรถ ปั จจุบนั ราคาแกลบแพง หายากขึ้น
บางปี ขึ้นราคา 2,000 – 2,500 บาท เพราะปัจจุบนั แกลบนําไปใช้ประโยชน์หลายอย่าง เช่น ทําปุ๋ ย ใช้
ในโรงไฟฟ้ าแกลบได้ ขณะที่ผตู ้ ม้ เกลือบางรายมีรถบรรทุกก็จะไปหาซื้อแกลบเอง
150

3. ขั้นตอนการต้ มด้ วยเชื้อเพลิงแกลบ


3.1 เจาะนา้ บาดาล บริ เวณบ้านกุดเรื อคําเจาะนํ้าบาดาลเค็มที่ระดับความลึกประมาณ 60 –
100 เมตรโดยจะต่อท่อพีวซี ี ขนาด 2- 4 นิ้ว มายังถังพักนํ้าเกลือต่อไปยังบ่ออีกทีหนึ่ง(บางรายอาจจะ
ใช้วธิ ี สูบนํ้าจากบ่อไปยังกระทะโดยตรงไม่มีถงั พักนํ้าเค็ม) ค่าจ้างสําหรับเจาะบ่อบาดาลประมาณ
13,000 – 15,000 บาท
3.2 สร้ างโรงเรือนต้ มเกลือ/เก็บเกลือ/โรงเรือนสาหรับเก็บแกลบ โรงเรื อนต้มเกลือจะสร้าง
ขึ้นง่าย ๆ ด้วยโครงไม้ยคู าและมุงสังกะสี หรื อหญ้าคา เป็ นเรื อนโปร่ งที่หลายเจ้ามาสร้างต่อ ๆ กัน
หนึ่งโรงมักจะสร้างคร่ อมกระทะต้มเกลือได้สองกระทะ ดังนั้นโรงเรื อนต้มเกลือจะมีขาดประมาณ
12x14 เมตร เป็ นที่วางเตาต้มเกลือและลานสําหรับเก็บเกลือ โดยใช้งบประมาณประมาณ 20,000
บาทต่อ 1 โรงเรื อนและจะมีอายุใช้งานประมาณ 5 – 10 ปี ส่ วนโรงเก็บแกลบบางรายที่เป็ นรายใหญ่
จะสร้างไว้ถาวรเป็ นเพิงหมาแหงนยาวขนานไปกับโรงต้มเกลือ เพราะต้องการผลิตเกลือแม้ฝนจะ
ตก ส่ วนรายย่อย ๆมักจะหยุดทํางานในช่วงฝนตกหนัก

ภาพที่ 27 (ซ้าย) สภาพภายนอกบริ เวณโรงต้มเกลือด้วยแกลบ บ้านกุดเรื อคํา


ภาพที่ 28 (ขวา) สภาพภายในโรงต้มเกลือด้วยแกลบ บ้านกุดเรื อคํา

3.3 เตรียมกระทะต้ ม/เตาต้ มเกลือ กระทะต้มเกลือจะมีขนาดสังกะสี กว้าง 2.6 เมตร ยาว


12 เมตร โดยจะดัดให้เป็ นรู ปทรงสี่ เหลี่ยมลึกประมาณ 0.20 เมตร จะจ่ายค่าซื้ อสังกะสี และช่างทํา
ประมาณ 3,500 บาท และใช้งานได้นาน 2 ปี ก็จะผุพงั เพราะเค็มต้องรื้ อทิ้งทําใหม่ ดังนี้ กระทะเกลือ
ต้องหมัน่ ทําความสะอาดทุกวันไม่ให้เกลือแห้งกรังค้างหม้อ ส่ วนเตาต้มเกลือสร้างด้วยอิฐบล๊อก
หรื อดินเหนียวผสมแกลบก่อเป็ นรู ปทรงสี่ เหลี่ยมผืนผ้าขนาดเท่ากับหม้อกระทะ ยาว 12 เมตร กว้าง
ประมาณ 2.60 เมตร สู งประมาณ 0.50 เมตร ทางด้านปลายสุ ดทั้งสองด้านจะสร้ างถังสี่ เหลี่ยม
ด้านบนกว้างประมาณ 0.30 เมตร ส่ วนล่างจะแคบลงเพื่อเป็ นช่ องบรรจุแกลบ โดยจะมีตะแกรง
151

เหล็กรองรับแกลบอีกชั้นหนึ่งเพื่อบังคับให้แกลบค่อย ๆไหลลงไปเผาไหม้ที่กน้ เตาให้ความร้อนแผ่


ไปยังหม้อกระทะให้ทวั่ ถึ ง ด้านปลายอีกด้านของเตาทั้งสองข้างมีท่อสังกะสี เส้นผ่านศูนย์กลาง
ประมาณ 0.50 เมตรสู งประมาณ 5 เมตรเป็ นปล่องควันให้ลอยขึ้นสู่ บรรยากาศด้านบน
ในการต้มเกลือหนึ่ งวัน ที่เริ่ มต้นตั้งแต่ 02.00 น. - 15.00 น.จะได้เกลือประมาณ 2 ตัน
โดยต้องทํางานเติมเชื้ อเพลิงตลอดวันและตักเกลือจากกระทะ 3 ครั้ง เกลือที่ได้จะมีคนงานมาตัก
โกยใส่ กระสอบ ดังนั้นผูร้ ับจ้างต้มเกลือจะได้ค่าแรงตันละ 250 บาทต่อการทํางาน 14 ชัว่ โมง และ
เพื่อให้ได้ค่าแรงมากขึ้นก็ตอ้ งต้มเกลือตลอดวันตลอดคืนเพื่อให้ได้เกลือ 4 ตัน จึงจะมีรายได้ 1,000
บาทต่อการทํางาน 24 ทัว่ โมงสําหรับแรงงาน 2 คน หรื อเฉลี่ยคนละ 500 บาท
3.4 สู บนา้ เค็มใส่ กระทะ โดยจะมีการติดตั้งเครื่ องสู บนํ้าเค็มขึ้นไปเก็บไว้ในถังพักนํ้าที่
วางบนร้านยกพื้นสู งประมาณ 3 – 5 เมตร และต่อท่อพีวซี ีไปยังกระทะต้มเกลือทุกกระทะจนเต็มใช้
เวลาเติมนํ้าจนเต็มกระทะประมาณ 5 - 10 นาที ในแต่ละวันหลังจากที่ตม้ เกลือเสร็ จและตักเกลือ
ครั้งสุ ดท้ายก็จะกวาดขี้เกลือออกจากกระทะให้หมดแล้วเติมนํ้าใส่ กระทะพักไว้ก่อนเพื่อรอจะต้มใน
เวลา 02.00 น.ของวันต่อไปก็จะมาเติมแกลบและจุดไฟต้มเกลือ
3.5 ต้ มเกลือ คนงานจะโกยแกลบใส่ เข่งขนลําเลียงแกลบจากโรงเก็บแกลบมาที่โรงต้ม
เกลือ เทใส่ ลงไปในปล่องใส่ แกลบหรื อปล่องเตา ที่สุมไฟไว้ แกลบจะเผาไหม้ให้ความร้อนในการ
ต้มเคี่ยวนํ้าเค็มในกระทะให้เดือดและเคี่ยวต่อไปจนตกผลึกเป็ นเกลือ คนงานที่ตม้ เกลือหลัก ๆ แล้ว
จะคอยดูแลเชื้อเพลิงความร้อนให้สมํ่าเสมอ การต้มเกลือ 1 กระทะจะใช้เวลานับตั้งแต่ปล่อยนํ้าเค็ม
เข้ากระทะจนเต็มแล้วเริ่ มต้มเคี่ยวเกลือไปประมาณ 7 ชัว่ โมงโดยเริ่ มงานตั้งแต่ 02.00 น. ของวัน
แล้วจะสามารถตักเกลือได้ครั้งแรกเวลาประมาณ 09.00 น. โดยเมื่อสังเกตเห็นนํ้าเค็มตกผลึกเป็ น
เกลือมากพอแล้วจะหยุดเติมแกลบ แต่จะใช้ไม้กระทายาว ๆ กวาดเกลือมารวมกันไว้ที่มุมหนึ่ งของ
กระทะเกลื อแล้วตักเกลื อออกพักไว้บนตะแกรงไม้ไผ่ที่วางพาดไว้ตรงมุมใดมุมหนึ่ งก่ อนเพื่อให้
เกลือสะเด็ดนํ้า ก่อนจะตักเกลือออกกองไว้ที่มุมหนึ่ งของโรงต้มเกลือ แล้วเริ่ มเติมแกลบลงในเตา
อีกครั้งเพื่อต้มเคี่ยวนํ้าเค็มที่เหลื ออยูต่ ่อไป จากกระทะร้อนอยูแ่ ล้วต้มเคี่ยวต่อไปอีก 3 ชัว่ โมงก็จะ
สามารถตักเกลือได้เป็ นครั้งที่ 2 เวลาประมาณ 12.00 น. แล้วต้มต่อไปอีกประมาณ 3 ชัว่ โมงก็จะ
สามารถตักเกลือได้เป็ นครั้งที่ 3 เวลา 15.00 น. นับเป็ นการตักเกลือครั้งสุ ดท้ายของวันนั้น ทั้งนี้ การ
ต้มเกลื อแต่ละครั้งจะใช้เชื้ อเพลิงคือแกลบประมาณ 100 กิ โลกรัมหรื อ 10 เข่ง และเมื่อต้มเกลือ
ต่อเนื่ องกันราว 5 วันก็จะเกิ ดเกลื อดานแข็งติดพื้นกระทะจะต้องขูดกระทะและล้างกระทะให้
สะอาดก่อนจะต้มหม้อต่อไปถ้าหม้อสกปรก เกลือดานเกาะมากเกลือที่ได้จะเหลวคุณภาพไม่ดี
152

3.6 ตักเกลือขึน้ รถ ตามปกติผรู้ ับซื้อเกลือจะมาซื้ อถึงที่ ราคาตันละประมาณ 1,000 บาท


โดยต้องจ้างคนงานมาบรรจุเกลือใส่ ถุงปุ๋ ยเตรี ยมไว้ คนงานจะทํางานกันเป็ นคู่ คนหนึ่งจับปากถุงอีก
คนตักเกลือใส่ และชัง่ นํ้าหนักให้ได้ถุงละ 20 – 50 กิโลกรัม และมีกลุ่มผูช้ ายรับจ้างขนถุงเกลือขึ้น
รถอีกทอดหนึ่ง ใช้คนงาน 6 – 10 คน โดยคนงานจะแบ่งค่างจ้างกันได้คนละ 100 – 150 บาทต่อ
หนึ่งคันรถ รถบรรทุกสิ บล้อจะบรรทุกได้ประมาณ 15 – 20 ตัน รถพ่วงบรรทุกประมาณ 30 ตัน

ภาพที่ 29 เตาเชื้อเพลิงแกลบสําหรับต้มเกลือ ภาพที่ 30 ช่องใส่ แกลบในโรงต้ม

ภาพที่ 31 คนงานกําลังตักเกลือขึ้นจากกระทะต้ม ภาพที่ 32 เกลือที่พร้อมจะบรรจุถุงจําหน่าย

ภาพที่ 33 คนงานบรรจุเกลือใส่ ถุง ภาพที่ 34 เกลือบรรจุถุงที่พร้อมจําหน่าย


153

โครงการเหมืองแร่ โพแทชสกลนคร
อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร

แหล่งแร่ โพแทชวานรนิ วาส ในเขตจังหวัดสกลนคร ตั้งอยู่ตอนใต้เป็ นพื้นที่ส่วนหนึ่ ง


ของเทือกเขาภูพานซึ่ งเป็ นโครงสร้างทางธรณี วิทยาแบบประทุนควํ่าและด้านปลายหนึ่งมุดหายลง
ไปทางด้านทิศเหนื อกลายเป็ นโครงสร้างแบบประทุนหงายและแอ่ง (Syncline and Basin) พบว่ามี
หมวดหิ นมหาสารคามเกิ ด ขึ้ น อยู่ใ นจัง หวัดสกลนคร ทางด้า นเหนื อของพื้ นที่ เ ป็ นแอ่ ง ถัด จาก
เทื อ กเขาภูพ านเป็ นต้นมา ดัง นั้นในพื้ นที่ อาํ เภอวานรนิ วาสซึ่ งอยู่ถ ัด ขึ้ น มาทางตอนเหนื อ ของ
เทือกเขาภูพานจึงเป็ นพื้นที่ที่น่าสนใจในการที่จะพบแหล่งโพแทชที่สําคัญเนื่ องจากเป็ นพื้นที่ของ
หมวดหิ นมหาสารคาม และบริ ษทั ไชน่า หมิงต๋ า โพแทช คอร์ ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด จาก
ประเทศจีนกําลังยืน่ ขออาชญาบัตรพิเศษในการสํารวจ เนื่องจากพื้นที่วานรนิวาสยังไม่มีการสํารวจ
ขยายออกไปจากการสํารวจของกรมทรัพยากรธรณี ดงั นั้นข้อมูลในพื้นที่อาํ เภอวานรนิวาส จังหวัด
สกลนคร พบว่ามีหลุมเจาะสํารวจในบริ เวณนี้จาํ นวน 2 หลุมได้แก่ หลุมเจาะ K-48 และ K-55 ซึ่ งมี
ข้อมูลว่าหลุมเจาะที่ K-48 นับว่าเป็ นหลุมเจาะที่มีขอ้ มูลว่ามีแร่ โพแทชชนิดซิ ลไวต์ที่เชื่อถือได้ และ
พบว่าชั้นแร่ ซิลไวต์มีความหนามากว่า 19 – 20 เมตร(ปกรณ์ สุ วานิช, 2550: 174 – 175) รายละเอียด
ดังตารางตารางแสดงผลการเจาะสํารวจแร่ โพแทช (รายละเอียดในภาคผนวก ค.)
จากผลการเจาะสํารวจกรมทรัพยากรธรณี ในหลุ มเจาะที่ K-48 และ K-55 พบว่า
แนวโน้มที่ จะพบแหล่ ง แร่ โพแทชชนิ ดซิ ล ไวต์จะอยู่ในพื้นที่ ทางตอนใต้ข องอําเภอวานรนิ วาส
เนื่ องจากตามฤทษฎี การเกิ ดแหล่งแร่ ซิลไวต์มกั จะเกิ ดขึ้นในบริ เวณไหล่ โดมเกลื อ และหากจะมี
ปริ ม าณกว้า งขวางเพี ย งพอที่ จะประกอบการทํา เหมื องได้ ไหล่ โดมเกลื อ มี พ้ืนที่ ค่อนข้า งกว้า ง
(ปกรณ์ สุ วนิช, 2550 : 181) และจากการประเมินชั้นหิ นและโครงสร้างทางธรณี วิทยาจากหลุมเจาะ
K-48 และ K-55 พบว่าชั้นหิ นทุกชั้นในหมวดหิ นมหาสารคามค่อนข้างจะเทียบเคียง(Conform) กัน
ได้ท้ งั หมดยกเว้นชั้นแร่ ซิลไวต์ที่พบในหลุม K-48 เป็ น Lower Sylvite ทําให้สามารถมองได้ว่า
โครงสร้ างของโดมเกลื อที่น่าสนใจควรจะอยู่ทางใต้ของตัวอําเภอวานรนิ วาสและมีแนวอยู่ในทิศ
ตะวันออกเฉี ยงใต้-ตะวันตกเฉี ยงเหนือ โดยปั จจุบนั นี้โครงการเหมืองแร่ โพแทช จังหวัดสกลนคร
โดย บริ ษทั ไชน่า หมิงต๋ า โพแทช คอร์ ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด ได้ยื่นขออาชญาบัตรพิเศษ
สํา รวจแหล่ ง แร่ เพื่ อพัฒนาเหมื องแร่ ใ นเชิ ง พาณิ ช ย์ต่อไปโดยมีล าํ ดับ ความเคลื่ อนไหวในพื้ นที่
ชุมชนแหล่งแร่ ดงั นี้
154

ปี 2519 – 2520 กรมทรัพยากรธรณี ดาํ เนินการเจาะสํารวจแร่ ที่ อําเภอวานรนิวาส อําเภอ


พรรณานิ คม และอําเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร พบแร่ โพแทชชนิด Carnallite และ Sylvite
6 กุม ภาพันธ์ 2522 กระทรวงอุตสาหกรรมประกาศให้พ้ืนที่แอ่ง สกลนครและแอ่ ง
โคราชเป็ นพื้นที่ เพื่อการสํารวจ ทดลอง ศึกษา วิจยั เกี่ยวกับแร่ ตามมาตรา 6 ทวิ แห่ งพระราชบัญญัติ
แร่ พ.ศ. 2510
2 เมษายน 2540 ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี (พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ) เดินทางไปเยือน
สาธารณรัฐประชาชนจีน และได้ชกั ชวนให้จีนมาลงทุนโครงการเหมืองแร่ โพแทชในไทย โดยได้มี
การลงนามในบันทึกความเข้าใจ (MOU) ร่ วมกัน
16 พฤษภาคม 2547 บริ ษทั ไชน่า หมิงต๋ า โพแทช คอร์ ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด
ได้ยื่นขออาชญาบัตรพิเศษ เพื่อสํารวจแร่ โพแทชใน อําเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร 12 แปลง
เนื้อที่ 120,000 ไร่
17 กันยายน 2547 กระทรวงอุตสาหกรรมได้เสนอกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อมเพื่อเปิ ดพื้นที่ดงั กล่าว ขณะนี้ อยู่ระหว่างดําเนิ นงานยังไม่แล้วเสร็ จ นอกจากนี้ เจ้าของ
โครงการและกระทรวงอุตสาหกรรม ได้ลงพื้นที่พบปะผูน้ าํ ชุมชนและประชาชนในพื้นที่โครงการ
ตามแผนการให้ความรู ้ผนู ้ าํ ชุมชนและประชาชนในพื้นที่โครงการทําเหมืองแร่ ใต้ดิน
21 กันยายน 2554 นายปรี ชา เร่ งสมบูรณ์สุข รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงทรัพยากรธรรม -
ชาติและสิ่ งแวดล้อมได้ออกประกาศกระทรวงอนุญาตให้ยื่นคําขออาชญาบัตรสํารวจแร่ โพแทชใน
พื้นที่อาํ เภอวานรนิ วาส จังหวัดสกลนครเป็ นกรณี พิเศษ โดยระบุว่าเป็ นพื้นที่ที่มีศกั ยภาพแร่ เพียง
พอที่จะพัฒนานําแร่ มาใช้ประโยชน์ได้ ประกอบกับเป็ นแร่ ที่มีความสําคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ
สมควรเปิ ดโอกาสให้ผูป้ ระสงค์ยื่นคําขออาชญาบัตรแร่ โพแทชเป็ นกรณี พิเศษ (รายละเอียดใน
ภาคผนวก จ.) ทั้งนี้ในแผนที่แนบท้ายประกาศดังกล่าวพบว่าการเปิ ดพื้นที่ให้สามารถยื่นขออาชญา
บัตรสํารวจแร่ ครอบคลุมพื้นที่ไม่ต่าํ กว่า 40 หมู่บา้ นใน 4 ตําบลได้แก่ตาํ บลนาคํา ตําบลวานรนิวาส
ตําบลขัวก่าย ตําบลโพธิ์ ชัย หรื อประมาณ 180 ตารางกิโลเมตร(ประมาณ 112,500 ไร่ )ในเขตอําเภอ
วานรนิ วาส ลักษณะของพื้นที่จากแผนที่ภูมิประเทศ 1: 50,000 กรมแผนที่ทหารและการลงพื้นที่
สํารวจระบบนิ เวศพื้นที่น้ ีพบว่าบริ เวณดังกล่าวเป็ นพื้นที่ราบลุ่มที่มีลาํ ห้วยมากว่า 20 สายไหลลงสู่
ลํานํ้ายาม ซึ่ งเป็ นลํานํ้าสาขาของแม่น้ าํ สงครามที่ไหลไปบรรจบกับแม่น้ าํ สงครามที่บา้ นปากยาม
ตําบลบ้านข่า อําเภอศรี สงคราม จังหวัดนครพนม และพื้นที่สํารวจแร่ ดงั กล่าวปั จจุบนั มีสภาพเป็ น
ที่ต้ งั ของชุมชนเกษตรกรรม โดยเฉพาะอย่างยิง่ นาข้าวที่มีท้ งั นาโคก(นาดอน) และนาลุ่ม สลับกันไป
โดยชุ มชนจะตั้งอยู่บนที่ดอนที่ลอ้ มรอบด้วยนาข้าวในที่ราบลุ่ม นอกจากนี้ยงั ปรากฏว่ามีพ้ืนที่ป่า
155

ชุมชนโคกหนองกุง ป่ าชุมชนโสกขุมเงิน และพื้นที่ปลูกป่ าประชาอาสา อยูใ่ นพื้นที่ดงั กล่าวด้วย


จากข้อมูลชุมชนแหล่งผลิตเกลือในลุ่มนํ้าสงครามทั้ง 4 แหล่งชี้ ให้เห็นว่าได้มีพฒั นาการ
รู ปแบบการผลิตเกลือแบบทํานาเกลือบ้านโนนดอกไม้แดง เพื่ อขายส่ งสู่ ภาคอุตสาหกรรม ซึ่ งเป็ น
พื้นที่ ที่นําเทคโนโลยการผลิ ตเกลื อแบบข้ามนิ เวศเข้ามาใช้จนก่ อให้เกิ ดความเปลี่ ย นแปลงทาง
นิ เวศวิทยาสังคมวัฒนธรรมธรรม สิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาวะอย่างรวดเร็ ว เมื่อเทียบกับชุมชนแหล่ง
ผลิ ตเกลื อแบบต้มเกลื อด้วยฟื นบ่อหัวแฮด บ้านท่าสะอาด ส่ วนพื้นที่โครงการเหมืองแร่ โพแทช
สกลนคร อําเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร นั้นเป็ นพื้นที่ยงั ไม่ดาํ เนินการทําเหมืองใต้ดินแต่เป็ น
พื้ นที่ ที่ ช้ ี ใ ห้เห็ นแนวคิ ดในการใช้เ ทคโนโลยีข ้า มพรมแดนเข้า มาใช้ ในโลกสมัย ใหม่ ที่ ก ารค้า
อุตสาหกรรมไร้พรมแดนกําลังเติบโตขยายอาณาเขตมากขึ้น ซึ่ งจะได้วิเคราะห์ให้เห็นปั จจัยที่ทาํ ให้
เกิดความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เพื่อชี้ให้เห็นบทบาทของเกลือในสังคมลุ่มนํ้าสงครามในต่อไป
บทที่ 4
ผลกระทบจากอุตสาหกรรมเกลือต่ อชุ มชนลุ่มนา้ สงคราม

"คนบ้ านเฮาคื อนั่งอยู่เรื อกลางนา้ สิ ล่มเมื่อใดก็บ่ฮ้ ู คื อขีค้ วายแห้ งฟูนา้ สู บนา้ เกลื อ
หมดมือ้ ใดก็คงสิ ยบุ จมลง" (นางบัวงาม รวยลีลา, [นามสมมุติ]. (2554.)
คํา เปรี ย บเที ย บให้ ท ศั นะว่า หมู่ บ ้า นโนนดอกไม้แดงตอนนี้ เปรี ย บเหมื อนเรื อที่ ล อย
เท้งเต้งอยู่กลางเวิ้ง น้ ากว้าง เหมื อนขี้ ค วายแห้งลอยน้ ารอวันจมหาย สะท้อนความรู้ สึกไม่ มน่ั คง
ปลอดภัยของคนในชุมชนที่อยูท่ ่ามกลางอุตสาหกรรมนาเกลือที่บา้ นโนนดอกไม้แดง
การผลิตเกลือจากนํ้าเค็มใต้ดินในพื้นที่ลุ่มนํ้าสงคราม 3 แหล่งในงานศึกษานี้ ได้แก่นา
เกลือบ้านโนนดอกไม้แดง ชุ มชนผลิตเกลือบ่อหัวแฮด บ้านท่าสะอาด และชุมชนผลิตเกลือบ้านกุด
เรื อคํา พบว่าเกือบทั้งหมดในพื้นที่ผลิตเกลือแบบนาเกลือไม่มีใบอนุญาตประกอบการ ขณะที่แหล่ง
ผลิ ตเกลื อแบบต้ม ด้วยแกลบบ้านกุดเรื อคํา ส่ วนใหญ่เป็ นโรงงานที่ได้รับอนุ ญาต แต่มีบางรายที่
ละเลยมาตรการในการป้ องกันผลกระทบ เช่น การปล่อยนํ้าขมสู่ ธรรมชาติ บ่อสู บนํ้าเกลืออยูใ่ กล้กนั
กว่าที่กาํ หนด เป็ นต้น ขณะที่การผลิตเกลือมายาวนานกว่าร้อยปี ที่บ่อหัวแฮด กลับมีผลกระทบน้อย
กว่าเมื่อเทียบกับสองแหล่งแรก
พัฒนาการทําเกลือแบบต้มและตากเพื่ออุตสาหกรรมในลุ่มนํ้าสงครามเกิดขึ้นราว 30 ปี
มาแล้วปั จจุบนั นี้พบปั ญหาการกระจายของพื้นที่ดินเค็ม นํ้าเค็ม และแผ่นดินยุบตัวที่รุนแรงและเพิ่ม
ขนาดพื้นที่มากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่บา้ นโนนดอกไม้แดง

1. วิกฤตการณ์ ผลกระทบจากทานาเกลือทีบ่ ้ านโนนดอกไม้ แดง


บ้า นโนนดอกไม้แ ดงในฤดู ร้ อ นพื้ น ที่ ร าบลุ่ ม ริ ม ห้ ว ยบ่ อ แดงด้า นทิ ศ เหนื อ และทิ ศ
ตะวันออกซึ่งเป็ นลานนาเกลือจะขาวโพลนไปด้วยเกลือทั้งทุ่ง คนงานทํางานในนาเกลือตั้งแต่เช้าตรู่
พอสายแดดร้อนจัดไอระอุกลางนาเกลือมองเห็ นเป็ นฝ่ ามัวปกคลุมทัว่ บริ เวณ สภาพบ้านเรื อนที่มี
หลังคาสังกะสี มีผุกร่ อนเป็ นสนิ มอย่างรวดเร็ วกว่าปกติ คนงานทํางาน ขุด ตัก แบก หาม ขนเกลือ
ง่วนอยู่ในนาเกลือมาตั้งแต่ฟ้ายังไม่สาง มีเวลาพักกลางวันเพื่อรับประทานอาหารซึ่ งซื้ อจากรถพุ่ม
พวง หรื อ รถมอเตอร์ ไซค์ที่มีสินค้าประเภทผักสด อาหารสําเร็ จรู ป บรรจุถุง และขนมกรุ บกรอบ
บรรจุถุงพลาสติกห้อยเป็ นพวงต่องแต่ง ตระเวนขายสิ นค้าไปยังบริ เวณเพิงกลางนาเกลือที่มีกลุ่ ม
คนงานพักเที่ยงอยู่ รถพุ่มพวงนี้ว่งิ เข้าออกหลายคัน คันละหลายรอบต่อวันในอาณาบริ เวณนาเกลือ
156
157

ผืนกว้าง นอกจากนี้ ในบ้านโนนดอกไม้แดงยังมีร้านขายของชําหรื อร้านขายอาหารทั้งหมด 7 แห่ ง


ซึ่ งส่ วนใหญ่จะขายทั้งสิ นค้าเบ็ดเตล็ดและอาหารสด อาหารแห้ง ก๋ วยเตี๋ยว ลาบ ก้อย ส้มตํา หรื อ
อาหารถุงสําเร็ จรู ป ทุกเจ้าเปิ ดให้คนงานนาเกลือเชื่อสิ นค้าก่อนได้ เป็ นต้น
ลงทุนขั้นแรกไปซื้ อสิ นค้าเข้าร้านประมาณ 15,000 บาท แต่ละวันก็ไปซื้ อของหมุนเวียน
เข้าร้าน ช่วงฤดูฝนจะซื้ อสิ นค้าเบ็ดเตล็ดเดือนละหนึ่ งครั้งใช้เงินไปราว 10,000 – 14,000 บาท
ส่ วนอาหารสดและกับข้า วไปซื้ อมาขายทุ กวัน ในช่ วงฤดู แ ล้งมี ค นมาทํา งานนาเกลื อมาก
จะต้องไปซื้ อสิ นค้าเบ็ดเตล็ดเข้าร้านทุกสัปดาห์ใช้เงินซื้ อสิ นค้าประมาณ 13,000 – 15,000 บาท
ต่ อสัปดาห์ เ พราะจะขายดี สิ น ค้า ที่ ข ายดี คื อเหล้า และยาสู บ เฉพาะเหล้า ขาวขายได้วนั ละ
ประมาณ 3 ลัง(ลังละ 2 โหล) ราคาขายปลีกขวดละ 50 บาท เหล้าขวดใหญ่ 3 ลัง(ลังละ 1 โหล)
ราคาขายปลีกขวดละ 90 บาท ยาสูบสัปดาห์ละ 10 ตุ๊ด (ตุ๊ดละ 10 ซอง) รายคาขายซองละ 45 –
60 บาท ในส่ วนอาหารแต่ละวันจะไปซื้ ออาหารสําเร็ จรู ปเป็ นอาหารถุงจากตลาดบ้านกุดเรื อคํา
มาขายให้คนงาน และชาวบ้า น และซื้ ออาหารสด เนื้ อประมาณวันละ 3 กิ โ ลกรั ม หมู 2
กิโลกรัม ไก่ 1 กิโลกรัม ปลานิ ล ปลาดุก และปลาจีนอย่างละ 2 กิโลกรัม แต่ละวันมียอดขาย
สิ้ นค้าประมาณ 6,000 – 7,000 บาทต่อวัน ในยอดนี้ ได้จากขายเหล้าประมาณ 2,500 – 3,000
บาท ถ้าช่ วงไหนเป็ นเทศกาลประกอบกับฤดูกาลทํานาเกลื อก็จะขายเหล้าได้ดีมาก บางวัน
ยอดขายเหล้าอาจสู งถึง 3,000 – 4,000 บาท ในช่ วงทํานาเกลือมีลูกค้าที่ เป็ นคนงานจากต่าง
หมู่บา้ นเข้ามาซื้ อของเป็ นจํานวนมาก แม้วา่ ในหมู่บา้ นมีร้านค้าเช่นนี้ประมาณ 5 - 7 ร้าน และมี
ปริ มาณสิ นค้าเท่าๆ กัน การมีนาเกลือรอบหมู่บา้ นดี ตรงที่ทาํ ให้คนมีที่ทาํ งานรับจ้างขายของ
ได้ แต่ไม่ดีตรงที่ ดินทรุ ดดิ นถล่มหมู่บา้ นเสี่ ยง ถ้าให้เลือกจริ งๆ ก็อยากเลือกให้ยุบกิ จการทํา
เกลือสูบนํ้าเกลือ หากยังทําต่อไปก็กลัวว่าจะเกิดเหตุรุนแรงที่เราคาดไม่ถึงในอนาคตเพราะดิน
ใต้หมู่บา้ นเป็ นโพรงหมดแล้ว ตนเคยทํางานนาเกลืออยู่หลายปี และเห็นว่างานมันหนักและ
เหนื่ อยมากสู ้ไม่ไหวจึ งเลิก ไปทํางานก่ อสร้างที่ กรุ งเทพฯ ซึ่ งเบากว่างานนาเกลือ เป็ นเวลา
มากกว่าทํานาเกลือ ปี หนึ่ งเดิ นทางไปทํางานก่อสร้างประมาณ 4 เดื อนก่อนสงกรานต์ก็จะ
กลับมาทํานา ทํานาเสร็ จก็ไปอีก ทําอยู่หลายปี ก่อนจะตัดสิ นใจเปิ ดร้านค้าเมื่อ 3 ปี ที่ผ่านมา
เพราะเห็นว่ามีคนงานทํางานในนาเกลือมากขึ้น และไม่อยากทํางานหนักใช้แรงมากๆ และจาก
บ้านไปไกลๆ เหมือนก่อน (นายทนง ศาสตรา, [นามสมมุติ]. (2554.)
งานในนาเกลือเริ่ มต้นในปลายฤดูฝนราวเดือนตุลาคม กิจกรรมในนาเกลือเริ่ มขึ้นคนงาน
เริ่ มทํางานบดอัดดิน สู บนํ้าเค็มเข้านา คอยจนนํ้าเค็มที่ตากในนาเกลือรอบแรกตกผลึกเป็ นเกลือแล้ว
จึงเริ่ มมีคนงานเก็บหรื อขนเกลือเข้ามาทํางานอยูก่ ลางลานนาเกลือตั้งแต่ฟ้ายังไม่สาง โดยสมาชิกใน
158

ครอบครัวที่ไปทํางานรับจ้างในนาเกลือมีอยูร่ ้อยละ 33 ของจํานวนครัวเรื อนทั้งหมดในหมู่บา้ น ซึ่ ง


จะมีสมาชิ ก 1 หรื อ 2 คนในครัวเรื อนหนึ่ งไปช่ วยกันทํางาน เริ่ มงานตั้งแต่ก่อนสว่าง คนที่เป็ น
แม่บา้ น หรื อผูห้ ญิงจะลุกขึ้นมาเตรี ยมหุ งหาอาหาร ส่ วนที่เหลือจะล่วงหน้าไปทํางานคอยอยูใ่ นนา
เกลือ ในช่วงฤดูกาลเก็บเกลือในหมู่บา้ นและกิจการในครอบครัวต้องงดแทบทั้งหมดเพราะต้องเร่ ง
รับจ้างเก็บเกลือแข่งกับฤดูฝนที่ค่อยเคลื่อนเข้ามา
ไปรับจ้างตักเกลือช่วยลูกชายกระสอบละ 3 บาท นาเกลือเป็ นแหล่งหากินสําคัญ ตนมี
ลูก 2 คนแต่งงานไปแล้วมีอาชี พตักเกลือ ปลูกมัน ทํานาข้าว มีนาข้าว 36 ไร่ เป็ นนาโคกเพราะ
ขายนาลุ่มให้นายทุนเกลือไปทั้งหมด 13 ไร่ ราคา 110,000 บาทแล้วก็ไปซื้ อที่ ดินนาโคกไว้
78,000 บาท(36 ไร่ ) แม้จะให้ผลผลิตตํ่ากว่านาลุ่มแต่ราคาก็ถูกกว่าจึงซื้ อที่นาแปลงใหม่ได้
หลายไร่ แต่ตอ้ งทํางานหนักมากขึ้นและเดินทางไกลจากบ้านมากขึ้น ในระหว่างรับจ้างทํางาน
นาเกลือจะไม่มีเวลาทําอะไรอื่นเลย งานบ้าน ผักสวนครัว อาหารการกิน ต้องตื่นเช้าตีหา้ ออก
จากบ้านไปทํางานนาเกลือเพราะยิ่งสายยิ่งร้อนต้องเริ่ มทํางานแต่เช้า อาหารการกินก็จะต้อง
ไปเชื่อผัก ปลา กับข้าวถุงในร้านค้ามากินทุกวัน ทํางานได้เงินก็ไปจ่ายคืน ทํางานหนักอยากจะ
ตักเกลือได้มากๆ จึงทํางานจนมืดคํ่ามองไม่เห็นทํางานไม่ได้จึงกลับมาบ้าน ทําอย่างนี้ มาตั้งแต่
เริ่ มเป็ นสาวเมื่อมีคนมาทํานาเกลือ ตอนนั้นค่างจ้างตักเกลือเข่งละ 1 บาทมีเจ้าเดี ยวมาทํานา
เกลือ เพราะต้นเริ่ มแรกส่ วนใหญ่จะมีชาวบ้านมาตั้งเตาต้มเกลือเองโดยจะไปเช่าที่เขาต้มหม้อ
ละ 30 บาท ต้มวันละหม้อได้เกลือ 2-3 ตันต่อฤดูกาลหนึ่ง ต่อมามีการต้มมากเกิดควันฟื นเข้ามา
ในหมู่บา้ นมาก จนเกิดความไม่พอใจของหลายคน อีกทั้งนายทุนเริ่ มมาลงทุนทํานาเกลือการ
ต้มเกลือจึงทําอยูไ่ ม่นานก็เลิกไป นายทุนที่เข้ามาทํานาเกลือคนแรกมาจากอําเภอพิมาย จังหวัด
นครราชสี มา มาซื้ อที่ดินในราคาสูงมากกว่าปกติ เจ้าของที่รอบนอกขายก่อนรอบในก็ไม่มีทาง
จะเข้านาตนก็จาํ เป็ นต้องขายเพราะพวกเจ็ก ไม่ให้เดินผ่านที่ ดินมัน วัวควายเดินผ่านก็ไม่ได้
ตอนนั้นชาวบ้านไม่มีปากเสี ยงนาข้าวเสี ยหายก็ไม่กล้าว่าอะไร แม้แต่น้ าํ ดื่มก็ไม่มีเพราะ ‘นํ้า
บ่อสร้าง’ ในทุ่งดอกไม้แดงไม่มีแล้ว จนปั จจุบนั ต้องซื้ อนํ้าถังละ 12 บาทใช้ดื่มเท่านั้นเพราะ
บ่อนํ้ากินเดิมมันแห้ง กร่ อย ไม่สะอาดแล้ว และเพื่อประหยัดนํ้าหากต้มแกงก็จะใช้น้ าํ ประปาที่
ได้จากต้นห้วยมะค่าโมง (นางธาร พันพร, [นามสมมุติ]. (2554.)
ลงไปทํางานในนาเกลือเก็บเกลือใส่ กระสอบทุกปี จะได้เกลืออย่างน้อย 100 กระสอบได้
ค่าแรงกระสอบละ 3 บาททุกวันมีรายได้ไม่ต่ าํ กว่า 300 บาทและช่ วงทํางานเก็บเกลือ ทําได้
เดือนละประมาณ 10 วัน ปี หนึ่ งจะเก็บเกลือประมาณ 4 เดือนดังนั้นในปี การผลิตหนึ่ งอาจจะมี

นํ้าเสี ยงที่ผใู้ ห้สมั ภาษณ์ใช้เรี ยกนายทุนทําเกลือซึ่งเป็ นคนรวยจากต่างถิ่ น
159

รายได้ประมาณ 12,000 – 15,000 บาท แต่แม้จะมีรายได้แต่รู้สึกไม่ปลอดภัยในชี วิต กลัวดิน


ถล่ม ดินยุบในหมู่บา้ น ความจริ งแล้วใจอยากให้หยุดนาเกลือโดยเด็ดขาด (นางศรี สวย มณี ชยั ,
[นามสมมุติ]. (2554.)

ตอนนี้ทาํ นาข้าว 10 ไร่ สมาชิกในครอบครัวไม่เคยไปรับจ้างทํานาเกลือ ความจริ ง


แล้วคนพื้ นเพเดิ ม ไม่มีใครยึดการทําเกลื อเป็ นอาชี พ มีไปรับ จ้างเพีย งเล็กน้อย ตอนนี้
หมู่บา้ นกําลังเจอปั ญหาดินทรุ ด ดินถล่ม "คนบ้านเราคือนัง่ อยูบ่ นเรื อสิ ล่มเมื่อใดก็บ่ฮู้ คือ
ขี้ควายแห้งฟูน้ าํ สู บนํ้าเกลือหมดมื้อใดก็สิยบุ จมลง" (นางบัวงาม รวยลีลา. [นามสมมุติ],
อายุ 60 ปี สัมภาษณ์ 15 กรกฎาคม 2554)
ความเสี ยหายใกล้บา้ นนั้นชัดเจนและรุ นแรงขึ้ น ความเป็ นอยู่ยากลําบากขึ้ น ปั จจุบนั
คนหาอยู่หากิ นยากขึ้ น มี ววั ควายน้อยลงไม่ มี ที่ เ ลี้ ย ง ชาวบ้า นเมื่ อ ดํา นาเสร็ จแล้วก็อพยพ
แรงงานไปทํางานกรุ งเทพฯ ทํางานก่อสร้าง ทํางานโรงงาน บางส่ วนไปรับจ้างทําสวนยาง ทํา
สวนปาล์มอยู่ภาคใต้ คนที่อยู่บา้ นก็รับจ้างทํานาเกลือ แต่เมื่อมีนาเกลือปั ญหาที่ตามมาคือดิ น
ทรุ ด ความเค็มกระจายลงตามฮ่ อง ห้วย ไม่ส ามารถหากิ นได้ อยากให้หยุด ทํานาเกลื อ แต่
นายทุ นเขาก็ไม่อยากจะหยุด เพราะมันได้เงิ นเป็ นหลายแสนหลายล้าน บางคนมี อาํ นาจใน
อบต.ด้วย ปั ญหาที่ เกิ ดขึ้ นนี้ เพราะคนข้างนอกแท้ ๆ นาเกลือมากับคนข้างนอก ทําให้กระทั้ง
หอยก็ตายหมดห้วย แต่ก่อนไม่มีเกลือก็ดีหมด ปลาตอนนี้ หาจะกินก็ไม่มียากลําบากกว่าจะหา
ได้ คนที่ยา้ ยมารุ่ นแรกๆ ส่ วนใหญ่กม็ ีนาข้าว แต่คนที่เกิดมาภายหลัง หรื อย้ายมาภายหลังหลาย
ครอบครัวก็ไม่มีนาข้าวประมาณ 30 ครัวเรื อนที่ไม่มีนาข้าวก็เช่านาเขาทํา หรื อไม่ก็รับจ้างทํา
นาเกลือ หรื อรับจ้างทัว่ ไป‛ (นางขวัญเทพ สุ ขสบาย, [นามสมมุติ]. (2554.)
ผลกระทบที่เห็ นได้ชัดตาในเรื่ องสภาพนิ เวศที่เสื่ อมโทรมลง นํ้าเค็มกระจายสู่ ห้วยบ่อ
แดง และห้วยสาขาอื่น พืชพันธุ์ธรรมชาติไม่มีเหลือในผืนทุ่งที่เคยเป็ นตํานานความสมบูรณ์จนดึงดูด
ผูค้ นมาก่อตั้งหมู่บา้ น พื้นดินโดยรอบชุมชนเริ่ มไม่มน่ั คงเพราะเกิดดินทรุ ด ดินถล่ม และมีชาวบ้าน
แจ้งต่อผูใ้ หญ่บา้ นถึงเหตุบา้ นสัน่ สะเทือน แตกร้าว จากการทรุ ดตัวของแผ่นดินบริ เวณนาเกลือขยาย
พื้นที่เข้ายังหมู่บา้ นทําให้ราษฎรต้องย้ายบ้านจํานวน 3 หลังและมีบา้ นบางหลังแตกร้าว และมีรอย
แตกร้าวบนผืนดินเป็ นทางยาว เกิดเหตุบา้ นสั่นไหวจากการเคลื่อนตัวของแผ่นดิน นอกจากนี้ ก็มีเหตุ
ขัดแย้งระหว่างผูป้ ระกอบการกับชาวบ้าน ดังบันทึกไว้ในสมุดบันทึกตรวจการของผูใ้ หญ่บา้ นดังนี้
160

13 กุมภาพันธ์ 2542 เวลา 22.30 น. เกิดเหตุไฟไหม้ฉางเกลือนางผกา สิ ทธิ พนั ธ์ อยูห่ ่ าง


จากอาคารเรี ย นโรงเรี ยนบ้านโนนดอกไม้แดงเพียง 30 เมตร เจ้าหน้าที่ควบคุ มเพลิ งไว้ได้เวลา
ประมาณ 23.10 น.(ในบันทึกไม่ได้ระบุสาเหตุที่ทาํ ให้เกิดไฟไหม้)
5 มีนาคม 2542 นายพิทกั ษ์ รัตนอนุ รักษ์ นักธรณี วิทยา 6 พร้ อมด้วยคณะจากกรม
ทรัพยากรธรณี ได้มาตรวจพื้นที่นาเกลือร่ วมกับฝ่ ายปกครองอําเภอบ้านม่วง พร้อมเจ้าหน้าที่ตาํ รวจ
15 มีนาคม 2542 นายแสงอรุ ณ มีรสลํ้า และคณะได้มาตรวจโรงงานผลิตเกลือสิ นเธาว์ใน
เขตบ้านโนนดอกไม้แดงเพื่อติดตามผลการสั่งการตาม พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. 2535 จากการตรวจสอบ
พบว่ามีโรงงานได้หยุดประกอบกิจการและมีการรื้ อถอนเครื่ องจักรและท่อพีวีซีจากนาเกลือแล้ว...
และยังมีอีก 3 รายที่ยงั ไม่ได้ร้ื อถอนเครื่ องจักร และท่อออกจากพื้นที่ ซึ่ งพร้อมที่จะเดินเครื่ องได้
ทันทีแต่จากการตรวจสอบยังไม่พบว่ามีการสู บนํ้าเกลือ จึงขอให้ผใู้ หญ่บา้ น ได้ช่วยดูแลว่ามีการสู บ
นํ้าเกลือหรื อไม่ หากพบให้แจ้งอุตสาหกรรมจังหวัด หรื ออําเภอท้องที่และตํารวจท้องที่ทนั ที
9 เมษายน 2542 นางสมศรี อรุ ณินท์ ผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านปรับปรุ งดินเค็ม กรมพัฒนา
ที่ดิน ได้มาสํารวจพื้นที่ในนามคณะกรรมการพัฒนาที่ดิน เพื่อหาข้อมูลผลกระทบการแพร่ กระจาย
ของดินเค็มนํ้าเค็มที่จะนําไปใช้ประกอบการพิจารณาช่ วยเหลือเกษตรกร ในการปรับปรุ งดิน และ
การใช้ประโยชน์พ้ืนที่ที่มีปัญหาดินเค็มต่อไป
(ไม่ ระบุวนั ที)่ นายอุดล พร้อมจรรยากุล กองสํารวจและจําแนกดินกรมพัฒนาที่ดิน ได้มา
สํารวจและทําแผนที่บริ เวณทํานาเกลือที่เพิ่งเลิกทําและที่เลิกทํานานแล้วรวมทั้งพื้นที่ที่ถูกกระทบ
จากความเค็มของเกลือจาการทํานาเกลือทั้ง 3 ระดับในแผนที่ขนาดมาตราส่ วน 1:50,000
5 ตุลาคม 2542 ร.อ.ณรงค์ เก่งหลง ฝ่ ายยุทธการทหาร ผบ.ร.3ตรวจพื้นที่บริ เวณป่ า
ละเมาะทิศเหนือบ้านโนนดอกไม้แดงที่เกิดแผ่นดินยุบตัวเป็ นบ่อลึกเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2542 ขอแจ้ง
ให้ราษฎรได้ระมัดระวังในการเข้าไปในบริ เวณใกล้เคียงกับหลุ มที่ยุบตัว และหากพื้นที่ดงั กล่ าว
ขยายวงกว้างควรรี บแจ้งให้ จนท.อําเภอทราบด่วน เพื่อหาทางป้ องกันและแก้ไขต่อไป
17 กุมภาพันธ์ 43 มีเจ้าหน้าที่กรมทรัพยากรธรณี มาแจ้งเตือนผลกระทบจากการทํานา
เกลือและห้ามสู บนํ้าเกลือใต้ดินในบริ เวณนี้ โดยเด็ดขาดและติดป้ ายเตือนห้ามสู บนํ้าเกลือบริ เวณริ ม
ฝั่งห้วยงัวน้อย
ทั้งนี้จากบันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับผลกระทบจากนาเกลือไว้ในสมุดบันทึกผลการปฏิบตั ิ
หน้าที่ในการรักษาความสงบเรี ยบร้อย การให้บริ การ และการแก้ไขปั ญหาของประชาชนประจํา
หมู่บา้ น กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย บันทึกโดยผูใ้ หญ่บา้ น ตั้งแต่ปี 2547 เป็ นต้นมา ดังนี้
161

3 กุมภาพันธ์ 2547 ผูช้ ่ วยผูใ้ หญ่บา้ น อบต.กรรมการหมู่บา้ น ประชาคมหมู่บา้ น ได้ทาํ


การเจรจาแก้ไขปั ญหาโดยนัดผูป้ ระกอบการนาเกลือ คือ นางผกา สิ ทธิพนั ธ์ ซึ่ งรื้ อโรงเรื อนเก็บเกลือ
เดิมแล้วต้องการจะปลูกโรงเรื อนเก็บเกลือติดกับชุมชน ซึ่ งชาวบ้านได้มาร้องเรี ยน และให้เหตุผลต่อ
คณะกรรมการว่าจะเกิ ดผลกระทบต่อชุ มชน สิ่ งแวดล้อม และคนที่อยู่ใกล้เคียง ผลการเจรจาคือ
ผูป้ ระกอบการยอมกลับไปปลูกโรงเรื อนที่เดิมซึ่ งเพิ่งรื้ อนั้น
22 มิถุนายน 2548 ประมาณ 9.00 น. คณะผูช้ ่วยได้ออกไปดูหลุมยุบที่ราษฎรคือนายลอง
คุ ณากร ได้มาแจ้งว่ามีดินทรุ ดในเขตที่ดินของตน เมื่อออกไปพบว่ามีดินทรุ ดใกล้ยุง้ ข้าวของนาง
สนอง คุณากร เป็ นบริ เวณเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.50 เมตร ความลึกประมาณ 1.50 เมตร และ
ได้ใช้ฟางกั้นเป็ นแนวเขตบอกเป็ นพื้นที่อนั ตราย
12 กรกฎาคม 2548 คณะผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ นได้ไปดูหลุมยุบเนื่องจากมีราษฎรได้มาแจ้งว่ามี
เหตุดินทรุ ดบริ เวณสระนํ้าใกล้ศ าลาประชาคมหมู่บา้ น เมื่อได้ออกไปดูพบว่าเกิ ดดิ นทรุ ดจริ งใน
บริ เวณสระนํ้าห่ างจากตัวอาคารประมาณ 30 เมตร หลุมยุบกว้างประมาณ 1.50 เมตร ลึกประมาณ 1
เมตร จึงได้ทาํ หนังสื อแจ้งไปให้นายตําบลทราบ
3 สิ งหาคม 2548 ผูช้ ่วย กํานัน กรรมการหมู่บา้ น ที่ปรึ กษา ร่ วมกันอํานวยความสะดวก
พาคณะเจ้าหน้าที่กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ไปดูหลุมยุบทั้งสองแห่ งที่บริ เวณศาลา
ประชาคมหมู่บา้ นและที่บา้ นนายลอง คุณากร
16 มกราคม 2549 "เกิ ดปั ญหาข้อพิพาทที่ดินนาเกลือระหว่างนายไมตรี และนายสี ทา
เรื่ องแนวเขตที่ดินนาเกลือไม่ชดั เจน ไกล่เกลี่ยตกลงแนวเขตกันได้"
11 สิ งหาคม 2549 เวลา 07.40 น. กํานันตําบลหนองนํ้าใส ได้รับแจ้งจากชาวบ้านว่า
ชาวบ้านโนนดอกไม้แดงจํานวน 3 หลังคือนางพินใจ พันศิริ บ้านเลขที่ 80 นายไพร สี ลาฤทธิ์
บ้านเลขที่ 5 และนางขํา แก้วไชยา บ้านเลขที่ 54 โดยระบุวา่ ในคืนวันที่ 9 สิ งหาคม 2549 ได้เกิด
บ้านเรื อนสั่นสะเทือนเมื่อเวลาประมาณ 24.00 น.เพราะมีฝนตกหนักในเวลากลางคืน
16 มกราคม 2553 เจ้าจํ้าและผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ น ได้ทาํ การปรับเงินจากผูป้ ระกอบการนา
เกลือเพราะละเมิดระเบียบประชาคมหมู่บา้ น เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2553 ได้รับแจ้งจากราษฎรใน
หมู่บา้ นว่ามีผูป้ ระกอบการนาเกลื อติดเครื่ องสู บนํ้าเกลื อในวันแรม 15 คํ่า ซึ่ งเป็ นวันศีลดับ กฎ
ประเพณี ของหมู่บา้ นห้ามสู บนํ้าในวัน 14 – 15 คํ่า (วันศีลดับ หรื อวันเพ็ง) แต่นายสายลม ไวยะ
ละเมิดจึงต้องจ่ายค่าปรับ 500 บาท ซึ่งกรรมการได้รับไว้แล้ว
162

1 พฤษภาคม 2553 เวลา 09.30 น. ผูช้ ่วยผูใ้ หญ่บา้ น และสารวัตรกํานัน ได้ทาํ การสํารวจ
รอยแยกตัวของพื้นดินในบ้านโนนดอกไม้แดงที่บา้ นนายลอง คุณากร บ้านเลขที่ 93 กับบ้านนายสี
ทา บรพิ ษ บ้านเลขที่ 47 ตามคํา ร้ องเรี ย นของราษฎร พบรอยแยกตามพื้นดิ น เป็ นบริ เวณกว้า ง
ประมาณ 3-5 ซม.ยาวประมาณ 300 เมตร แต่ที่น่าเป็ นห่ วงคือพื้นดินแยกในบ้านทําให้พ้ืนบ้านที่ทาํ
ด้วยปูนซี เมนต์แตกร้าว ฝาบ้านชั้นล่างก็แตกเป็ นรอยยาว รอยต่อแตกและแยกข้ามถนนรอบหมู่บา้ น
จึงทําบันทึกไว้เป็ นหลักฐาน

“เมื่ อก่ อนบ้านอยู่ติด กับนาเกลื อทางทิ ศ เหนื อของหมู่บ้าน ทุ กปี ในช่ วงปลายฤดูฝนที่
นํ้าฝนเริ่ มแห้งงวดลงนํ้าที่ขงั อยู่บนผิวดิ นไหลอย่างรวดเร็ วลงไปแทนนํ้าเกลือที่สูบขึ้นมาตาก
จึงมักจะได้ยินเสี ยงหวีดของนํ้าที่ ไหลลงรู น้ าํ ดังลัน่ ขณะที่ มีน้ าํ ไหลลงรู น้ นั แรงดันนํ้าไม่รู้มา
จากไหนทําให้เกิดนํ้าพุ่งขึ้ นฟ้ าก่อนที่ จะเห็นดิ นยุบตัวลง บ้านเพื่อนบ้านย้ายไปแล้วสองหลัง
โดยที่ผปู ้ ระกอบการทํานาเกลือรวมเงินกันมาจ่ายค่ารื้ อถอนจํานวนไม่มากนักรายละประมาณ
30,000 บาท ที่เหลือเจ้าของบ้านต้องรับผิดชอบเอง แต่ผปู ้ ระกอบการบอกว่าบ้านของนางบัว
ไม่ได้ทรุ ดทั้งที่ ร้ ัวบ้านติดกันและทุกคื นตนและหลานตัวเล็ก ๆ ต้องตื่นกลางดึ กเพราะได้ยิน
เสี ยงหวีดนํ้าและเสี ยงดินทรุ ดตัวลง รวมทั้งตัวบ้านสั่นไหว เมื่อ 3 – 4 ปี ก่อนลูกๆของตนที่
ทํางานรับจ้างอยู่กรุ งเทพฯ จึ งให้แม่ยา้ ยบ้านไปซื้ อบ้านและที่ ดินที่ อยู่ติดกับวัดแทนที่ จะได้
อาศัย อยู่ที่ ดิ น เดิ ม ตอนนี้ ที่ ดิ น แปลงดัง กล่ า วก็ ป ล่ อ ยทิ้ ง ร้ า งไม่ ไ ด้ใ ช้ป ระโยชน์ อ ะไรเลย
เหมือนกับเสี ยไปเลยเพราะไม่กล้าไปสร้างหรื อปลูกอะไรกลัวมันจะยุบลงในสักวันหนึ่ ง‛ (นาง
ดอกบัว กําลังสุ ข, [นามสมมุติ]. (2554.)

จากบันทึกตรวจการของผูใ้ หญ่บา้ นตั้งแต่ปี 2542 และสมุดบันทึกผลการปฏิบตั ิหน้าที่ใน


การรั กษาความสงบเรี ย บร้ อย การให้บริ การ และการแก้ไ ขปั ญหาของประชาชนประจําหมู่บา้ น
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ที่บนั ทึกโดยผูใ้ หญ่บา้ น ตั้งแต่ปี 2547- 2553 มีเหตุการณ์เกี่ยว
กับแผ่นดินยุบ และความขัดแย้งเกี่ยวกับนาเกลือหลายครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหตุแผ่นดินยุบตัวจาก
การสู บนํ้าเกลือใต้ดินมากเกินไป ซึ่ งมีขอ้ มูลทางวิชาการที่ยืนยันให้เห็นว่าเขตพื้นที่บา้ นโนนดอกไม้
แดงเป็ นพื้นที่ วิกฤตแผ่นดิ นยุบที่ ตอ้ งเฝ้ าระวัง อาทิงานศึกษาของ รุ่ งเรื อง เลิ ศศิริวรกุล และคณะ
(2546) ได้จดั ทํารายงานการวิจยั เรื่ องการไหลของนํ้าใต้ดินและการเคลื่อนย้ายของสารละลายเกลือ
ในพื้นที่ ทาํ นาเกลื อ พบว่าสาเหตุ ของปั ญหาหลุมยุบในพื้นที่บา้ นโนนดอกไม้แดงเกิ ดจากการสู บ
นํ้าเกลือมากทําให้ปริ มาณการใช้น้ าํ และการเพิ่มเติมนํ้าไม่อยู่ในสมดุลโดยเฉพาะในฤดูแล้งที่มีการ
สู บนํ้ามากเกินไป ในหนึ่งฤดูกาลผลิตมีการสู บนํ้าเกลือขึ้นมาประมาณ 1.8 ล้านลูกบาศก์เมตร
163

นอกจากนี้ยงั พบว่าหลุมยุบที่กระจายอยูท่ ว่ั บริ เวณบ้านโนนดอกไม้แดงนั้นมีขนาดขยาย


ใหญ่ข้ ึนเรื่ อย ๆ โดยที่ เพียงตา สาตรักษ์ และคณะ(2547) ได้ทาํ การศึกษาปั ญหาการเกิดหลุมยุบและ
ติดตามการขยายตัวของหลุมยุบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยการประยุกต์สาํ รวจธรณี ฟิสิ กส์ดว้ ย
วิธีวดั ความต้านทานไฟฟ้ าจําเพาะในการศึกษาธรณี วทิ ยาใต้ผวิ ดิน เพื่อการประเมินและคาดการณ์ภยั
พิบตั ิทางธรรมชาติที่จะเกิดจากการยุบตัวของโพรงเกลือใต้ดินในช่วงปี 2544 – 2547 พบว่า หลุมยุบ
ในพื้นที่บา้ นโนนดอกไม้แดงและบ้านบ่อแดงมีจาํ นวนเพิ่มขึ้น ส่ วนหลุมยุบเดิมมีการขยายตัวของ
โพรงกว้างขึ้น โดยพบว่าอัตราการขยายตัวของหลุมยุบบ้านโนนดอกไม้แดงบริ เวณถนนด้านที่ติด
กับนาเกลือประมาณ 15 เมตรต่อปี ส่ วนหลุมยุบบ้านบ่อแดงประมาณ 6 เมตรต่อปี สาเหตุที่สําคัญเกิด
จากการสู บ นํ้า เกลื อ ขึ้ น มาเพื่ อ ทํา เกลื อ สิ น เธาว์ใ นปริ ม าณมาก ซึ่ งการสู บ นํ้า เกลื อ เป็ นการเร่ ง
กระบวนการไหลของนํ้าบาดาลและเร่ งการละลายของเกลือหิ นโดยหลุมยุบจะมีการขยายวงกว้าง
มากขึ้นในช่วงฤดูการทําเกลือสิ นเธาว์
ผลการสํารวจหลุมยุบในเขตบ้านโนนดอกไม้แดงและบ้านหนองนํ้าใส ซึ่งเจาะสํารวจ 18
หลุมที่ความลึก 100 – 200 เมตร พบโดมเกลือใต้นาเกลือ ความกว้าง 1 กิ โลเมตร ความยาว 5
กิโลเมตร ซึ่ งจัดเป็ นเขตหลุมยุบ ซึ่ งพบลักษณะหิ นเพียงชนิ ดเดียวคือหิ นดินเหนี ยว สี น้ าํ ตาลแดง ที่
มักผุและชุ่มไปด้วยนํ้า ไม่มีความแข็งแรง นอกจากนี้ ยงั พบโพรงเกลือใต้หลุมยุบที่ความลึก 38 – 53
เมตร ความลึ กของชั้นเกลื อลาดลงไปทางทิศตะวันตก ความลึกของเกลือใต้พ้ืนดินบริ เวณหมู่บา้ น
โนน ดอกไม้แดง 60 – 100 เมตร บริ เวณนาเกลือความลึกเกลือ 40 เมตร ลักษณะของหิ นที่พบใน
หมู่บา้ นโนนดอกไม้แดงส่ วนใหญ่มีลกั ษณะเป็ นผลึกเกลือหลายเม็ดเกาะกันหลวม ๆ และละลายนํ้า
ง่ายสามารถก่อให้เกิดโพรงเกลือได้ง่าย หลุมยุบเกิดจากการถล่มของเพดานโพรงเกลือใต้ดิน โดยที่
โพรงเกลื อเกิ ดจากการละลายเกลื อโดยนํ้าบาดาล การสู บนํ้าเกลื อกระตุน้ ให้เกิ ดการไหลของนํ้า
บาดาลจืด สัมผัสชั้นเกลือก่อให้เกิดการละลายเกลือ เกิดเป็ นโพรงเกลือ เมื่อโพรงเกลือใต้ดินมีขนาด
ใหญ่ข้ ึนจะก่อให้เกิดหลุมยุบ การไหลของนํ้าจืดเกิดบริ เวณช่องทางไหลของนํ้าบาดาลใต้ดิน ในเนื้ อ
เกลือที่มีรูพรุ น และตามรอยแยกของเปลือกโลก เมื่อโพรงเกลือขยายใหญ่ข้ ึน จะเกิดหลุมยุบ ซึ่ งจะ
ยุบ ช้า หรื อ เร็ ว ขึ้ นอยู่ก ับ ความแข็ง แรงของชั้นดิ น เกี่ ย วข้องกับ ความหนาของชั้น ดิ น และความ
แข็งแรงของชั้นดิ น (ประมวล เจนคุณาวัฒน์, 2554) โดยเสนอมาตรการในการควบคุมการสู บนํ้า
เกลือว่า แม้ผลการเจาะสํารวจโพรงเกลือเชื่อว่าหากยังมีการสู บนํ้าเกลือต่อไปจะทําให้มีโพรงเกลือ
เกิดขึ้นได้ และยังไม่มีวิธีการตรวจวัดหาโพรงเกลือจากการสู บนํ้าเกลือในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ
ด้วยเครื่ องมือผิวดิ นที่ได้ผลจึงควรสั่งห้ามสู บนํ้าเกลือโดยเด็ดขาด เพื่อป้ องกันสาเหตุการเกิดโพรง
164

เกลือและหลุมยุบ และระวังภัยในชีวติ และทรัพย์สินของผูค้ น ซึ่ งมักอาศัยอยูบ่ ริ เวณโรงงานต้มเกลือ


และบ่อสู บนํ้าเกลือ และเมื่อไม่สามารถปฏิบตั ิได้ก็ควรวางมาตรการแก้ไขปัญหาเร่ งด่วน
อย่า งไรก็ ตามในพื้ น ที่ บ ้า นโนนดอกไม้แ ดงยัง คงดาเนิ น การสู บ น้ า เกลื อท านาเกลื อ
ตามปกติ แม้จะมีความพยายามของผูป้ ระกอบการที่จะจัดการปั ญหาสิ่ งแวดล้อมตามข้อกาหนดของ
รั ฐ แต่ เ มื่ อ พื้ น ที่ ท านาเกลื อ ขนาดใหญ่ แ ละมี ห ลายเจ้า ตลอดจนผู้ที่ ต้อ งรั บ ผิ ด ชอบการจัด การ
สิ่ งแวดล้อม และเผชิญหน้ากับความขัดแย้งดังกล่าวคือกลุ่มผูป้ ระกอบการเกลือรายย่อยที่อยูใ่ นภาวะ
มีหนี้สินจึงไม่มีความสามารถในการลงทุนจัดการปัญหาสิ่ งแวดล้อมในระยะยาว

2. ผลกระทบจากอุตสาหกรรมเกลือต่ อชุ มชนลุ่มนา้ สงคราม


ภาพรวมของวิกฤตสิ่ งแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม และสุ ขภาวะจากอุตสาหกรรมเกลือใน
ลุ่มน้ าสงครามในภาพรวมนั้นสามารถแยกพิจารณาได้หลายมิติดงั นี้
2.1. ผลกระทบต่ อนิเวศวิทยา
2.1.1. การแพร่ กระจายของดินเค็ม
การสํารวจสถานการณ์ปัญหาดินเค็มของกรมพัฒนาที่ดินในปี พ.ศ. 2547 พบว่า
จังหวัดอุดรธานี หนองคาย สกลนคร และนครพนม มีพ้ืนที่ดินเค็มทุกระดับรวมพื้นที่ 8,240,273 ไร่
คิดเป็ นร้อยละ 38.57 ของพื้นที่ท้ งั หมด โดยจังหวัดสกลนครมีพ้ืนที่ที่มีคราบเกลือบนผิวดินมากกว่า
ร้อยละ 50 ของพื้นที่มากที่สุดกินพื้นที่ 6,912 ไร่ (สํานักงานสิ่ งแวดล้อมภาคที่ 9, 2548:16)
จากงานศึ ก ษาหาพื้นที่เสี่ ย งต่ อการเกิ ดดิ นเค็ม ที่มี สาเหตุจากการท าเกลื อในเขต
อาเภอบ้านดุ ง จังหวัดอุดรธานี อาเภอบ้านม่วง อาเภออากาศอานวย จังหวัดสกลนคร อาเภอเฝ้ าไร่


(1) ห้ามมิให้ผคู ้ นอยูอ่ าศัยในบริ เวณบ่อสู บนํ้าเกลื อ ทั้งบ่อเก่าและบ่อปั จจุบนั เพื่อป้ องกันอันตรายจากหลุมยุบ ที่มกั
เกิดในบริ เวณบ่อสู บนํ้าเกลือ (2) ห้ามสู บนํ้าเกลือบริ เวณโรงงานต้มเกลื อ (3) สร้ างเขตระวังภัยบริ เวณบ่อสู บนํ้าเกลื อ โดยการล้อมรั้ว
ป้ องกันไม่ให้ผคู ้ นและสัตว์เลี้ยงเข้าไปบริ เวณบ่อสู บนํ้าเกลือ ระยะห่ างจากบ่อสู บนํ้าเกลื อ 20 เมตร ทั้งนี้ เพราะหลุมยุบมักมีขนาดเส้น
ผ่านศูนย์กลางประมาณ 20 เมตร (4) ลงทะเบียนบ่อสู บนํ้าเกลือ บันทึกข้อมูลความลึ ก ขนาดท่อกรุ วันที่เจาะ อัตราการสู บ และอื่น ๆ
เพื่อใช้ในการเฝ้ าระวังภัยหลุมยุบ (5) ตรวจโพรงเกลื ออย่างสมํ่าเสมอ ด้วยการเจาะสํารวจ พร้ อมวางเครื่ องมือตรวจวัดการก่อตัวของ
โพรงเกลื อขึ้นในบ่อสังเกตการณ์ (6) ประกาศเขตหลุมยุบในพื้นที่ หนองกวัง่ และพื้นที่ บา้ นชัย ตามผลการเจาะสํารวจมิ ให้สร้ าง
สิ่ งก่อสร้างในพื้นที่หลุมยุบ เพื่อหลีกเลี่ยงการทรุ ดตัวของอาคาร และอพยพชุมชนออกจากพื้นที่อนั ตราย (7)กําหนดระยะห่ างระหว่าง
บ่อสู บนํ้าเกลื อให้หางกันไม่น้อยกว่า 50 เมตร เนื่ องจากหลุ มยุบเกิ ดในพื้นที่ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 50 เมตร เนื่ องจาก
อันตรายการสู บนํ้าเกลื อเป็ นปั จจัยสําคัญอันหนึ่ งของการเกิ ดหลุมยุบ ซึ่ งจะเร่ งอัตราการเกิ ดหลุมยุบจึงควรควบคุ มปั จจัยต่าง ๆ เพื่อ
พยายามลดและคงไว้ซ่ ึ งอัตราการสู บนํ้าเกลือ ได้แก่ การไม่ให้ขยายขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อบ่อสู บนํ้าเกลื อจากปั จจุบนั (8) ห้าม
พัฒนาเทคโนโลยีการต้มซึ่ งจะทําให้อตั ราการใช้น้ าํ เกลื อเพิ่มขึ้น พยายามลดความถี่ ของบ่อสู บนํ้าเกลื อต่อพื้นที่ ห้ามการขายนํ้าเกลื อ
และคงไว้ซ่ ึ งการห้ามสู บนํ้าเกลือในฤดูฝน(ประมวล เจนคุณาวัฒน์, 2554)
165

อาเภอโซ่พิสัย จังหวัดหนองคาย โดยการเจาะสารวจดินและเก็บตัวอย่างดินเพื่อตรวจวัดค่าความเค็ม


โดยการวัดค่าการนาไฟฟ้ าของลานละลายดินที่อตั ราส่ วนดินหนึ่ งส่ วนน้ าห้าส่ วน แล้ววัดค่าการนา
ไฟฟ้ า  โดยทัว่ ไปจะต้องมี ค่ า มากกว่า 0.33 mS/cm นับ ว่า มี ค วามเค็ม ที่มี ผลกระทบต่อการ
เจริ ญเติบโตของต้นข้าว พบว่าการทาเกลือตากมีผลต่อการเกิ ดพื้นที่ดินเค็มมากกว่าเกลือต้ม ทั้งนี้
เพราะน้ า เกลื อที่ เล็ ดลอดจากขบวนการผลิ ตจะซึ ม ออกไปสู่ พ้ื นที่ ข ้า งเคีย งหรื อไหลลงสู่ ล าห้วย
ธรรมชาติ โดยในระยะแรกพื้นที่ขา้ งเคียงจะเกิ ดดินเค็มก่อน และพื้นที่ทา้ ยน้ าลงไปที่อยู่ในที่ลุ่มจะ
เกิดในระยะต่อไป พื้นที่เสี่ ยงต่อการเกิ ดดินเค็มจากการทาเกลือ (เทพฤทธิ์ ตุลาพิทกั ษ์ และสมศักดิ์
สุ ขจันทร์ , 2546 อ้างแล้วใน สานักงานสิ่ งแวดล้อมภาคที่ 9, 2548 : 23) ประกอบด้วย บริ เวณอาเภอ
บ้านดุ ง พื้นที่เสี่ ยงได้แก่ ที่ลุ่มริ มห้วยทวน บริ เวณบ้านแมด บ้านวังทอง ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ
20,000ไร่ บริ เ วณต าบลหนองกวัง่ พื้ น ที่ เสี่ ย งได้แ ก่ ที่ ลุ่ ม บ้า นจาน บ้า นดงยาง บ้า นหนองแอก
บริ เวณบ้านกุดเรื อคา-อินแปลง พื้นที่เสี่ ยงได้แก่ ที่ลุ่มบ้านจาปาดง บ้านโคกก่อง ทิศตะวันออกของ
บ้านนายม ทิศตะวันออกของบ้านนาดอกไม้ บ้านโพธิ์ ศิลา ครอบคลุมพื้นที่เสี่ ยง 28,000 ไร่ (รวม
บริ เวณตาบลหนองกวัง่ ด้วยเนื่ องจากเป็ นพื้นที่ต่อเนื่ องติดต่อกัน) และบริ เวณบ้านเซิ ม พื้นที่เสี่ ยง
ได้แก่ บริ เวณที่ลุ่มบ้านสุ ขสาราญ บ้านหนองพันทา บ้านโคกสว่าง คลุมพื้นที่ประมาณ 8,300 ไร่
จังหวัดสกลนครเป็ นแหล่งผลิตเกลือสิ นเธาว์ ที่สําคัญแห่ งหนึ่ ง โดยพื้นที่ผลิตเกลือ
สิ นเธาว์หลัก คื อ อําเภอบ้างม่วง และอําเภอวานรนิ วาส ปั จจุบนั 2554 มีผปู้ ระกอบการที่ได้รับ
อนุญาต 40 ราย ในจํานวนนี้อยูใ่ นเขตตําบลกุดเรื อคํา อําเภอวานรนิวาส 38ราย อยูใ่ นเขตตําบลหนอ
งกวัง่ อําเภอบ้านม่วง 2 ราย(กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ , 2554) และจากการลงพื้นที่
พบว่าพื้นที่ทาํ นาเกลือในเขตอําเภอบ้านม่วงไม่มีใบอนุญาตประกอบกิจการเกลือเป็ นส่ วนใหญ่
โสภณ ตะติโชติพ นั ธุ์ และกุณตี เทศประสิ ทธิ์ (2543) ศึกษาการผลิตเกลือสิ นเธาว์
ในพื้นที่ลุ่มนํ้าสงคราม จังหวัดสกลนครในปั จจุบนั ทําโดยการสู บนํ้าเกลือใต้ดิน ซึ่ งมีความเข้มข้น
ของโซเดียมคลอไรด์(NaCl) ประมาณ 240-300 กรัมต่อลิตร โดยการเจาะบ่อบาดาลขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 46 นิ้ว จนถึงชั้นนํ้าเกลื อใต้ดิน ทําการวางท่อกรุ บริ เวณชั้นนํ้าเกลือ จากนั้น สอดท่อลม


USSL (US. Salinity Laboratory Staff. 1994) ได้มีการกําหนดมาตรฐานคุณภาพนํ้าที่ใช้ในการชลประทานโดยใช้ค่า
การนําไฟฟ้ ามากําหนดเกณฑ์ช้ นั คุ ณภาพนํ้าเพื่อการชลประทานเป็ น 4 ชั้นคื อ (1) นํ้าที่ มีเกลื อละลายอยูต่ ่ าํ 0-250 ไมโครโมห์ /
เซนติเมตร ใช้ได้กบั พืชส่ วนมาก ไม่เสี่ ยงต่อการเกิ ดความเค็ม (2) นํ้าที่มีเกลื อละลายอยูป่ านกลาง 250 – 750 ไมโครโมห์/เซนติเมตร
ใช้ได้กบั พืชที่ทนเค็มระดับปานกลาง ประเภทที่ 1 และ 2 นี้ ใช้สาํ หรับการชลประทานได้กบั พืชทุกชนิ ด (3) นํ้าที่มีเกลื อละลายอยูส่ ู ง
750 – 2,250 ไมโครโมห์/เซนติเมตร ไม่สามารถใช้ได้กบั ดิ นที่มีการระบายนํ้าที่เลว หรื อใช้ปลูกพืชทนเค็ม (4) นํ้าที่มีเกลื อละลายอยู่
สูงมากกว่า 2,250 ไมโครโมห์/เซนติเมตร ไม่เหมาะสมกับการชลประทาน
166

ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3/4 นิ้ว อัดลมโดยเครื่ องปั๊ มอัดลม ที่มีตน้ กําลัง เป็ นเครื่ องยนต์ดีเซล ทําการ
อัดลมลงในก้นบ่อบาดาล แรงอัดของลมจะทําการยกนํ้าเกลือขึ้นมาเป็ นจังหวะๆ นํ้าเกลือที่สูบขึ้นมา
จะถูกพักไว้ในถังสู ง เพื่อไปตากบนลานตาก หรื อนําไปต้ม นํ้าเกลือที่ไม่ตกตะกอนที่เหลือจากการ
ตาก หรื อการต้ม เรี ยกว่า นา้ ขม ประมาณร้ อยละ 20 ของนํ้าเกลื อที่ใช้ในการผลิ ต ตามเงื่ อนไข
ใบอนุญาต ต้องทําการอัดกลับลงใต้ดิน แต่ผผู้ ลิตมักไม่ปฏิบตั ิตาม เนื่องจากนํ้าเสี ยที่อดั ลงไป จะถูก
สู บกลับขึ้นมาตามบ่อสู บใหม่ ทําให้น้ าํ เกลื อไม่สะอาด ดังนั้น จึงมัก ระบายนํ้าเสี ยที่เหลื อนี้ ลงสู่
แหล่ ง นํ้า สาธารณะ โดยส่ ว นใหญ่ ไ ม่ ไ ด้จ ัด ให้มี บ่ อ เก็ บ กัก นํ้า เสี ย แต่ อ ย่า งใด จึ ง ทํา ให้เ กิ ด การ
แพร่ กระจายของนํ้าเค็มดิ นเค็มซึ่ งทําให้สภาพแวดล้อมเสื่ อมโทรม เป็ นต้นเหตุ ของปั ญหาความ
ขัดแย้งระหว่างผูป้ ระกอบการเกลือและผูไ้ ด้รับผลกระทบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่อาํ เภอบ้างม่วง
จังหวัดสกลนคร ซึ่ งเป็ นที่ทาํ นาเกลือขนาดใหญ่และส่ งผลกระทบต่อพื้นที่เกษตรกรรม เนื่ องจาก
การปล่อยนํ้าเสี ยทิ้งลงลําห้วย หรื อคลองธรรมชาติ คือ บริ เวณห้วยบ่อแดง ซึ่ งไหลผ่านบ้านหนอง
ปลาหมัด บ้านหนองกวัง่ บ้านโนนไทร อําเภอบ้านม่วง รวมทั้งบ้านโนนดอกไม้แดง ระยะทาง
ประมาณ 17 กิโลเมตร มีความเค็มตลอดลําห้วย ทําให้ราษฎรที่อยูใ่ กล้เคียงตลอดลําห้วย ไม่สามารถ
ใช้น้ าํ ในการทําการเกษตรได้ ผลกระทบต่อแหล่งนํ้าดิบสําหรับการผลิตนํ้าประปา ของสุ ขาภิบาล
อํา เภอบ้า นม่ วง ซึ่ ง ใช้น้ ํา จากลํา ห้ วยซาง มาผลิ ต เป็ นนํ้า ประปา เมื่ อมี น้ ํา เสี ย ไหลลงไปในห้ว ย
ดังกล่าว ในช่วงหน้าแล้งปริ มาณความเข้มข้นของเกลือในนํ้าจะสู ง ประกอบกับโรงกรองนํ้าที่มีไม่
สามารถกรองนํ้าที่มีเกลือสู งดังกล่าวให้เป็ นปกติได้ นํ้าประปาที่ส่งไปแจกจ่ายให้กบั ราษฎรในพื้นที่
บริ การจึงมี รสเค็ม หรื อกร่ อย ผลกระทบต่อระบบนิ เวศน์ของแหล่งประมงนํ้าจืด เนื่ องจากนํ้าเสี ย
ไหลลงสู่ แหล่งนํ้าธรรมชาติ สัตว์น้ าํ ทนความเค็มดังกล่าวไม่ได้จะตาย
สํานักบริ หารและฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อม กรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน และการเหมืองแร่
กระทรวงอุ ตสาหกรรม(2545) ได้ตรวจวัดความเค็ม ของลํา นํ้า ในห้วยธรรมชาติ  ที่ อาจได้รับ


ใช้เครื่ องมือ Water Quality Checker Model U10 ในการตรวจวัดคุณภาพนํ้าซึ่ งประกอบด้วยการตรวจหา ค่าความเป็ น
กรดด่าง (pH) ค่าความขุ่น (turbidity) ค่าความเค็ม (salinity) และ ค่าการนําไฟฟ้ า (conductivity) สําหรับหน่ วยวัดที่จะเป็ นตัวชี้ ระดับ
ความเค็มของนํ้า (หน่วยเป็ นไมโครโมห์/ เซนติเมตร) ซึ่ งสามารถนําไปใช้เปรี ยบเทียบกับมาตรฐานการจําแนกชั้นคุณภาพนํ้าสําหรับ
การชลประทานได้ นําผลที่ได้มาจําแนกความเค็มของนํ้า ตามการจําแนกคุณภาพนํ้า สําหรับการชลประทานโดยแยกเป็ น 5 ชั้น คือ
(1) นํ้าที่มีเกลือละลายอยูต่ ่าํ มาก (< 100 moh/cm) (2)นํ้าที่มีเกลือละลายอยูต่ ่าํ (100 – 250 moh/cm) (3) นํ้าที่มีเกลือละลายอยูป่ าน
กลาง(250 – 750 moh/cm) (4)นํ้าที่มีเกลื อละลายอยูม่ าก(750-2250 moh/cm) (5) นํ้าที่มีเกลื อละลายอยูส่ ู ง (> 2250 moh/cm)
(กลุ่มสามประสาน กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม, 2548)
167

ผลกระทบจากการทําเกลือสิ นเธาว์ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในพื้นที่ 5 จังหวัด ที่มีการผลิตเกลือ


สิ นเธาว์ ในพื้นที่ลุ่มนํ้าสงครามมีการตรวจวัดความเค็มใน 3 จังหวัด คือจังหวัดอุดรธานี จังหวัด
สกลนคร และจังหวัดหนองคาย (ปั จจุบนั อยูใ่ นเขตจังหวัดบึงกาฬ) มีผลการสํารวจ ดังนี้
จังหวัดอุดรธานี มีการทําเกลือ 2 กลุ่ม คือกลุ่มบ้านชัย และกลุ่มบ้านโพนสู งใต้ -
บ้านนาโฮง อําเภอบ้านดุง มีพ้นื ที่ทาํ เกลือทั้งสิ้ น 3,103 ไร่ นาเกลืออยูต่ ิดกับลําห้วยธรรมชาติ ผลการ
ตรวจ วัดความเค็มของนํ้าในลําห้วยต่างๆ พบว่ามีระดับความเค็มตํ่าจนถึงสู งมาก แหล่งนํ้าธรรมชาติ
ได้รับผลกระทบจากการทําเกลือสู งเพราะคันทํานบป้ องกันนํ้าเค็มที่ผปู้ ระกอบการทําขึ้นมีขนาดเล็ก
ไม่แข็งแรง รั่วซึ ม ไม่สามารถทนทานแรงนํ้าในช่ วงฤดูฝนได้ คันทํานบขาดทุกปี เพื่อเป็ นการลด
ความรุ นแรงของปั ญหา พ.ศ. 2545 กรมทรัพยากรธรณี ได้จดั ทําคันทํานบกั้นนํ้าเค็มนาเกลือบ้าน
โพนสู ง – บ้านฝาง และจัดทําบ่อนํ้าลงรวมเพื่อระบายนํ้าเค็มลงใต้ดินก่อนเข้าฤดูฝน
จังหวัดสกลนคร มีการทําเกลือ 3 บริ เวณ คือ บ้านโนนดอกไม้แดง - บ้านหนองนํ้า
ใส บ้านคําอ้อ - ดอนแดง อําเภอบ้านม่วง บ้านกุดเรื อคํา - บ้านจําปาดง อําเภอวานรนิวาส มีพ้ืนที่
เกลือทั้งสิ้ น 2,365 ไร่ นาเกลื อตั้งอยู่ติดกับลําห้วยธรรมชาติ ผลการตรวจวัดความเค็มของนํ้าพบว่า
บริ เวณต้นนํ้ามีความเค็มตํ่า จะมีความเค็มสู งอย่างมากเมื่อนํ้าไหลผ่านนาเกลือและจะค่อยๆ ลดลง
เนื่องจากมีน้ าํ จืดจากลําห้วยสาขาเข้ามาเจือจาง กรมทรัพยากรธรณี กรมชลประทาน และกรมพัฒนา
ที่ ดิน ได้เคยร่ วมกันแก้ไ ขปั ญหา โดยการขุดลอกลําห้วยทําคันทํา นบป้ องกันนํ้าเค็ม และขุดบ่ อ
ระบายนํ้าเสี ยลงใต้ดิน มีผลทําให้ความเค็มของนํ้าในลําห้วยต่างๆ ลดลง แต่เนื่ องจากทํานบต่างๆ
ขาดการดูแล ประกอบกับมีการขยายพื้นที่ทาํ เกลือทําให้ปัญหาความเค็มไม่ลดลง
จังหวัดหนองคาย(ปั จจุบนั อยู่ในเขตจังหวัดบึงกาฬ ) มีการทําเกลือ 2 บริ เวณคือ
บ้านเซิ มทุ่ง อําเภอโพนพิสัย และบ้านคําแวง อําเภอโซ่ พิสัย มีพ้ืนที่ทาํ เกลือตามใบอนุ ญาตทั้งสิ้ น
118 ไร่ การทําเกลือที่บา้ นเซิ มทุ่งเป็ นการทําเกลือโดยวิธีตม้ มีพ้ืนที่ขนาดเล็กทําให้เกิดผลกระทบต่อ
ลําห้วยใกล้เคียงน้อย แต่ผลการตรวจวัดพบว่านํ้าในลําห้วยข้างเคียงมีความเค็มตํ่ามากจนถึงสู งมาก
โดยความเค็มจะสู งมากในบริ เวณลําห้วยที่ติดกับนาเกลือในช่ วงฤดูแล้ง ส่ วนบ้านคําแวงมีการทํา
เกลื อโดยวิธีตากในพื้นที่ ขนาดใหญ่ ผลการตรวจวัดคุณภาพนํ้าพบว่ามีความเค็มในระดับตํ่ามาก
จนถึ งสู ง มาก นํ้าบริ เวณต้นนํ้า จะมีความเค็ม ตํ่า แต่เมื่อผ่านนาเกลื อแล้วจะมีค วามเค็มสู งขึ้นมาก
เนื่ องจากนาเกลื ออยู่ใกล้แม่น้ าํ สงครามทําให้เกิ ดผลกระทบต่อแม่น้ าํ สงครามโดยตรง โดยเฉพาะ
ในช่วงหน้าแล้งซึ่ งนํ้าในแม่น้ าํ สงครามมีนอ้ ย เมื่อเกิดฝนตกหนัก นํ้าเค็มจะทะลักลงแม่น้ าํ สงคราม
จนเกิดเหตุการณ์ปลาตายในช่วงฤดูแล้ง เมื่อปริ มาณนํ้าในแม่น้ าํ สู งขึ้นนํ้าท่วมนาเกลือทั้งหมด ความ
168

เค็มของนํ้าจะลดลงอยูใ่ นระดับตํ่ามาก เพราะพื้นที่นาเกลือลุ่มมีน้ าํ ท่วมสู งไม่อาจป้ องกัน (ปั จจุบนั


บริ เวณนี้ไม่มีประกอบกิจการเกลือแล้ว)
2.1.2 การแพร่ กระจายความเค็มสู่ แหล่งนา้ ธรรมชาติ
ศูนย์ศึกษาค้นคว้าและพัฒนาเกษตรกรรมภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ(2536) ได้ศึกษา
การแพร่ กระจายความเค็มสู่ แหล่งนํ้าในลําห้วยธรรมชาติที่ไหลผ่านพื้นที่ทาํ เกลือสิ นเธาว์ในพื้นที่
จังหวัดอุดรธานีได้แก่ ลําห้วยทวน และจังหวัดสกลนคร ได้แก่ลาํ ห้วยบ่อแดงและลําห้วยซาง เมื่อปี
พ.ศ. 2535 ช่ วงเดื อนมกราคม – ธันวาคม พบว่าค่าการนําไฟฟ้ าของนํ้าที่ระบายออกจากอ่างเก็บ
นํ้าท่ามะนาวมีค่าสู งถึง 3,080 – 6,030 ไมโครโมห์/เซนติเมตร( mho/cm) ในช่วงเดือนมกราคม –
กรกฎาคม ซึ่ งเป็ นช่วงที่มีการทําเกลือถึงช่วงต้นฤดูฝน และมีแนวโน้มลดลงในช่วงเดือนสิ งหาคม –
ธันวาคม ซึ่ งเป็ นช่ วงฤดูฝน ในขณะที่ค่าการนําไฟฟ้ าในลําห้วยบ่อแดงบริ เวณสะพานข้ามห้วยบ่อ
แดง บ้านหนองกวัง่ ซึ่ งเป็ นช่วงไหลผ่านและติดกับพื้นที่ผลิตเกลือตําบลหนองกวัง่ พบว่ามีค่าการนํา
ไฟฟ้ าสู ง อยู่ใน ช่วง 7,030 – 124,500 ไมโครโมห์/เซนติเมตร ในช่วงเดือนมกราคม – พฤษภาคม
ภาควิช าเคมี คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิท ยาลัย ขอนแก่ น (2546)
ทําการศึกษาผลกระทบจากการชะล้างเกลือตามธรรมชาติและการทําเกลือต่อคุณภาพนํ้าในแม่น้ าํ
สงครามโดยทําการเก็บตัวอย่างในลําห้วยทวน ห้วยปลาตอง อ่างเก็บนํ้ามะนาวซึ่ งเป็ นแหล่งนํ้าที่
ตั้งอยูใ่ นพื้นที่ผลิตเกลือสิ นเธาว์โดยทําการเก็บตัวอย่าง 3 เดือนต่อครั้ง (รวม 4 ครั้ง) ในปี พ.ศ. 2545
พบว่าค่าการนําไฟฟ้ าบริ เวณอ่างเก็บนํ้าท่ามะนาวในเดื อนกุมภาพันธ์ พฤษภาคม สิ งหาคม และ
ธันวาคม มีค่าเท่ากับ 29,200 10,480 17,640 และ5,080 ไมโครโมห์/เซนติเมตร ตามลําดับ สาเหตุที่
สําคัญได้แก่ การแพร่ กระจายของความเค็มจากพื้นที่ทาํ เกลือสิ นเธาว์ที่อยูใ่ กล้เคียง ในขณะที่ค่าการ
นําไฟฟ้ าในลําห้วยทวนที่ระบายออกจากอ่างเก็บนํ้าท่ามะนาวก่อนระบายลงสู่ แม่น้ าํ สงครามพบว่ามี
ค่าอยูร่ ะหว่างช่วง 990 – 8,590 ไมโครโมห์/เซนติเมตร โดยมีค่าสู งสุ ดในเดือนสิ งหาคม ผลของค่า


ค่าการนําไฟฟ้ าของเกลื อที่ละลายอยูใ่ นนํ้าวัดได้จากเครื่ อง electrical conductivity meter มีหน่ วยเป็ นไมโคโมห์/
เซนติเมตร( mho/ cm) , มิลิโมห์/ เซนติเมตร(mmho/cm) และ มิลิลซี เมตร/เซนติเมตร(mS/cm) ทั้งนี้ องค์การอาหารและเกษตรแห่ ง
สหประชาติ (FAO) ได้แบ่งชั้นคุณภาพนํ้าเพื่อการชลประทานจากผลการนําไฟฟ้ า ปริ มาณเกลื อที่ ละลายนํ้าได้ ต่อผลผลิ ตพืชไว้ 3
ระดับคื อ (1) นํ้าคุ ณภาพดี มี ค่าการนําไฟฟ้ าตํ่ากว่า 700 ไมโครโมห์ /เซนติเ มตร หรื อมีสารละลายที่ ะลายได้ (Total dissolved
substance, TDS) ทั้งหมด 450 ppm เป็ นนํ้าชลประทานได้โดยไม่มีขอ้ จํากัด (2) คุณภาพนํ้าปานกลางมีค่าการนําไฟฟ้ าระหว่าง 700 –
3,000 ไมโคโมห์/เซนติเมตร มีสารที่ละลายได้ท้ งั หมด มากกว่า 450 - 2,000 ppm เป็ นนํ้าชลประทานที่มีขอ้ จํากัดรุ นแรงในการใช้โดย
ปลูกพืชทนเค็มมากและมีการควบคุมเกลือในดิน (3.) นํ้าที่มีคุณภาพตํ่า มีค่าการนําไฟฟ้ าสู งกว่า 3,000 ไมโครไมห์/เซนติเมตร หรื อมี
สารที่ละลายได้ท้ งั หมด มากกว่า 2,000 ppm เป็ นนํ้าชลประทานที่มีขอ้ จํากัดรุ นแรงในการใช้โดยปลู กพืชทนเค็มมากและมี การ
ควบคุมเกลือในดิน
169

ความเค็มสู ง โดยมีค่าการนําไฟฟ้ าอยูใ่ นช่ วง 583- 5,480 ไมโครโมห์/เซนติเมตร ในขณะที่บริ เวณ


เหนือนํ้ามีค่าการนําไฟฟ้ าอยูร่ ะหว่างช่วง 221 – 859 ไมโครโมห์/เซนติเมตร
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (2546) ทําการตรวจวัดความเค็มในลํา
ห้วยธรรมชาติที่อาจได้รับผลกระทบจากการทําเกลือสิ นเธาว์ในพื้นที่จงั หวัดอุดรธานี สกลนคร และ
หนองคาย จํานวน 3 ครั้ง ในเดือนพฤษภาคม กรกฎาคม และกันยายน 2545 พบว่าค่าความเค็มของ
นํ้าขึ้นอยูก่ บั ฤดูกาลโดยมีค่าสู งสุ ดในช่วงต้นฤดูฝนประมาณเดือนพฤษภาคม และลดลงในช่วงกลาง
ฤดูฝนและมีค่าตํ่าบริ เวณก่อนที่ลาํ ห้วยธรรมชาติจะไหลผ่านพื้นที่ทาํ เกลือสิ นเธาว์ (น้อยกว่า 100 ไม
โครโมห์/เซนติเมตร) และมีค่าสู งขึ้นเมื่อไหลผ่านพื้นที่ผลิตเกลือโดยในพื้นที่อาํ เภอบ้านดุง พบว่ามี
ค่าการนําไฟฟ้ าสู งถึง 100,000 ไมโครโมห์ /เซนติเมตร บริ เวณลําห้วยที่อยู่ท่ามกลางนาเกลือบ้าน
โพนสู ง – บ้านฝาง ในเดือนพฤษภาคม ในขณะที่พ้ืนที่ทาํ เกลือจังหวัดสกลนคร พบว่าค่าความเค็มมี
แนวโน้มเช่นเดียวกับพื้นที่จงั หวัดอุดรธานี โดยพบว่ามีค่าสู งถึง 55,800 ไมโครโมห์/เซนติเมตร ใน
ลําห้วยบ่อแดงบริ เวณด้านที่ติดกับนาเกลือบ้านโนนดอกไม้แดง ในเดือนพฤษภาคม สาเหตุสําคัญ
เนื่ องจากมีน้ าํ เค็มจากพื้นที่นาเกลื อซึ มลงสู่ ห้วยบ่อแดงประกอบกับแพร่ กระจายจากพื้นที่ทาํ เกลือ
บ้านดอนแดง ตําบลดงเหนื อ มากกว่าพื้นที่ทาํ เกลื อตําบลหนองกวัง่ และตําบลกุดเรื อคํา สาเหตุ
เนื่ องจากพื้นที่ ทาํ เกลื อบ้านดอนแดงอยู่ใกล้กบั แม่น้ าํ สงครามมากกว่าจึงก่ อให้เกิ ดผลกระทบได้
มากกว่า ส่ วนพื้นที่ทาํ เกลื อจังหวัดหนองคายพบว่าค่าการนําไฟฟ้ าในลําห้วยธรรมชาติที่ไหลผ่าน
พื้นที่ผลิ ตเกลื อบ้านคําแวง บ้านคําแก้ว อําเภอโซ่ พิสัย มีค่าสู งถึง 4,200 ไมโครโมห์ /เซนติเมตร
เนื่องจากมีน้ าํ เค็มจากพื้นที่ทาํ เกลือระบายลงสู่ ลาํ ห้วยดังกล่าว
ทั้งนี้สภาพที่พบในปั จจุบนั ในฤดูแล้งที่มีการผลิตเกลือพบว่านํ้าในลําห้วยบ่อแดง
และห้วยสาขามีคราบเกลือสี ขาว สี ส้ม (โคลนเค็ม) ไม่มีสิ่งมีชีวิตใดอาศัยอยูไ่ ด้ และล่าสุ ดได้มีการ
ตรวจวัดคุณภาพนํ้าโดยสํานักงานสิ่ งแวดล้อมภาค 9 (2548: 51) ในพื้นที่แหล่งผลิตเกลืออําเภอบ้าน
ม่วง อําเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร มีรายละเอียดดังนี้
ห้ วยบ่ อแดง คุ ณภาพนํ้าในช่ วงเดื อนเมษายน 2547 ค่าการนําไฟฟ้ าอยู่ระหว่าง
5,990 – 28,500 ไมโคโมห์/เซนติเมตร ค่าความเค็มอยูใ่ นช่วง 0.31 - 1.75 % ค่าคลอไรด์มีค่าอยู่
ในช่ วง 2,235.4 – 11,160.1 มิลลิกรัม/ลิตร จะเห็นว่าค่าการนําไฟฟ้ าของห้วยบ่อแดง (ไหลผ่าน
ชุ มชนแหล่งผลิตเกลือบ้านโนนดอกไม้แดง) ในเดือนเมษายน 2547 เมื่อเทียบกับเกณฑ์ช้ นั คุณภาพ
นํ้าเพื่อการชลประทานของสหรัฐอเมริ กา (USSL. 1994) จัดอยูใ่ นระดับชั้นคุณภาพนํ้าประเภทที่ 4
170

ไม่เหมาะสมในการใช้ประโยชน์เพื่อการชลประทานเนื่องจากมีเกลือละลายอยูม่ ากกว่า 2,259 ไม


โครโมห์/เซนติเมตร
นอกจากนี้ ค่าความเป็ นกรดเป็ นด่างในห้วยบ่อแดงบริ เวณสะพานบ้านหนองกวัง่
(หลังจากห้วยบ่อแดงไหลผ่านนาเกลือหรื อแหล่งผลิตเกลือบ้านโนนดอกไม้แดง) มีค่าเท่ากับ 3.31
เมื่อเทียบกับมาตรฐานคุณภาพนํ้าผิวดินตามประกาศของคณะกรรมการสิ่ งแวดล้อมแห่ งชาติ ฉบับที่
8 (พ.ศ. 2537) พบว่าจัดอยูใ่ นแหล่งนํ้าผิวดินประเภทที่ 5 ใช้ประโยชน์ในการคมนาคมเท่านั้น ซึ่ ง
แสดงให้เห็นว่าในช่วงที่ประกอบการเกลือสิ นเธาว์ลาํ ห้วยบ่อแดงได้รับผลกระทบจากเกลือสิ นเธาว์
เป็ นอย่างมาก ส่ วนในช่วงเดือนกรกฎาคม 2547 พบว่าคุณภาพนํ้าไม่แตกต่างจากเดือนเมษายนมาก
นักโดยค่าการนําไฟฟ้ าอยูใ่ นช่วง 1,600 – 5,200 ไมโครโมห์/เซนติเมตร ค่าความเค็มอยูใ่ นช่วง 0.07
– 0.27 % ค่าคลอไรด์อยูใ่ นช่วง 456.65 – 1,642 มิลลิกรัม/ลิตร จัดอยูใ่ นชั้นคุณภาพนํ้าประเภทที่ 3
และ 4 มีเกลือละลายอยูส่ ู ง 750 – 2,250 ไมโครโมห์/เซนติเมตร ไม่สามารถใช้กบั ดินที่มีการระบาย
นํ้าเลวหรื อใช้ปลูกพืชทนเค็มเท่านั้น ทั้งนี้ พบว่าค่าการนําไฟฟ้ าที่ตรวจวัดได้สอดคล้องกับค่าความ
เค็มและค่าคลอไรด์ มีทิศทางไปในทางเดียวกัน โดยค่าความเค็มที่ตรวจวัดได้มีค่ามากกว่า 0.05%
ซึ่งเป็ นค่าความเค็มในแหล่งนํ้าจืดที่แสดงให้เห็นว่าลําห้วยบ่อแดงได้รับผลกระทบจากกิจกรรมการ
ทําเกลือสิ นเธาว์จากบริ เวณบ้านหนองกวัง่ – โนนสะแบง อย่างเห็นได้ชดั
ห้ วยซาง มีความยาวตลอดลํานํ้า 30 กิโลเมตร มีการเก็บตัวอย่างนํ้าในเดือนเมษายน
จํานวน 5 สถานี พบว่า ค่าการนําไฟฟ้ าอยูร่ ะหว่าง 28 – 6,050 ไมโครโมห์/ เซนติเมตร ค่าความเค็มมี
ค่าอยูร่ ะหว่าง 0.00 – 0.32 % ค่าคลอไรด์มีค่าอยูใ่ นช่วง 1.90 – 2,615.3 มิลลิกรัม/ลิตร จัดว่าอยูใ่ นชั้น
คุ ณภาพนํ้าเพื่อการชลประทานประเภทที่ 4 ใน 2 สถานี ไม่เหมาะสมสําหรับการชลประทาน
ในช่ วงที่ ล าํ ห้วยซางไหลผ่า นพื้นที่ท าํ เกลื อสิ นเธาว์บ ริ เวณบ้านจําปาดง ตําบลกุดเรื อคํา แล้วมา
บรรจบกับห้วยสาขาพบว่า คุ ณภาพนํ้ามี ค่า การนํา ไฟฟ้ า ค่ าความเค็ม และค่าคลอไรด์ สู งเท่ ากับ
6,050 ไมโครโมห์ /เซนติเมตร 0.32% และ 2,615 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลําดับ ซึ่ งสู งกว่าคุณภาพ
แหล่งนํ้าจืดทัว่ ไปประมาณ 6 เท่า ขณะที่ในเดือนกรกฎาคม 2547 มีสภาพดีข้ ึนเมื่อเทียบกับช่ วง
เดื อนเมษายน จัดว่าเป็ นนํ้าที่สามารถใช้กบั พืชทนเค็มได้ สรุ ปได้ว่าห้วยซางได้รับผลกระทบจาก
กิจกรรมทําเกลือสิ นเธาว์ตลอดความยาวลํานํ้า 30 กิโลเมตรก่อนไหลลงสู่ แม่น้ าํ สงครามโดยเฉพาะ
ในช่วงที่มีการผลิตเกลือ (ตุลาคม – มีนาคม) สาเหตุเกิดจากการทําเกลือสิ นเธาว์เพราะมีการลักลอบ
ปล่อยนํ้าเสี ยจากนาเกลือบริ เวณบ้านจําปาดง ตําบลกุดเรื อคํา ลงสู่ ลาํ ห้วยซาง(สํานักงานสิ่ งแวดล้อม
ภาคที่ 9, 2548 : 54) ทั้งนี้ ลาํ ห้วยบ่อแดงไหลมาบรรจบกับห้วยซางที่บา้ นนํ้าจัน่ ก่อนไหลลงสู่ แม่น้ าํ
171

สงครามจากการตรวจวัด ความเค็ม โดยกรมอุ ต สาหกรรมพื้ น ฐานและการเหมื อ งแร่ ใ นเดื อ น


พฤษภาคม 2545 พบว่าจุ ดดังกล่ าวมีค่าการนําไฟฟ้ าสู งถึ ง 4,299 ไมโครโมห์ /เซนติเมตร เมื่อ
พิจารณาความเค็มของลํานํ้าทั้งสองก่อนบรรจบกันพบว่าจุดดังกล่าวได้รับอิทธิ พลความเค็มจากห้วย
บ่อแดง ทั้งนี้ มีรายงานในปี พ.ศ. 2536 พื้นที่ท้ งั สองฝั่ งซ้ายขวาของลําห้วยบ่อแดงและลําห้วยซาง
ได้รับผลกระทบเนื่ องจากการต้มเกลือและการปล่อยนํ้าเสี ยจากนาเกลือลงสู่ ลาํ ห้วยทั้งสอง ทําให้
พื้นที่ไร่ นาได้รับผลกระทบประมาณ 18,750 ไร่ จํานวนสัตว์น้ าํ ลดลงอย่างรวดเร็ วและบริ เวณที่นาที่
ใช้น้ าํ ในลําห้วยซางเลี้ยงต้นกล้ามีผลผลิตลดลงถึงร้อยละ 50 ต่อปี และในปี พ.ศ. 2541 พบว่าดัชนี
ความหลากหลายทางชีวภาพแพลงก์ตอนลําห้วยซางและลําห้วยบ่อแดง ในช่วงที่ไหลผ่านนาเกลือมี
ค่าลดลง เมื่อเทียบกับช่วงก่อนผ่านพื้นที่ทาํ นาเกลือ (สํานักงานสิ่ งแวดล้อมภาคที่ 9, 2548: 55)
2.1.3 การยุบตัวของแผ่นดิน
จากการศึกษาการไหลของนํ้าใต้ดินและการเคลื่อนย้ายของสารละลายเกลือในเขต
ทํานาเกลือพื้นที่ทาํ นาเกลืออําเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี และพื้นที่บา้ นโนนดอกไม้แดง-หนองนํ้า
ใส อําเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร ซึ่ งทั้งสองพื้นที่ มีกรรมวิธี การผลิ ตเกลื อเหมือนกัน คือ สู บ
นํ้าเกลื อขึ้นมาตาก โดยวิธีการเจาะบ่อทะลุจนถึงชั้นนํ้าเกลือ ความลึกอยู่ในช่วง 60-80 เมตร จาก
ระดับผิวดิน เมื่อมีการสู บนํ้าเกลือเพิ่มขึ้น เนื่องจากการขยายกําลังผลิต ทําให้ช้ นั เกลือหิ นถูกละลาย
มากขึ้น และจากการศึกษาสมดุ ลของการสู บนํ้าเกลือและนํ้าฝนที่เพิ่มเติมในชั้นหิ นอุม้ นํ้าในพื้นที่
บ้านโนนดอกไม้แดง พบว่าหนึ่ งฤดูการผลิต มีการสู บนํ้าเกลือขึ้นมาประมาณ 2 ล้าน ลูกบาก์เมตร
และชั้นหิ นอุม้ นํ้าได้รับการเพิ่มนํ้าในฤดูฝนในปริ มาณใกล้เคียงกัน แต่มีมวลของหิ นเกลือถูกละลาย
ขึ้นมาทําเกลือสิ นเธาว์ ประมาณ 3.7 แสนตัน การสู บนํ้าเกลือทําให้ระดับนํ้าบาดาลในบริ เวณบ้าน
โนนดอกไม้แดงลดลงถึง 17 เมตร จากผิวดิน โดยพื้นที่บา้ นโนนดอกไม้แดง-หนองนํ้าใน มีพ้ืนที่รับ
นํ้าอยูท่ างใต้บา้ นหนองนํ้าใส และเนิ นบ้านวังโพน-บ้านโนนสําราญ โดยมีพ้ืนที่จ่ายนํ้าบริ เวณห้วย
บ่อแดง และบริ เวณที่ราบลุ่มของห้วยบ่อแดง ซึ่ งเป็ นนาข้าว และนาตากเกลือ คาดว่าจะเป็ นส่ วนของ
ยอดโดมหิ นเกลื อ และปกคลุ มด้วยชั้นตะกอนปั จจุบนั สําหรับบริ เวณที่เป็ นเนิ นทั้งสองข้างของที่
ราบลุ่ มเป็ นส่ วนที่ทรุ ดตัวลงของชั้นหิ นโคลน ลึกลงใต้ดินในบริ เวณขอบๆ โดมหิ นเกลือจะมีหิน
แตกหัก ซึ่ งจะเป็ นชั้นหิ นอุม้ น้ าได้เป็ นอย่างดี เมื่อเกลือถูกละลาย และสู บออกไป ทาให้มวลหิ นเกลื อ
นั้นหายไป กลายเป็ นโพรงใต้ดิน เมื่อน้ าบาดาลชั้นบนไหลลงโพรง จะทาให้หินหลังคาโพรงเกิดการ
กะเทาะในที่สุดเมื่อรับน้ าหนักกดทับไม่ไหวก็พงั ลงกลายเป็ นหลุมยุบ ซึ่ งนับวันจะขยายตัวมากขึ้น
และเข้าใกล้ชุมชน บ้านเรื อน และอาคารโรงเรี ยน(รุ่ งเรื อง เลิศศิริวรกุล, 2548: 19)
172

ปั ญหาการทรุ ดตัวของแผ่นดิน ซึ่ งมีสาเหตุจากการสู บน้ าเกลือขึ้นมาจากใต้ดินจน


ทาให้มีการละลายของเกลื อหิ น เกิ ดเป็ นโพรงใต้ดิน เมื่อโพรงดังกล่าวเสี ยสมดุล ซึ่ งอาจเกิ ดจาก
น้ าหนักที่กดทับ หรื อโพรงขยายใหญ่ข้ ึน ทาให้เกิ ดการพังยุบตัวของหิ น และดินที่ปิดทับโพรงอยู่
การยุบตัวของดิ น ในบริ เวณแหล่งชุ มชน หรื อถนนหลวง อาจสร้างความเสี ยหาย เป็ นอันตรายต่อ
ชี วิต และทรัพย์สินของชุ มชน ปั ญหาแผ่นดินทรุ ดตัว สร้างความตื่นตระหนกแก่ราษฎร โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ กรณี ที่เกิดที่บา้ นโนนดอกไม้แดง เนื่องจากบริ เวณที่ปรากฏการแยกตัว หรื อการทรุ ดตัวของ
แผ่นดิ นอยู่ใกล้ชุมชนมาก และเมื่ อมีการทรุ ดตัวของแผ่นดิน ผูป้ ระกอบการพยายามนาดินมาปิ ด
คลุมพื้นที่ที่ทรุ ดลงเพื่อมิให้ทางราชการทราบ เนื่ องจากเกรงว่าจะถูกลงโทษ ปรากฏการณ์แผ่นดิน
ทรุ ดที่สร้างความตื่นตะลึงมากที่สุด เห็นจะเป็ นกรณี ที่สระเก็บน้ าหนองบ่อแดง ซึ่ งมีความกว้างของ
หลุม ประมาณ 40 เมตร ลึกมากกว่า 20 เมตร ทาให้น้ าในสระดังกล่าว หายไปในโพรงเพียงคืนเดียว
เหตุการณ์ดงั กล่าวเป็ นผลให้มีการห้ามสู บน้ าเกลือ ในพื้นที่โดยรอบบริ เวณหนอง
บ่อแดง รัศมี 1 กิโลเมตร นอกจากนี้ ในฤดูกาลผลิตเกลือ ในปี พ.ศ.2541-2542 ได้เกิดแผ่นดินทรุ ด
และรอยแยกตัวของแผ่นดินในบริ เวณบ้านโนนดอกไม้แดง และบ้านหนองกวัง่ หลายจุด ซึ่ งเกรงว่า
จะสร้ า งความเสี ย หายต่ อ สิ่ ง ปลู ก สร้ า ง ทรั พ ย์สิ น และเป็ นอัน ตรายต่ อ ชี วิต ราษฎร (โครงการ
การศึกษาผลกระทบสิ่ งแวดล้อมจากการทําเกลือจากนํ้าเกลือใต้ดิน, 2549)
กรมทรัพ ยากรธรณี ไ ด้ท าํ การสํารวจธรณี วิทยา และธรณี ฟิ สิ ก ส์ ใ นปี พ.ศ.2542
ครอบคลุมบ้านโนนดอกไม้แดง โดยการสํารวจทางธรณี ฟิสิ กส์น้ นั ใช้วิธีวดั ค่าความต้านทานไฟฟ้ า
โพรงที่เกิ ดขึ้น หรื อบริ เวณที่บรรจุอยู่ดว้ ยนํ้าเกลือ จะมีความต้านทานไฟฟ้ าตํ่ากว่าชั้นดิน และหิ น
บริ เวณข้างเคียง จึงสามารถกําหนดตําแหน่ ง และความลึกของชั้นเกลื อและโพรงเกลือได้ ผลการ
แปรความหมายจากการสํารวจด้านธรณี ฟิสิ กส์ดงั กล่าวทําให้สามารถกําหนดพื้นที่เสี่ ยงตามระดับ
ของอันตราย หากเกิดการยุบตัวของแผ่นดิน เป็ น 3 ระดับ คือ พื้นที่อนั ตรายสู งสุ ด เนื่องจากเป็ นที่ต้ งั
ชุมชนส่ วนใหญ่ของบ้านโนนดอกไม้แดง และโรงเรี ยนบ้านโนนดอกไม้แดง เนื้ อที่ประมาณ 100 ไร่
บริ เวณด้านตะวันออกของบ้านหนองนํ้าใส และเส้นทางหมายเลข 2098 เนื้ อที่ประมาณ 456 ไร่
เนื่ องจากพบโพรงใต้ดินจํานวนมาก และมีช้ นั หิ นอ่อนที่ระดับความลึก 30-40 เมตร พื้นที่อนั ตราย
ปานกลาง เนื่ องจากแม้จะพบโพรงอยู่บา้ ง แต่ก็เป็ นพื้นที่ป่าละเมาะ ไม่มีบา้ นเรื อนราษฎร เนื้ อที่
ประมาณ 325 ไร่ พื้นที่อนั ตรายตํ่า ซึ่ งตรวจพบโพรงใต้ดินเป็ นจํานวนมาก แต่มีขนาดเล็ก ที่ระดับ
ความลึกประมาณ 30 เมตร บริ เวณลานตากเกลือเป็ นส่ วนใหญ่ เนื้ อที่รวมประมาณ 2,000 ไร่ (กรม
ทรัพยากรธรณี , 2547.)
173

เพีย งตา สาตรั ก ษ์ และคณะ(2547) ศึกษาปั ญหาการเกิ ดหลุ มยุบและติดตามการ


ขยายตัวของหลุ มยุบในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ โดยการประยุกต์สํารวจธรณี ฟิสิ กส์ ด้วยวิธีวดั
ความต้านทานไฟฟ้ าจําเพาะในการศึกษาธรณี วทิ ยาใต้ผิวดิน เพื่อการประเมินและคาดการณ์ภยั พิบตั ิ
ทางธรรมชาติที่จะเกิดจากการยุบตัวของโพรงเกลือใต้ดินในช่วงปี พ.ศ. 2544 – 2547 พบว่าหลุมยุบ
ในพื้นที่บา้ นโนนดอกไม้แดงมีจาํ นวนเพิ่มขึ้น ส่ วนหลุมยุบเดิมมีการขยายตัวของโพรงกว้างขึ้น โดย
พบว่าอัตราการขยายตัวของหลุมยุบบ้านโนนดอกไม้แดงบริ เวณถนนด้านที่ติดกับนาเกลือประมาณ
15 เมตรต่อปี สาเหตุที่สาํ คัญเกิดจากการสู บนํ้าเกลือขึ้นมาเพื่อทําเกลือสิ นเธาว์ในปริ มาณมาก ซึ่ งการ
สู บนํ้าเกลือเป็ นการเร่ งกระบวนการไหลของนํ้าบาดาลและเร่ งการละลายของเกลือหิ นโดยหลุมยุบ
จะมีการขยายวงกว้างมากขึ้นในช่วงฤดูการทําเกลือสิ นเธาว์
ผลการสํารวจหลุ มยุบในเขตบ้านโนนดอกไม้แดงและบ้านหนองนํ้าใส ซึ่ งเจาะ
สํารวจ 18 หลุม ที่ความลึก 100 – 200 เมตร พบโดมเกลือใต้นาเกลือ ความกว้าง 1 กิโลเมตร ความ
ยาว 5 กิโลเมตร ซึ่ งจัดเป็ นเขตหลุมยุบ ซึ่ งพบลักษณะหิ นเพียงชนิดเดียวคือหิ นดินเหนียว สี น้ าํ ตาล
แดง ที่มกั ผุและชุ่ มไปด้วยนํ้า ไม่มีความแข็งแรง นอกจากนี้ ยงั พบโพรงเกลือใต้หลุ มยุบที่ความลึก
38 – 53 เมตร ความลึกของชั้นเกลือลาดลงไปทางทิศตะวันตก ความลึกของเกลือใต้พ้ืนดินบริ เวณ
บ้านโนนดอกไม้แดง 60 – 100 เมตร บริ เวณนาเกลือความลึกเกลือ 40 เมตร ลักษณะของหิ นที่พบใน
หมู่บา้ นโนนดอกไม้แดงส่ วนใหญ่มีลกั ษณะเป็ นผลึกเกลือเม็ดทรายเกาะกันหลวมๆ และละลายนํ้า
ง่าย สามารถก่อให้เกิดโพรงเกลือได้ง่าย ส่ วนพื้นที่โรงเรี ยนบ้านจําปาดง ตําบลกุดเรื อคํา อําเภอวานร
นิวาส การเจาะสํารวจ 1 หลุม ความลึก 100 เมตร ไม่พบโพรงเกลือ พบเกลือหิ นชั้นบางๆ แทรกอยูท่ ี่
ระดับความลึก 75 – 100 เมตร ความหนา 2.45 เมตร ลักษณะของหิ นดินเหนียวที่ พบมักผุและชุ่มไป
ด้วยนํ้า ไม่แข็งแรง ด้านเหนือของโรงเรี ยนบ้านจําปาดง เป็ นบริ เวณโดมเกลือมีความเสี่ ยงต่อการเกิด
หลุมยุบ (ประมวล เจนคุณาวัฒน์, 2548 : 2)
จากการติดตามการเกิดหลุมยุบในพื้นที่บา้ นโนนดอกไม้แดง และบริ เวณใกล้เคียง
ของหลายหน่วยงานที่กล่าวมาพบว่าในปี 2442 นั้นเกิดหลุมยุบขนาดใหญ่บริ เวณบ้านโนนดอกไม้
แดงมีรอยแตกร้าวเกิดขึ้นทัว่ ไปในหมู่บา้ นและพบว่าต่อมามีรายงานหลุมยุบอย่างต่อเนื่ องเฉพาะปี
พ.ศ. 2546 – 2547 มีรายงานดังนี้ (สํานักงานสิ่ งแวดล้อมภาคที่ 9, 2548 : 65 )
วันที่ 15 สิ งหาคม 2546 พบว่ามีหลุมยุบบริ เวณด้านข้างบ้านโนนดอกไม้แดง ติด
กับพื้นที่นาเกลือซึ่ งเป็ นหลุมที่เกิดการยุบตัวตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542
174

วันที่ 17 ธันวาคม 2546 พบว่าหลุมยุบเดิมมีขนาดใหญ่ข้ ึน และราษฎรที่อาศัยอยู่


ใกล้หลุ มยุบได้ร้ื อบ้าน และยังพบว่าเกิ ดหลุมยุบแห่ งใหม่ใกล้ๆ กันกับหลุมยุบเดิมและมีตาํ แหน่ ง
ใกล้บา้ นเรื อนของราษฎรมากขึ้น พื้นดินมีรอยแตกร้าวในทิศที่มุ่งตรงเข้าสู่ ใจกลางหมู่บา้ น

ภาพที่ 35: (ซ้ายบน) นิเวศนาเกลือรอบบ้านโนนดอกไม้แดง


ภาพที่ 36: (ขวาบน) ตอต้นยางเหี ยน บริ เวณบะดอกไม้แดง ที่กลายเป็ นนาเกลือในปัจจุบนั
ภาพที่ 37: (ล่าง) สภาพการปนเปื้ อนเกลือในห้วยบ่อแดง บริ เวณไหลผ่านนาเกลือบ้านโนนดอกไม้แดง
175

ภาพที่ 38 (ซ้าย) หลุมยุบขนาดใหญ่ใกล้หมูบ่ า้ นโนนดอกไม้แดง ทําให้ตอ้ งรื้ อบ้านเรื อนบริ เวณ


ใกล้เคียงไปแล้ว 3 หลัง ยังมีแนวดินแตกร้าวพุ่งเข้าหมู่บา้ นทําให้บา้ นเรื อนราษฎร 2 หลังแตกร้าว
ภาพที่ 39 (ขวา) หลุมยุบขนาดใหญ่ในบริ เวณนาเกลือุท่งดอกไม้แดง

ภาพที่ 40 (ซ้าย) หลุมยุบกว้างกว่า 20 เมตร ลึกกว่า 15 เมตร บริ เวณนาเกลือทุ่งดอกไม้แดง


ภาพที่ 41 (ขวา) หลุมยุบขนาดใหญ่ บริ เวณนาเกลือทุ่งดอกไม้แดง

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2547 หลุมยุบเดิมมีขนาดใหญ่ข้ ึนและเกิดหลุมยุบใหม่ในนา


เกลือเพิ่มขึ้น 2 หลุม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 25 เมตร
วันที่ 28 เมษายน 2547 พบหลุมยุบกว่า 10 หลุมในพื้นที่บา้ นโนนดอกไม้แดงมีเส้น
ผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 6 – 15 เมตร บริ เวณที่ยบุ บางจุดเป็ นบริ เวณหลุมท่อส่ งนํ้ากลับ
176

วันที่ 29 พฤษภาคม 2547 พบหลุมยุบแห่งใหม่ 1 หลุม บริ เวณบ้านโนนดอกไม้แดง


ใกล้กบั บ้านเรื อนราษฎรมากขึ้น
สาเหตุ ข องปั ญหาการเกิ ดหลุ ม ยุบ เกิ ดจากการสู บ นํ้าเค็ม มากในฤดู กาลทํา เกลื อ
สิ นเธาว์ โดยที่การผลิตเกลือโดยการทํานาเกลือ 1 ไร่ จะผลิตเกลือได้ 250 ตัน โดยใช้น้ าํ เกลือ 1,200
ลูกบาศก์เมตร พื้นที่ทาํ นาเกลื อในเขตบ้านโนนดอกไม้แดงมีท้ งั หมด 14,81 ไร่ ดังนั้นมีการสู บ
นํ้าเกลือในหนึ่งฤดูกาลผลิตประมาณ 2.0 ล้านลูกบาศก์เมตร ทําให้น้ าํ บาดาลบริ เวณบ้านโนนดอกไม้
แดงลดลงถึง 17 เมตรจากผิวดิน และมีมวลเกลือหิ นละลายขึ้นมาทําเกลือสิ นเธาว์ประมาณ 3.7 ล้าน
ตัน คํานวณพบว่าชั้นหิ นอุม้ นํ้าในบริ เวณบ้านโนนดอกไม้แดงได้รับการเพิ่มเติมนํ้าในระดับท้องถิ่น
โดยมี พ้ืนที่ รับนํ้า 10 ตารางเมตร มีก ารเพิ่ มเติม นํ้าจากนํ้า ฝนปี ละ 21.5% ของปริ มาณนํ้า ฝน
ประสิ ทธิ ผลเท่ากับ 0.215 เมตร โดยคิดปริ มาณนํ้าฝนประสิ ทธิ ผล 1 เมตร (เป็ นปริ มาณนํ้าฝนที่ไหล
ลึกลงไปเพิ่มเติมในชั้นกักเก็บนํ้าบาดาล) ซึ่ งเท่ากับ 2.15 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยไม่รวมที่น้ าํ บาดาล
จะไหลซึ มลงสู่ ลาํ ห้วยทําให้ปริ มาณการใช้น้ าํ และการเพิ่มเติมนํ้าไม่สมดุล โดยเฉพาะในฤดูแล้งที่มี
การสู บนํ้ามากเกินไป(รุ่ งเรื อง เลิศศิริวรกุล และคณะ, 2546)
ความรุ นแรงของปั ญหาดิ นยุบตัวบริ เวณชุ มชนแหล่ งผลิ ตเกลือบ้านโนนดอกไม้
แดงนั้นมีขอ้ มูลทางวิชาการ และสภาพพื้นที่ปัญหาปรากฏชัดเจน ยืนยันว่าการยุบตัวของแผ่นดินนั้น
มีความรุ นแรงมากขึ้นเรื่ อยๆ ชุ มชนบ้านโนนดอกไม้แดงและชุมชนใกล้เคียงจึงเป็ นชุมชนที่อยู่ใน
ภาวะเสี่ ยงภัยแผ่นดินยุบ กล่าวเฉพาะบ้านโนนดอกไม้แดงซึ่ งพื้นที่ต้ งั หมู่บา้ นมีพ้ืนที่ 160 ไร่ และมี
รายงานว่ามีพ้ืนที่เสี่ ยงแผ่นดิ นยุบใกล้หมู่บา้ นประมาณ 100 ไร่ รวมพื้นที่เสี่ ยงดินยุบตัวในพื้นที่
ชุมชนแหล่งผลิตเกลือบ้านโนนดอกไม้แดงดินต่อเขตบ้านหนองกวัง่ 2,881 ไร่ อย่างไรก็ตามแม้จะมี
ข้อเสนอจากนักธรณี วิทยาว่าควรสั่งห้ามสู บนํ้าเกลือโดยเด็ดขาด เพื่อป้ องกันสาเหตุการเกิ ดโพรง
เกลือและหลุมยุบ และระวังภัยในชีวิตและทรัพย์สินของผูค้ น แต่ก็ไม่สามารถปฏิบตั ิการได้ การสู บ
นํ้าเกลือในการผลิตเกลือยังดําเนินตามปกติและมีปริ มาณมากขึ้นในปี ที่เกลือราคาดี การควบคุมการ
สู บนํ้าเกลือตามที่นกั วิชาการเสนอก็ไม่มีการดําเนินการอย่างจริ งจังเช่นกัน

2.2. ผลกระทบด้ านสั งคมและวัฒนธรรม


ความขัดแย้ง หรื อ กรณี พิพาทระหว่างประชาชนและผูป้ ระกอบการเกลือมักปรากฏให้
เห็นอยูเ่ สมอๆ ทั้งนี้ มีสาเหตุเพราะผูป้ ระกอบการยังไม่สามารถปฏิบตั ิตามกฎหมาย หรื อ เงื่อนไขที่
กําหนดไว้ในใบอนุ ญาต เช่ น ตําแหน่ งของบ่อสู บนํ้าเกลือ ไม่เป็ นไปตามที่กาํ หนด ไม่มีการติดตั้ง
มาตรวัดปริ มาณนํ้าเกลื อที่ สูบขึ้นมา ลักษณะลานตาก และความสู งของทํา นบ บ่อรองรับนํ้าเสี ย
177

ระบบกําจัดกากตะกรันเกลื อ ไม่เป็ นไปตามที่กาํ หนด มีการสู บนํ้าเกลือใต้ดิน โดยใช้เครื่ องอัดลม


หรื อการเกิ ดปั ญหาดิ นทรุ ด เป็ นต้น ทําให้เกิ ดการต่อต้านจากชุ มชนใกล้เคียง และถูกมองในฐานะ
เป็ นผูส้ ร้างปั ญหาแก่สิ่งแวดล้อม เกิดความขัดแย้งนําไปสู่ ปัญหาทางสังคมอื่น
กลุ่ มคนงานในนาเกลื อและกลุ่ มผูร้ ้ องเรี ยนเรื่ องผลกระทบจากการทํานาเกลื อมีความ
ขัดแย้ง กันทําให้ไ ม่ สามารถจัดกิ จกรรมความร่ วมมือในชุ ม ชนได้ ส่ วนทางผูป้ ระกอบการเกลื อ
บางส่ วนก็จะมองผูน้ าํ ชุมชนที่รับเรื่ องร้องเรี ยนจากราษฎร และแจ้งต่อภาครัฐว่าเป็ นการคอยขัดขวาง
การประกอบการของตนเองและดําเนิ นกิ จการต่อไปโดยไม่สนใจข้อกําหนดตามกฎหมาย เพราะ
เห็นว่าหน่วยงานราชการไม่จริ งใจในการแก้ปัญหาและบีบบังคับผูป้ ระกอบการรายย่อยเพื่อส่ งเสริ ม
ให้เกิดอุตสาหกรรมเกลือขนาดใหญ่ เช่น เหมืองละลายเกลือ และเหมืองเกลือและแร่ โพแทชใต้ดิน
ซึ่งจะทําให้สามารถผลิตเกลือได้มากกว่าและเร่ งการบริ โภคเกลือมากกว่าในปัจจุบนั หลายเท่า
ที่ผา่ นมาการแก้ไขความขัดแย้งของสหกรณ์ผผู้ ลิตเกลือสิ นเธาว์สกลนคร จํากัด ซึ่ งเป็ น
ตัวแทนสมาชิ กผูผ้ ลิตเกลื อสิ นเธาว์ ได้ร้องขอให้ทางราชการ พิจารณาการแก้ปัญหา การประกอบ
อาชีพผลิตเกลือสิ นเธาว์ ในจังหวัดสกลนคร กระทรวงอุตสาหกรรมจึงมีคาํ สั่ง แต่งตั้งคณะกรรมการ
ร่ วมภาครัฐ และเอกชน เพื่อแก้ไขปั ญหาการประกอบการผลิตเกลือสิ นเธาว์ จังหวัดสกลนคร เพื่อให้
การแก้ไขปั ญหาการผลิตเกลื อสิ นเธาว์จากการสู บนํ้าเกลือใต้ดิน เป็ นไปตามมาตรการทางวิชาการ
ไม่ก่อผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม และความเสี ยหายต่อเศรษฐกิ จของท้องถิ่ น โดยคณะกรรมการ
ประกอบด้วย ผูป้ ระกอบอาชี พเกษตรกรรม และเจ้าหน้าที่ของส่ วนราชการที่เกี่ ยวข้อง หน้าที่ของ
คณะกรรมการ คือ ให้ขอ้ คิดเห็ น เพื่อประกอบการพิจารณากําหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข
การอนุ ญาตให้ผลิ ตเกลื อสิ นเธาว์ ตรวจสอบ เฝ้ าระวังผลกระทบสิ่ งแวดล้อม เสนอแนะมาตรการ
ป้ องกัน และแก้ไขปั ญหา ประสานงานให้ความช่วยเหลือ ด้านการส่ งเสริ มอาชีพแก่ผปู้ ระกอบอาชีพ
ผลิตเกลื อสิ นเธาว์ที่ประสงค์จะเลิ กอาชี พโดยสมัครใจ เสนอแนะและให้ขอ้ คิดเห็น เกี่ ยวกับกรณี
พิพาทจากการผลิตเกลือสิ นเธาว์ ประเด็นที่สําคัญคือผูป้ ระกอบการได้ร้องเรี ยนให้มีการพิจารณา
ปรั บ เปลี่ ย นเงื่ อ นไขในใบอนุ ญ าตเกี่ ย วกับ ตํา แหน่ ง บ่ อ สู บ นํ้าเกลื อ ซึ่ งกํา หนดให้ ห่ า งจาก
โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถานที่สําคัญทางประวัติศาสตร์ และแหล่งอนุ รักษ์ทางศิลปกรรม ไม่
น้อยกว่า 2,000 เมตร ห่ างจากสาธารณสมบัติ ทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงจังหวัด สถานที่ราชการ
แม่น้ าํ สายหลัก อ่า งเก็บนํ้าขนาดใหญ่ บ่ อนํ้าบาดาล เพื่อใช้ใ นการอุ ปโภค และบริ โภค และเขต
ชุ มชน ในระยะไม่นอ้ ยกว่า 300 เมตร และในระยะ 500 เมตร จากสิ่ งก่อสร้างสถานที่ดงั กล่าว ห้าม
สู บนํ้าเกลื อโดยใช้เครื่ องอัดลม และบ่อสู บนํ้าเกลื อโดยใช้เครื่ องอัดลม และบ่อสู บนํ้าเกลือต้องมี
178

ระยะห่างจากบ่อสู บนํ้าข้างเคียงไม่นอ้ ยกว่า 50 เมตร อย่างไรก็ตามไม่สามารถผ่อนปรน หรื อแก้ไข


เงื่อนไขดังกล่าว เนื่ องจากเกรงว่า อาจจะเกิดอันตราย เนื่ องจากการทรุ ดตัวของแผ่นดิน นอกจากนี้
จังหวัดสกลนคร ได้ขอให้กรมควบคุ มมลพิษประกาศให้ทอ้ งที่อาํ เภอบ้านม่วง และอําเภอวานร
นิวาส เป็ นเขตควบคุมมลพิษ ซึ่ งประเด็นนี้ ได้นาํ เข้าสู่ การพิจารณาของที่ประชุม คณะอนุกรรมการ
ประสานการจัดการสิ่ งแวดล้อมและอุตสาหกรรม ครั้งที่ 1/2543 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 9 มีนาคม 2543
ซึ่ งที่ป ระชุ ม มี ความเห็ นว่า ยังไม่ส มควรจะประกาศให้ท ้องที่ผลิ ตเกลื อสิ นเธาว์ดงั กล่ าวเป็ นเขต
ควบคุมมลพิษ เนื่องจากยังไม่มีขอ้ สรุ ปชัดเจนว่า ปั ญหาผลกระทบจากสิ่ งแวดล้อมจากการประกอบ
อาชี พผลิตเกลือสิ นเธาว์มีแนวโน้มร้ายแรงถึงขนาดเป็ นอันตรายต่อสุ ขภาพอนามัยของประชาชน
หรื ออาจก่อให้เกิดผลกระทบเสี ยหายต่อคุณภาพสิ่ งแวดล้อมมากน้อยเพียงใด และที่ประชุมยังเห็นว่า
ควรจะมี การจํากัดพื้นที่ และจํานวนผูป้ ระกอบอาชี พผลิตเกลื อสิ นเธาว์ และเพื่อเป็ นการป้ องกัน
ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมไม่ให้รุนแรงกว่าที่เป็ นอยูใ่ นปั จจุบนั จะต้องมีการติดตาม ตรวจสอบ ควบคุม
และบังคับใช้ ให้เป็ นไปตามกฎหมายอย่างเคร่ งครัด จนเป็ นผลทําให้กระทรวงอุตสาหกรรม ได้มี
การลงโทษผูป้ ระกอบการผลิ ตเกลื อสิ นเธาว์ ที่ไม่สามารถแก้ไขปรับปรุ งโรงงาน ให้เป็ นไปตาม
เงื่อนไขใบอนุ ญาต ถึ งขั้นสั่งปิ ดโรงงาน และเพิกถอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน อย่างไรก็
ตาม เป็ นที่น่าสังเกตว่า กฎหมาย ขั้นตอนการดําเนิ นการของภาคราชการ ที่ยงุ่ ยากและใช้เวลานาน
ทําให้การดําเนิ นงานด้านการส่ งเสริ มอาชี พอื่นแก่ผปู้ ระกอบกิจการผลิตเกลือสิ นเธาว์ที่ประสงค์จะ
เลิกประกอบกิจการผลิตเกลือสิ นเธาว์อย่างสมัครใจ ไม่มีความคืบหน้า หรื อไม่มีประสิ ทธิภาพ ทําให้
ราษฎรที่แจ้งความประสงค์ไว้แล้ว และผูท้ ี่กาํ ลังตัดสิ นใจ เกิดความลังเล ไม่มน่ั ใจต่อการให้ความ
ช่วยเหลือของภาคราชการ
กรณี บา้ นโนนดอกไม้แดงสื บเนื่ องจากปั ญหาดินยุบ และพื้นดินในกรรมสิ ทธิ์ ของนาย
สองมื อคุ ณ (นามสมมุ ติ ) แตกร้ า วจนเป็ นเหตุ ใ ห้บ ้า นสองชั้น ของเขาแตกร้ า ว จึ ง ร้ อ งทุ ก ข์ต่ อ
ผูใ้ หญ่บา้ น ผูใ้ หญ่บา้ นจึงได้แจ้งเหตุไปที่อาํ เภอให้มีการมาแก้ไขปั ญหา ฝ่ ายอําเภอแจ้งให้องค์การ
บริ หารส่ วนตําบลเป็ นคนมาแก้ไขปั ญหา และองค์การบริ หารส่ วนตําบลแจ้งให้กลุ่มผูป้ ระกอบการ
เกลื อ ในโซนบ้า นโนนดอกไม้แ ดงทราบเพื่ อ ให้ ม าแก้ไ ขปั ญ หา และมี ก ารเจรจากัน ระหว่ า ง
ผูป้ ระกอบการและราษฎรผูเ้ ดือดร้อน ในเบื้องต้นผูป้ ระกอบการเห็นว่าบ้านเรื อนแตกร้าวเพียงน้อย
ยินดีจะจ่ายค่าปูนในการซ่ อมแซมโดยให้เจ้าของบ้านจัดการเอง แต่ตกลงกันไม่ได้ จึงมีการแจ้งให้
อุ ต สาหกรรมจัง หวัด มาตรวจสอบ โดยอุ ต สาหกรรมจัง หวัด แจ้ง ต่ อ ผูใ้ หญ่ บ ้า นว่า จะมี ก ารตั้ง
กรรมการตรวจสอบข้อ เท็จจริ ง และแจ้ง ให้ร าษฎรทราบ แต่ เวลาผ่า นไปนานก็ ไ ม่ มี ก ารจัด ตั้ง
179

กรรมการดังกล่าวแต่อย่างใด และปั ญหาบ้านแตกร้าวก็ดูจะร้ายแรงมากขึ้นทําให้ราษฎรร้อนใจจึง


ขอร้องให้ผูใ้ หญ่บา้ นดําเนิ นการแจ้งต่อไปยังสมาชิ กสภาผูแ้ ทนราษฎรในเขตที่รับผิดชอบและส่ ง
เรื่ องร้องเรี ยนดังกล่าวไปยังกรรมาธิการการมีส่วนร่ วมรัฐสภา ขณะเดียวกันได้มีปัญหาการร้องเรี ยน
ของชาวบ้านดงเหนื อ ตําบลดงเหนื อ ในเขตอําเภอบ้านม่วง ที่ได้รับความเดือดร้อนจากการกระจาย
ของนํ้าเค็มดิ นเค็มจากนาเกลื อที่เขตตําบลดงเหนื อ เรื่ องปั ญหานาเกลือในเขตอําเภอบ้านม่วงจึงได้
ยกขึ้นมาพิจารณาพร้อมกัน (วรเจตต์ จันทร์ตระกูล, [นามสมมุติ]. (2554.)
อย่างไรก็ตามในปั จจุบนั ปั ญหาบ้านนายสอง มือคุณ ที่แตกร้าว ผูป้ ระกอบการที่ทาํ เกลือ
อยู่ในโซนบ้านโนนดอกไม้แดงได้ลงขันกันซื้ อที่ดินส่ วนที่มีแนวโน้มว่าจะยุบ (ซึ่ งซื้ อที่ดินต่อเป็ น
แปลงที่ 2) และจัดการซ่อมแซมบ้านของนายสอง โดยให้ช่างมาตีราคาและซ่อมแซมจนแล้วเสร็ จ ซึ่ ง
เป็ นที่ยอมรับทั้งสองฝ่ ายแล้ว โดยที่ผ่านมาเมื่อเกิดปั ญหาผลกระทบจากนาเกลือ เช่ น ดินทรุ ด ดิน
เค็ม ผูป้ ระกอบการจะช่ วยกันรับผิดชอบตามความหนักเบาของปั ญหาตามโซนโดยในพื้นที่ตาํ บล
หนองกวัง่ แบ่งเป็ น 2 โซน คือ โซนบ้านหนองนํ้าใส และโซนบ้านโนนดอกไม้แดง
บริ เวณโซนบ้านโนนดอกไม้แดง มีผปู้ ระกอบการที่ทาํ นาเกลือในพื้นที่ท้ งั หมด 15 ราย มี
พื้นที่ผลิตเกลือที่ดาํ เนิ นการอยูป่ ระมาณ 500 ไร่ และหากเกิดดินทรุ ดจะรวบรวมเงินเพื่อใช้ในการ
ถมกลบหลุ มยุบ ในกรณี ปัญหาบ้านแตกร้าวพังในเขตโซนบ้านโนนดอกไม้แดง ผูป้ ระกอบการทั้ง
15 ราย เป็ นผูร้ ับผิดชอบซ่ อมแซมตามแต่จะตกลงกับผูเ้ สี ยหายเป็ นกรณี ๆ ไป อย่างไรก็ตามความ
รับผิดชอบของผูป้ ระกอบการยังน้อยเมื่อเทียบกับความเสี ยหาย และไม่มีการพูดถึงปั ญหาระยะยาว
ทั้งนี้ ได้มีขอ้ เสนอจากผูป้ ระกอบการที่เป็ นชาวบ้านโนนดอกไม้แดงว่าให้มีการจัดตั้งกองทุนเพื่อ
เยียวยาความเสี ยหายในหมู่บา้ นไม่วา่ จะเกิดปัญหาหรื อไม่ก็ตามเพื่อให้มนั่ ใจว่าหากมีปัญหาแล้วจะมี
งบประมาณในการแก้ปัญหาช่ วยเหลือผูเ้ ดือดร้อน แต่เนื่องเพราะกลุ่มผูป้ ระกอบการมาจากต่างถิ่ น
จึงไม่เห็นความสําคัญเรื่ องนี้ แต่มกั จะเก็บรวบรวมเงินแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า บางครั้งรวมถึงเงินใน
การเลี้ ย งรั บ รองเจ้า หน้า ที่ ที่ ม าตรวจพื้น ที่ เท่ า นั้น ไม่ มี ก ารวางแผนในอนาคต และที่ สํา คัญไม่ มี
ผูป้ ระกอบการรายใดดําเนิ นการตามมาตรการที่อุตสาหกรรมกําหนด (นายปรัชญา คิดควร,[นาม
สมมุติ]. (2554.)
ในพื้ น ที่ ต ํา บลดงเหนื อ ได้มี ร าษฎรชุ ม นุ ม ประท้ว งไม่ ใ ห้ อุ ต สาหกรรมจัง หวัด ต่ อ
ใบอนุ ญาตนาเกลือที่หมดอายุลงเมื่อ 7 ปี ที่แล้ว และไม่สามารถต่อใบอนุญาตได้เพราะชาวบ้านใน
เขตตําบลดงเหนือ โดยเฉพาะในหมู่บา้ นดอนแดง บ้านคําอ้อ บ้านคํายาง และบ้านนํ้าจั้น คัดค้านการ
ทํา นาเกลื อ ในเขตตํา บลดงเหนื อ อุ ต สาหกรรมจัง หวัด สกลนครจึ ง ได้ต้ ัง กรรมการตรวจสอบ
180

ข้อเท็จจริ งและได้เดินทางลงมาที่ตาํ บลดงเหนือ ในวันที่ 14 ธันวาคม 2553 เพื่อพิจารณาปั ญหาเรื่ อง


การต่อใบอนุ ญาต วันดังกล่าวมีราษฎรในพื้นที่มาชุ มนุ มกันที่หน้าสํานักงานองค์การบริ หารส่ วน
ตําบลประมาณ 200 คน เรี ยกร้องให้ยกเลิกการประกอบการเกลือในเขตตําบลดงเหนือโดยเด็ดขาด
และต่อมาในวันที่ 16 ธันวาคม 2553 ราษฎรจากตําบลดงเหนือกว่า 200 คน ได้เดินทางไปชุมนุ ม
ประท้วงการพิจารณาของกรรมการชุ ดดังกล่าวที่ประชุ มกันที่ศาลากลางจังหวัดโดยมีผวู้ ่าราชการ
จังหวัดในฐานะเจ้าพนักงานอุตสาหกรรมท้องที่ เป็ นประธาน โดยที่กลุ่มผูช้ ุ มนุมยืนยันข้อเรี ยกร้อง
เดิมคือไม่ให้ต่อใบอนุญาตและให้ยกเลิกการประกอบการทํานาเกลือในเขตตําบลดงเหนือ ที่สุดผูว้ า่
ราชการจังหวัดสกลนคร มีคาํ สั่งไม่ให้ต่อใบอนุญาตผูป้ ระกอบการในเขตตําบลดงเหนือ เป็ นผลทํา
ให้ฝ่ายผูป้ ระกอบการทําเรื่ องอุทธรณ์คาํ สั่งดังกล่าว ปั จจุบนั อยู่ระหว่างการพิจารณาเรื่ องอุทธรณ์
ของกระทรวงอุตสาหกรรม
กลุ่มชาวบ้านที่เจอปั ญหาวิกฤตดินยุบที่บา้ นโนนดอกไม้แดง และปั ญหาดินเค็มนํ้าเค็มที่
ตําบลดงเหนื อ จึ งได้รวมตัวกันร้ องเรี ยนปั ญหาที่เกิ ดขึ้นไปยังกรรมาธิ การการมีส่วนร่ วมรัฐสภา
กรรมาธิ ก ารฯ จึ ง ได้เ ชิ ญ ตัว แทนราษฎรที่ เดื อ ดร้ อน กํา นัน ผูใ้ หญ่ บ ้า นในพื้ นที่ ที่ เ ดื อดร้ อ นเข้า
นําเสนอข้อมู ลต่อคณะกรรมาธิ ก ารฯ เมื่อวันที่ 21 มกราคม2554 และเป็ นผลให้มีการแต่งตั้ง
คณะกรรมการตรวจสอบอัน ประกอบด้ว ย กรรมาธิ ก ารสิ่ ง แวดล้อ มรั ฐ สภา กรรมาธิ ก ารสิ ท ธิ
มนุษยชนรัฐสภา และส่ วนราชการที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ลงพื้นที่ตรวจสอบข้อเท็จจริ งเพื่อหาแนวทางใน
การแก้ไขปั ญหาต่อไป (นายโชคปัญญา ธงอาษา, 2554)
พื้นที่ตาํ บลดงเหนื อ อําเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร ประกอบด้วยบ้านคําอ้อ บ้านคํายาง
บ้านดอนแดง บ้านดงเหนือ และบ้านนํ้าจั้น นั้นเป็ นพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการทํานาเกลือโดยมี
ผูป้ ระกอบการได้แก่ หจก.จ.จรัส ซีซอร์ล หจก.สุ รกิจ และ หจก. ชัฎพัฒนาอุตสาหกรรม โดยมีพ้ืนที่
การทํานาเกลื ออยู่ในเขตของพื้นที่บา้ นคํายาง ซึ่ งเป็ นพื้นที่เนินสู งล้อมรอบด้วยป่ าทาม ลําห้วยและ
แหล่ งนํ้า โดยช่ วงแรกผูป้ ระกอบจะสู บนํ้าเค็มขึ้นมาตากบนลานตากนาเกลื อ และมีปัญหานํ้าเค็ม
ปนเปื้ อนสู่ ลาํ นํ้า ห้วย หนองนํ้าธรรมชาติ และไหลลงสู่ แม่น้ าํ สงคราม ได้แก่ หนองแพงพวย หนอง
ฮี หนองขี้ควาย และเมื่ อถึ งฤดู ฝนนํ้าหลากท่วมชะล้างเอาคราบเกลื อลงสู่ แหล่ งนํ้าธรรมชาติด้วย
พื้นที่ราบลุ่ม และลําห้วย หนองนํ้าต่างๆ รวมแล้วมีพ้ืนที่ประมาณ 5,200 ไร่ โดยปกติชาวบ้านจะใช้
หาปลาซึ่ งมีอยูช่ ุ กชุ ม และใช้น้ าํ เพื่อการเกษตรทํานาแซง หรื อนาข้าวในฤดูแล้ง นาเกลือเริ่ มเข้ามา
บุกเบิ กแปลงขยายพื้นที่ นาเกลื อมากขึ้นตั้งแต่ราวปี พ.ศ. 2542 แต่ก่อนหน้านี้ มีการทํานาเกลื อ
เล็กน้อย แต่มีการตั้งหม้อต้มเกลือเพื่อใช้ในการบริ โภคภายในครัวเรื อนเท่านั้น จึงไม่เกิดปั ญหาใน
181

เรื่ องของมลพิษจากควันต้มเกลื อเท่าใดนัก แต่เมื่อมีนาเกลือก็ปรากฏมีคราบเกลื อขึ้นขาวในพื้นที่


กว้างขวางขึ้นโดยเฉพาะบริ เวณพื้นที่สาธารณะหนองแพงพวย 962 ไร่ , หนองโค 500 ไร่ , หนองไว
1,900 ไร่ ที่ชาวบ้านใช้ประโยชน์จากแหล่งนํ้านี้ ในการทํานาปรัง, ปลูกแตงโม, ปลูกถัว่ แต่นาเกลือ
ทําให้น้ าํ เริ่ มเค็มไม่เหมาะที่จะนํามาใช้เพราะนํามาใช้ในการเกษตรได้ไม่ดี ผลผลิตลดลงมาก สัตว์น้ าํ
ก็ตาย ที่นาใดที่อยูใ่ กล้กบั นาเกลือมากก็จะไม่สามารถใช้ประโยชน์อะไรได้เลย โดยสรุ ปแล้วก็คือนํ้า
ที่ แหล่ งนํ้า บริ เวณดังกล่ า วไม่ ส ามารถนํามาใช้ประโยชน์ไ ด้ ซึ่ ง แต่ก่ อนนั้นชาวบ้า นจะสามารถ
ประมูลจับปลาปี ละ 120,000 บาท นําเงินมาพัฒนาวัด, ศาลากลางบ้าน, ถนน ตามแต่จะตกลงกัน แต่
เมื่ อเกิ ดปั ญหาดิ นเค็ม รายได้ของหมู่บา้ นลดลง แม้ผูป้ ระกอบการทํานาเกลือ จะยอมจ่ายชดใช้ให้
ชาวบ้านปี ละ 15,000 บาท ทั้งนี้ บา้ นดอนแดงเป็ นหมู่บา้ นที่ได้รับผลกระทบจากการทํานาเกลือมาก
ที่สุด บ้านคํายางเป็ นเพียงรอยต่อจึงไม่ได้รับผลกระทบมากนัก ปั ญหาความเค็มดังกล่าวทําให้เกิ ด
ความไม่พอใจของชาวบ้านในพื้นที่ นอกเหนื อจากที่ผปู้ ระกอบการได้จ่ายค่าชดเชยค่าเสี ยหายให้
แล้ว ได้มี ก ารเจรจากับผูป้ ระกอบการให้จดั ระบบจัดการนํ้า เสี ย ให้ถู กต้อง ไม่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ
สิ่ งแวดล้อม เช่น ลานนาเกลือต้องมีการฉาบปูนซีเมนต์ก้ นั ปูดว้ ยพลาสติก มีบ่อนํ้าเสี ยที่มีขนาดใหญ่
เพื่อให้น้ าํ ไหลลงได้สะดวก แต่ผปู ้ ระกอบการเองก็ไม่ได้ทาํ มีแค่การขุดคูก้ นั แต่ก็ไม่สามารถกัน
นํ้าเกลือได้เพราะนํ้าเกลือก็ซึมลงดิน ฝนตกมานํ้าระบายไม่ทนั ก็ท่วมไหลลงแม่น้ าํ เหมือนเดิม และยัง
ส่ งผลต่อเรื่ องดิ นด้วย ซึ่ งดิ นบริ เวณที่ใกล้กบั นาเกลือจะเสี ยไม่สามารถที่จะทําการเกษตรได้ ทําให้
ชาวบ้านรวมตัวกันประท้วงให้หยุดเพื่อแก้ไขปัญหา แต่ผปู้ ระกอบการก็ยงั นิ่ งเฉย จนเกิดการรวมตัว
ของชาวบ้านอย่างต่อเนื่ องมาเรื่ อยๆ จนปั จจุบนั ข้อเสนอของชาวบ้านคือให้ยุติการทํานาเกลื อ ใน
พื้นที่โดยเด็ดขาด (เทพนม จันทร์ แก้ว, 2554)
ปั ญหาการทานาเกลื อในตาบลดงเหนื อ เริ่ มต้นที่บา้ นดอนแดง ซึ่ งเริ่ มตั้งแต่ประมาณปี
พ.ศ. 2527 โดยมีผปู ้ ระกอบการมาซื้ อที่ดินของชาวบ้านบ้านดอนแดงและบ้านดงเหนือ โดยตอน
เริ่ มแรกคนที่เข้ามาซื้อที่ดินบอกว่าจะมาขอซื้อที่เพื่อปลูกหอมหัวใหญ่ แต่พอได้รับเอกสารสิ ทธิ์ แล้ว
เถ้าแก่ก็มาทานาเกลือ ชาวบ้านร้องเรี ยนถึงความเดือดร้อนจากนาเกลือมาตลอดจนถึงปี พ.ศ.2535 ที่
เกิดปั ญหาวิกฤตน้ าเค็ม ดินเค็มมาก ปลาตาย ชาวบ้านรวมตัวกันประท้วงให้เลิกทานาเกลือ แต่ในปี
พ.ศ.2542 นายทุนอีกกลุ่มหนึ่ งมาจากจังหวัดเพชรบุรีเพื่อใช้ที่ดินพื้นที่ประมาณ 200 ไร่ ทานาเกลือ
อีก พอชาวบ้านรู ้ก็เดินประท้วงและเรี ยกร้องให้นายอาเภอมาแก้ไขปั ญหา จนนายอาเภอมายึดเครื่ อง
สู บน้ าเกลื อ แต่ฝ่ายนายทุ นจึ งฟ้ องนายอาเภอและเรี ยกร้องค่าเสี ยหายเป็ นเงิน 30 ล้านบาท และ
ฟ้ องร้องแกนนาชาวบ้านในขณะนั้นว่าเป็ นผูอ้ ยูเ่ บื้องหลังที่ชาวบ้านมาทาการประท้วง ปั ญหาความ
182

ขัดแย้งรุ นแรงขึ้น แต่ก็ยงั มีนายทุนรายใหม่เข้ามาทานาเกลืออีกโดยลักลอบทาและขออนุญาต รวม


ทั้งหมดก็ 2 ราย มีเนื้อที่รวมกันทั้งหมดประมาณ 300 ไร่ ทาให้แหล่งน้ าได้รับผลกระทบจากการทา
นาเกลือ คือ ห้วยบ่อดอนปอ มีความยาวประมาณ 3 กิ โลเมตร กว้าง 4 ไร่ และฝายของสภาตาบล
สระหนองหวาย ใช้งบประมาณในการสร้างประมาณ 180,000 บาท สร้างเพื่อใช้ประโยชน์ให้กบั
ชาวบ้าน สร้างเมื่อปี พ.ศ.2542 แต่ใช้ไม่ได้ ส่ วนที่นานั้นหากพื้นที่บริ เวณไหนที่มีผลกระทบจากการ
ท านาเกลื อ ผู้ป ระกอบการจะเป็ นผู้ซ้ื อ ไว้ ปี พ.ศ.2543 ชาวบ้า นได้ส่ ง หนัง สื อ ร้ อ งเรี ยนกั บ
นายกรัฐมนตรี เกี่ยวกับเรื่ องผลกระทบที่เกิดขึ้น คือ ด้านการประมง ปลาตาย แหล่งน้ าธรรมชาติใช้
ประโยชน์ไม่ได้ โดยในแหล่งน้ า น้ าที่อยูข่ า้ งบนผิวน้ าจะเป็ นน้ าจืดแต่น้ าที่อยูด่ า้ นล่างจะเป็ นน้ าเค็ม
และน้ า เค็ม จะเพิ่ ม ปริ ม าณขึ้ นเรื่ อยๆ จนท าให้ป ลาตาย เวลาที่ สู บ น้ า ขึ้ นมาใช้เพื่อการเกษตรไม่
สามารถนาน้ ามาใช้ใ นการเกษตรได้ ท่ อสู บน้ าก็ ใช้สูบ น้ า ไม่ ได้เพราะถูก เกลื อกัด (มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น, โครงการศึกษาปั จจัยทางธรณี วิทยาที่ทาให้เกิดดินเค็มในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ พ.ศ.
2547, 2547: 39 )
2.3. ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
เกลื อที่ ผ ลิ ตได้จากลุ่ มนํ้า สงครามส่ วนใหญ่ ส่ง สู่ โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ซึ่ ง
ต้องการเกลือชนิ ดที่มีโซเดียมคลอไรด์สูง เพื่อใช้เป็ นวัตถุดิบในการผลิตผงชูรส โซดาไฟ คลอรี น
กรดเกลือ กระดาษ และฟอกหนัง เป็ นต้น ยกเว้นเกลือจากชุมชนแหล่งผลิตเกลือบ่อหัวแฮด บ้านท่า
สะอาด อําเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ ที่เกลือส่ วนใหญ่ส่งขายในตลาดท้องถิ่น ลักษณะของระบบตลาด
เกลือโดยทัว่ ไป คือ จะมีพอ่ ค้าคนกลางเป็ นผูร้ วบรวมมาซื้ อจากชุมชนแหล่งผลิตเพื่อไปขายต่อ ทั้งนี้
กลุ่มพ่อค้าหรื อผูร้ วบรวมเกลือเหล่านี้ จะต้องไปตกลงกับโรงงานอุตสาหกรรมผูใ้ ช้เกลือเพื่อขอรับ
โควต้าส่ งเกลื ออีกทอดหนึ่ ง โดยพ่อค้าผูร้ วบรวมเกลื อในท้องถิ่ นจะจ่ายเงิ นสดให้แก่ชาวนาเกลื อ
ทันที หรื อจ่ายล่วงหน้าไว้ก่อนเพื่อผูกขาดกับผูผ้ ลิตหรื อเรี ยกว่า "ตกเขียวเกลือ" เพื่อป้ องกันไม่ให้
รายอื่นมาแย่งซื้อ โดยผูร้ วบรวมจะเป็ นผูก้ าํ หนดราคาเองเพราะผูผ้ ลิตไม่มีเงินทุนหมุนเวียนต้องกูย้ ืม
มาลุงทุนล่วงหน้า ทําให้ไม่สามารถเก็บเกลือไว้ขายในช่วงขาดแคลนได้ แม้ราคาเกลือจะแตกต่างกัน
ไปตามฤดูกาลคือในช่วงฤดูฝนซึ่ งไม่สามารถทําเกลือตากได้ เกลือจะขาดแคลน จะทําให้เกลือราคา
สู งบางครั้งอาจสู งถึ งเท่าตัวจากราคาปกติ แต่ราคานี้ จะอยู่ในช่ วงสั้นๆ เท่านั้น เมื่อถึงฤดูการผลิ ต
เกลื อบางครั้ งเกลื อล้นตลาดราคาจะตกตํ่ามาก จนทําให้ผผู้ ลิ ตขาดทุนจนเลิ กกิ จการไป โดยที่ใน
ช่วงเวลาปกติราคาเกลือที่แหล่งผลิตจะเป็ น ดังนี้
183

ราคาเกลื อจากแหล่งรับซื้ อ เช่น โรงงานอุตสาหกรรมในภาคกลาง และกรุ งเทพฯ ราคา


เกลือจะสู งขึ้น ขึ้นอยูก่ บั ระยะทางการขนส่ ง แต่โดยประมาณแล้วราคาเกลือจะเพิ่มจากราคาที่แหล่ง
ผลิตอีกประมาณ 1 บาท/ ตัน/ ระยะทาง 1 กิโลเมตร ตัวอย่างเช่น ราคาเกลือลานดินที่แหล่งผลิตที่
จังหวัดอุดรธานี ราคา 350 บาท/ ตัน หากขายในกรุ งเทพฯ ซึ่ งห่ างจากแหล่งผลิตประมาณ 500
กิโลเมตร ราคาเกลือที่โรงงานรับซื้ อเท่ากับ 850 บาท/ ตัน เป็ นต้น และเมื่อพิจารณาที่รายได้ของการ
ผลิตเกลือสิ นเธาว์ (ปี พ.ศ. 2539-2540) ด้วยวิธีการทํานาเกลือแบบลานดิน คิดจากการผลิตเกลือวิธีน้ ี
ในรอบ 1 ปี จะมีระยะเวลาผลิตประมาณ 5-6 เดือนได้ผลผลิ ตเกลือประมาณ 100-170 ตัน/ไร่ ราคา
โดยปกติอยูใ่ นช่วง 300-350 บาท ดังนั้นในหนึ่ งฤดูการผลิตจะมีรายได้จากการทํานาเกลือแบบลาน
ดินประมาณ 30,000 – 59,500 บาท/ไร่ ซึ่ งในจํานวนนี้ เป็ นต้นทุนการผลิตประมาณ 13,000 – 27,200
บาท/ไร่ ผูผ้ ลิตจะมีรายได้สุทธิ ประมาณ 17,000 – 32,300 บาท/ไร่ (กลุ่มสามประสาน กองประสาน
การจัดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม, 2548)
ส่ วนการผลิตโดยวิธีลานคอนกรีต ระยะเวลาในการผลิตใน 1 รอบปี ประมาณ 5 - 6
เดือนเช่นเดียวกันกับวิธีลานดิน แต่จะได้ผลผลิตสู งกว่ามากคือประมาณ 300-600 ตัน/ไร่ ราคาขายที่
แหล่งผลิตตกตันละ 400-500 บาท ทําให้ผผู้ ลิตมีรายได้ประมาณ 120,000-300,000 บาท/ไร่ ซึ่ งใน
จํานวนนี้เป็ นต้นทุนการผลิต 36,000 - 90,000 บาท/ไร่ ทําให้มีรายได้สุทธิ ประมาณ 84,000-210,000
บาท/ไร่ และการผลิตโดยวิธีต้มด้ วยแกลบ ปกติการผลิตโดยวิธีน้ ี สามารถผลิตได้ตลอดปี เพราะไม่
ต้องอาศัย แสงอาทิ ตย์และไม่ เสี ย หายจากฝนตก แต่ โดยข้อเท็จจริ ง แล้วผูผ้ ลิ ตที่เป็ นชาวบ้า นไม่
สามารถผลิตได้อย่างสมํ่าเสมอ ในช่วงฤดูการเกษตร แรงงานจะหยุดผลิตชัว่ คราวเพื่อกลับไปทําไร่
ทํานา ซึ่ งจากการสอบถามพบว่า ระยะเวลาการผลิตประมาณ 300 วัน/ปี โดยผลิตเกลือได้ประมาณ
150-250 ตัน/เตา/ปี ราคาขายที่แหล่งผลิตตันละ 1,000-1,200 บาท ทําให้ผผู้ ลิตมีรายได้ประมาณ
150,000-300,000 บาท/เตา ซึ่ งเป็ นต้นทุน 94,500-205,000 บาท/เตา/ปี ดังนั้นจึ งมี รายได้สุ ท ธิ
ประมาณ 55,500 – 95,000 บาท/เตา/ปี (กลุ่ มสามประสาน กองประสานการจัดการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม, 2548)
การผลิ ตเกลื อสิ นเธาว์ท้ งั วิธี ล านตากและต้ม ใช้เทคนิ ค การผลิ ตอย่า งง่ า ยไม่ มี ค วาม
จาเป็ นต้องจ้างแรงงานที่มีฝีมือแรงงานที่ใช้เป็ นแรงงานในกิ จการผลิตเกลือ เช่ น คนเก็บเกลือ คน
เข็นเกลือจึงเป็ นคนท้องถิ่นเกือบทั้งหมด(ยกเว้นระดับเจ้าของกิจการ) ทาให้เกิดการหมุนเวียนของ
เงิ นในท้องถิ่ น โดยราษฎรมี รายได้มากขึ้นและเป็ นผลให้เศรษฐกิ จดี ข้ ึ น นอกนากนี้ ยงั มีกิจกรรม
ต่ อเนื่ องอื่ นๆ จากการท าเกลื อสิ นเธาว์ที่ เป็ นประโยชน์ต่ อ เศรษฐกิ จในท้องที่ เช่ น การเจาะบ่ อ
184

น้ าเกลื อ, แรงงานในการสร้างอุปกรณ์ต่างๆ เช่น สร้างฉาง โรงเรื อน และเตาต้ม ฯลฯ, การค้าขาย


เช่น เครื่ องสู บน้ า เครื่ องอัดลม ท่อ PVC เป็ นต้น
ตารางที่ 11 ตารางแสดงราคาเกลือ ณ แหล่งผลิต

แหล่งผลิตเกลือ ราคาขาย ณ แหล่งผลิต


ราคาเกลือต้มด้วยฟื นบ่อหัวแฮด บ้านท่าสะอาด ประมาณ 1,500 – 2,500 บาท/ตัน
ราคาเกลือต้มด้วยแกลบบ้านกุดเรื อคํา ประมาณ 1,000 - 1,200 บาท/ ตัน
ราคาเกลือตากลานดินบ้านโนนดอกไม้แดง ประมาณ 300-350 บาท/ ตัน
ราคาเกลือตากลานคอนกรี ต ประมาณ 400-500 บาท/ ตัน

ที่มา: สัมภาษณ์กลุ่มผูป้ ระกอบการเกลือในชุมชนแหล่งผลิตเกลือ


ในทางกลับกันแม้จะมีตวั เลขรายได้ของผูป้ ระกอบการจากการขายเกลือแต่กลับพบว่า
ชาวนาเกลื ออยู่ในภาวะมีหนี้ สินจากการเป็ นชาวนาเกลือที่อยู่ภายใต้การควบคุมราคาของพ่อค้าผู้
รวบรวมเกลือและส่ งให้กบั โรงงานอุตสาหกรรม โดยไม่มีสิทธิต่อรองราคาโดยเฉพาะชาวนาเกลือที่
เช่าที่นา หรื อรับเงิน "ตกเขียวเกลือ" จากพ่อค้าคนกลางก็จะยิ่งไม่มีอาํ นาจต่อรองราคา ส่ วนชาวนาที่
มีที่นาของตัวเองเมื่อเป็ นหนี้ สินมากต้องจํานองที่นาเพื่อลงทุนทําเกลือเพราะนาเสี ยทํานาข้าวไม่ได้
เนื่องจากมีนาเกลือล้อมรอบ ทําให้ตอ้ งผันตัวมาเป็ นผูป้ ระกอบการเกลือโดยขายฝากที่นาโดยทํางาน
ส่ งเงินให้นายทุนเกลือทุกเดือนต่อเนื่อง 15 ปี แต่ไม่สามารถชําระได้หมด จึงต้องไปกูเ้ งินธนาคาร
เพื่อการเกษตรมาไถ่ถอนที่นามาทํานาเกลือต่อไป โดยไปกูเ้ งินจากนายทุนโดยการ ‚ตกเขียวเกลือ‛
และเป็ น ‚ลูกนา‛ ยืมเงินมาลงทุนทํานาเกลืออีกและทําอยูเ่ ช่นนี้ มาเรื่ อยๆ แต่ยงั เป็ นหนี้ นายทุนจาก
การตกเขียวเกลือเป็ นตัวเลขเพิ่มขึ้นทุกปี (นายเรี ยน ลอยเรื อ, [นามสมมุติ].(2554.)
ขณะที่ผปู ้ ระกอบการเกลือต้มด้วยแกลบ พบว่าค่าเชื้ อเพลิงแพงขึ้นทุกปี อีกทั้งค่าขนส่ ง
และค่าแรงงาน แต่ราคาเกลื อไม่เคยเปลี่ยนแปลงมาเป็ นเวลานานเพราะผูป้ ระกอบการส่ งขายให้
พ่อค้าคนกลาง และทํานองเดียวกันกับการทํานาเกลือมีการไปกูย้ ืมเงินทุนจากพ่อค้าคนกลางทําให้มี
หนี้สิน อย่างไรก็ตามเกลือที่ผลิตที่บา้ นกุดเรื อคําเป็ นเกลือต้มที่สามารถขายได้ราคาสู งกว่าเกลือตาก
185

และสามารถขายในตลาดท้องถิ่ นสําหรับบริ โภคได้ดว้ ย ทําให้จาํ นวนผูป้ ระกอบการรายย่อยลดลง


ในปัจจุบนั
ผูป้ ระกอบการต้มเกลือด้วยฟื นบ่อหัวแฮด พบว่าแม้วา่ จะต้องลงทุนสู งด้วยการซื้ อฟื นมา
ต้มเกลื อ อี กทั้งค่านํ้ามันเครื่ องสู บนํ้าเกลื อ และกรณี บ่อหัวแฮดจะนิ ยมใช้แรงงานในครัวเรื อนต้ม
เกลือ และเกลือมีราคาสู งที่สุดและเป็ นที่นิยมเป็ นเกลือบริ โภคที่สามารถขายได้ภายในท้องถิ่นทั้งขาย
ปลีกและขายส่ ง สําหรับรถเร่ ที่นาํ เกลือไปขายตามหมู่บา้ นต่างๆ ทัว่ แถบอีสานตอนบน บางรายเก็บ
เกลือไว้ในฤดูฝนและนําเกลือออกเร่ ขายเองในช่วงฤดูฝนที่ไม่สามารถผลิตเกลือได้ ผูป้ ระกอบการ
เกลือบ่อหัวแฮดจึงมีทางเลือกและสามารถกําหนดราคาเกลือได้มากกว่าผูผ้ ลิตเกลือจากชุมชนแหล่ง
ผลิตเกลืออื่น ๆ
2.4. ผลกระทบด้ านสุ ขภาวะ
นอกจากปั ญหาสิ่ งแวดล้อม เช่ น หลุมยุบ การแพร่ กระจายของดิ นเค็มและน้ าเค็ม เป็ น
ปั ญหาที่น่าวิตกและชี้ ให้เห็ นว่าชุ มชนในแหล่งผลิตเกลือเพื่ออุตสาหกรรมในพื้นที่ขนาดใหญ่เช่ น
ชุ มชนบ้านโนนดอกไม้แดง หรื อชุ มชนแหล่งผลิตเกลือที่มีกาลังการผลิตเกลือจากการสู บน้ าใต้ดิน
ปริ มาณมากเช่น บ้านกุดเรื อคา ตกอยูใ่ นวงล้อมของวิกฤตสิ่ งแวดล้อมจากดินทรุ ด ความเค็มที่ลุกลาม
พื้นที่เพาะปลูกออกไปเรื่ อยๆ อย่างไม่สามารถจะจัดการควบคุม หรื อแก้ไขได้
เกลื อจะสะสมอยู่ในชั้นดินเนื่ องจากนํ้าเกลือซึ มลงใต้ดินและยังรวมกับนํ้าใต้ดินทําให้
เกิดการปนเปื้ อน ปั ญหาการตากเกลือ ไอเกลือที่ระเหยขึ้นไปในบรรยากาศพร้อมๆ กับไอนํ้า ทําให้มี
ผลึกเกลือ หรื อฝุ่ นเกลือลอยอยูใ่ นอากาศ เมื่อฝนตกลงมาก็จะชะเอาเกลือลงมาด้วย เกิดเป็ นฝนเค็ม
นํ้าฝนนี้ ไหลลงแหล่งนํ้าผิวดิ น บางส่ วนไหลซึ มลงใต้ดิน เกลือจะถูกกักเก็บในชั้นดินด้วย (รุ่ งเรื อง
เลิศศิริวรกุล, 2548: 20) นอกจากนี้ ในบริ เวณโรงต้มเกลือยังพบปั ญหาจากควันไฟและเถ้าถ่านจาก
การต้มเกลือ มักถูกลมพัดฟุ้ งกระจาย สร้างความรําคาญแก่ราษฎร อีกทั้งสําหรับคนงานที่ทาํ งานเป็ น
คนงานต้มเกลื ออยูใ่ นโรงต้มเกลือที่ใช้เชื้ อเพลิงแกลบนั้นพบว่าการทํางานอยูใ่ นสิ่ งแวดล้อมที่ร้อน
จัดเพราะการต้มเกลือทําในฤดูที่ไม่มีฝน และยังอยูใ่ นโรงต้มเกลือที่อุณหภูมิสูงและมีไอเกลือ มีฝุ่น
ขี้ เ ถ้า แกลบฟุ้ งกระจายอยู่ท ่วั บริ เ วณ อี ก ทั้ง สภาพโรงต้ม เกลื อ ที่ ไ ม่ ไ ด้จดั การความสะอาดหรื อ
สุ ขอนามัยแต่อย่างใด และคนงานเหล่านี้ลว้ นเป็ นลูกจ้างรายวันที่เร่ งทํางานอย่างหนักเพื่อให้ได้เกลือ
มากที่สุด เช่น คนงานต้มเกลือจะรับจ้างต้มเกลือตันละ 250 บาท ดังนั้นในการต้มเกลือหนึ่ งวันต้อง
เริ่ มต้นทํางานตั้งแต่ 02.00 น. - 15.00 น. ซึ่ งจะได้เกลือประมาณ 2 ตัน กระทะหนึ่งต้องมีคนงานต้ม
เกลื ออย่างน้อย 2 คน โดยต้มได้อย่างน้อย 1 กระทะ จะได้ค่าแรงคนละ 250 บาทต่อวัน โดยต้อง
186

ทํางานเติ มเชื้ อเพลิ งตลอดวันและตักเกลื อจากกระทะ 3 ครั้ง(เกลือที่ได้จะมีคนงานมาตักโกยใส่


กระสอบจะตกลงค่าจ้างต่างหาก) โดยผูร้ ับจ้างต้มเกลือจะได้ค่าแรงตันละ 250 บาทต่อการทํางาน
14 ชัว่ โมง และเพื่อให้ได้ค่าแรงมากขึ้นก็ตอ้ งต้มเกลือตลอดวันตลอดคืนเพื่อให้ได้เกลือ 4 ตัน เพื่อจะ
มีรายได้ 1,000 บาทต่อการทํางาน 24 ชัว่ โมงสําหรับแรงงาน 2 คน เป็ นต้น
ด้านคนงานที่ทาํ งานรับจ้างใช้แรงงานอยู่ในนาเกลือที่มีอากาศร้อนจัดและยืนแช่น้ าํ เค็ม
ตลอดทั้งวันสําหรับผูท้ ี่รับจ้างเก็บเกลือที่เริ่ มงานตั้งแต่เช้าประมาณ 05.00 น.หรื อเร็ วกว่านั้น ทํางาน
จนเย็นประมาณ 16.00 – 17.00 น. โดยที่วนั หนึ่งจะสามารถตักเกลือได้ประมาณ 100 กระสอบ ได้
ค่าจ้างกระสอบละ 3 บาท ดังนั้นวันหนึ่ งจะได้ค่าแรงประมาณ 300 บาทโดยต่อการทํางานประมาณ
8 – 10 ชัว่ โมง และจะตักเกลือได้มากกว่านั้นถ้าในครอบครัวมีสมาชิกลงไปทํา งานด้วยกันหลายคน
เช่ น ลู กและพ่อไปกวาดเกลื อก่ อนในตอนเช้าตรู่ แล้วแม่ลงไปช่ วยตักเกลื อใส่ กระสอบหลังจาก
เตรี ยมหุ งหาอาหารเสร็ จ ส่ วนคนเข็นเกลือเข้าฉางจะต้องเป็ นผูช้ ายที่แข็งแรงสามารถแบกกระสอบ
เกลือขึ้นรถอีแต๊ก และที่สําคัญหนึ่ งในสองคนที่ทาํ งานคู่กนั จะต้องมีรถอีแต๊กเป็ นของตัวเองโดยจะ
ได้ค่าจ้างขนเกลื อเข้าฉางกระสอบละ 3 บาทเช่ นกัน วันหนึ่ งอาจจะสามารถขนเกลือได้ประมาณ
300 – 500 กระสอบ โดยหักค่านํ้ามันรถอีแต๊กวันละประมาณ 150 – 250 บาท ทั้งคู่จะมีรายได้
ประมาณ 900 – 1,500 บาท แบ่งกันคนละครึ่ งหลังจากหักค่านํ้ามันแล้วโดยเจ้าของรถอาจจะได้ส่วน
แบ่งมากกว่า เป็ นต้น
จะเห็ นว่าการทํางานในนาเกลือเป็ นงานที่หนักและต้องทํางานแข่งกับเวลาที่เร่ งรี บของ
ผูป้ ระกอบการที่ ตอ้ งรี บเก็บเกลื อให้เร็ วที่สุดเพื่อที่จะสามารถตากเกลื อครั้งใหม่ได้ และจากการ
สอบถามพบว่าคนงานที่ทาํ งานในนาเกลือจะมีปัญหาโรคผิวหนังจากการแช่ในนํ้าเค็มเป็ นเวลานาน
ไอเกลื อ ฝุ่ นเกลื อ ยังอาจจะมีผลต่อระบบทางเดินหายใจ ตลอดจนภาวะโภชนาการจากการทํางาน
หนักตลอดทั้งวันในช่วงเวลาทํางานและมักจะซื้ อหาอาหารตามรถค้าเร่ อาหารถุงต่างๆ อีกทั้งปั ญหา
ความเครี ยดจากการทํางานหนักท่ามกลางสิ่ งแวดล้อมที่ร้อนจัดและฝุ่ นละออง ไอเกลือ เป็ นต้น
สุ ขภาพจิ ตของคนงานในนาเกลื อพบว่ามี ภาวะความเครี ยดจากการทํางานใช้แรงงาน
หนักในนาเกลื อตลอดวัน นอกจากนี้ ยงั พบพฤติกรรมการดื่มเหล้าของคนงานที่ทาํ งานในนาเกลือ
เห็ นได้จากในฤดู กาลผลิ ตเกลื อร้ านค้าในหมู่บา้ นมีรายได้จากการขายเหล้าและบุ หรี่ เพิ่มขึ้นจาก
ฤดูกาลปกติ 2 – 4 เท่า ทั้งนี้ ลูกค้ามีท้ งั คนในหมู่บา้ นเองและคนงานที่มาจากหมู่บา้ นอื่นซึ่ งมีท้ งั มา
ตอนเช้าและกลับตอนเย็นและมาสร้ างเพิงพักชั่วคราวอยู่ในนาเกลื อเพื่อรับจ้างตลอดฤดูกาลและ
187

กลับบ้านเมื่อสิ้ นสุ ดฤดูกาลผลิ ต นอกจากนี้ พบภาวะความตึงเครี ยดภายในใจของชาวบ้านต่อภาวะ


ความเสี่ ยงจากดินทรุ ด ดินเค็ม หรื อบ้านเรื อนแตกร้าว เป็ นต้น
ความสั มพันธ์ ในสัง คมก็อยู่ใ นภาวะกดดัน เห็ นได้จาก ความร่ วมมือในกิ จกรรมทาง
สั ง คมวัฒ นธรรม ประเพณี ต่ า งๆ ตลอดจนการรวมกลุ่ ม ทางสั ง คมลดลง เช่ น ไม่ ส ามารถจะมี
กิ จกรรมการประชุ มหมู่บา้ น หรื อการทําบุญในช่ วงฤดูกาลผลิตเกลื อ หมู่บา้ นจะเงี ยบเหงาเพราะ
ชาวบ้านจํานวนมากเห็นว่าเสี ยเวลาการทํางานรับจ้างนาเกลือ ดังนั้นประเพณี วฒั นธรรมต่างๆ แม้จะ
ยังดํารงอยู่แต่ระยะเวลาในการทํากิ จกรรมสั้นรวบรัดจํากัดมากขึ้น อีกทั้งปั ญหาความขัดแย้งและ
ชาวบ้า นถู ก แบ่ ง แยกออกเป็ นฝ่ ายสนับ สนุ นนาเกลื อเพราะเป็ นแหล่ ง รั บ จ้า ง และกลุ่ ม ที่ ไ ด้รั บ
ผลกระทบและชาวบ้า นท้องถิ่ นดั้ง เดิ ม ที่ ไ ม่ เห็ นด้วยกับ การทํา นาเกลื อที่ ส่ ง ผลกระทบรุ นแรงมี
ความเห็นอยากให้ยตุ ิการทํานาเกลือโดยเด็ดขาด เป็ นอีกสาเหตุหนึ่งของภาวะความสัมพันธ์ในสังคม
ที่ตกอยูใ่ นภาวะตึงเครี ยดมากขึ้น
ส่ วนผูป้ ระกอบการเกลื อหรื อผูผ้ ลิตเกลือที่เป็ น ‚ลูกนา‛ นั้นมีปัญหาความเครี ยดเพราะ
ตกอยูใ่ นภาวะมีภาระหนี้สินที่จะต้องชดใช้ให้กบั นายทุน เช่น กรณี นายเลียน ลอยเรื อ (นามสมมุติ)
ลูกนาที่เคยเป็ นชาวนาที่มีนาข้าวแปลงใหญ่แต่เมื่อนาเกลือมาทําล้อมรอบไม่สามารถทํานาข้าวได้
และขายที่ ดินก็ไม่คุม้ เพราะถู กกดราคาที่ดินจนต้องกลายมาเป็ นนาเกลื อ โดยขายฝากที่ดินไว้ก บั
นายทุนนาเกลือเพื่อจะได้เงินมาลงทุน ที่สุดจ่ายดอกเบี้ยไม่ทนั ต้องไปกูย้ ืมเงินมาไถ่ที่ดิน และยัง
ต้องกูเ้ งิน ‚ตกเขียวเกลือ‛ มาลงทุนทํานาเกลือเหมือนเดิม เป็ นต้น
สภาวะแวดล้อมที่เสื่ อมโทรมลง ลําห้วยที่เค็มจัด การรุ กคืบของสภาวะดินเค็ม ดินทรุ ด
การปล่อยนํ้าเสี ยลงลําห้วยหรื อคลองธรรมชาติทาํ ให้ความเค็มในแหล่งนํ้านั้นเพิ่มขึ้น หากเพิ่มขึ้น
มากเกินไปเกษตรกรไม่สามารถใช้น้ าํ นั้นในการทําการเกษตรได้ เพราะจะทําให้พืชตายหรื อผลผลิต
ลดลง นอกจากนี้หากมีการใช้น้ าํ ที่มีความเค็มสู งติดต่อกันเป็ นเวลานาน ทําให้เกิดการสะสมความ
เค็มของพื้นที่เกษตรกรรมได้ ซึ่ งจะทําให้พ้ืนที่น้ นั ไม่สามารถทําเกษตรกรรมได้ในที่สุด ตลอดจน
แหล่งนํ้าธรรมชาติ ห้วยหนอง ไม่สามารถเป็ นแหล่งหาปลา หน่อไม้ หรื อผักต่างๆ ได้ หรื อที่ยงั เก็บ
หาอาหารตามธรรมชาติได้ก็นอ้ ยลง เพราะแหล่งอาหารตามธรรมชาติถูกทําลาย ทําให้ความมัน่ คง
ทางอาหารและวัฒนธรรมการผลิตอาหารเปลี่ยนไปเป็ นการพึ่งพาอาหารจากตลาด อาหารถุง หรื อรถ
พุ่มพวง เห็ นได้จากเมื่อไปวัดตอนเช้า อาหารส่ วนใหญ่ที่นาํ มาทําบุญนั้นเป็ นอาหารสําเร็ จรู ปบรรจุ
ถุงขายในร้ านค้า หรื อวัตถุ ดิบที่นาํ มาทําอาหารเป็ นวัตถุดิบที่ซ้ื อมาจากตลาดสด ไม่ใช่ ที่เก็บหาได้
จากธรรมชาติ ยกเว้นบางฤดูกาลที่สามารถหาอาหารได้จากพื้นที่นิเวศส่ วนหนึ่งที่ยงั ไม่ถูกทําลาย
188

ภาวะการผลิ ตและใช้เกลือในสังคมไทยมีแนวโน้มสู งขึ้นทําให้มีแรงกดดันให้การผลิต


เกลื อบริ เวณลุ่ มนํ้าสงครามมี แนวโน้มสู งขึ้ นเช่ นกัน เช่ น ที่แหล่ งผลิ ตเกลื อบ้านโนนดอกไม้แดง
ปั จจุบนั ดําเนิ น กิ จการนาเกลื ออย่างผิดกฎหมายเป็ นส่ วนใหญ่ และแม้ว่าราษฎรในชุ มชนจะเริ่ มมี
ปฏิกิริยาต่อกิ จการการผลิ ตเกลือที่เป็ นต้นเหตุให้เกิดภาวะดินเค็ม และดินทรุ ดซึ่ งเป็ นปั ญหาใหญ่ที่
เห็ นชัดเจนขึ้นเรื่ อย ๆ ทั้งที่ปรากฏแก่สายตาและข้อมูลทางวิชาการที่สนับสนุ นให้เห็นภาวะวิกฤต
ด้านสิ่ งแวดล้อมในชุ มชน นัน่ ชี้ ให้เห็นว่ากลไกการควบคุ มที่รัฐกําหนดไว้ไม่ได้มีประสิ ทธิ ผลใน
ทางแก้ไขปั ญหา หรื อควบคุมผลกระทบแต่อย่างใด ขณะเดียวกันก็มีแนวโน้มที่จะนําเกลือขึ้นมาใช้
มากขึ้น วิกฤติส่ิ งแวดล้อมจากความเค็มจึงสะท้อนให้เห็นวิกฤตความสัมพันธ์ที่ขาดสมดุลระหว่าง
คนกับสิ่ งแวดล้อมในสังคมอุตสาหกรรมอย่างเห็นได้ชดั เจน

3. บทเรียนจากวิกฤตความเค็มจากในลุ่มนา้ เสี ยว
เกลือปัจจัยที่สาํ คัญยิง่ ในอุตสาหกรรมเคมี เพราะเกลือเป็ นที่มาของโซเดียม และคลอรี น
ที่สามารถนํามาใช้ประโยชน์เป็ นผลิตภัณฑ์เคมีจาํ นวนมากกว่า 14,000 ชนิด ปั จจุบนั มนุษย์บริ โภค
เกลือโดยตรงเพียงร้อยละ 3 ของเกลือที่ผลิตได้ท้ งั หมด เกลือส่ วนใหญ่จะใช้ในอุตสาหกรรม เพราะ
ปกติร่างกายคนเราต้องการเกลือ หรื อ โซเดียมคลอไรด์ เพียง 220 มิลลิกรัม หรื อ 1/10 ของ 1 ช้อนชา
(Healthtoday Thailand, 2547) ต่อวันเพื่อส่ งไปยังอวัยวะต่างๆ ให้สามารถทําหน้าที่รักษาความ
สมดุลในร่ างกายให้ปกติ ช่วยในการย่อย ช่วยควบคุมการทํางานของกล้ามเนื้อ แต่ปริ มาณเล็กน้อยนี้
จะขาดไม่ได้เพราะถ้าขาดจะมีอาการอ่อนเพลีย คลื่นเหียน วิงเวียนถึงหมดสติได้
ปัจจุบนั สังคมไทยใช้เกลือ 1.7 – 2 ล้านตันต่อปี ทั้งบริ โภคในครัวเรื อนและอุตสาหกรรม
อาหาร (รวมถึงอาหารสัตว์ดว้ ย) ประมาณร้อยละ 28 ของเกลือที่ใช้ในประเทศที่เหลือประมาณร้อย
ละ 65 นั้นใช้ในอุตสาหกรรม (เลิศศักดิ์ คําคงศักดิ์ และเบญจรัชต์ เมืองไทย, 2549 : 15) คนไทยเวลา
นี้ ใช้เกลือเฉลี่ยต่อคนราว 27 กิโลกรัมต่อปี ถ้าเทียบกับสังคมอุตสาหกรรมอย่างอเมริ กา ที่ใช้เกลือ
สู งถึง 214 กิ โลกรัมต่อคนต่อปี มากกว่าคนไทยประมาณ 7 เท่า ขณะที่ปัจจุบนั ประเทศญี่ปุ่นทั้ง
ประเทศใช้เกลือประมาณ 9 ล้านตันต่อปี ขณะที่มีประชากรทั้งสิ้ นประมาณ 130 ล้านคน และญี่ปุ่น
สามารถผลิ ต เกลื อ ได้เ พี ย ง 15% ของความต้อ งการเท่ า นั้น และเป็ นเกลื อ ที่ ใ ช้บ ริ โ ภคและ
อุตสาหกรรมอาหารในประเทศ แต่อีก 85% เป็ นเกลือที่ใช้ในอุตสาหกรรม ซึ่ งเป็ นเกลือที่นาํ เข้าจาก
เม็กซิ โก และออสเตรเลี ยเป็ นหลัก ในภาคอุตสาหกรรมของญี่ปุ่นนั้นอุ ตสาหกรรมที่ใช้เกลือเป็ น
หลักคื ออุตสาหกรรมโซดาประมาณ 80% ได้แก่ โซดาแอช ซึ่ งใช้ใ นอุตสาหกรรม กระจก
189

โซเดียมไบคาร์ บอเนต เหล็ก เภสัชภัณฑ์ คอสติกโซดา (Caustic Soda) ใช้กบั โรงไฟฟ้ านิ วเคลียร์
เซรามิ ก กระดาษ ใยสั ง เคราะห์ คลอรี น (Chlorine) ใช้ก ับ อุ ต สาหกรรมใยแก้ว ฟอกขาว
อิเล็กทรอนิคส์ อุปกรณ์การแพทย์ พลาสติก อาวุธ ที่เหลืออีก 5% จะใช้สําหรับอุตสาหกรรมทัว่ ไป
ได้แก่ สี สังเคราะห์ กาว ฟอกหนัง เป็ นต้น(Herring Ann. 2010 : 94) คนญี่ปุ่นจึงใช้เกลือเฉลี่ย
ประมาณ 144 กิโลกรัมต่อคนต่อปี ดังนั้นสังคมญี่ปุ่นบริ โภคเกลือมากกว่าคนในสังคมไทยประมาณ
5 เท่ า ดัง นั้นแสงสี ที่ เรื องรองในสั ง คมอุ ตสาหกรรมอย่า งอเมริ กา หรื อญี่ ปุ่น ยํ้าให้เห็ นว่าความ
เติบโตของสังคมอุตสาหกรรมนั้นจะทําให้มนุษย์บริ โภคทรัพยากรเกลือรวดเร็ วขึ้น
ความต้องการเกลื อ ในสังคมที่เน้นพัฒนาอุตสาหกรรมทําให้ก ารผลิ ตเกลื อจากแหล่ ง
ต่างๆ เพิ่ มขึ้นอย่า งรวดเร็ ว ปั จจุ บนั พื้นที่ ลุ่มนํ้าสงครามมีก าํ ลัง การผลิ ตเกลื อในจังหวัดอุดรธานี
ประมาณ 280,000 ตัน ต่ อ ปี จัง หวัดสกลนครมี ก ารผลิ ต ประมาณ 55,000 ตัน และในจัง หวัด
หนองคาย มีการผลิตประมาณ 5,000 ตัน รวมแล้วประมาณ 340,000 ตัน ถ้าเทียบอัตราการใช้
เกลือในประเทศการผลิตเกลือจากการต้มและตากเกลือโดยการสู บนํ้าเกลือขึ้นมาจากใต้ดินในลุ่มนํ้า
สงครามหรื อในภาคอี ส านเป็ นสัดส่ วนเพีย งเล็กน้อยเนื่ องจากข้อจํา กัดด้า นผลกระทบทํา ให้ไ ม่
สามารถขยายพื้น ที่ ผ ลิ ตด้วยเทคโนโลยีก ารต้ม หรื อตากอย่า งที่ เ ป็ นอยู่ไ ด้ ทํา ให้บ ริ ษ ัท ที่ เ สนอ
เทคโนโลยีทนั สมัย เช่น การผลิตเกลือเป็ นแบบการทําเหมืองละลายเกลือ ที่ปัจจุบนั บริ ษทั เกลือพิ
มาย จํากัด สามารถผลิ ตเกลื อหิ นได้ประมาณ 1.5 ล้านตันต่อปี เป็ นเกลืออุตสาหกรรม (Industrial
Salt) มี ความบริ สุทธิ์ ถึ งร้ อยละ 99.9 นําไปเป็ นวัตถุ ดิบในอุตสาหกรรมแก้ว เส้นใยไนล่อน ใย
สังเคราะห์ พลาสติก สบู่ ผงซักฟอก และใช้ในการกลัน่ นํ้ามัน การผลิตคลอรี น เพื่อใช้ในการทําสาร
โพลี เมอร์ พลาสติ กใยสังเคราะห์ และยางสังเคราะห์ ยาฆ่าแมลง นํ้ายาฆ่าเชื้ อโรค ผลิ ตนํ้าประปา
และปรับสภาพนํ้าเสี ย การผลิ ตกรดเกลือ เพื่อใช้ในการทํายางสังเคราะห์ ทําความสะอาดแก้ว บ่อ
นํ้ามัน อุตสาหกรรมเหล็กและรถยนต์ เป็ นต้น และบริ ษทั นี้ยงั ผลิตเกลือบริ โภค (Cooking Salt)
จากงานศึกษาวิเคราะห์นโยบายสาธารณะกรณี ศึกษาการจัดการเกลืออีสานของเลิศศักดิ์
คําคงศักดิ์ และเบญจรัชต์ เมืองไทย(2549) ได้วิเคราะห์นโยบายเกลือในภาคอีสานที่สัมพันธ์ทาง
นโยบายการพัฒนาประเทศในแผนแม่บท ยุทธศาสตร์ อุตสาหกรรมเหมืองแร่ และอุตสาหกรรม
ต่ อเนื่อง ที่กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กันยายน 2547) ซึ่ งเป็ นยุทธศาสตร์ สร้าง
ความเชื่อมโยงจากอุตสาหกรรมเกลือและโพแทช มีเป้ าหมายผลักดันโครงการเหมืองแร่ โพแทช

ปั จจุบนั อยูใ่ นเขตพื้นที่จงั หวัดบึงกาฬ

อ้างอิงตัวเลขกําลังการผลิตเกลือจาก (ชัยวิทย์ อุณหศิริกุล, 2549: 2)
190

อย่างน้อย 3 แห่ ง คือ โครงการเหมืองแร่ โพแทชจังหวัดอุดรธานี ของบริ ษทั เอเชีย แปซิ ฟิค โพแทช
คอร์ ปอเรชัน่ จํากัด โครงการเหมืองแร่ โพแทชบําเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ ของบริ ษทั เหมืองแร่
โพแทชอาเซี ยน จํากัด ของอาเซี ยน และโครงการเหมืองแร่ โพแทชจังหวัดสกลนคร ของบริ ษทั ไช
น่า หมิงต๋ า โพแทช คอร์ ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่ งเป็ นบริ ษทั จากประเทศจีน ให้มีการออก
ประทานบัต รและมี เ หมื อ งแร่ โ พแทชเกิ ด ขึ้ น อย่า งเป็ นรู ป ธรรมให้ไ ด้ โดยหวัง จะให้ไ ทยเป็ น
ศูนย์กลางการผลิ ตและจําหน่ ายปุ๋ ยโพแทชและเกลื อหิ นในภูมิภาคอาเซี ยน และอีกด้านหนึ่ งแผน
แม่บทชิ้นนี้ได้ระบุชดั ถึงการส่ งเสริ มให้มีการผลิตและใช้เกลือจาก (1) บริ ษทั เกลือพิมาย จํากัด และ
(2) เกลื อที่ เป็ นผลพลอยได้จากการผลิ ตแร่ โพแทชทั้ง 3 แห่ ง ในอุตสาหกรรมต่างๆ เป็ นหลัก
เนื่ องจากเชื่ อในความบริ สุทธิ์ ของเกลือที่ได้จากทุนและเทคโนโลยีขนาดใหญ่ ซึ่ งหากมีการลงทุน
และพัฒนาทั้ง 3 โครงการโดยพร้ อมกัน จะทําให้มีปริ มาณการผลิตเกลือจากแร่ เกลือหิ นอย่างน้อย
ประมาณ 7 - 10 ล้านตันต่อปี (เลิศศักดิ์ คําคงศักดิ์ และเบญจรัชต์ เมืองไทย, 2549: 68 – 69)
การผลิ ตเกลื ออีสานถูกผลักดันด้วยความจําเป็ นทางอุตสาหกรรมรวมทั้งความพยายาม
พัฒนาโครงการเหมืองแร่ โพแทชซึ่ งจะได้เกลือเป็ นผลพลอยได้ดว้ ย เพราะการพัฒนาการทําเหมือง
แร่ โพแทชจะทําให้ปริ มาณเกลื อที่ผลิ ตออกมาเกิ นความต้องการภายในประเทศที่ปัจจุบนั ใช้เกลื อ
ประมาณไม่เกิน 2 ล้านตันต่อปี ซึ่ งคาดว่าการพัฒนาเหมืองโพแทชหนึ่ งแห่ งจะทําให้มีเกลือออกมา
มากถึง 7 – 10 ล้านตันต่อปี มากกว่าความต้องการใช้ภายในประเทศ 3 – 5 เท่า
สังคมไทยเริ่ มก้าวสู่ ยุคปฏิวตั ิอุตสาหกรรม ตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่ งชาติฉบับแรก
(พ.ศ. 2504 – 2509) เป็ นจุดเริ่ มต้นของการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบการใช้เกลือในประเทศไทย เห็นได้
จากการเริ่ มต้นสํารวจทรั พ ยากรธรรมชาติใ นลุ่ มนํ้าโขง และเกลื อก็เป็ นแร่ ธ าตุ ที่สําคัญที่ค้นพบ
ปริ มาณมากและคุ ณภาพดี ในภาคอีสาน ซึ่ งต่อมาได้มีการขุดเจาะสํารวจอย่างจริ งจัง และเริ่ มมีการ
ขยายตัว ของการผลิ ตเกลื อ โดยเกลื อ ส่ วนใหญ่ ที่ ผลิ ต นั้นได้ส่ ง ออกไปนอกชุ ม ชนเป็ นทั้ง เกลื อ
สําหรับบริ โภค และเกลือสําหรับอุตสาหกรรม
การผลิตเกลือสิ นเธาว์จากการสู บนํ้าเกลือใต้ดินในภาคอีสานซึ่ งมีกาํ ลังการผลิตประมาณ
4– 5 แสนตันต่อปี บนพื้นที่การผลิตรวมประมาณ 15,000 ตารางเมตร เป็ นสัดส่ วนการผลิตเกลือร้อย
ละ 30 ของอุตสาหกรรมการทําเกลือจากเหมืองแร่ (พงษ์พนั ธ์ บุปเก, 2550: 23) ซึ่ งเป็ นพื้นที่มี
เหตุการณ์ความขัดแย้ งทางนิเวศวิทยาจากการใช้เกลือนั้นปรากฎขึ้นหลายครั้ง ในพื้นที่ 5 จังหวัด
ได้แ ก่ จ ัง หวัด อุ ด รธานี จัง หวัด สกลนคร จัง หวัด หนองคาย จัง หวัด นครราชสี ม า และจัง หวัด
มหาสารคาม ซึ่ งเป็ นพื้นที่ ที่สามารถอนุ ญาตให้ผลิตเกลื อได้ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
191

ภายใต้คณะรัฐมนตรี จึงมีมติเมื่อ 9 กรกฎาคม 2534 โดยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องได้แก่พระราชบัญญัติ


โรงงาน พ.ศ. 2535 ซึ่ งตราเพื่อควบคุมการประกอบกิจการผลิตเกลือจากนํ้าใต้ดิน จะต้องขออนุญาต
ประกอบการโรงงานสู บนํ้าเกลื อ และผลิตทั้งตากเกลือและต้มเกลือ โดยต้องขอนุ ญาตขุดเจาะสู บ
นํ้าเกลือใต้ดินตามพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 จากกระทรวงอุตสาหกรรม
สื บเนื่ องจากจากเหตุการณ์ วิกฤตผลกระทบสิ่ งแวดล้อมจากการทําเกลือในลุ่มนํ้าเสี ยว
อํา เภอบรบือ จัง หวัดมหาสารคาม จึ ง มี ม ติ ค ณะรั ฐมนตรี กาํ หนดหลัก การให้นํา พระราชบัญญัติ
โรงงาน พ.ศ. 2535 มาบังคับใช้กบั การสู บนํ้าเกลือใต้ดินและการทําเกลือสิ นเธาว์ โดยอาศัยอํานาจ
ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 มากําหนดพื้นที่ประกอบการโรงงานการสู บนํ้าเกลือใต้ดิน
และโรงงานทําเกลือ
วิ ก ฤตความเค็ ม ที่ เ กิ ด จากอุ ต สาหกรรมเกลื อ ได้เ ป็ นเหตุ ผ ลของความขัด แย้ง ทาง
นิ เวศวิทยาครั้ งใหญ่บนแผ่นดิ นอี สาน ที่แสดงตัวออกมาผ่านปรากฎการณ์ ความเคลื่ อนไหวของ
เครื อข่ายประชาชนลุ่มนํ้าเสี ยวที่ได้รับผลกระทบจากการประกอบอุตสาหกรรมเกลือในพื้นที่รอบ
หนองบ่อ อําเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ซึ่ งเริ่ มทําเกลือมาตั้งแต่ราวปี พ.ศ. 2512 ต่อมาก่อวิกฤต
ความเค็มในสิ่ งแวดล้อมและแหล่งเกษตรกรรม ตลอดจนระบบชลประทานหลายครั้ง อันนํามาสู่ การ
เคลื่อนไหวครั้งใหญ่ของประชาชนในลุ่มนํ้าเสี ยว
“ลาน้า เสี ยว” มี ต้นนํ้าจากหนองบ่อ อํา เภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ไหลผ่าน 8
อําเภอ 3 จังหวัด คือ อําเภอบรบือ และอําเภอวาปี ปทุม จังหวัดมหาสารคาม อําเภอปทุมรัตน์ อําเภอ
เกษตรวิสัย อําเภอสุ วรรณภูมิ อําเภอโพนทราย และอําเภอพนมไพร จังหวัดร้อยเอ็ด ไหลบรรจบ
กับแม่น้ าํ มูล ที่ อําเภอราษีไศล จังหวัดศรี สะเกษ รวมความยาว 225 กิโลเมตร ในอดีตบริ เวณหนอง
บ่อเป็ นแหล่งผลิตเกลือโดยการกวาดเอา “ขี้บ่อ” หรื อ “ขี้ทา” มาหมักกับนํ้าเพื่อกรองเอานํ้าเกลือมา
ต้มเป็ นเกลือ เห็นได้จากโนนดินริ มหนองเต็ มไปด้วยเศษเครื่ องปั้ นดิน เผาจากการทําเกลือในสมัย
โบราณ แต่หลังสํารวจพบว่าใต้ดินมีน้ าํ บาดาลเค็มสามารถต้มเป็ นเกลือได้ จึงเริ่ มเอานํ้าเค็มมาต้ม
และตากทําเกลือเพื่อขายสู่ อุตสาหกรรม บริ เวณอ่างเก็บนํ้าหนองบ่อ อันเป็ นต้นนํ้าเสี ยว ต่อมาพื้นที่
รอบหนองบ่อถูกซื้ อ เช่า หรื อถ่ายโอนกรรมสิ ทธิ์ รู ปแบบต่างๆ ด้วยราคาที่สูงลิ่ว เกิดโรงงานเกลือ
มากมาย บ้างสู บเค็มขึ้นมาแล้วขนไปขาย มีรถขนไม้ฟืนต้มเกลือ และขนนํ้าเกลือขายวิ่งทั้งกลางวัน
กลางคื น ถนนใหม่ถูกสร้ างขึ้นมา อําเภอบรบือกลายเป็ นย่านธุ รกิ จเกลือที่ทาํ รายได้มหาศาลแก่ ผู้
ลงทุน ขณะที่การเคลื่อนไหว “ต่ อต้ านการทานาเกลือ” ในลุ่มนํ้าเสี ยวเริ่ มขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2519 เมื่อ
ความเค็มจากนาเกลือกระจายหนองบ่อและลํานํ้าเสี ยวใหญ่จนเค็มจัด จนไม่อาจใช้ประโยชน์ใน
192

การเกษตรได้ สัตว์น้ าํ หอย ปู ปลา ตายเป็ นสํานวนมาก ในปลายปี พ.ศ.2519 เมื่อเข้าสู่ ฤดูเก็บเกี่ยว
ปรากฏว่าเมล็ดลีบทุกรวง (ข้าวเป็ นดอกข่า) และในปี พ.ศ.2520 ข้าวออกรวงมาเป็ นสี ดาํ และลีบ
“ ...ปลายปี พ.ศ. 2519 ข้าวตั้งท้องงามมากๆ แต่เมล็ดข้าวกับลีบเป็ น ‘ดอกข่า’ เมล็ด
ข้าว ลีบหมดทุกรวง ทุกคนสงสัยว่าข้าวเป็ นอะไรไม่รู้สาเหตุ พากันนึกว่าเป็ นเพราะมีคน
เอาปอลงมาแช่ในลํานํ้าเสี ยว ทําให้น้ าํ มันเสี ย ปลาก็ตายลอยนํ้ามากขึ้นเรื่ อยๆ เมื่อปี พ.ศ.
2520 ฝนตกดี ข้าวงามดี แต่สุดท้ายหน้าเก็บเกี่ยวข้าวกลับออกรวงเป็ นสี ดาํ เมล็ดลีบหมด
จึงมารู ้วา่ เป็ นเพราะนํ้าเค็มที่มาจากนาเกลือในบรบือ แต่ละหมู่บา้ นที่ลาํ นํ้าเสี ยวไหลผ่าน
ทุกบ้านจะมีฝายกั้นเป็ นทอดๆ พอรู ้ว่านํ้าเค็มก็ปล่อยนํ้าทิ้งจนลํานํ้าเสี ยวแห้งมีแต่คราบ
เกลื อขาวโพลนไปหมด...ต้นไม้น้อยใหญ่สองฝั่ งยืนต้นตายเกลี้ ยงหมดตลอดลําเสี ยว‛
(เครื อข่ายประชาชนอนุรักษ์ลุ่มนํ้าเสี ยวใหญ่ตอนบน, มปป.: 6-7)

ความเค็มลุกลามจนกระทัง่ นํ้าในอ่างเก็บนํ้าหนองบ่อ เค็มจนไม่อาจใช้ทาํ เกษตรกรรมได้


กรมชลประทานต้องงดส่ ง นํ้าและประกาศยกเลิ กอ่า งฯ หนองบ่อ เป็ นทางนํ้า ชลปะทาน เมื่อ 31
มกราคม 2520 และผลกระทบก็ยงั ทวีความรุ นแรงและขยายวงกว้างขึ้นเรื่ อยๆ จนปี พ.ศ. 2523 มี
ชาวบ้า นและพระสงฆ์จ ากบ้า นดงใหญ่ ไ ด้เ ดิ น ทางไปยื่น หนัง สื อ ต่ อ รั ฐ มนตรี ว่า การกระทรวง
อุตสาหกรรม ให้ตรวจสอบข้อเท็จจริ ง พบว่านํ้าในลํานํ้าเสี ยวเค็มถึง 36 มิลลิโมห์/ เซนติเมตร(เค็ม
กว่านํ้าทะเล) จึงมีคาํ สั่งจากคําสั่งนายกรัฐมนตรี ที่ 4/2523 ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2523 สั่งปิ ดกิจการ
ผลิตเกลือสิ นเธาว์บริ เวณลุ่มนํ้าเสี ยวใหญ่ ห้ามต้มและตากเกลือที่หนองบ่อ และให้ดาํ เนินการฟื้ นฟู
ลํานํ้าเสี ยว พร้อมกับจ่ายค่าชดเชยให้ชาวบ้านที่ได้รับความเสี ยหายในเขตอําเภอบรบือ อําเภอวาปี
ปทุม จังหวัดมหาสารคาม อําเภอเกษตรวิสัย อําเภอสุ วรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด และ อําเภอราษีไศล
จังหวัดศรี สะเกษ ตั้งแต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2523 มีผลให้กิจการทํานาเกลือต้องยุติลงชัว่ ขณะ โรงงาน
อุ ตสาหกรรม โกดัง เก็ บ เกลื อ และที่ พ กั ถู ก รื้ อทํา ลาย แต่ ก็ ย งั ไม่ อาจแก้ไ ขปั ญหาความเค็ม ในปี
พ.ศ.2526 มีการลักลอบทํานาเกลือย่างผิดกฎหมาย และขยายพื้นที่การทํานาเกลือเพิ่มขึ้นเพราะเกลือ
มีราคาสู งขึ้น เนื่ องมาจากความต้องการเกลือสิ นเธาว์ของผูบ้ ริ โภคและของโรงงานอุตสาหกรรมมี
มาก ผูป้ ระกอบการหันกลับ มาผลิ ตเกลื อมากกว่า เดิ มในพื้นที่นาเกลื อ 2,000 ไร่ รอบหนองบ่ อ
ตลอดจนสองฝั่งลํานํ้าเสี ยว ผูป้ ระกอบการมาซื้ อที่นา หรื อเช่าที่แล้วปรับสภาพทํานาเกลือ เจ้าของที่
นาบางรายก็หนั มาทํานาเกลือ (นายสงัด จันทรพัด, 2549) การกลับมาของอุตสาหกรรมเกลืออย่าง
ผิดกฎหมายโดยเปิ ดเผย ดําเนินไปกระทัง่ ปี พ.ศ.2532 ลํานํ้าเสี ยวใหญ่ เกิดเค็มจัดอีกครั้ง นาข้าวสอง
ฝั่งนํ้าเสี ยวไม่สามารถปลูกข้าวและพืชอื่นได้ พื้นที่เกษตรกรรมเสี ยหาย
193

ชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบอย่างรุ นแรงจาก 5 หมู่บา้ นคือ บ้านแคน ตําบลแคน, บ้าน


เปลือย ตําบลหวาย, บ้านยาง ตําบลยาง และบ้านบัวมาศ ตําบลบัวมาส อําเภอวาปี ปทุม และบ้าน
ดงใหญ่ อําเภอบรบื อ ได้รวมตัวกันกับกลุ่ มนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยขอนแก่ น จัดตั้งเป็ น ‚กลุ่ ม
แก้ปัญหาลําเสี ยวใหญ่ 3 จังหวัด‛ ขึ้นในวันที่ 10 พฤศจิกายน 2532 โดยได้จดั ตั้งคณะกรรมการ
สํารวจความเสี ยหายของพื้นที่ เกษตรตั้งแต่อาํ เภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ถึ ง อําเภอราษีไศล
จังหวัดศรี สะเกษ ชาวบ้านผูเ้ ดือดร้ อนบริ จาคเงินค่านํ้ามันให้กบั คณะกรรมการสํารวจข้อมูล ซึ่ ง
พบว่าตลอดลํานํ้าเสี ยวมีพ้ืนที่ได้รับความเสี ยหาย 150,000 ไร่ หลังจากนั้นจึงส่ งเข้ายื่นหนังสื อต่อ
ผูว้ า่ ราชการจังหวัด 2 ครั้ง แต่ไม่มีการแก้ไขปั ญหา จึงเดินทางไปยื่นหนังสื อที่ทาํ เนียบรัฐบาล ผล
ปรากฏว่า รั ฐ มนตรี ก ระทรวงอุ ต สาหกรรมมาสํา รวจพื้ น ที่ โ ดยใช้เ ฮลิ ค อปเตอร์ แต่ ก็ ไ ม่ มี ก าร
แก้ปัญหาหลังยื่นหนังสื อที่ทาํ เนี ยบรัฐบาลแล้ว 6 เดือน ที่สุดในวันที่ 10 เมษายน 2533 ชาวบ้านจึง
ได้ตดั สิ นใจรวมตัวกันชุมนุมประท้วงครั้งใหญ่ ชาวบ้านผูเ้ ดือดร้อนพร้อมเสบียงอาหาร เดินทางไป
รวมกันที่หน้าที่วา่ การอําเภอวาปี ปทุม โดยเสนอข้อเรี ยกร้องต่อรัฐบาล ให้หยุดทํานาเกลือ จับกุม
คนลักลอบทํานาเกลื อ ให้ฟ้ื นฟูลาํ นํ้าเสี ยวให้อุดมสมบูรณ์เหมือนเดิม (เครื อข่ายนักวิชาการนิ เวศ
วัฒนธรรมอีสาน, 2550: 36 - 40) ผูเ้ ดือดร้อนจากลุ่มนํ้าเสี ยวปั กหลักชุมนุมต่อเนื่องนาน 5 วัน แต่
รัฐบาลไม่มีตวั แทนมาเจรจาหรื อดําเนิ นการใดๆ จนเช้าวันที่ 15 เมษายน 2533 กลุ่มผูช้ ุ มนุ ม
ตัดสิ นใจใช้มาตรการกดดันขั้นเด็ดขาดโดยการปิ ดถนนสาย ‚วาปี ปทุม – มหาสารคาม‛ และ ‚วาปี
ปทุม – พยัคฆภูมิพิสัย‛ ซึ่ งเป็ นทางสามแพร่ ง โดยยกเสาไฟฟ้ าที่ยงั ไม่ฝังมาปิ ดถนนหลายชัว่ โมง
ที่สุดเจ้าหน้าที่ตาํ รวจจึงออกมารับหนังสื อข้อเรี ยกร้องของผูช้ ุมนุม พร้อมทั้งตกลงกับผูช้ ุมนุมให้จน
ยินยอมเปิ ดถนนแล้วกลับ ไปรวมตัวกัน ณ ที่ว่าการอําเภอวาปี ปทุม แต่ในเวลาพลบคํ่าของวันนั้น
ระหว่างที่กลุ่มผูช้ ุ มนุ มกําลังหุ งหาอาหารเย็น เจ้าหน้าตํารวจหลายร้อยนายเข้าจู่โจมปิ ดล้อมสลาย
การชุมนุม โดยแจ้งกับผูช้ ุ มนุ มว่าให้เก็บข้าวของและสลายการชุ มนุมภายใน 5 นาที ก่อนจะเข้ารื้ อ
เพิงพัก ใช้กระบองเข้าสบายกลุ่มผูช้ ุมนุมจนเป็ นเหตุให้หลายคนได้รับบาดเจ็บ พร้อมทั้งจับกุมแกน
นําและนักศึกษารวม 42 คน ไปคุมขังไว้ที่สถานีตาํ รวจอําเภอวาปี ปทุม
วันรุ่ งขึ้น(16 เมษายน 2533) กลุ่มผูช้ ุมนุมที่สลายตัวไปแล้วกว่า 2,000 คนกลับมาชุมนุม
รวมตัวกันที่หน้าสถานี ตาํ รวจอําเภอวาปี ปทุม เพื่อมอบตัวให้จบั กุมในข้อหาเดียวกันกับ 42 แกนนํา
ท้ายที่สุดตํารวจยอมปล่อยตัวแกนนําทั้ง 42 คน ขณะที่อยั การมีคาํ สั่งไม่ฟ้อง เพราะเป็ นการเรี ยกร้อง
ให้เจ้าหน้าที่บา้ นเมืองปฏิบตั ิตามกฎหมาย และไม่ได้ใช้ความรุ นแรงหรื อทําให้ทรัพย์สินเสี ยหาย
194

เหตุ ก ารณ์ บุ ก สลายการชุ ม นุ ม ของผู้เ ดื อ ดร้ อ นจากนาเกลื อ ครั้ งนั้น เป็ นที่ ส นใจของ
สื่ อมวลชนทุกแขนง แล้วปั ญหาเรื่ องนํ้าเสี ยวก็ถูกนําเสนอจนเป็ นกระแสสาธารณะ ทําให้รัฐบาล
จําเป็ นต้องแก้ไขโดยมีมติคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 17 เมษายน 2533 ให้ปราบปรามผูล้ กั ลอบต้มเกลือ
และให้กรมชลประทาน ดําเนิ นการฟื้ นฟูและปรั บปรุ งสภาพพื้นที่ลาํ นํ้าเสี ยวใหญ่ท้ งั ลุ่ มนํ้า โดย
อนุมตั ิงบประมาณเป็ นจํานวนเงิน 800 ล้านบาทเพื่อการขุดลอกและพัฒนา ฟื้ นฟูลาํ นํ้าเสี ยว โดยขุด
ลอกฟื้ นฟูลาํ นํ้าเสี ยว และลํานํ้าสาขา 17 สาย ขุดลอกปรับปรุ งอ่างเก็บนํ้าหนองบ่อ สร้างฝายทดนํ้า
33 แห่ ง สร้างท่อรับนํ้า-ระบายนํ้า และลํานํ้าสาขาจํานวน 619 แห่ ง ก่อสร้างสะพานข้ามลํานํ้าเสี ยว
ใหญ่ และลํานํ้าสาขา จํานวน 22 แห่ง
ภายหลัง ชาวลุ่ ม นํ้า เสี ย ว ในนามเครื อข่ า ยประชาชนลุ่ ม นํ้า เสี ย วจึ งได้ยึด เอาวันที่ 17
เมษายน ของทุกปี จัดกิจกรรมรําลึกการต่อสู้กบั อุตสาหกรรมเกลือที่ลุ่มนํ้าเสี ยว
“ พวกหมู่ปูปลากุง้ เถียงกันออกสนัน่ อัศจรรย์ฝงู คนจัง่ แม่นบ่ซื่อถือเค้าเก่าเดิม
ปล่อยนํ้าเค็มเข้าเพิ่มปลาในบ่อลาหนี คนอัปรี ยซ์ ี กะบานปล่อยนํ้าพานหาเรื่ อง
พวกกบเขียดกับหอยโข่งโตเปลือกแข็งกะใคแน่ ทนความเค็มอยูไ่ ด้บ่อมีเนื้อสิ เปื่ อยเพ
เฮาโลดคักโพดเด้ ตีนกะเปื่ อย ขากะเพ เปลื่อยทั้งเก็งเกหลังเปลื่อยพังตายแน่
เดียวนี้เฮาพวมแย่สิลาหนี จากหมู่ มันเป็ นน่าอดสูเค็มกะเค็มโพดฮ้ายต้องตายแน่หมู่เฮา
บักหอยออกปากเว้าเฮาทนอยูบ่ ่ไหว นํ้าทั้งใสทั้งเค็มไผสิ ทนอดกลั้น
อ้ายปูเอยมึงกะยังมีกะดองแน่นสิ ทนเค็มได้แน่ คักแล้วแหม่บกั โข่งตายโฮงแท้หมู่เฮา
อ้ายกุง้ ออกปากเว้ามันทั้งเน่าทั้งเหม็น เสี ยว มันเป็ นนําหยังจังเค็มปานนี้...
ตกบ่อนบั้นมันยาดแย่งทรัพยากร พวกนายทุนกับชาวนาสิ ฆ่ากันฟั นม้าง
พวกถางเอาแร่ รังแกแม้แต่เอี่ยน พวกไส้เดือนกะฮ้องโอ้โทบ้าฮาเค็ม
ซ่าดันดังเต้มๆ ฮอดหมู่งวั ควาย สังมาซวยแท้ซุมเฮาบ่อยากลงหนองนํ้า
นางามๆ มีหญ้ากะเลยกายเป็ นเอียด เขียดกะอดบ่ได้ งัวควายไห้ใส่ กนั
ฮอดยามแล้งฮ้องลั้น นํ้ามันบ่อมีกิน ยามฝนลินลงมามันหากพอไคซัว่
ควายบางตัวเว้า นําเขากูกะแตกเขิบ อยูต่ ามเหลิบปุ้ นท้องเป็ นเฮียนแสบคัน
ถูกนํ้าเกลือจนสะบั้นแสบใหญ่ไอเกลือ มันเค็มหลายเอาเหลือแสบสิ ตายจนได้หลงฮ้อง
พวกมันมีสมองให้พากันลองช่วยพวกงัวควายเขาสิ วา่
ทั้งพวกปูพวกปลาสัตว์เล็กๆ น้อย ๆเขาสิ ได้วา่ เฮา...
เป็ นจัง่ ได๋ พ่อเฒ่าอีพ่อใหญ่บรรหาญ พ่อใหญ่ประมาณ พ่อใหญ่ชาย บ่ยากอายสัตว์บอ้
พวกปูปลาเขาหลงฮ้องพวกงัวควายเขาสิ ด่า
เขาพวกหมู่สตั ว์สาบ่ฮหู ้ นาวฮูฮ้ อ้ นเขาสิ ได้แช่งเวร....
195

บ่แม่นฉันเว้าเล่นเป็ นตาน่ายอยากอายสัตว์ แต่พดั มีนาเกลือนํ้ากะเค็มเหลือล้น


ก็เพราะคนเพียงหน่อยคอยทํากรรมชัว่
พวกนายทุนเจ้าสัวทําให้สตั ว์ใหญ่นอ้ ยตายจ้อยฮอดบ่เหลือ
เฮาตั้งใจไว้เผื่อสิ เลี้ยงหมู่มวลมนุษย์ ถูกทําลายตายเหม็นเน่านุมพูมพื้น
พอแต่ขืนลงนํ้าดุก ขาว เข็ง ค้อ สุ บหัวเสี ยบนํ้าตามห้วยฮ่อมเสี ยว
จักว่าเค็มหรื อเปรี้ ยวประเดียวสัน่ ดันตาย ปลาหลาย ๆ ก็เลยสูญโลดบ่ยงั เหลือค้าง
หมดหนทางเฮาแล้วปูปลามันเว้าว่าบ่มีวาสนาสิ เลี้ยงคนอีกได้”

กลอนลํา ที่ ย กมาเป็ นเพี ย งหนึ่ งกลอนลํา ที่ แ ต่ ง ขึ้ นระหว่ า งเส้ น ทางการต่ อ สู้ ก ั บ
อุตสาหกรรม เกลือที่ลุ่มนํ้าเสี ยวได้มีบนั ทึกประวัติศาสตร์ การต่อสู้ที่สําคัญที่บนั ทึกไว้ในรู ปแบบ
ของกลอนลําตั้งแต่ปี 2514 เป็ นต้นมาจนปัจจุบนั นับจากมีนายทุนเข้ามาทําอุตสาหกรรม เกลือที่ลุ่ม
นํ้าเสี ยว โดยมี ศิลปิ น ผูแ้ ต่งกลอนลํานายบุญยัง แคนหนอง อายุ 77 ปี ได้ประพันธ์ข้ ึน สะท้อน
ปั ญหาและปลุกใจคนนํ้าเสี ยวให้รวมพลังกันต่อสู้กบั อุตสาหกรรมเกลือ โดยได้มีหมอลําคือ นางติ้ม
แคนหนอง ที่ลาํ เล่าเรื่ องราวในช่วงเวลาการต่อสู้อนั ยาวนานนับ 20 ปี ผูว้ ิจยั นับกลอนลําชุดนี้ วา่ เป็ น
วรรณกรรมการต่อสู ้กบั ความเค็ม ที่สามารถเล่าถึงทุกข์เข็ญจากความเค็มและปั ญหาของประชาชน
ในลุ่มนํ้าเสี ยวได้อย่างลึกซึ้ ง หลากหลายมิติ ทั้งการเมือง นิเวศ วัฒนธรรม กลอนลําของศิลปิ นลุ่มนํ้า
เสี ยวผูน้ ้ ีได้มีการรวบรวมบางส่ วนมาบันทึกเสี ยงในชุด ‚ออนซอนเสี ยว‛ เมื่อปี พ.ศ. 2549 โดยการ
ประสานงานบันทึกเสี ยงของ “กลุ่มนิเวศวัฒนธรรมศึกษา” ซึ่ งผูป้ ระพันธ์กลอนลํายังได้แต่งกลอน
ลําเพิม่ เติมเรื่ อยมาเชื่อมโยงปัญหาเรื่ องเกลือในอีสานและโครงการเหมืองแร่ โพแทชใต้ดินในจังหวัด
อุดรธานีในภายหลัง (ดูตวั อย่างกลอนลําใน ผนวก ข.)
จากตัวอย่างกลอนลํา “สัตว์คุยกันเรื่ องนํ้าเค็ม” ทําให้เห็ นภาพเหล่ าสิ่ งมีชีวิตในระบบ
นิเวศลุ่มนํ้าเสี ยว กําลังแดดิ้นลงเพราะความเค็มเมื่อร่ วม 30 ปี ล่วงมาแล้วนั้น บัดนี้เหตุการณ์เหล่านั้น
ได้วนเวียนกลับมาปรากฏอีกครั้งในลุ่มนํ้าสงคราม ภาพห้วยบ่อแดงที่เค็มจัดเต็มไปด้วยคราบเกลือ
และโคลนเค็มนั้น นับเป็ นปรากฏการณ์ที่สะท้อนถึงปัญหาที่ซบั ซ้อนเรื่ องเกลือและความเค็มในภาค
อีสานว่ามาถึ ง “บ่ อนบั้นยาดแย่ งทรั พยากร พวกนายทุนกับชาวนาสิ ฆ่ากันฟั นม้ าง” หรื อช่ วงเวลาอัน
วิกฤตความสัมพันธ์ของเกลือกับสิ่ งมีชีวิตอื่นในระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ทางสังคมวัฒนธรรมของ
ชุ มชน รวมทั้งความสัมพันธ์ทางการเมืองระหว่างท้องถิ่นและนโยบายการใช้เกลือ ที่สะท้อนความ
รุ นแรงของปัญหาความขัดแย้งทางนิเวศวิทยาที่ปรากฏในชุมชน
บทที่ 5
บทวิเคราะห์ : ชุ มชนกับนิเวศแหล่งผลิตเกลือ

เทคโนโลยีการผลิ ตเกลือแบบต่าง ๆ ที่พฒั นาขึ้นมาใช้ในชุมชนลุ่มนํ้าสงครามได้ส่งผล


ต่อการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั ระบบนิเวศ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวสะท้อน
ผ่านลักษณะทางกายภาพ ตลอดจนความรู้ หรื อระบบความคิด ความเชื่ อ พฤติกรรม หรื อการให้
คุณค่าเกี่ยวกับเกลือของสมาชิ กภายในชุมชน หรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการผลิตเกลือ ท่ามกลาง
พัฒนาการทางเทคโนโลยีในสังคมปัจจุบนั ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ วในปั จจุบนั สามาถพิจารณา
ลักษณะความเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ดงั กล่าวได้หลายมิติดงั จะกล่าวต่อไป

1. นิเวศชุ มชนแหล่งเกลือมิติทางความสั มพันธ์ และการเปลีย่ นแปลง

จากแนวคิดทางนิเวศวิทยาวัฒนธรรม (Cultural ecology) ซึ่ งเห็นว่าระบบนิเวศมีอิทธิ พล


กับกระบวนการทางสังคมวัฒนธรรม และจากหลักคิดนี้ สามารถพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างคน
และสิ่ งแวดล้อมในชุ มชนแหล่งผลิตเกลื อต่างๆ ได้จากลักษณะการใช้เกลือ ตั้งแต่การผลิตหรื อใช้
เกลื อเพื่ อ บริ โ ภคในครั ว เรื อ น มาเป็ นการประกอบการผลิ ตเป็ นอาชี พ ค้า ขายขับ เคลื่ อ นพัฒ นา
เศรษฐกิจท้องถิ่นไปจนถึงสังคมอุตสาหกรรมสมัยใหม่
โดยพื้นฐานแล้วระบบนิ เวศในชุ มชนบ้านโนนดอกไม้แดงมีค วามหลากหลาย ตั้งแต่ป่า
ดง ป่ าโคก บะ หนอง วัง ฮ่อง ห้วย และแม่น้ าํ ซึ่ งมีความสัมพันธ์โยงใยเป็ นระบบและตั้งอยูบ่ นพื้นที่
ที่มีโครงสร้างทางธรณี วิทยาเป็ นยอดโดมเกลือ หรื อ ชั้นเกลือหิ นใกล้ผิวดิน ในยุคเริ่ มก่อตั้งชุมชน
บริ เวณ “บะดอกไม้แดง” คนในชุ มชนพึ่งพิงพื้นที่ราบลุ่มริ มฝั่งห้วย หรื อทุ่งดอกไม้แดงในการผลิต
ข้าว อาศัยแหล่งนํ้า ป่ าทาม ลําห้วย รวมถึงแม่น้ าํ สงครามเพื่อเก็บหาอาหารตามธรรมชาติ และยังชีพ
ด้วยการล่าสัตว์ในป่ าโคก ดง ที่ ลอ้ มรอบหมู่บา้ นอยู่ การผลิตและใช้เกลือในยุคนี้ ได้จากบ่อเกลื อ
พื้นบ้าน คือ “บ่องิ้ว” และ “บ่อดิ นสอ” ด้วยวิธีการผลิตเกลื อแบบขูดดินเอียดมาหมักกับนํ้าให้ได้
นํ้าเค็ม แล้วนํานํ้าเค็มมาต้มด้วยฟื น โดยทําการผลิตเกลือในฤดูแล้ง หรื อหากใครไม่ผลิตเองก็จะนํา
ข้าว พริ ก หรื อของป่ าไปแลกกับเกลือ หรื อซื้ อจากผูผ้ ลิต เพื่อให้มีเกลือเก็บไว้ใช้ในการถนอมอาหาร
หรื อบริ โภคในรอบปี ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนกับระบบนิเวศในยุคนั้นอยูใ่ นลักษณะเพื่อการ
ยังชีพ และแลกเปลี่ยนกันระหว่างชุมชนท้องถิ่นใกล้เคียงกันเท่านั้น ปริ มาณเกลือที่ผลิตจะผลิตเท่าที่

196
197

จําเป็ นแก่ การใช้ถนอมอาหาร หรื อความต้องการของร่ างกายของสมาชิ กในครัวเรื อน เกลื อจึงมี


บทบาทเป็ นแร่ ธาตุจาํ เป็ นต่อการมีชีวติ รอดของคนแต่ไม่ตอ้ งใช้มาก บ่อเกลือถือเป็ นสถานที่
ศักดิ์สิทธิ์ มีผเี ป็ นสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ทาํ ให้เกิดดินเค็ม หรื อนํ้าเค็ม ดังนั้นการผลิตเกลือต้องทําอย่างเคารพยํา
เกรง แม้บ่อเกลือไม่ได้ต้ งั ในเขตบ้านโนนดอกไม้แดงโดยตรง แต่คนทุกคนในชุมชนมีสิทธิ์ เข้าไปใช้
เกลือในบ่อเกลือที่บริ เวณบ้านหนองนํ้าใส และผลิตเกลือพร้อมกันหลังวันเลี้ยงปู่ ตาแล้วเมื่อเจ้าจํ้าตี
ระฆังให้สัญญาลงขูดดิ นเอียดได้ และจะเริ่ มผลิตเกลือกันในช่วงเวลาประมาณ 3 เดือนในฤดูแล้ง
และหมุ น เวี ย นกัน ไปต้ม เกลื อ เป็ นกลุ่ ม ๆ ส่ ว นฤดู ก าลอื่ น คนก็ สั ม พัน ธ์ ก ับ ระบบนิ เ วศอื่ น ๆ ที่
หลากหลายมากกว่าเกลือ ด้วยวิถีการผลิตแบบชุมชนชาวนา และการพึ่งพิงเก็บหาของป่ า ล่าสัตว์ใน
พื้นที่นิเวศที่เป็ นพื้นที่ส่วนรวมรอบๆ หมู่บา้ น
การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชนกับระบบนิเวศ มีสาเหตุมาจากหลาย
ปั จจัยและเปลี่ ยนแปลงอย่า งต่อเนื่ อง เช่ น ความขัดแย้งทางการเมือง มีผลทําให้ชุมชนบ้านโนน
ดอกไม้แดง ถู กล้อมรั้วตรวจตราการเข้าออก และจํากัดขอบเขตการใช้ประโยชน์จากระบบนิ เวศ
โดยเฉพาะในโคก ในดง ที่ห่างไกลหมู่บา้ นออกไป ทําให้ชุมชนนี้ เหลือพื้นที่ทุ่งดอกไม้แดง และนา
ข้าวใกล้ๆ ในพื้นที่นิเวศแบบราบลุ่มเท่านั้นเป็ นแหล่งผลิต และหาอาหารตลอดช่ วงเวลาของความ
ขัดแย้ง ซึ่ งต่อมาความขัดแย้งนั้นเป็ นปั จจัยต่อเนื่ องทําให้เกิ ดนโยบายปราบคอมมิวนิ สต์ นโยบาย
สัมปทานป่ าไม้ และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ถนนหนทาง ทําให้พ้ืนที่ป่าที่ชาวบ้านได้พ่ ึงพาใน
การเก็บหาของป่ าลดลง แต่พ้ืนที่เพาะปลูกเพิ่มมากขึ้น และเริ่ มมีการขยายไร่ มนั ไร่ ปอ และนาข้าว
ไปยังพื้นที่โคกที่อยู่ห่างหมู่บา้ นออกไป จะเห็นว่าเมื่อชุมชนเข้าไปสัมพันธ์กบั ระบบการค้าขายไม้
ในฐานะลูกจ้างตัดไม้ และเริ่ มเข้าครอบครองพื้นที่ป่าเพื่อบุกเบิกไร่ นาในบริ เวณพื้นที่โคกและดง
ขณะเดียวกันเริ่ มมีระบบการค้าขายของป่ าหลังชุมชนเชื่อมโยงกับระบบการค้าขายจากภายนอกมาก
ขึ้น รวมทั้งได้มีคนอพยพยเข้ามาอยูใ่ นหมู่บา้ นเพิ่มเติม ก่อนจะเคลื่อนเข้าสู่ ความเปลี่ยนแปลงอย่าง
ก้าวกระโดดจากอุตสาหกรรมเกลือในเวลาต่อมา
การเข้ามาของอุตสาหกรรมเกลือเมื่อกว่า 30 ปี ที่ผา่ นมาคือปั จจัยเปลี่ยนผันรู ปแบบความ
สัมพันธ์ระหว่างชุ มชนกับระบบนิ เวศ เมื่อพื้นที่นิเวศแบบพื้นที่ราบลุ่มบะดอกไม้แดง หรื อ ทุ่ง นา
บริ เวณบะดอกไม้แดง สํารวจพบว่าเป็ นแหล่งเกลือหิ นมาหาศาล ทําให้กลุ่มผูผ้ ลิตเกลือนอกท้องถิ่น
เริ่ มเข้ามากว้านซื้อที่ดิน และพลิกเปลี่ยนระบบนิเวศนาลุ่มเป็ นระบบนิ เวศแบบอุตสาหกรรมนาเกลือ
ไปในเวลาอันรวดเร็ ว ซึ่ งทําให้ชาวนาดั้งเดิมกว่า 50 ครอบครัวเริ่ มทยอยขายที่เพราะได้ราคาสู ง แล้ว
ไปซื้ อที่ทาํ กิ น หรื อบุกเบิกนาข้าวแปลงใหม่ แต่ในระยะหลังเจ้าของที่ดินเริ่ มถูกบีบบังคับให้ขาย
ที่ดินทั้งทางตรงและทางอ้อม เพราะความเค็มจาก “นาเกลือ” เทคโนโลยีการผลิตข้ามนิเวศมาจาก
198

ดิ นแดนชายฝั่ งทะเลตะวันออก ที่ นาํ เข้ามาใช้ใ นชุ มชนลุ่ มนํ้า ได้ก่อให้เกิ ดความเสื่ อมโทรมของ
สภาพแวดล้อม ส่ งผลต่อความมัน่ คงด้านอาหาร รวมไปถึงความขัดแย้งในเรื่ องการใช้ทรัพยากร
ความรู ้พ้ืนบ้านในการผลิตเกลือรวมทั้งบ่อเกลือพื้นบ้านได้หายไปพร้อมกัน นอกจากนี้ ห้วย หนอง
บะ ทุ่ ง ทาม ในทุ่ ง ดอกไม้แ ดงถู ก ปรั บ ให้โ ล่ ง เตี ย นราบเสมอและบดอัด ให้แ น่ น เพื่ อตากเกลื อ
ทรัพยากรเกลือที่เดิ มเคยผลิตโดยการขูดดินเอียด ก็เปลี่ยนเป็ นการเจาะนํ้าบาดาลขึ้นมาต้มและตาก
ในพื้ นที่ ก ว้า ง และผลิ ต ปริ ม าณมากในพื้ นที่ นิ เ วศนํ้า จื ด ที่ อ่ อ นไหวต่ อ ความเค็ม ทํา ให้น้ ํา เค็ม ที่
ปนเปื้ อนลงในห้วยบ่อแดง ห้วยใหญ่ ห้วยงัวน้อย ฯลฯ จนไม่อาจจะพึ่งพาหาปลา เก็บผัก หรื อหา
หน่อไม้ได้อีกต่อไป อีกทั้งความเค็มยังเข้าไปเปลี่ยนโครงสร้างทางเคมีของดินเป็ นดินเค็มจัดจนไม่
อาจจะเพาะปลูกหรื อมีส่ิ งมีชีวติ ใดดํารงอยูไ่ ด้ทาํ ให้ชาวนาจากทุ่งดอกไม้แดงเดิมนั้นต้องไปแสวงหา
พื้นที่ ท าํ นาแปลงใหม่ ซึ่ งพื้นที่ ที่เหลื อคือพื้นที่โคกที่ค วามอุ ดมสมบูรณ์ น้อยกว่าและอยู่ห่า งจาก
หมู่บา้ นออกไป 5 – 10 กิโลเมตร
ความสั ม พันธ์ ระหว่า งคนในชุ ม ชนกับ สิ่ ง แวดล้อมบริ เ วณทุ่ ง ดอกไม้แดงนั้นเปลี่ ย น
รู ปแบบจากการมีสิ ทธิ เหนื อที่ ดินมรดกของบรรพบุรุษสามารถใช้ทาํ นาลุ่ มที่ให้ผลผลิ ตข้าวดี ใน
ครัวเรื อนของตนเอง โดยอาศัยพึ่งพาแรงงานในครอบครัวและการช่วยเหลือแรงงานของเครื อญาติ
ทั้งนี้ ยงั มีรูปแบบสิ ทธิ ส่วนรวมที่ซ้อนอยูเ่ หนือที่ดินดังกล่าวคือคนในชุมชนมีสิทธิ ใช้ประโยชน์ใน
ทรัพยากรทรัพยากรธรรมชาติที่เกิ ดขึ้นเหนื อที่ดินดังกล่าว ตามฤดูกาล เช่น สามารถเข้าไปเก็บหา
อาหาร เช่ น กบ เขียด ปลา ผัก เห็ ด หรื อเลี้ ยงสัตว์ได้ แต่เมื่อสิ ทธิ ในที่ดินตกไปอยู่ในมือของกลุ่ ม
อุตสาหกรรมเกลือ เจ้าของที่ดินเดิมขายที่ดินไปเกือบทั้งหมด บางคนกลายมาเป็ นลูกจ้างในนาเกลือ
ขณะที่มีเพียง 3 ครัวเรื อนที่ไม่ขายที่ดินนั้นก็กลายมาเป็ นผูป้ ระกอบการเกลือ ในฐานะ “ลูกนา” หรื อ
“ลูกหนี้ เจ้าของนาเกลื อ” แต่ผลกระทบที่เกิ ดกับคนทุกคนในชุ มชนโดยอ้อมคือพวกเขาได้สูญเสี ย
สิ ทธิส่วนรวมในการเก็บหาอาหารตามธรรมชาติที่ซ้อนทับอยูเ่ หนือที่ดินทุ่งดอกไม้แดงอย่างสิ้ นเชิง
ต่อมาไม่นานก็เกิดปั ญหาขัดแย้งจากผลกระทบและการแพร่ กระจายความเค็ม และแผ่นดินทรุ ดจาก
การสู บนํ้าเกลือมากเกินศักยภาพตามธรรมชาติจะรองรับได้ ข้อนี้ ช้ ี ให้เห็นว่าคนในชุมชนไม่อาจจะ
ควบคุม หรื อเป็ นเจ้าของทรัพยากรนํ้าเกลือในชุมชนได้ ระบบความเชื่อในผีเกลือหายไปแล้วระบบ
การยื่ น ขออนุ ญ าตสู บ นํ้าเกลื อ และประกอบกิ จ การเกลื อ ในพื้ น ที่ ต ามประกาศกระทรวง
อุตสาหกรรม พ.ร.บ.โรงงาน และ พ.ร.บ.แร่ คือระบบสิ ทธิ ใหม่ที่อาํ นาจศูนย์กลางของรัฐบังคับใช้
เหนือระบบสิ ทธิชุมชนเดิม และระบบนี้ได้ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรที่โยงใยกันอยูใ่ นนิเวศชุมชน
ระบบกรรมสิ ทธิ์ ส่ วนบุคคลภายใต้การควบคุมการใช้ทรัพยากรที่ดิน และแร่ (นํ้าเกลือ)
รัฐได้ให้สิทธิ เอกชนเข้าไปจัดการพื้นที่กรรมสิ ทธิ์ โดยปรับนิเวศนาข้าวที่มีความสอดคล้องกับระบบ
199

นิ เวศ แบบนาบะ นาทุ่ง ที่ยงั มีตน้ ไม้ยืนต้นอยูห่ ลากตา และเชื่อมโยงกับป่ าทามริ มฝั่งห้วย โดยการ
ปรับไถเบิกขุดรากถอนโคนต้นไม้แล้วบดอัดดิ นให้แน่ น จนสิ้ นสภาพนิ เวศเดิม แล้วสร้ างระบบ
นิ เวศอุตสาหกรรมนาเกลือที่ผลิตเกลือด้วยเทคโนโลยีขา้ มนิเวศ หรื อ นาเกลือ เข้ามาแทนที่และได้
ทําลายระบบสิ ทธิ และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรเหนือทุ่งดอกไม้แดงจนหมดสิ้ น สะท้อนผ่านการที่
ชาวนาบางรายที่ไม่ยอมขายที่ดินแต่ถูกปิ ดล้อมกดดันให้ขายที่ดิน โดยการไม่อนุญาตให้สัญจรผ่าน
ที่ดินของนายทุ นที่ อยู่ล้อมรอบที่ ดินของชาวนาคนนั้น การดิ้ นรนต่อสู้เพื่อช่ วงชิ งความมีอาํ นาจ
เหนือที่ดินกลับคืนมากระทําโดยหวังพึ่งโครงสร้างอํานาจรัฐ โดยผูใ้ หญ่บา้ นขณะนั้นเป็ นแกนนําพา
ชาวบ้านร้องเรี ยนเรื่ องผลกระทบจากนาเกลือต่อผลผลิตในไร่ นา แต่ปรากฏว่านายอําเภอและผูว้ ่า
ราชการขณะนั้นไกล่เกลี่ยให้มีการจ่ายค่าเสี ยหายต่อผลผลิตข้าวไร่ ละ 3,000 บาทในปี นั้น ขณะที่ปี
ต่อมาความเค็มยังคงอยูแ่ ละทวีความรุ นแรงขึ้นเรื่ อยๆ ความพยายามเคลื่อนไหวหลายครั้งของชาว
โนนดอกไม้แดงล้มเหลว ที่ สุดชาวนาเกื อบทั้งหมดก็ขายที่ดินไปให้กบั นายทุน เหลื อชาวนาราย
สุ ดท้ายที่ไม่ยอมขายเพราะถูกกดราคาอย่างหนัก ชาวนารายดังกล่าวหาทางออกโดยการไปกูเ้ งินเพื่อ
มาซื้อที่ดินทําเป็ นถนนเข้าสู่ แปลงนาของตน แต่เมื่อไม่สามารถผลิตข้าวได้อีกเพราะที่ดินของเขาเค็ม
จัด ชาวนารายนี้จึงต้องผันตัวเองมาเป็ นคนทํานาเกลือโดยได้เจรจากับนายทุนรายหนึ่ งเพื่อขายฝาก
ที่ดินให้ได้เงิ นมาลงทุ นปรับที่ นาทํานาเกลื อ อีกทั้งต่อมาชาวนารายนี้ ได้กลายเป็ นผูผ้ ลิตเกลื อให้
นายทุนอีกทอดหนึ่ง
ชาวนารายสุ ดท้ายแห่ งทุ่งดอกไม้แดงรายนี้ ได้เข้าไปสู่ ระบบการผลิตและระบบตลาด
ค้าขายเกลือท้องถิ่ นในฐานะผูป้ ระกอบการรายย่อยคนหนึ่ ง แต่ไม่อาจจะมีอาํ นาจต่อรองในตลาด
ดังกล่าวเพราะเป็ นผูผ้ ลิตรายเล็ก และระบบตกเขียวเกลือที่เขาเข้าไปเป็ นส่ วนหนึ่ งทําให้ไม่อาจจะสู้
กับ ดอกเบี้ ย ที่ เพิ่ ม ขึ้ นทุ ก วัน แม้เขาจะส่ ง เกลื อขายให้น ายทุ นเป็ นการจ่ า ยดอกเบี้ ย ทุ ก ปี แต่ ที่ สุ ด
นายทุนประกาศจะยึดที่ดินของเขาในปี 2544 เขาจึงจะต้องไถ่ถอนที่ดิน เขาต้องไปกูเ้ งินธนาคาร
เพื่อการ เกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.) พร้อมทั้งขายวัวที่มีอยูม่ าเพิ่มเพื่อไถ่ถอนที่ดินที่ขาย
ฝากไว้กบั นายทุนพร้อมดอกเบี้ย หลังปลดหนี้ นายทุนแล้วเขายังต้องทํากิจการผลิตเกลือเพื่อขายให้
นายทุนเกลื อต่อไปโดยทําสัญญาขายเกลือแบบตกเขียวเกลือคือรับเงินมาลงทุนก่อนแล้วขายเกลือ
คืนให้ในราคาที่นายทุนกําหนดตันละ 350 บาท แม้ราคาเกลือในท้องตลาดจะสู งหรื อตํ่าอย่างไรก็
ตาม ทําให้เขายังคงวนเวียนอยูใ่ นความเป็ นหนี้เพราะไม่อาจจะทํานาข้าวและต้องซื้ออาหาร และจ้าง
แรงงานในแต่ละฤดูกาลผลิตเป็ นจํานวนมาก
จะเห็นว่าระบบกรรมสิ ทธิ์ ในที่ดินของชาวบ้านเดิมที่เป็ นเครื อญาติกนั ในทุ่งดอกไม้แดง
นั้นแม้ว่าคนใดๆ จะมีเอกสารสิ ทธิ์ หรื อสิ ทธิ เหนื อที่ดินในทุ่งนั้น แต่ทรัพยากรอื่น เช่ น กบ เขี ยด
200

ปลา หอย ที่อยูใ่ นนานั้นยังคงเป็ นของส่ วนรวม ชาวบ้านคนอื่นสามารถเก็บหาได้ และการเดินทาง


สัญจรไปมา หรื อเลี้ยงสัตว์ในทุ่งได้อย่างเสรี แต่ตอ้ งไม่ทาํ ให้ขา้ วหรื อคันนาของเจ้าของที่ดินเสี ยหาย
แต่ระบบสิ ทธิ ปัจเจกชนแบบสมบูรณ์ของเหล่ านายทุนนาเกลือนั้นแข็งตัวจนก่อความขัดแย้งทาง
นิเวศวิทยาและเบียดขับผูท้ ี่มีอาํ นาจทางการเมืองและเศรษฐกิจน้อยกว่าให้ตกเป็ นเบี้ยล่างในที่สุด
ความเปลี่ ย นแปลงแนวคิดเรื่ องทรั พย์สินส่ วนร่ วมในการหาอยู่หากิ น ถูก แทนที่ด้วย
ระบบสิ ทธิ ปัจเจกอย่างสมบูรณ์ และฉับพลันโดยมุ่งแสวงหากําไรจากนํ้าเกลือให้มากที่สุด ขณะที่
การหาประโยชน์โดยอ้างสิ ทธิ ปัจเจกเหนื อที่ดิน หรื อการได้รับอนุ ญาตให้ประกอบการเกลื อตาม
กฎหมาย นั้นได้ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรในห้วยหนองคลองบึง ได้ทาํ ลายทรัพย์สินส่ วนรวมอัน
ได้แก่ สิ่ ง มี ชี วิต ในธรรมชาติ จนทํา ให้ช าวบ้า นมี ค วามเคลื่ อนไหวเพื่ อพยายามเรี ย กร้ องสิ ทธิ ใ น
ทรัพยากรอันหลากหลายนั้นคื นมาต่อโครงสร้ างอํานาจรัฐ แต่มีผลเพียงเล็กน้อย เช่ นการชดเชย
ค่าเสี ยหายต่อนาข้าวหนึ่ งฤดูกาลผลิต แต่ความเค็มก็ยงั ทวีความรุ นแรง ซึ่ งต่างอย่างสิ้ นเชิงเมื่อมอง
ย้อนกลับไปมองความสัมพันธ์ข องชุ มชนบ้านโนนดอกไม้แดงในยุคเริ่ มต้นที่พ่ ึงพิงด้วยศรัทธาใน
ธรรมชาติ ความรู ้ และเทคโนโลยีการผลิ ตเกลื อขนาดเล็กในท้องถิ่ น จากความสัมพันธ์กบั ระบบ
นิเวศแทนที่ดว้ ยเทคโนโลยีขา้ มนิเวศ “นาเกลือ” มาผลิตเกลือปริ มาณมากคนในยุคนี้ จึงสัมพันธ์กบั
เกลือด้วยระบบการจ้างงาน และการตลาด

2. นิเวศสุ ขภาวะในชุ มชนแหล่งผลิตเกลือ

อีกด้านภายใต้แนวคิดนิเวศวิทยาสุ ขภาวะ (Eco-Health) โดยพิจารณาภาพความสัมพันธ์


ของ คน สัตว์ และสิ่ งแวดล้อม หรื อระบบนิเวศว่าหากเป็ นไปอย่างสมดุลก็จะเอื้อต่อความมีสุขภาพ
หรื อ สุ ขภาวะที่ ดีข องคน แต่ ในทางกลับกันเมื่อสุ ขภาพของสิ่ งมีชีวิตในระบบนิ เวศ (Ecological
Health) ถูกทําลายลงอย่างรวดเร็ วด้วยอิทธิ พลของความเค็ม ซึ่ งเดิมสมดุลธรรมชาติได้เก็บความเค็ม
ไว้ใ ต้ดิ น แต่ เมื่ อ ความเค็ ม ถู ก พลิ ก ขึ้ น มาบนผิว ดิ น ปริ ม าณมากทํา ให้ สุ ข ภาพของระบบนิ เ วศ
(Ecosystem Health) แย่ลงจนส่ งผลต่อสุ ขภาพของมนุษย์ (Human Health) ความไม่มน่ั คงทางสุ ข
ภาวะดังกล่ าวนั้นสามารถมองผ่านปั จจัยกําหนดสุ ขภาพ หรื อ ปั จจัยที่จะส่ งผลให้คนในชุ มชนมี
สุ ขภาพหรื อสุ ขภาวะที่ดีน้ นั มีหลายอย่าง ได้แก่ สิ่ งแวดล้อมทางธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของคนใน
ชุ มชน การเมือง กฎหมาย หรื อสิ ทธิ หรื อการเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติ ดังนั้นคําว่า สุ ขภาพ หรื อ
สุ ขภาวะ ในที่ น้ ี จึงเป็ นเรื่ องที่สัมพันธ์ใกล้ชิด ต่อชี วิตอย่างไม่อาจแยกออกจากกิ จกรรมต่างๆ ใน
ชี วิตประจําวันของผูค้ น ตลอดจนความสัมพันธ์ทางสังคมที่คนทั้งหลายมีส่วนเกี่ยวข้องอยูด่ ว้ ย เช่ น
อาหาร การบริ โภค สิ่ งแวดล้อม รวมทั้งเรื่ องสุ ขภาพที่เชื่อมโยงกับอาชีพ หรื อโรค และการเจ็บป่ วย
201

ชุ ม ชนแหล่ ง ผลิ ต เกลื อ บ้า นโนนดอกไม้แ ดงปั จ จุ บ ันตกอยู่ใ นภาวะเสี่ ย งต่ อ ภัย พิ บ ัติ
แผ่นดิ นทรุ ดกว่า 10 หลุ มยุบในทุ่งดอกไม้แดงและในหมู่บา้ น รวมทั้งโพรงดิ นใต้หมู่บา้ นและ
คํา ยื นยัน ของนัก วิ ช าการที่ ว่า ชุ ม ชนนี้ เป็ นชุ ม ชนที่ เสี่ ย งต่ อ ภัย พิ บ ตั ิ ดิ นทรุ ด นั่นแสดงให้เห็ นว่า
อุตสาหกรรมเกลือเป็ นปั จจัยคุกคามสุ ขภาพคนในชุมชนโดยตรง นอกเหนือไปจากการแพร่ กระจาย
ความเค็มจนทําให้ขาดแคลนอาหาร จากที่เคยหาได้จากแหล่งอาหารใกล้บา้ น ดังที่กล่าวมา ปั ญหา
ความขัดแย้งระหว่างคนในชุมชน ระหว่างชุมชนกับกลุ่มทุนนาเกลือ และระหว่างชุมชนกับรัฐ ที่ก่อ
ตัวขึ้นอย่างต่อเนื่องแม้จะถูกกดทับไว้ดว้ ยอํานาจการเมืองในท้องถิ่นแต่ปัจจุบนั พบว่ามีการแสดงตัว
ผ่า นความพยายามเชื่ อมโยงกับ เครื อข่ ายผูไ้ ด้รับ ผลกระทบจากเกลื อในตําบลอื่ นภายในจัง หวัด
สกลนคร เหตุ การณ์ เหล่านี้ ล้วนส่ งผลต่อการมีสุขภาพอนามัยที่ดี ทั้งร่ างกายและจิตใจ เพราะแม้
คนงานกลุ่มหนึ่งจะสามารถมีงานทําด้วยการรับจ้างรายวัน แต่รายได้น้ นั ก็ไม่พอเพียงต่อการดํารงชีพ
ตลอดปี และชาวนาอิสระเดิมต้องตกเป็ นลูกจ้างในที่ดินที่เคยเป็ นของบรรพบุรุษของตนเอง และ
ปั จ จุ บ ันต้องมี ชี วิต อยู่ใ นสภาพแวดล้อ มที่ เต็ม ไปด้ว ยความเค็ม และความไม่ ม น่ั คงในชี วิตและ
ทรัพย์สิน ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาระบบบริ หารจัดการอุตสาหกรรมเกลือของรัฐนั้นไม่สามารถควบคุ ม
ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม ขณะที่ฝ่ายการเมืองท้องถิ่นปัจจุบนั คือกลุ่มนายทุนผลิตเกลือรายใหญ่เสี ยเอง
สิ่ งนี้ช้ ีให้เห็นว่าระบบธรรมาภิบาลในการจัดการเกลือที่ไม่ดีส่งผลต่อการมีสุขภาวะดีของชุมชนด้วย
เมื่อมองกว้างออกไปในระบบนิเวศใหญ่คือลุ่มนํ้าสงคราม ซึ่ งพบว่ามีเทคโนโลยีการผลิต
เกลืออยูห่ ลายแบบ และเทคโนโลยีที่แตกต่างกันนั้นเป็ นปัจจัยทําให้ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับการ
ผลิ ตเกลื อแตกต่างกันออกไปด้วย เมื่อเปรี ยบเทียบรู ปแบบการผลิตเกลื อระหว่าง การทํานาเกลื อ
บ้านโนนดอกไม้แดง การต้มเกลือด้วยฟื นบ่อหัวแฮด การต้มเกลือด้วยแกลบบ้านกุดเรื อคํา และการ
พัฒนาเหมืองแร่ ใต้ดินที่อาํ เภอวานรนิ วาส ทําให้สามารถมองเห็นความเปลี่ยนแปลงและแนวโน้ม
ความเปลี่ ยนแปลงอย่างต่ อเนื่ องของการผลิ ตเกลื อในลุ่ มนํ้าสงครามที่ มีมาตั้ง แต่ ยุค โบราณ เมื่ อ
พิจารณาปั จจัยที่ทาํ ให้เกิ ดความเปลี่ยนแปลงรู ปแบบการผลิตเกลือในชุ มชนดังกล่าว สามารถแยก
พิจารณาได้ 5 ปั จจัย โดยแต่ละปั จจัยไม่ได้แยกขาดจากกันแต่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน

3. ปัจจัยกาหนดความเปลีย่ นแปลงการผลิตเกลือในลุ่มนา้ สงคราม

3.1. ปัจจัยด้ านนิเวศวิทยา


ลักษณะทางธรณี วิทยาชุ มชนแหล่งผลิตเกลือมีโครงสร้างทางธรรมชาติที่มีเกลือ หรื อโดม
เกลื อ และแร่ โพแทชเป็ นองค์ประกอบอยู่ใต้ดิน ประกอบกับการที่ร่างกายมนุ ษย์มีความต้องการ
เกลือโดยธรรมชาติทาํ ให้คนในชุ มชนพัฒนาความรู้ในการผลิตเกลือจากดินเอียด หรื อต้มเกลือจาก
202

นํ้าเค็ม เพื่อหาเกลื อมาบริ โภคและถนอมอาหารให้สามารถมีชีวิตรอด ต่อมาเกลือกลายเป็ นสิ นค้า


ระยะไกล ก่อนจะกลายเป็ นปั จจัยการผลิ ตในภาคอุตสาหกรรม เทคโนโลยีขนาดใหญ่จึงเข้ามามี
บทบาทในการแสวงหาเกลือเพื่อตอบสนองความเติบโตของสังคมอุตสาหกรรมมากขึ้นเรื่ อย ๆ
3.2. ปัจจัยด้ านเทคโนโลยี
รู ปแบบของเทคโนโลยีในการผลิตเกลือจัดเป็ นปั จจัยพื้นฐานที่สําคัญของวัฒนธรรมการ
ผลิตเกลือที่เกิดขึ้น เพราะคนในชุ มชน และกลุ่มผูผ้ ลิตเกลือที่เข้ามาดําเนินการผลิตเกลือต้องพึ่งพา
ปั จจัยนี้ ซึ่ งพัฒนาขึ้นมาจากความรู้ในการผลิตคือการผลิตเกลือด้ วยเทคโนโลยีพืน้ บ้ าน โดยนําเอา
ดินเอียดที่เกิดจากอิทธิ พลของนํ้าเกลือใต้ดินมาผลิตเกลือในอดีต ต่อมาก็มีการขุดบ่อนํ้าตื้นนํานํ้าเค็ม
ซึ่งเป็ นนํ้าที่ไหลผ่านโดมเกลือใต้ดินขึ้นมาต้มเกลือ ทั้งสองแบบนี้ ทาํ เฉพาะในฤดูแล้ง ก่อนจะมีการ
นําเทคโนโลยีการขุดเจาะนํ้าบาดาลขึ้นมาต้มซึ่ งทําให้สามารถขยายระยะเวลาการผลิตและปริ มาณ
การผลิตให้เพิ่มขึ้น ก่อนจะพัฒนามาเป็ นการนําความรู้การทําเกลือทะเลเข้ามาซึ่ งเป็ นการผลิตเกลือ
ด้ วยเทคโนโลยีข้ามนิเวศ กล่าวคือรู ปแบบการทําเกลือในนิเวศชายทะเลได้นาํ เข้ามาใช้ในระบบนิเวศ
ลุ่มนํ้า โดยคนต่างถิ่ นได้นาํ เอาความรู้ขา้ มนิ เวศเข้ามาปรับเปลี่ยนโครงสร้างนิ เวศนาข้าวในลุ่มนํ้า
สงครามให้เป็ นนิเวศนาเกลือด้วยรถแทร็ กเตอร์ขนาดใหญ่ ปัจจุบนั ท้องนาทุ่งดอกไม้แดงกลายสภาพ
เป็ นลานนาเกลือ มีรถบรรทุก โรงเก็บเกลือ และเครื่ องมือสู บนํ้าเกลือที่มีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้นทําให้
สามารถผลิ ต เกลื อ ได้ม ากขึ้ น และท้า ยที่ สุ ด ได้นํา แนวคิ ด ในการผลิต เกลือ ด้ วยเทคโนโลยีข้ า ม
พรมแดน คือการทําเหมืองแร่ ใต้ดิน เข้ามานําเสนอ เพื่อผลิตเกลือมากขึ้นให้สามารถขยายตลาดค้า
เกลือข้ามพรมแดน
3.3. ปัจจัยด้ านเศรษฐกิจ
ระบบทุ น และความต้องการของภาคอุตสาหกรรมเป็ นตัวเร่ งให้เกิ ดการเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยีที่นาํ มาใช้ในการผลิตเกลือให้มากขึ้นโดยเปลี่ยนจากเทคโนโลยีการผลิตเกลือเพื่อยังชี พ
หรื อเกลื อเพื่อการค้าขายแลกเปลี่ ยนในท้องถิ่ นมาเป็ นเทคโนโลยีขา้ มนิ เวศคือนาเกลือ และมีการ
พัฒนารู ปแบบพลังงานในการต้มเกลือหลายแบบ เช่ น แกลบ ถ่านหิ น ฯลฯ ก่อนจะมีการนําเสนอ
เทคโนโลยีขา้ มพรมแดนคือเหมืองใต้ดิน ซึ่ งเป็ นเทคโนโลยีเศรษฐกิ จที่มุ่งผลิตเพื่อการตลาดเพื่อ
ป้ อนสู่ ระบบสังคมอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเคมี และอุตสาหกรรมอาหารที่มีการขยาย
ขนาดใหญ่ข้ ึ น ขณะเดี ยวกันชุ มชนก็มีความเปลี่ ยนแปลงภายในที่เคลื่ อนเข้ามาใกล้ชิดกับระบบ
การค้าการตลาดนี้มากขึ้น แต่อยูใ่ นฐานะแรงงานไร้ผมี ือ ขณะที่เทคโนโลยีที่ใหญ่ข้ ึนตลอดจนระบบ
การค้าข้า มพรมแดนถู ก ผลักดันภายใต้นโยบายการพัฒนาเหมื องเกลื อและแร่ โพแทชใต้ดินของ
203

รัฐบาลเพื่อหวังให้ภาคอี สานตอนบนเป็ นแหล่ งผลิตเกลื อและโพแทชเพื่อจะสามารถยึดกุมตลาด


เกลือ และโพแทชในภูมิภาคลุ่มนํ้าโขง และอาเซียน
3.4. ปัจจัยด้ านการเมือง
การเมื องทั้งในระดับท้องถิ่ น และระดับประเทศ นับเป็ นเครื่ องมือในการกําหนด และ
ผลักดันนโยบาย เช่น การสํารวจแร่ การสร้างระเบียบ กฎหมาย ให้สามารถนําเทคโนโลยีขา้ มนิเวศ
และเทคโนโลยีขา้ มพรมแดนมาใช้ในการผลิตเกลือ โดยมีฝ่ายทุนนําเงินทุนมาดําเนินการผลิตเกลือ
ในชุ ม ชนโดยมี แ รงงาน และปั จ จัย การผลิ ต หรื อ วัต ถุ ดิ บ ในธรรมชาติ พ ร้ อ มอยู่ การกํา หนด
ยุท ธศาสตร์ ก ารพัฒนาแหล่ ง เกลื อหิ นและแร่ โพแทชเพื่อเชื่ อมต่ อภาคอี ส านตอนบนเข้า กับ เขต
เศรษฐกิ จในภูมิภาคลุ่มนํ้าโขงจึงเป็ นแนวทางที่มีแนวโน้มทําให้เกิ ดการขยายตัวของอุตสาหกรรม
เกลือ-โพแทช โดยเหมืองแร่ ใต้ดิน เห็นได้จากการแก้ไขกฎหมายแร่ เมื่อปี 2545ให้สามารถทําเหมือง
แร่ ใต้ดินได้ การเปิ ดพื้นที่ศึกษาและสํารวจแร่ ตามกฎหมายแร่ ปี 2510 มาตรา 6 ทวิ โดยกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมได้มีคาํ สั่งอนุญาตให้เปิ ดพื้นที่แหล่งแร่ เกลือและแร่ โพแทชใน
พื้นที่อาํ เภอวานรนิ วาสจังหวัดสกลนครให้สามารถสํารวจแร่ เพื่อพัฒนาเหมืองแร่ ในเชิงพาณิ ชย์ได้
และอยูร่ ะหว่างการยืน่ ขออาชญาบัตรพิเศษสํารวจแร่ ของบริ ษทั เอกชน
ปั จจุบนั นี้แหล่งผลิตเกลือตามชุมชนต่างๆ ในลุ่มนํ้าสงครามมีกาํ ลังการผลิตเกลือได้เพียง
สามแสนถึ งห้าแสนตันต่อปี แต่ได้สร้ างผลกระทบและความขัดแย้งให้เห็ นโดยทัว่ ไป ผูก้ าํ หนด
นโยบายมุ่งหวังที่จะจํากัดการทําเกลือเหล่านั้นและสนับสนุนเทคโนโลยีที่ใหญ่กว่า มีกาํ ลังการผลิต
มากกว่าและผูกขาดอยูท่ ี่บริ ษทั เอกชนรายใดรายหนึ่ ง อย่างไรก็ตามแนวทางนี้ อาจนําผลกระทบที่มี
ขนาดความรุ นแรงมากกว่าเป็ นเงาตามตัวเมื่อเทคโนโลยีเหมืองใต้ดินสามารถนําเกลือขึ้นมามากกว่า
ที่เป็ นอยู่ 3-5 เท่า ดังนั้นหากมีการพัฒนาเหมืองใต้ดินที่อาํ เภอวานรนิวาสได้จริ ง ชุมชนแหล่งเกลือ
และแร่ โพแทชในลุ่มนํ้าสงครามแห่งนี้อาจจะเผชิญภาวะวิกฤตทางสิ่ งแวดล้อม สังคม และสุ ขภาพ ที่
ใหญ่กว่าหลายเท่าตัวจากการนําเกลือขึ้นมาจากใต้พ้ืนดินมากจนเกินไป จนธรรมชาติขาดสมดุล
3.5. ปัจจัยด้ านสั งคม
ปั จจุบนั มีการรวมตัวกันของกลุ่มผูล้ งทุนในนามกลุ่มผูป้ ระกอบการเกลือในชุมชนแหล่ง
ผลิ ต เกลื อ ต่ า งๆ โดยเป็ นการจัด รู ป แบบความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งนายทุ น เกลื อ และลู ก นา ผ่ า น
กระบวนการพันธสัญญาการผลิตเกลือ หรื อการ “ตกเขียวเกลือ” โดยผูเ้ ป็ นนายทุนสัญญาว่าจะให้
เงินทุนและรับซื้ อเกลือจากลูกนา แต่ฝ่ายลูกนาจะต้องขายเกลื อให้นายทุนในราคาที่กาํ หนด ตันละ
350 บาทขาดตัว แม้ราคาในท้องตลาดจะขึ้นลงอย่างไรก็ตาม ทั้งนี้ผลู้ งทุนดังกล่าวมีความสัมพันธ์
ทางการค้ากับโรงงานอุตสาหกรรมผูใ้ ช้เกลือแบบทําสัญญาระบบโควต้าขายส่ งเกลือเป็ นรายปี
204

ดังนั้นผูป้ ระกอบการรายย่อย ที่อาจจะเป็ นผูเ้ ช่าที่ดินจากนายทุนรายใหญ่ เป็ นลูกจ้าง เป็ น


ลูกนา หรื อเป็ นเจ้าของที่ดิน จะผลิตเกลือผ่านระบบพันธสัญญาเกลือ โดยสัญญาว่าปี นี้ จะผลิตเกลือ
ให้นายทุนกี่ตนั เป็ นอย่างตํ่า ก็สามารถรับเงินมาลงทุนก่อนในต้นฤดูแล้วจ่ายคืนเป็ นเกลือตามจํานวน
ที่ตกเขียวมาได้ โดยผูป้ ระกอบการรายย่อยนั้นจะรวมกลุ่มกันเพื่อต่อรองกับชุ มชนแต่ไม่มีผลกับ
การต่อรองเรื่ องราคาเกลือกับนายทุนรายใหญ่แต่อย่างใด แต่เป็ นการรวมกลุ่มกันของผูผ้ ลิตเกลือราย
ย่อย เพื่อต่อรองกับเจ้าหน้าที่รัฐในการผ่อนปรนระเบียบต่างๆ และต่อรองกับมวลชนในชุ มชนที่
ได้รับผลกระทบ โดยที่จะมีการเก็บเรี่ ยไรเงินจากสมาชิกผูม้ ีนาเกลือ เช่านาเกลือ หรื อเป็ นลูกนา หรื อ
เจ้าของที่ดินที่ทาํ นาเกลือในเขตชุ มชน เพื่อใช้จ่ายค่าเสี ยหายกรณี เกิดผลกระทบ หรื อขุดลอกคลอง
กันนํ้าเค็มตามข้อแนะนําของทางราชการ หรื อจ่ายเป็ นค่าเลี้ยงรับรองเจ้าหน้าที่ราชการที่เข้ามาตรวจ
พื้นที่ เป็ นต้น
3.6. ปัจจัยด้ านวัฒนธรรม
ความรู้เรื่ องการผลิตเกลือด้วยเทคโนโลยีทนั สมัยที่ถูกนําเข้ามาแทนที่การผลิตเกลือแบบ
พื้นบ้าน ประกอบกับรู ปแบบการผลิตเกลือขนาดใหญ่ข้ ึนนั้นเข้ามาพร้อมระบบเงินทุนจํานวนมาก
การจ้างงาน การค้าขาย ทําให้ทศั นคติและค่านิ ยมต่างๆ ในชุมชนแหล่งผลิตเกลือบ้านโนนดอกไม้
แดง เปลี่ ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว เมื่ อระยะแรกมีการเข้ามากว้านซื้ อที่ดินในราคาสู งมาก ชาวบ้าน
จํานวนหนึ่ งยอมขายที่ ดินด้วยเห็ นว่าสามารถซื้ อที่ดินแปลงใหม่ซ่ ึ งจะได้พ้ืนที่มากกว่าแม้จะเป็ น
พื้นที่ โคกที่ ค วามอุ ดมสมบูรณ์ ต่ าํ ก็ ตาม เมื่ อเริ่ ม ทํา นาเกลื อแล้วมี การไถเบิก ที่ดิน บดอัดหน้าดิ น
เปลี่ยนเป็ นนาเกลื อ ทําให้เกิดการทําลายระบบนิ เวศทุ่งดอกไม้แดงที่เป็ นที่ต้ งั ของแหล่งทํากิ นของ
หมู่บา้ นเดิม ระบบการทํามาหากินที่พ่ งึ พิงอยูก่ บั ทุ่งดอกไม้แดงต้องหันไปพึ่งพิงโคก หรื อป่ ามากขึ้น
อีกทั้งการพึ่งพิงระหว่างเครื อญาติ การช่วยเหลือแรงงงาน เปลี่ยนเป็ นระบบจ้างงาน และเงื่อนไขการ
ดํารงอยู่ของการผลิ ตเกลื อถูกกําหนดด้วยวัฒนธรรมการซื้ อขาย การเป็ นลูกจ้าง ลูกนา และลูกหนี้
การทําบุญประเพณี ภายในชุมชนจึงดําเนิ นการอย่างเร่ งรี บ และถูกกําหนดด้วยวัฒนธรรมการผลิต
เกลือในฤดูกาลต่าง ๆ
ปั จจัยทั้ง 6 ที่กล่าวมานั้นมีสองปั จจัยหลักที่มีผลทําให้เกิดการใช้ทรัพยากรเกลือใต้ดิน
เพิ่มมากขึ้นอย่างเห็ นได้ชัด คือ ปั จจัยด้านเทคโนโลยีและปั จจัยทางด้านการเมือง นับจากคนใน
ชุมชนเรี ยนรู ้ การผลิ ตเกลื อแบบพื้นบ้านโดยการขุดดินเอียดมากรองเอานํ้าเกลือ หรื อการตักนํ้าบ่อ
ตื้นที่เค็มอยูแ่ ล้วมาต้มเป็ นเกลือใช้กนั ในครัวเรื อน ล่องเรื อมาต้มเกลือในฤดูแล้งแล้วนําไปขายหรื อ
แลก เปลี่ยนกับชุมชนริ มฝั่งนํ้าสงคราม และลํานํ้าโขง ก่อให้เกิดการตั้งชุมชนถาวรในลุ่มนํ้าสงคราม
แล้วมี การขยายตัวของชุ มชนเพิ่มมากขึ้น ต่อมาพัฒนาเป็ นการต้มเกลือขนาดใหญ่โดยการสู บนํ้า
205

บาดาลเค็มมาต้มด้วยแกลบหรื อเชื้ อเพลิ งอื่น ก่ อนจะเปลี่ ยนเป็ นเทคโนโลยีการทํานาเกลื อซึ่ งก่ อ


ผลกระทบต่อสังคม สิ่ งแวดล้อม และสุ ขภาวะของคนภายในชุมชน อย่างไม่อาจจะควบคุมได้ มาใน
ปั จจุบนั ฝ่ ายรัฐได้เสนอเทคโนโลยีเหมืองแร่ ใต้ดิน โดยมีความพยายามผลักดันให้เกิ ดเหมืองเกลือ-
โพแทชใต้ดิน ชี้ให้เห็นว่าการก้าวไปของรู ปแบบเทคโนโลยีที่กล่าวมานี้ เป็ นสิ่ งที่สําคัญคือสิ่ งที่ก่อ
ความเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับแหล่งเกลื ออย่างไม่ขาดสาย เพื่อเข้ามาใช้เกลือใน
พื้นที่ลุ่มนํ้าสงคราม
เมื่อมีการขยายตัวเป็ นอุตสาหกรรมเกลือต้มและตากในยุคหลังจากที่ประเทศไทยก้าวสู่
ความเป็ นสังคมอุตสาหกรรมมากขึ้นและมีปัจจัยทางการเมือง เป็ นตัวผลักดันความเปลี่ ยนแปลง
ดังกล่าวเมื่ อฝ่ ายรัฐ ฝ่ ายการเมือง ฝ่ ายทุน ที่กาํ หนดนโยบายมุ่งขยายกําลังการผลิ ตเกลื อ โดยเพิ่ม
ปริ มาณพลังงานที่นาํ มาใช้ผลิตเกลือจากการทํานาเกลือ หรื อต้มเกลือมาเป็ นการทําเหมืองแร่ ใต้ดิน
ด้วยมีความเชื่ อว่าประสิ ทธิ ภาพของเทคนิคเหมืองแร่ ใต้ดินจะจํากัดผลกระทบ และให้ผลตอบแทน
ทางเศรษฐกิจมากกว่าโดยอ้างว่าเป็ นไปเพื่อให้สังคมส่ วนใหญ่ได้ประโยชน์มากที่สุด
ในอีกด้านหนึ่งจะเห็นได้วา่ พัฒนาการเกลือเพื่ออุตสาหกรรมในระยะหลังเป็ นพัฒนาการ
ที่สังคมไม่สามารถมีพลังควบคุ ม โดยเฉพาะในระดับท้องถิ่น เพราะการใช้เทคโนโลยีขนาดใหญ่
เป็ นเทคโนโลยีเศรษฐกิจที่มีมาตรการลดหรื อป้ องกันผลกระทบที่หละหลวม ตลอดจนมาตรการทาง
สังคมก็ไม่อาจจะควบคุมการใช้น้ าํ เกลือจนสร้างผลกระทบขึ้นได้ แม้จะมีกฎหมายหลายฉบับที่เกี่ยว
ข้องกับการประกอบกิจการเกลือ และมาตรการของรัฐหลายอย่างแต่ก็ไม่อาจควบคุมผลกระทบได้
โดยเฉพาะการแพร่ ก ระจายของนํ้า เค็ม ดิ นเค็ม แผ่นดิ น ทรุ ด และความขัดแย้ง ดัง นั้น พลัง ของ
เทคโนโลยีเศรษฐกิ จเกลื อดังกล่าวแม้จะส่ งเสริ มการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมแต่ก็เป็ นพลังที่ขาด
ความเป็ นธรรมและไม่เอื้อให้ชุมชนในลุ่มนํ้าสงครามเป็ นพื้นที่นิเวศที่มีสุขภาวะดี
ชุมชนบ้านโนนดอกไม้แดงเป็ นชุมชนที่มีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วภายหลังการเข้า
มาของอุตสาหกรรมเกลือ เทคโนโลยีเศรษฐกิจเข้ามามีบทบาทสําคัญในการขุดค้นเอาทรัพยากรใต้
ดินในชุมชนเล็กๆ ที่บา้ นโนนดอกไม้แดง ตลอดจนดึงเอาแรงงานในชุมชนให้กลายเป็ นส่ วนหนึ่ งใน
การพัฒนาอุตสาหกรรมในสังคมใหญ่ ที่สามารถเข้ามายึดกุมทรัพยากรที่มีอยูใ่ นท้องถิ่ นโดยสร้าง
ระบบ ระเบียบ กฎหมาย หรื อการเงิน การลงทุน เพื่อควบคุมความคิดและการดําเนินชีวิตของบุคคล
ในที่สุด
หากพิ จ ารณาในด้า นปริ ม าณวัฒ นธรรมการผลิ ต เพื่ อ อุ ตสาหกรรมนี้ สามารถนํา เอา
ทรัพยากรเกลื อขึ้นมาใช้ให้เป็ นประโยชน์ได้มากขึ้นแต่หาใช่ ประโยชน์สูงสุ ดต่อสังคมไม่ เพราะ
206

ผลตอบแทนหรื อประโยชน์สูงสุ ดไม่ได้ตกอยู่ที่คนในชุ มชนแหล่งผลิตเกลือ หรื อกระจายรายได้


อย่างเป็ นธรรม แต่ตกเป็ นของเจ้าของเทคโนโลยีและเงินทุนที่เข้ามาใช้ที่ดิน และสิ นแร่ น้ าํ เกลือใน
ชุมชนท้องถิ่น ไปยังปลายทางที่ซบั ซ้อนจนไม่อาจจะหาที่สิ้นสุ ด ไม่ใช่เพียงการนําไปใช้ผลิตอาหาร
หรื อบริ โภคเท่านั้น แต่เป็ นการผลิ ตเพื่อตอบสนองสังคมเทคโนโลยีเศรษฐกิ จ เช่ น อุตสาหกรรม
พลาสติก เคมีภณั ฑ์ ปิ โตรเคมี รวมถึงระบบการค้าการลงทุน ในตลาดข้ามพรมแดน
วัฒนธรรมเศรษฐกิ จเกลือนี้ ได้เข้าไปมีพลังอํานาจควบคุมระบบจิตใจของคนในชุ มชน
เพราะความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี เกิดจากแรงกระตุน้ ของวัฒนธรรมเศรษฐกิจที่สังคมไทยเข้าไป
เกี่ ยวข้องกับเศรษฐกิ จทุนนิ ยมโลก โดยเฉพาะความมุ่งหมายที่จะให้ภูมิภาคอีสานเป็ นแหล่งเกลือ-
โพแทช และอุตสาหกรรมเคมีต่อเนื่องในภูมิภาคลุ่มนํ้าโขง และอาเซียน
กระบวนการปรับ ตัวของสังคมภายใต้อิทธิ พ ลของเกลื อ ในขณะที่ คนในชุ มชนโนน
ดอกไม้แดงยังมีวิถีชีวิตที่ปะปนกันหลายแบบ เช่น สมาชิกภายในชุ มชนยังมีการเก็บหาของป่ า เช่ น
เห็ ด ปลา กบเขียด ตามธรรมชาติในพื้นที่นิเวศที่ยงั หากิ นได้บนที่โคกเนิ นที่ไม่มีนาเกลื อ ความที่
ชุ มชนนี้ ยงั มีพ้ืนที่นิเวศที่ดีนี่เองเป็ นเครื่ องคํ้าจุนให้ชุมชนนี้ ยงั ดํารงอยู่ต่อไปได้ ส่ วนในฤดูแล้งมี
ชาวบ้านจํานวนหนึ่ งเข้าไปทํางานรับจ้างในนาเกลื อ ในฐานะผูผ้ ลิตรายย่อย ลูกนา ลูกจ้าง หรื อ
คนงานรับจ้างรายวัน จึงเป็ นการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่กลายเป็ นนิเวศอุตสาหกรรมนา
เกลื อและเทคโนโลยีการผลิ ตเกลื อ เพื่อให้อยู่รอดได้ในระบสังคมเศรษฐกิ จสมัยใหม่ ที่ตอ้ งซื้ อหา
อาหาร ส่ งลูกออกไปเรี ยนหนังสื อ มีความต้องการทางวัตถุอื่น ๆ สู งขึ้น อย่างไรก็ตามแม้วา่ พวกเขา
จะเข้าไปสัมพันธ์กบั ระบบการผลิตดังกล่าวแต่ภายในจิตใจแล้วสะท้อนความไม่มน่ั คงแน่นอน ไม่
เชื่อมัน่ กับการอยูใ่ นระบบนิเวศอุตสาหกรรมเกลือ โดยยํ้าเสมอว่า ถ้าเป็ นไปได้ก็อยากให้หยุดทํานา
เกลือเพราะกลัวหมู่บา้ นถล่มในอนาคต
พฤติ กรรมของคนในชุ มชนที่มีความสัมพันธ์กบั เทคโนโลยีก ารผลิ ตเกลื อ เมื่อคนใน
ชุมชนปรับตัวจากการเป็ นชุมชนเกษตรกรรม เป็ นชุ มชนที่ตอ้ งรับจ้างทํางานในนาเกลือในฤดูกาล
ผลิตที่ตอ้ งเริ่ มต้นทํางานตั้งแต่เช้าตรู กลับเมื่อยํ่าเย็น กิจกรรมภายในชุมชนดําเนินไปด้วยการว่าจ้าง
อาศัยพึ่งพาตลาด อาหารการกินได้มาจากรถพุ่มพวงหรื อรถมอเตอร์ ไซค์ที่มาขายอาหารที่เพิงพักใน
ตอนเที่ยง หรื อการไปเชื่ออาหารเช้าและเย็นในร้านค้าจนกว่าจะได้เงินค่าจ้างจากการทํางานนาเกลือ
ก็ค่อยเอามาจ่าย ไม่มีเวลาปลูกพืชผัก หรื อหาอาหารในธรรมชาติ ตลอดจนพื้นที่ห้วยบ่อแดง และ
ห้วยสาขาต่างๆ ในหมู่บา้ นต่างเป็ นห้วยที่มีน้ าํ เค็มจัด ไม่มีปลายกเว้นฤดูน้ าํ หลากที่น้ าํ มากจริ งๆ
เท่านั้นจึงจะสามารถหาปลาได้ ดังนั้นความสัมพันธ์ระหว่างชุ มชนที่มีนิเวศอุตสาหกรรมเกลือจึง
เปลี่ยนไปเป็ นระบบการค้า การซื้ อขาย การจ้างงาน ส่ วนกิจกรรมทางสังคมต่างๆ เช่น บุญประเพณี
207

ต่างๆ มีบางพิธีกรรมที่ยงั ทําอยูแ่ ต่เป็ นไปอย่างเร่ งรี บและจัดพิธีกรรมอย่างเป็ นทางการ และยังมีการ


พึ่งพากันในหมู่ญาติ หรื อกลุ่มที่มีความสัมพันธ์ทางการเมืองในชุมชน
ชุ มชนบ้านโนนดอกไม้แดงถูกจู่โจมอย่างรวดเร็ วจากอุตสาหกรรมเกลือ เริ่ มจากการเข้า
มาเช่ าที่สูบนํ้าเกลื อมาต้ม โดยใช้ฟืนทําให้ป่าหัวไร่ ปลายนาหมดไปอย่างรวดเร็ ว และเมื่อต้องการ
เกลื อมากขึ้นมีกลุ่ มนายทุนนาเกลื อมากว้านซื้ อที่ดินทํานาเกลือทําให้คนในชุ มชนสู ญเสี ยสิ ทธิ ใน
ที่ดิน รวมทั้งแหล่งนํ้า แหล่งเกลือในชุมชน วัฒนธรรมชาวนาลุ่ม พันธ์ขา้ วนาลุ่ม ซึ่ งพวกเขาเคยใช้
เป็ นนาข้า วที่ ส มบู ร ณ์ ที่ สุ ด ช่ ว งเวลาไม่ น านการช่ ว งชิ ง ทรั พ ยากรของบุ ค คลภายนอกที่ นํา
อุตสาหกรรมเกลือมาแทนที่ก็สาํ เร็ จลง
ปั จจุบนั นี้แม้ในชุมชนบ้านโนนดอกไม้แดงจะเริ่ มเกิดการก่อตัวของกลุ่มผูเ้ ดือดร้อนโดย
การร้ อ งเรี ย นผูใ้ หญ่ บ ้า นในหมู่ บ ้า นเพื่ อ เรี ย กร้ อ งให้มี ก ารชดเชยค่ า เสี ย หาย เช่ น บ้า นแตกร้ า ว
แผ่นดินทรุ ด ตลอดจนเจรจาไกล่เกลี่ยความขัดแย้งที่เกิดขึ้น แต่พลังดังกล่าวยังเป็ นเฉพาะการแก้ไข
ปั ญหาเฉพาะหน้าเท่านั้นถึงไม่ทนั กับสภาวะปัญหา เช่น ปั ญหาความเสื่ อมโทรมของสภาพแวดล้อม
ความไม่มน่ั คงด้านอาหารและความขัดแย้งในเรื่ องทรัพยากร แต่ความเคลื่อนไหวดังกล่าวสะท้อน
ให้เห็นแรงกดดันของปั ญหา และความพยายามที่จะปรับตัวเพื่อสร้างสมดุลของระบบจากภายใน
ชุ มชน เพื่อปรับความสัมพันธ์ทางอํานาจในการต่อรองกับกลุ่มผูเ้ ข้ามาใช้ทรัพยากร แม้ยงั ไม่มีผล
มากนักเพราะชุ มชนนี้ ถูกกดทับจากระบบทุนนาเกลือมานาน คนในชุ มชนเองส่ วนหนึ่ งที่กลายมา
เป็ นลูกจ้าง ลู กหนี้ ลูกนาเกลื อ กับนายทุนใหญ่ที่แทบจะไม่เคยเห็นหน้าว่าจริ งๆ ผูท้ ี่ได้กาํ ไรจาก
การค้าขายเกลือจากนาเกลือทุ่งดอกไม้แดงคือใคร ความสัมพันธ์เชิ งอํานาจระหว่างกลุ่มต่างๆ ใน
ระดับหมู่บา้ นจึงเต็มไปด้วยความไม่เท่าเทียม ระบบการควบคุมการใช้หรื อการเป็ นเจ้าของเกลือนั้น
ไม่อยูใ่ นมือของชุ มชนอีกต่อไป ระบบกรรมสิ ทธิ์ แบบปั จเจกชนเหนือที่ดินที่ผลิตเกลือทํานาเกลือ
นั้นได้สร้างผลกระทบต่อระบบนิเวศโดยรวมเมื่อการผลิตได้ปล่อยของเสี ย นํ้าเค็ม และแผ่นดินทรุ ด
ไว้เบื้องหลัง การต่อสู ้เพื่อช่วงชิ งความมีอาํ นาจเหนื อกว่าในการจัดการทรัพยากรระหว่างรัฐ ระบบ
ตลาดและสถาบันชุ มชน รวมตลอดถึ งผูม้ ีส่ วนเกี่ ย วข้อง ท่า มกลางกระแสการเปลี่ ย นแปลงทาง
เศรษฐกิจที่รุดเร็ วด้วยระบบทุนนิยม ได้ไล่ตอ้ นคนในชุมชนให้อยูใ่ นภาวะเผชิญหน้ากับภัยพิบตั ิและ
ความขัดแย้งในระดับท้องถิ่นแต่หาตัวบงการที่แท้จริ งไม่พบ
ในท้องถิ่นหรื อกลุ่มแกนนําชุมชนได้พยายามแสดงศักยภาพชุมชน ในการสร้างกฎเกณฑ์
ขึ้นมาใช้ในการควบคุ มผลกระทบ เช่ น การเจรจาต่อรองให้มีการซื้ อที่ดิน ซ่ อมแซมบ้าน และการ
ร้องเรี ยนไปยังกลไกอํานาจรัฐถึงปั ญหาในระดับชุ มชน นับเป็ นการตอบโต้ต่อรองกับอํานาจต่างๆ
ในสังคม เพื่อหวังให้มีการเข้ามาช่ วยให้เกิ ดความชอบธรรม โดยการโต้เถี ยงภายใต้สถานการณ์
208

“ความขัด แย้ง ทางนิ เวศ” อัน เกิ ด จากการครอบครอง ใช้ท รั พ ยากรเกลื อ แต่ พ บว่า วัฒ นธรรม
อุตสาหกรรมได้เข้าไปแบ่งแยกความคิดและทัศนคติคนในชุ มชนทําให้ขบวนการเคลื่อนไหวทาง
สังคมและวัฒนธรรมภายในเพื่อเปิ ดเวทีในการแสดงความมีตวั ตนของผูไ้ ด้รับผลกระทบมีนอ้ ยมาก
และแผ่วเสี ยงเมื่อเทียบกับความเคลื่อนไหวทางสังคมของกลุ่มผูไ้ ด้รับผลกระทบกลุ่มอื่นๆ เช่น กรณี
ปั ญหาเรื่ องเกลือที่ตาํ บลดงเหนือ ในอําเภอเดียวกัน
การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเกลื อในลุ่มนํ้าสงครามจากอดีตจนปั จจุบนั มีพฒั นาการ
การผลิตเกลือมาแล้ว 3 แบบ คือ การทําเกลือจากดินเอียด การขุดบ่อนํ้าบ่อตื้นในแหล่งเกลือบ่อหัว
แฮด การสู บนํ้าบาดาลมาต้มด้วยฟื น แกลบ (รวมทั้งเชื้ อเพลิงอื่น) และการทําลานตากเกลือแบบนา
เกลือแบบลานดิน และนาเกลื อแบบลานซี เมนต์ เมื่อพิจารณารู ปแบบเทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิ ต
เกลื อแต่ละแบบจากพื้นที่ศึกษาหลักคือชุ มชนแหล่งผลิตเกลือบ้านโนนดอกไม้แดงเทียบการผลิ ต
เกลือแบบต้มด้วยฟื นและแกลบแล้ว พบว่าการผลิตเกลือแบบนาตากบนลานดินมีผลต่อการกําหนด
บทบาทของเกลือในทางนิเวศ วัฒนธรรม และสภาวะของคนในชุมชนได้ดงั ต่อไปนี้

4. บทบาทของเกลือต่ อชุ มชนลุ่มนา้ สงคราม

การทํานาเกลือตากบนลานดินในชุมชนแหล่งผลิตเกลือบ้านโนนดอกไม้แดง เป็ น
วิธีการที่สามารถผลิตเกลือที่ได้มากที่สุดและต้นทุนตํ่าที่สุดแต่ก็ทาํ ให้เกิดผลกระทบได้ชดั เจนและ
กว้างขวางที่สุดเป็ นเงาตามตัว ซึ่งสามารถพิจารณาบทบาทของเกลือในทางนิเวศ วัฒนธรรม และสุ ข
ภาวะ ได้ดงั ต่อไปนี้
4.1 บทบาทเกลือกับนิเวศ
เกลื อเป็ นองค์ป ระกอบที่ ไม่มีชีวิตในระบบนิ เวศแต่มีความสัมพันธ์และมีอิทธิ พลกับ
ระบบสิ่ งมีชีวติ โดยเป็ นองค์ประกอบที่อยูใ่ นโครงสร้าง (Structure) ของระบบนิเวศในฐานะแร่ ธาตุ
หนึ่ ง ซึ่ ง มีองค์ประกอบทางเคมีคื อโซเดี ยม และคลอไรด์ ขณะที่ ในนิ เวศชุ มชนมี โครงสร้ างทาง
ชี ว วิ ท ยาและกายภาพที่ ป ระกอบด้วยสิ่ ง ชี วิต ต่ า งๆ เช่ น ปลา หอย กบ เขี ย ด หน่ อ ไม้ ผัก ฯลฯ
หลากหลาย ผูค้ นก็เข้าไปมีความสัมพันธ์กบั โครงสร้างทางเคมีธรณี ของเกลือที่ ในดิน เมื่อมนุษย์อยู่
ในฐานะองค์ ประกอบหนึ่งของระบบนิเวศ เป็ นสิ่ งมีชีวิตเช่นเดียวกับปลาหรื อสัตว์น้ าํ ต่างๆ ที่มีน้ าํ
เป็ นสิ่ งแวดล้อมของตัวเองอย่างแยกไม่ออก เมื่อระบบนิ เวศและสภาพแวดล้อมรอบตัวถูกเร่ งให้
เกลื อขึ้นมาปรากฏบนผิวดิ นมากขึ้น โครงสร้างทางเคมีของดินเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้ นเชิ ง มีการ
ยุบตัวของดิ นทัว่ ไป กรณี บา้ นโนนดอกไม้แดง เกลื อมีบทบาททําให้ชุ มชนต้องปรั บตัวโดยย้าย
209

แหล่งผลิตอาหาร และข้าวไปที่ฝ่ังพื้นที่โคก แม้จะต้องเดินทางออกไปไกลขึ้น และผลผลิตข้าวต่อไร่


น้อยลงทําให้ตอ้ งทํางานหนักมากขึ้น ขณะที่แรงงานภาคการเกษตรในหมู่บา้ นน้อยลง และเกิดการ
แย่งแรงงานระหว่างนาเกลือในนาข้าวทําให้ค่าจ้างแรงงานสู งขึ้น
เมื่ อเที ยบกับการต้มเกลื อด้วยแกลบบ้านกุดเรื อคํา ตําบลกุดเรื อคํา อําเภอวานรนิ วาส
จังหวัดสกลนคร ซึ่ งเกิ ดขึ้นหลังการวิจยั ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อหา
พลังงานทดแทนที่มีราคาถูกและพบว่าการใช้แกลบต้มเกลือนั้นมีประสิ ทธิ ภาพสู ง มีความคุม้ ทุนใน
32 วัน ผูป้ ระกอบการจึงยอมรับเทคโนโลยีน้ ี มาขยายกําลังการผลิตโดยใช้พลังงานจากวัสดุเหลือใช้
จากการเกษตร และมีผลพลอยได้คือขี้เถ้าแกลบที่สามารถนํากลับไปใช้ในการเพาะชํากล้าไม้ เป็ น
ต้น อย่างไรก็ตามการใช้แกลบต้มเกลือและความเข้มข้นของนํ้าเกลือจากบ่อนํ้าเค็มบางบ่อน้อย ทํา
ให้มีน้ าํ ขมเหลื ออยู่ภายหลังต้มเกลื อ ผูป้ ระกอบการบางรายปล่ อยนํ้าขมลงสู่ บ่อนํ้าทิ้ง แต่บางคน
ปล่อยสู่ ธรรมชาติ ทําให้ลาํ คลองหน้าบริ เวณโรงต้มเกลือเมื่อนํ้าแห้งลงกลายเป็ นคราบเกลือสี ขาว
ตลอดสองข้างทาง เทคโนโลยีระดับนี้ มีขอ้ จํากัดในเรื่ องกําลังการผลิต วัตถุ ดิบที่ใช้เป็ นเชื้ อเพลิ ง
แกลบหายาก ราคาแพงขึ้น ทําให้ไม่สามารถนํานํ้าเกลือขึ้นมาใช้ได้มากเท่าการทํานาเกลือ อย่างไรก็
ตามหากสามารถพัฒนาระบบโรงต้มเกลือให้เป็ นระบบปิ ด และคํานวณปริ มาณการใช้น้ าํ เกลืออย่าง
เหมาะสม ไม่ปล่อยนํ้าเสี ย ฝุ่ นควัน ออกสู่ สิ่งแวดล้อม อาจเป็ นแนวทางที่ตอบสนองอุตสาหกรรม
ครัวเรื อนในท้องถิ่นได้ทางหนึ่ง
ขณะที่ การผลิ ตเกลื อในชุ มชนบ่อหัวแฮด บ้านท่าสะอาด ตําบลท่าสะอาด อําเภอเซกา
จังหวัดบึงกาฬ มีการสู บนํ้าเค็มขึ้นมาต้มด้วยฟื น พัฒนาขึ้นมาจากการผลิตเกลือแบบดั้งเดิมสื บทอด
มาไม่ขาดสายมานานกว่า 100 ปี ขนาดการผลิต วิธีการผลิต ตลอดจนพิธีกรรมความเชื่อ ที่เกี่ยวข้อง
กับการผลิตเกลือของคนต้มเกลือและชาวบ้านในหมู่บา้ นยังคงดํารงอยู่ โดยมีการปรับเปลี่ยนวิธีการ
ผลิตเพียงเล็กน้อย คือเปลี่ยนจากการขุดบ่อนํ้าตื้นตักชักรอกดึงนํ้าเกลือขึ้นมาต้มในกระทะขนาดเล็ก
เป็ นการสู บนํ้าบาดาล ใช้เครื่ องสู บนํ้าขึ้นมาต้มบนกระทะขนาดใหญ่ข้ ึน และผลิตเฉพาะในฤดูแล้ง
แม้การทําเกลือในหมู่บา้ นนี้ มีมายาวนาน แต่ปรากฏผลกระทบสิ่ งแวดล้อมเพียงเล็กน้อย
เมื่อเทียบกับการทําเกลือในชุมชนบ้านโนนดอกไม้แดง หรื อกุดเรื อคํา และยังไม่ปรากฏว่ามีแผ่นดิน
ยุบ หรื อการกระจายของนํ้าเค็มสู่ พ้ืนที่เกษตรกรรม หากแต่มีแนวโน้มจะเกิดผลกระทบหากไม่มีการ
จัดการที่ดีกว่าที่เป็ นอยูห่ รื อมีการขยายกําลังการผลิต เช่น ในฤดูแล้งที่มีการผลิตเกลือบริ เวณบ่อสู บ
นํ้าเกลือใต้ทอ้ งนํ้าสงครามจะมีคราบเกลือสี ขาวขึ้นรอบบ่อสู บนํ้าเกลือ จากการรั่วซึ มของนํ้าเค็มตาม
ระบบท่อส่ งนํ้าเค็ม และหัวสู บนํ้าเค็ม นอกจากนี้ยงั พบว่าเริ่ มมีพ่อค้าเริ่ มทําการกักตุนเกลือมากขึ้น
210

เพื่อเก็บไว้ขายในฤดูฝน เพราะเกลือบ่อหัวแฮดมีราคาสู ง แต่โรงต้มเกลืออยูใ่ นจุดลุ่มตํ่า ไม่สามารถ


สู บนํ้าเกลือขึ้นมาต้มได้ในฤดูฝนที่น้ าํ หลากท่วม
การผลิตเกลือบ่อหัวแฮดแตกต่างจากนาเกลือบ้านโนนดอกไม้แดง และต้มเกลือบ้านกุด
เรื อคํา คือ มีตาํ นานเชื่ อมโยงประวัติศาสตร์ ความเป็ นมาของชุมชนบ้านท่าสะอาดเอง และชุมชนลุ่ม
นํ้าสงครามอย่างชัดเจน มีการเล่าซํ้า และรื้ อฟื้ นสื บทอดตํานานการเป็ นชุมชนคนผลิตเกลือแก่คนรุ่ น
ต่อๆ มาผ่านพิธีกรรมไหว้ “ปู่ คาแดง” เป็ นประจําทุกปี และที่สําคัญชาวบ้านท่าสะอาดภาคภูมิใจใน
ความเป็ นมาของตนเองในฐานะ “ลูกปู่ คาแดง” เห็นได้จากเสื้ อสี แดง ดอกไม้แดง นํ้าแดง ธงทิวสี
แดง ฯลฯ ที่ใช้ประดับหรื อสวมใส่ ในพิธีกรรมไหว้เจ้าปู่ คําแดง
บทบาทของเกลือบ่อหัวแฮดสามารถตอบสนองความต้องการและประโยชน์ทอ้ งถิ่นได้
มากกว่า แหล่ งผลิ ตอื่ น แม้ก ารผลิ ตเกลื อบ่อหัวแฮดที่เริ่ มต้นจากกลุ่ มคนไม่ มากนัก มีก ารพัฒนา
เทคโนโลยีที่ ไม่ ซับ ซ้อน ชุ ม ชนสามารถเข้าถึ ง จัดการแหล่ ง เกลื อได้ ด้วยเทคโนโลยีที่ ส ามารถ
พัฒนาขึ้นมาเอง เช่น ขยายขนาดกระทะต้มเกลือ ใช้ฟืน ตลอดจน การตลาด ทั้งนี้ การผลิตอยูภ่ ายใต้
ธรรมชาติกาํ หนดช่วงเวลาหยุดพักการระยะหนึ่ง ไม่มีใครลักลอบทําเกลือนอกฤดูกาลได้แม้เกลือจะ
ราคาสู งมากในฤดูฝนก็ตามเพราะข้อจํากัดทางนิเวศวิทยาที่บ่อเกลือ และโรงต้มเกลืออยูใ่ นพื้นที่ลุ่ม

4.2 บทบาทเกลือกับวัฒนธรรม
การทําเกลื อที่บา้ นโนนดอกไม้แดงไม่ได้มีพฒั นาการมาจากภายในชุ มชนอย่างบ่อหัว
แฮดแต่เริ่ มจากการเข้ามาสู บนํ้าเกลือมาตากเพื่อลดต้นทุนแม้ตอ้ งสู ญเสี ยพื้นที่มาก เกิ ดจากกลุ่มทุน
และนโยบายส่ งเสริ มการทําเกลื อในภาคอีสานเป็ นแรงผลักดัน เกลือที่ผลิตได้ก็มีปลายทางเพื่อส่ ง
ป้ อนอุตสาหกรรม ต่างจากเกลือจากบ่อหัวแฮดและกุดเรื อคํา แต่เกลือจากนาเกลือบ้านโนนดอกไม้
แดงเข้าไปมีบทบาทเป็ นส่ วนหนึ่งของเศรษฐกิจอุตสาหกรรมของประเทศ ทรัพยากรธรณี จากชุมชน
ไม่ ใ ช่ ท รั พ ยากรที่ ค นในชุ ม ชนมี สิ ท ธิ ค รอบครองหรื อ มี ผ ลประโยชน์ ร่ ว มอย่ า งเป็ นธรรม แต่
อุตสาหกรรมเกลือเป็ นปั จจัยกําหนดให้วฒั นธรรมชุมชนชาวนาเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว ระบบ
จ้างแรงงานเข้ามาแทนที่ระบบการทํางานช่วยเหลือแรงงาน การพึ่งพิงตลาดเข้ามาแทนที่ระบบการ
หาอยู่หากิ น เช่ น ในฤดู กาลผลิ ตเกลื อร้านค้าในหมู่บา้ นมียอดขายเพิ่มขึ้ นหลายเท่าตัว โดยเฉพาะ
อาหารสํา เร็ จรู ป ก๋ วยเตี๋ ย ว ส้ม ตํา ลาบ ก้อย ฯลฯ รวมทั้ง เหล้า บุ หรี่ นอกจากนี้ ย งั มี รถพุ่มพวง
จํานวนหลายคันวิง่ ซอกซอนเข้าไปในนาเกลือที่มีคนงานทํางานตั้งแต่เช้ามืดจนคํ่า
วัฒนธรรมการผลิ ตของชาวบ้านโนนดอกไม้แดงเดิมเป็ นกลุ่ มเกษตรกรที่มีวฒั นธรรม
การผลิ ตข้าวแบบนาลุ่ มที่ ตอ้ งปลู กข้าวหนักมีอายุยาวให้ผลผลิตดี เพราะไม่ขาดแคลนนํ้า แต่เมื่อ
สู ญเสี ยที่ดินที่สมบูรณ์ ใกล้หมู่บา้ นแล้วไปซื้ อที่ดินแปลงใหม่ซ่ ึ งเป็ นนาก็ตอ้ งเปลี่ยนพันธุ์ขา้ วเป็ น
211

ข้าวเบาให้ผลผลิตน้อยกว่า และอยูห่ ่ างจากชุมชน ทําให้บางรายต้องอพยพไปอาศัยอยูน่ าในฤดูกาล


ทํานา การหาอยูห่ ากิ นในลําห้วย หนองนํ้า หรื อท้องนา ในบริ เวณทุ่งดอกไม้แดงทําไม่ได้อีกต่อไป
คนในชุ มชนปรับตัวด้วยการอพยพแรงงาน หรื อเข้าไปรับจ้างทํา งานนาเกลือ หรื อหันไปพึ่งพาป่ า
โคก ปั จจุ บ นั นาเกลื อ บ้า นโนนดอกไม้แดง มี ผูผ้ ลิ ตจํานวน 15 ครั วเรื อน มี ก าํ ลัง การผลิ ต
ประมาณ 50,000 - 85,000 ตันต่อปี มีผรู้ ับซื้ อเกลือเป็ นพ่อค้าคนกลางนอกชุมชนที่รับเกลือไปส่ งต่อ
ให้โรงงานอุ ตสาหกรรมในภาคตะวันออก และภาคกลาง โดยโรงงานผูร้ ั บ ซื้ อเกลื อ มี บ ทบาท
กําหนดโควต้า หรื อปริ มาณเกลื อและราคาตามความต้องการเกลื อในแต่ ละปี พ่อค้าคนกลางทํา
หน้าที่รับซื้ อรวบรวมเกลื อ คนกลางนี้ เป็ นนายทุนที่ส่วนใหญ่เป็ นทั้งผูร้ ับซื้ อและเป็ นเจ้าของที่ดิน
นาเกลื อซึ่ งแต่เดิมเคยเป็ นนาข้าวแต่กลุ่มคนเหล่านี้ เข้ามาซื้ อที่ดินเพื่อทํานาเกลือ เมื่อมีฐานะมัน่ คง
ขึ้นก็สามารถเป็ นเจ้าของกิจการขนส่ ง และผันตัวมาเป็ นพ่อค้าคนกลางรวบรวมเกลือส่ งให้โรงงาน
อุตสาหกรรม บางรายมี โรงงานล้างเกลื อ (ฟอกขาวเกลื อให้สะอาดเหมาะกับการใช้ใ นโรงงาน
อุตสาหกรรม) ผูท้ ี่เข้ามาเกี่ยวข้องในระบบเศรษฐกิจยังมีกลุ่มรถบรรทุกของบริ ษทั ที่เข้ามารับเหมา
ขนส่ งเกลื อ กลุ่ มที่ เป็ นลูกนา(ผูท้ ี่ผลิ ตเกลื อให้นายทุนเจ้าของที่ดิน หรื อขายเกลือแบบผูกขาดให้
พ่อค้าคนกลางเพราะกูเ้ งินมาลงทุนทําเกลือ) นอกจากนี้ยงั มีกลุ่มลูกจ้างนาเกลือ มีท้ งั แบบจ้างประจํา
ตลอดปี เพื่อจัดการบริ หารนาเกลื อของเจ้าของที่ดินรายใหญ่ นอกนั้นเป็ นลูกจ้างตามฤดูกาลเพื่อ
จัดการนาเกลือหรื อผลิตเกลือในที่ดินของนายทุน ซึ่ งจะได้ส่วนแบ่งเป็ นเงินตามปริ มาณเกลือที่ผลิต
ได้ในอัตราตันละ 0.50 บาท การจ้างคนงานประจําลักษณะนี้ ทาํ ให้เจ้าของนาเกลือรายใหญ่ที่รับ
โควต้าเกลือมาสามารถผลิตเกลือได้จาํ นวนที่แน่นอนในระดับหนึ่ งเพื่อไม่ให้ผิดสัญญาการส่ งเกลือ
ให้โรงงาน เพราะหากส่ งเกลือช้า หรื อไม่พอ จะถูกปรับตามที่ตกลงทําสัญญากันไว้
นอกจากนี้ ยงั มีคนงานรายวันที่ทาํ งานนาเกลือ ทั้งปล่อยนํ้า ตาก ขูด ตัก ขนเกลือเข้าฉาง
ส่ วนใหญ่มกั จะเป็ นแรงงานในหมู่บา้ นโนนดอกไม้แดง และหมู่บา้ นใกล้เคียง ที่เดินทางมารับจ้าง
ในช่วงผลิตเกลือโดยเฉพาะช่วงเก็บผลิตผลซึ่ งมีรายได้เฉลี่ยประมาณ 150 – 400 บาทต่อวันแล้วแต่
ปริ มาณงาน ลักษณะของงานที่ทาํ ได้ และเวลาที่ใช้ในการทํางาน
กลุ่มผูป้ ระกอบการผลิตเกลือสิ นเธาว์บา้ นโนนดอกไม้แดงไม่มีการรวมกลุ่มเป็ นองค์กร
ที่ชดั เจน แต่รวมกลุ่มเฉพาะกิจเพื่อจัดเก็บเงินจากสมาชิกทั้ง 15 ราย ต่อรองกับผูท้ ี่ได้รับผลกระทบ
ในการจ่ายเงินค่าเสี ยหาย และจัดการกับปัญหามวลชนที่เกิดในชุมชน รวมทั้งเลี้ยงรับรอง หรื อ
ต่อรองกับเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ผอ่ นปรนระเบียบปฏิบตั ิต่างๆ แต่ไม่มีการรวมตัวกันเพื่อ
ต่อรองราคาหรื อรับโควต้าขายเกลือ หรื อต่อรองกับนายทุน พ่อค้าคนกลางแต่อย่างใด
212

ปั จจุบนั นี้ ในบ้านโนนดอกไม้แดงมีกลุ่มคนที่เข้ามามีบทบาทเกี่ยวข้องกับการผลิตเกลือ


ได้แก่ กลุ่มเจ้ าของที่ดินรายใหญ่ และผู้รับซื้อเกลือ ส่ วนใหญ่จะเป็ นคนจากนอกชุมชนที่ไม่ค่อยเข้า
มาในชุมชน เพียงมาดูนาเกลือ หรื อสั่งงานคนงาน หรื อลูกนา เป็ นครั้งคราวในช่วงเก็บผลผลิต และ
เป็ นผูป้ ล่อยกูเ้ งินลงทุนให้ลูกนาเป็ นหลักและยังรับซื้ อเกลือทั้งหมด หรื อเก็บดอกเบี้ยเป็ นเกลือและ
ข้อตกลงในการซื้ อเกลือในราคาไม่เกิน 350 บาท แม้ราคาตลาดจะสู งกว่านี้ กลับกันหากราคาเกลือ
ตํ่ากว่านี้อาจจะลดราคารับซื้อเกลือลงได้ กลุ่มนี้ทาํ หน้าที่รวบรวมเกลือส่ งให้โรงงาน นายทุนที่เป็ น
พ่อค้าคนกลางบางรายมีเงินทุนหมุนเวียนมากจนสามารถขายเกลือให้โรงงานโดยจะเรี ยกเก็บเงินราย
6 เดือนหรื อรายปี ในราคาที่เป็ นที่พอใจของโรงงาน อีกทั้งเป็ นเจ้าของที่ดินนาเกลืออีกหลายแปลง
ในอําเภอและพื้นที่ใกล้เคียง มีความสัมพันธ์กบั ชาวนาเกลือในลักษณะเป็ น “เจ้าหนี้ ” ที่ “ตกเขียว
เกลือ” “จ้างงาน” “ให้เช่านาเกลือ” และ “รับซื้อ” โดยมีอาํ นาจในการกําหนดราคาเกลือ
ในบ้านโนนดอกไม้แดงมีคนกลุ่มนี้เพียง 3 - 4 ราย นอกนั้นเป็ นเจ้าของที่ดินรายเล็ก และ
ลูกนา ที่ตอ้ งกูเ้ งิ นไปลงทุน และจ่ายคืนเป็ นเกลือในราคา 350 บาทต่อตัน ตั้งแต่เริ่ มทํานาเกลือจน
ปั จจุบนั มีการเปลี่ยนแปลงราคาในการตกเขียวเกลือน้อยครั้งมาก
ในด้านความรั บผิดชอบต่อผลกระทบ กลุ่มเจ้าของที่ดินนี้ จะถือว่าตนไม่ได้ทาํ นาเกลื อ
เพราะตนให้เช่ านาเกลื อทั้งหมดแก่ลูกนา หรื อผูเ้ ช่ า ดังนี้ กลุ่มผูเ้ ช่ านา หรื อลูกนารายย่อยจะเข้าไป
เป็ นสมาชิกของกลุ่มผูป้ ระกอบการในหมู่บา้ นที่ต้ งั ขึ้นเพื่อต่อรองกับชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบและ
ฝ่ ายราชการ ทั้งที่ในความเป็ นจริ งแล้วผูท้ ี่ควบคุมหรื อได้รับประโยชน์จากการขายเกลือมากที่สุดใน
แต่ละปี มีอาํ นาจควบคุมระบบการผลิตนอกกฎหมาย และยังสามารถต่อรองราคาเกลือ ปล่อยกูล้ งทุน
ทํานาเกลือ ปล่อยสิ นเชื่ อเกลือกับโรงงานอุตสาหกรรมเคมีต่างๆ ที่ใช้เกลือเป็ นวัตถุดิบด้วย ทั้งนี้ ใน
การรั บ ผิดทางกฎหมาย นายทุ นกลุ่ ม นี้ ก็ ไ ม่เข้า ไปเกี่ ยวข้องเพราะถื อว่า ตนไม่ ได้เป็ นผูป้ ระกอบ
กิ จการเกลื อแต่เป็ นผูใ้ ห้เช่ าที่ดิน หรื อรับซื้ อเท่านั้น ภาระความรับผิดชอบทั้งหมดเรื่ องการจัดการ
สิ่ งแวดล้อม หรื อการขออนุ ญาตต่างๆ จึงตกอยู่ที่ลูกนา ที่ส่วนใหญ่อยู่ในภาวะมีหนี้ สินและต้อง
เผชิญหน้ากับความขัดแย้งและรับผิดชอบการขออนุญาต การจ่ายค่าธรรมเนียมใบอนุญาต ตลอดจน
ชดเชยความเสี ย หายทางสิ่ งแวดล้อมเท่า ที่จะตกลงกับ ผูเ้ สี ย หายได้ ดัง เห็ นได้จากการเรี่ ย ไรเงิ น
ระหว่างผูป้ ระกอบการมาใช้ถมกลบหลุมยุบ ซื้ อที่ดินที่มีรอยแตกร้าว ซ่ อมแซมบ้านเรื อนที่มีรอย
แตกร้าว จ่ายค่ารื้ อถอนบ้านในเขตหลุมยุบ ตลอดจนรับรองเจ้าหน้าที่ที่มาตรวจสอบกิจกรรมเกลือ
เมื่อในพื้นที่บา้ นโนนดอกไม้แดงกลายเป็ นพื้นที่วิกฤติส่ิ งแวดล้อมและเสี่ ยงต่อภัยพิบตั ิ
หลุมยุบ จึงได้มีประกาศของกระทรวงอุตสาหกรรมให้เป็ นเขตห้ามสู บนํ้าเกลือ ผูป้ ระกอบการราย
ย่อยเหล่ านี้ ส่ วนใหญ่จึงกลายเป็ นผูป้ ระกอบการเถื่ อนที่ไม่มี ใบอนุ ญาต มีเพีย งชาวบ้านดั้งเดิ ม ที่
213

พยายามปฏิบตั ิตามระเบียบต่างๆ อย่างเคร่ งครัดและได้รับใบอนุญาตเพียง 3 ราย รวมพื้นที่ประมาณ


50 ไร่ จากพื้นที่ท้ งั หมดประมาณ 500 ไร่
นอกจากนี้กลุ่มเจ้าของที่ดินและนายทุนบางคนสามารถเข้าไปยึดกุมอํานาจในองค์การ
บริ หารส่ วนท้องถิ่ นทํา ให้ปั ญหาผลกระทบต่ า งๆ ที่ ป ระชาชนร้ องเรี ย นถู ก เพิก เฉย และมี ค วาม
พยายามจัดตั้ง กลุ่ ม ทางการเมื องเพื่ อ ชิ ง ตํา แหน่ ง ทางการปกครองในหมู่ บ ้า น เช่ น ส่ ง เสริ ม ให้
ผูส้ นับสนุ นนาเกลือลงสมัครรับเลื อกตั้งตําแหน่ งต่าง ๆ ในหมู่บา้ น แข่งขันกับกลุ่มผูไ้ ม่สนับสนุ น
นาเกลือเพื่อลดปั ญหาการร้องเรี ยน เป็ นเหตุให้เกิดความแตกแยกตึงเครี ยดของความสัมพันธ์ระหว่าง
กลุ่ ม เครื อญาติ ต่า งๆ ในหมู่บ ้าน เห็ นได้จ ากกิ จกรรมของชุ มชนไม่ ได้รับความร่ วมมือในการจัด
กิจกรรมหรื อประเพณี ต่างๆ หากฝ่ ายใดเป็ นผูร้ ิ เริ่ ม ผูน้ าํ ชุมชนจึงต้องปรับตัวโดยใช้มาตรการจัดการ
ความสัมพันธ์อย่างเป็ นทางการ เช่น งานบุญประเพณี ต่างๆ มีขอ้ ตกลงคณะกรรมการหมู่บา้ นกําหนด
ว่าจะมีการเก็บเรี่ ยไรเงินเพื่อใช้ในการซื้ ออุปกรณ์ต่างๆ มาใช้ในการทําบุญ โดยจะประกาศรายชื่อผู้
ที่ให้บริ จาคเงินไม่ต่าํ กว่าที่กาํ หนดหรื ออาจจะมากกว่า ทางหอกระจายข่าวประจําหมู่บา้ น เป็ นต้น
กลุ่มลูกนาเกลือ ชาวบ้านโนนดอกไม้แดงประมาณ 6 ราย เป็ นลูกนาที่เช่านาจากเจ้าของ
ที่ดินรายใหญ่ นอกจากนี้ ยงั มีลูกนาที่ยา้ ยทะเบียนบ้านมาจากภายนอก 4 ราย คนภายนอกหมู่บา้ น 5
ราย และมีบุคคลภายนอกท้องถิ่นที่เป็ นนายทุนรายใหญ่ 1 ราย(พร้อมสมาชิกในครอบครัว) ที่ยา้ ย
ทะเบียนบ้านมาอาศัยในหมู่บา้ นแต่มีที่นาเกลือนอกเขตหมู่บา้ นแต่ติดต่อกัน คนกลุ่มนี้ เป็ นกลุ่มที่
สําคัญในการเจรจาประนีประนอมกับผูไ้ ด้รับผลกระทบ และต่อรองกับเจ้าหน้าที่รัฐ เป็ นลูกนาใน
การผลิตเกลือแบบพันธะสัญญา “ตกเขียวเกลือ” จึงมักจะเป็ นกลุ่มที่มีหนี้สินจํานวนมาก ไม่อาจจะมี
ทางออกได้นอกจากอยูใ่ นพันธะกับนายทุนผลิตเกลือใช้หนี้เป็ นปี ๆ ไป
กลุ่มแรงงานในนาเกลือ ชาวบ้านโนนดอกไม้แดงมีอาชี พรับจ้างทํางานในนาเกลือ 69
ครัวเรื อน ประมาณ 121 คน หรื อร้อยละ 33 ของจานวนครัวเรื อนทั้งหมด ที่เป็ นลูกจ้างรายวันในนา
เกลือรอบหมู่บา้ นได้รับค่าแรงตามปริ มาณงานที่ทาํ ชาวบ้านกลุ่มนี้ถือว่านาเกลือทําให้มีอาชีพเสริ ม
ในฤดูแล้งไม่ตอ้ งอพยพแรงงานไปทํางานต่างถิ่นทําให้สามารถอยูก่ บั ครอบครัว หลังจากฤดูการทํา
นาก็มีรายได้เสริ มแม้วา่ การทํางานในนาเกลือจะเป็ นงานที่หนักและเหนื่อย ทําให้ไม่มีเวลาปลูกพืช
สวนครัว หรื อทํากิจกรรมอื่นๆ ในครอบครัว
อย่างไรก็ตามเมื่อถามถึงความเห็นเรื่ องผลกระทบ กลุ่มแรงงานในนาเกลือเห็นว่านาเกลือ
ทําให้เกิดแผ่นดินยุบ และใจจริ งอยากให้หยุดทําเกลือในหมู่บา้ นเพราะรู้สึกไม่ปลอดภัย กลัวแผ่นดิน
ทรุ ด แม้ไม่มีงานทําแต่ก็ยงั หารายได้ทางอื่นได้ บางรายบ้านเรื อน ที่ดิน และทรัพย์สินของตนอาจจะ
ได้รับผลกระทบจากการทํานาเกลื อ เช่น บ้านร้าว หรื อต้องย้ายบ้านออกจากบริ เวณหลุมยุบแต่ก็ยงั
214

ไปทํางานรับจ้างนาเกลือจึงทําให้ไม่มีอาํ นาจต่อรองกับกลุ่มผูป้ ระกอบการ แต่ถา้ เกิ ดความเสี ยหาย


หนัก ก็ จ ะไปร้ อ งเรี ย นกับ ผูใ้ หญ่ บ ้า น เพื่ อ ให้เ จรจากับ ผูป้ ระกอบการให้ช ดเชย หรื อ ซ่ อ มแซม
ทรัพย์สินส่ วนที่เสี ยหายตามแต่จะตกลงกัน
ชาวบ้ านทัว่ ไป เป็ นกลุ่มที่ไม่ได้เข้าไปทํางานในนาเกลือ ไม่เห็นด้วยกับการทํานาเกลือมา
นานแล้ว เห็นว่ากลุ่มผูป้ ระกอบการทํานาเกลือเป็ นกลุ่มภายนอกที่ทาํ ให้เกิ ดผลกระทบกับชาวบ้าน
บ้านเรื อนเสี ยหาย และไม่อยากให้มีนาเกลือในหมู่บา้ นมาตั้งแต่ตน้ และไม่อยากไปทํางานเกี่ยวข้อง
กับนาเกลือ บางคนเป็ นผูไ้ ด้รับผลกระทบ หรื อต้องสู ญเสี ยที่นาในทุ่งดอกไม้แดงให้นายทุน เป็ นต้น
จากที่กล่าวมาจะเห็นว่ากลุ่มผูท้ ี่กุมอํานาจเหนือทรัพยากรเกลือในปัจจุบนั คือกลุ่มนายทุน
และกลุ่มอุตสาหกรรมที่ใช้เกลือ ส่ วนคนในชุมชน คือเฟื องจักรหนึ่ งที่ป่ั นเคี่ยวตากชี วิตบนลานนา
เกลือเพื่อผลิตเกลือให้ได้มากที่สุด โดยมีกลไกการตลาดและการผลิตแบบพันธะสัญญา ในรู ปการ
ตกเขียว ทําให้ลูกนาเกลือตกอยูใ่ นภาวะเป็ นหนี้ สิน ซึ่ งใช้เป็ นเครื่ องถ่วงโยงให้คนในชุมชนเคลื่อน
ไปตามกลไกความต้องการของภาคอุตสาหกรรม ส่ วนฝ่ ายรัฐซึ่ งมีแนวทางสนับสนุนการผลิตเกลือ
แบบลานตากเพื่อลดต้นทุนการผลิตเกลือ ทําให้ราคาที่ผู้ผลิตตัวจริ งได้รับไม่สะท้อนความเสี ยหาย
จากผลกระทบด้านสิ่ งแวดล้อม ด้านมาตรการป้ องกันผลกระทบที่เกิดขึ้นก็เกิดขึ้นจากกระบวนการ
เคลื่ อนไหวของประชาชน เรี ยกร้ องให้รัฐและผูป้ ระกอบการรับผิดชอบ กรณี บ้านดงเหนื อเมื่ อ
ผูป้ ระกอบการมีนอ้ ยราย ทําให้ฝ่ายชาวบ้านมีอาํ นาจต่อรองมากกว่าจนสามารถยุติการต่อใบอนุญาต
ทํานาเกลือในพื้นที่ตาํ บลดงเหนือได้ในระยะนี้ ขณะที่ฝ่ายผูป้ ระกอบการกําลังอุทธรณ์คาํ สัง่ ดังกล่าว
ด้านบ้านโนนดอกไม้แดงประชาชนถูกแบ่งแยกออกจากกันด้วยกระบวนการซื้ อที่ดิน
การจ้างงาน และการตกเขียวเกลือมาเป็ นเวลานานราว 30 ปี รวมทั้งฝ่ ายผูป้ ระกอบการเกลือคือกลุ่มผู้
มีอาํ นาจทางเศรษฐกิ จ เป็ นนายจ้างแรงงานในหมู่บา้ น อีกทั้งสามารถเข้าไปมีบทบาทในการเมือง
ท้องถิ่นทําให้กระบวนการเรี ยกร้ องต่างๆ ในชุมชนไม่มีพลังต่อรองแม้ได้รับผลกระทบมาก แม้แต่
ชาวบ้านรายที่ตอ้ งรื้ อถอนบ้านก็ได้รับความช่วยเหลือเพียงค่ารื้ อถอนเท่านั้น ชาวบ้านจํานวนมาก
อยากให้หยุดการทํา นาเกลื อ และในความเป็ นจริ งพบว่ามี ขอ้ มูล ทางวิชาการทางธรณี วิทยา ที่ มี
นํ้าหนักมากพอที่สะท้อนภาวะความเสี่ ยงภัยของคนในชุมชน และจังหวัดสกลนครเองเคยเสนอให้
พื้นที่อาํ เภอนี้ประกาศเป็ นเขตควบคุมมลพิษจากปั ญหาดินเค็มนํ้าเค็ม และแผ่นดินทรุ ด แต่ไม่สําเร็ จ
ปั ญหาเรื่ องความเค็ ม และการยุบ ตัวของแผ่นดิ นจึ ง ยัง คงเป็ นปั ญหาใหญ่ อี ก ทั้ง คนในชุ ม ชนยัง
เผชิ ญหน้ากับความขัดแย้ง และปั ญหาสิ่ งแวดล้อมอยู่เรื่ อยๆ โดยเฉพาะปั จจุบนั นี้ ชุมชนบ้านโนน
ดอกไม้แดงจัดเป็ นพื้นที่เสี่ ยงภัยพิบตั ิดินยุบ ซึ่ งสะท้อนภาพระบบนิเวศอุตสาหกรรมเกลือเป็ นนิเวศ
ที่ขาดสมดุลและไม่มน่ั คงยัง่ ยืน
215

นอกจากนี้สภาวการณ์ในชุมชนบ้านโนนดอกไม้แดงนั้นสะท้อนให้เห็นว่ามาตรการด้าน
สิ่ งแวดล้อมที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั ไม่ได้ตอบสนองการแก้ไขปัญหาสิ่ งแวดล้อมในพื้นที่ที่มีความเสี่ ยงการ
เกิ ดภัยพิบตั ิ แต่การทํานาเกลื อและสู บนํ้าเกลือยังดําเนิ นต่อไป และแม้จะมีหนังสื อแจ้งเตือนมาถึง
ผูป้ ระกอบการให้จดั การสร้างคันดิน คูป้องกันนํ้าเค็ม และบ่อนํ้าทิ้ง ซึ่ งเป็ นปลายเหตุเพราะต้นเหตุ
อยู่ที่การสู บนํ้าเกลื อขึ้นมาใช้ตากเกลื อมากเกิ นไป สะท้อนให้เห็ นว่ามีอาํ นาจบางอย่างที่กดราคา
เกลือที่แหล่งผลิตให้ต่าํ ลงจนทําให้ชาวนาเกลือรายย่อยที่อยูภ่ ายใต้สายพานเกลือของระบบเศรษฐกิจ
อุตสาหกรรมเกลือไม่มีทางเลือกนอกจากกลายเป็ นคนทําเกลือเถื่อน ไม่รับผิดชอบต่อสิ่ งแวดล้อม
หากเปรี ยบเทียบกับการทําเกลือบ้านโนนดอกไม้แดงกับการผลิตเกลือบ้านกุดเรื อคํา ซึ่ ง
เริ่ มต้นเมื่อประมาณ 30 ปี เช่นกัน ผูป้ ระกอบการมีท้ งั ที่เป็ นชาวบ้านกุดเรื อคําเอง และผูป้ ระกอบการ
จากภายนอกโดยเป็ นกลุ่มผูม้ ีอาํ นาจต่อรองในท้องถิ่น และให้การสนับสนุนเงินสําหรับกิจกรรมของ
ชุ ม ชนท้อ งถิ่ น ในงานประเพณี ต่ า งๆ อย่า งไรก็ ต ามมี ค วามขัด แย้ง ภายในชุ ม ชน กรณี ผูไ้ ด้รั บ
ผลกระทบร้องเรี ยนความเสี ยหาย ก็เป็ นปั ญหาใหญ่ในชุมชนเช่นกัน ทั้งนี้ เกลือจากบ้านกุดเรื อคําส่ ง
ป้ อนอุตสาหกรรมอาหารในภาคกลาง ภาคตะวันออกเป็ นหลัก และเกลือบ้านกุดเรื อคําเป็ นเกลือต้ม
ที่สามารถส่ งขายในชุ มชนท้องถิ่นได้โดยมีพ่อค้ารายย่อยมาที่รับซื้ อเกลือไปเร่ ขายหรื อแลกเปลี่ยน
กับข้าวเช่นกันกับบ่อหัวแฮด
ปั จจุบ นั บ้านกุดเรื อคํามี ผูผ้ ลิ ตเกลื อที่ไ ด้รับอนุ ญาตจํานวน 37 ราย มีก าํ ลังการผลิ ต
ประมาณ 120,000 ตันต่อปี มีการจ้างแรงงานในท้องถิ่นประมาณ 170 – 200 คนในการต้มเกลือ
นอกจากนี้ยงั มีการจ้างแรงงานสําหรับการบรรจุเกลือใส่ กระสอบและขนขึ้นรถบรรทุกเพื่อส่ งขาย
ต่อไป จํานวนผูป้ ระกอบการมีเงินหมุนเวียนในระบบการผลิตและจ้างงานจํานวน 33,000,000 บาท
อย่างไรก็ตามตัวเลขนี้ คาํ นวณโดยหักต้นทุนการผลิ ตและค่าจ้างแรงงานแต่ไม่ได้หักมูลค่าความ
เสี ยหายของธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
กลุ่มผูป้ ระกอบการผลิ ตเกลือสิ นเธาว์บา้ นกุดเรื อคําได้รวมตัวกันในนามสหกรณ์ผผู้ ลิต
เกลือสิ นเธาว์จงั หวัดสกลนคร เพื่อต่อรองกับผูไ้ ด้รับผลกระทบและต่อรองกับหน่วยงานราชการเพื่อ
ขอให้ผ่อนปรนมาตรการต่างๆ เช่ น ร้องเรี ยนให้มีการพิจารณาปรับเปลี่ ยนเงื่ อนไขในใบอนุ ญาต
เกี่ยวกับตําแหน่งบ่อสู บนํ้าเกลือ ซึ่ งกําหนดให้ห่างจากโบราณสถาน โบราณวัตถุ สถานที่สําคัญทาง
ประวัติศาสตร์ และแหล่งอนุ รักษ์ทางศิลปกรรม ไม่นอ้ ยกว่า 2,000 เมตร ห่ างจากสาธารณสมบัติ
ทางหลวงแผ่นดิ น ทางหลวงจังหวัด สถานที่ราชการ แม่น้ าํ สายหลัก อ่างเก็บนํ้าขนาดใหญ่ บ่อนํ้า
บาดาล เพื่อใช้ในการอุปโภคและบริ โภค และเขตชุมชน ในระยะไม่นอ้ ยกว่า 300 เมตร และในระยะ
500 เมตร จากสิ่ งก่อสร้างสถานที่ดงั กล่าว ห้ามสู บนํ้าเกลือโดยใช้เครื่ องอัดลม และบ่อสู บนํ้าเกลือ
216

โดยใช้เครื่ องอัดลม และบ่อสู บนํ้าเกลือต้องมีระยะห่ างจากบ่อสู บนํ้าข้างเคียงไม่นอ้ ยกว่า 50 เมตร


แต่ไม่สามารถผ่อนปรนตามที่ตอ้ งการได้ นอกจากนี้ยงั มีการร้องขอให้มีการส่ งเสริ มอาชีพสําหรับผู้
ที่ตอ้ งการเลิกประกอบการเกลือ เป็ นต้น
ปั จจุบนั กลุ่มผูป้ ระกอบการเกลือในบ้านกุดเรื อคําเป็ นผูท้ ี่มาจากภายนอกชุ มชนทั้งหมด
ประมาณ 19 ราย และเป็ นผูป้ ระกอบการที่มาจากในชุ มชนเอง 12 ราย แต่มีการรวมตัวกันอย่าง
เข้มแข็งเมื่อเปรี ยบเทียบกับกลุ่มผูผ้ ลิตเกลือที่บา้ นโนนดอกไม้แดง มีการตั้งโซนต้มเกลือที่ชดั เจน
นอกชุมชนออกมาราว 500 เมตร แม้จะมีขอ้ กําหนดตามมาตรการด้านสิ่ งแวดล้อมในการประกอบ
กิจการเกลือให้สามารถสู บนํ้าเกลือระหว่างเดือนมีนาคม – ตุลาคม ของทุกปี แต่พบว่าที่บา้ นกุดเรื อ
คํามีการต้มเกลื อตลอดทั้งปี ส่ วนใหญ่โรงงานต้มเกลือจะมีใบอนุญาตในการประกอบกิจการเกลือ
สิ นเธาว์ แต่มีผปู ้ ระกอบการบางรายที่ไม่ได้ดาํ เนินตามมาตรการลดผลกระทบตามที่รัฐกําหนด และ
บางรายก็ ไ ม่ มี ใ บอนุ ญ าตแต่ ย งั สามารถดํา เนิ น กิ จ การ กลุ่ ม ผูป้ ระกอบการเหล่ า นี้ มี อ าํ นาจทาง
เศรษฐกิจเพราะมีฐานะดีกว่าชาวบ้านธรรมดาทัว่ ไป นอกจากนี้ ยงั สามารถจ้างงานคนงานในท้องถิ่น
ซึ่ งเป็ นการสร้ างระบบความสัมพันธ์เชิ งอํานาจในท้องถิ่ นที่จะทําให้ผูป้ ระกอบการเกลือสามารถ
ดําเนินกิจการเกลือต่อไปได้
ในด้านผลกระทบที่เกิ ดขึ้น การผลิตเกลือแบบต้มด้วยแกลบนี้ นบั ว่าเป็ นวิธีการที่ส่งผล
กระทบต่อสิ่ งแวดล้อมน้อยกว่าการทํานาเกลือ เพราะใช้พ้ืนที่นอ้ ยกว่าและมีขอ้ จํากัดเรื่ องระยะเวลา
ในการต้มเกลือและเชื้อเพลิง
เมื่อเปรี ยบเทียบบทบาททางวัฒนธรรมของเกลือบ้านโนนดอกไม้แดง และบ้านกุดเรื อคํา
กับ แหล่ ง ผลิ ตเกลื อบ่ อหัว แฮด พบว่า มี ค วามแตกต่ า งกัน อย่า งมาก เช่ น ที่ บ่ อหัวแฮดชุ ม ชนที่ มี
ประวัติศาสตร์ ร่วมกันของคนที่มีบรรพบุรุษเป็ นคนต้มเกลือ และมีพิธีกรรมการไหว้เจ้าปู่ คําแดงใน
วันขึ้นสามคํ่าเดือนสามของทุกปี เพื่อเล่าประวัติศาสตร์ การค้นพบบ่อเกลือโดยเจ้าปู่ คําแดง วิญญาณ
ศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ ช าวบ้า นเชื่ อ ว่า อาศัย อยู่บ ริ เ วณบ่ อ เกลื อ แสดงให้เ ห็ น ว่ า ภาพพจน์ ที่ อ ยู่ใ นจิ ต ใจใน
จินตนาการชาวบ้านเกิดจากตํานานที่วา่ พวกเขาสื บเชื้อสายมาจากคนต้มเกลือ เป็ นลูกหลานของเจ้าปู่
คําแดง อันเป็ นตํานานร่ วม (Myths of Origin and Descent) ของคนในถิ่นฐานเดียวกัน(Collective
Location) ได้สร้างสํานึ กของการก่อกําเนิด เติบโต และมีชะตากรรมร่ วมกันมาแต่บรรพบุรุษ พวก
เขาจึงมีประวัติศาสตร์ ร่วม(Shared History) ของกลุ่มคนที่สืบเชื้ อสายมาจากบรรพบุรุษผูท้ าํ เกลือ
เรื่ องราวแห่งอดีตยังคงมีความหมายเชื่อมโยงกับปัจจุบนั ทําให้เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างและสื บ
ทอดวัฒนธรรมร่ วมกันอย่างมากมาย ในอาณาเขตที่สัมพันธ์กบั สถานที่คือบ่อเกลือซึ่ งเป็ นถิ่นที่อยูท่ ี่
ศักดิ์สิทธิ์ เป็ นดินแดนมาตุภูมิ สมาชิกแม้จะอยูไ่ กลก็สามารถกลับมาร่ วมในพิธีกรรม การเฉลิมฉลอง
217

หรื อผ่ า นสั ญ ลัก ษณ์ ที่ เ คารพบู ช า อัน สามารถเชื่ อ มความผู ก พัน ของพวกเขากับ ชุ ม ชน ทั้ง นี้
ความสัมพันธ์น้ ี ยงั เชื่ อมโยงไปยังชุ มชนสองฝั่งนํ้าสงครามและชุมชนใกล้เคียงที่เชื่ อว่าเกลือบ่อหัว
แฮดทําปลาแดกไม่เน่า ทําให้เกลือจากแหล่งนี้ มีราคาแพงและสามารถดํารงอยูม่ าได้จนปั จจุบนั โดย
ที่ยงั ไม่มีการแทรกแซงของกลุ่มทุนจากภายนอกมากนัก
ในทางเศรษฐกิ จ เกลื อ จากบ่ อ หัวแฮด เป็ นอุ ต สาหกรรมครั ว เรื อนที่ มี ก ํา ลัง การผลิ ต
ประมาณ 1,000 ตันต่อปี ราคาเกลือที่แหล่งผลิตอยูร่ ะหว่าง 1,500 – 2,500 บาทต่อตัน คิดเป็ นมูลค่า
ไม่ต่าํ กว่า 1,500,000 – 2,500,000 บาทต่อปี ผูผ้ ลิตส่ วนใหญ่ใช้แรงงานในครัวเรื อน และมีการจ้าง
แรงงานในชุมชนเพิ่มในการบรรจุถุง หรื อมีพอ่ ค้ามารับซื้ อเกลือ โดยเป็ นพ่อค้าในท้องถิ่นที่รับเกลือ
ไปเร่ ขายจํานวนมาก ซึ่ งเป็ นคนจากในหมู่บา้ นเอง หรื อมาจากหมู่บา้ นใกล้เคียง พ่อค้าเหล่านี้ จะนํา
เกลือไปขายในราคาตามขนาดบรรจุต่างๆ คือขนาดนํ้าหนัก หรื อแลกข้าวในอัตราเกลือ 2 ส่ วน ต่อ
ข้าว 1 ส่ วน พ่อค้าเร่ ขายเกลือจะตระเวนไปยังหมู่บา้ นต่างๆ ในลุ่มนํ้าสงคราม และชุมชนใกล้เคียง
เพื่อขายเกลือ ซึ่งจะขายได้ราคาดีในฤดูฝนที่มีการจับปลาได้มากๆ มีการแปรรู ปปลาเป็ นปลาร้า ปลา
ส้ ม และนํ้าปลา โดยมี ลูกค้าหลักคือชุ มชนใกล้แม่น้ าํ ที่แปรรู ปปลาในลุ่ มนํ้าสงคราม และชุ มชน
ใกล้เคียงในอีสานตอนบน
เกลือบ่อหัวแฮดเป็ นเกลือที่ชาวลุ่มนํ้าสงครามนิยมบริ โภคมากที่สุดโดยจะมีจุดสังเกตคือ
ลักษณะบรรจุภณั ฑ์ที่พิเศษคือใช้เชือกฟางสี ชมพูมดั ปากถุง รถเร่ ขายเกลือจะติดเครื่ องขยายเสี ยงไว้
ที่หวั รถประกาศไปช้าๆ ตามหมู่บา้ นต่างๆ “เกลือเด้ อครั บเกลือ เกลือแลกเกลือขาย แลกๆ กะแลก
ขายกะขาย ข้ าวกระสอบหนึ่ ง ต่ อเกลื อสองกระสอบ เกลื อสองกระสอบต่ อข้ าวกระสอบหนึ่ ง ”
หมายถึงอัตราแลกเปลี่ยนเกลือกับข้าวเป็ น เกลือ 2 ส่ วน ต่อข้าว 1 ส่ วน ในขณะที่บางฤดูกาล เช่นใน
ฤดู ฝนที่ เกลื อหายากความต้องการใช้เกลื อสู งเพราะต้องแปรรู ปปลาเป็ นจํานวนมาก ในหมู่บา้ น
ท้องถิ่ นลุ่ มนํ้าสงคราม จะได้ยินเสี ยงป่ าวประกาศซื้ อขายแลกเปลี่ ยนเกลือถี่ แทบทุกสัปดาห์หรื อ
สัป ดาห์ ล ะหลายครั้ง ว่า “เกลื อเด้ อครั บเกลื อ เกลื อแลกเกลื อขาย คุ ต่อคุต้าต่ อต้ าถังต่ อถัง ” นั่น
หมายถึงอัตราแลกเปลี่ยนข้าวกับเกลือเป็ น 1 ต่อ 1 จะเห็นได้วา่ เกลือจากชุมชนแหล่งผลิตเกลือบ่อ
หัวแฮดยังเป็ นเกลื อสําหรับบริ โภคและยังตอบสนองต่อเศรษฐกิ จท้องถิ่น และวัฒนธรรมปลาแดก
ในท้องถิ่นลุ่มนํ้าสงครามได้อย่างเข้มแข็ง และยังคงมีวฒั นธรรมการแลกเปลี่ยนข้าวกับเกลือให้เห็น
ในอดีตเกลือจากบ่อหัวแฮดทําให้เกิดการตั้งชุมชนบ้านท่าสะอาด และยังมีชุมชนอื่นๆ ที่
เกิ ดจากการสัญจรมาซื้ อขาย หรื อผลิตเกลือ เช่ น บ้านดอนแดง ตําบลหนองบัวสิ ม อําเภอคําตากล้า
จังหวัดสกลนคร หรื อบ้านท่าโขง บ้านปากยาม ตําบลบ้านข่า อําเภอศรี สงคราม จังหวัดนครพนม
เป็ นต้น
218

ในปั จจุบนั ได้เกิ ดกลุ่มผูป้ ระกอบการผลิตเกลือสิ นเธาว์บ่อหัวแฮด และมีโครงการของ


องค์การบริ หารส่ วนตําบล(อบต.) ส่ งเสริ มการผลิตเกลือผสมไอโอดีนเพื่อบริ โภค กลุ่มผูต้ ม้ เกลือ
เหลือเพียง 12 ครัวเรื อนในปัจจุบนั ที่มีการรวมกลุ่มขอให้เทศบาลตําบลส่ งเสริ มการจัดตั้งกลุ่ม และ
เสนอขอรับการสนับสนุนจากองค์การบริ หารส่ วนตําบล หรื อเทศบาลตําบล ให้ช่วยประชาสัมพันธ์
สิ นค้าผ่านเว็บไซต์ และจัดงานพิธีกรรมเกี่ ยวข้องกับการไหว้ปู่คําแดงประจําปี ซึ่ งเป็ นงานใหญ่โต
และชาวบ้า นหลายกลุ่ ม อาชี พ ยัง คงเข้า มาร่ ว มพิ ธี ก รรม ทั้ง นี้ กลุ่ ม ผูผ้ ลิ ตเกลื อ ถื อ เป็ นผูส้ ื บทอด
วัฒนธรรมชุมชน และแม้วา่ ชุมชนแหล่งผลิตเกลือบ้านท่าสะอาดไม่ได้อยูใ่ นพื้นที่ที่สามารถอนุญาต
ให้ประกอบกิจการเกลือตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ปี 2535 และวิธีการผลิตที่ใช้เชื้ อเพลิง
จากฟื นซึ่ ง ตามกฎหมายจะทํา ไม่ ไ ด้ แต่ บ่ อเกลื อบ้า นท่ า สะอาดก็ ย งั ผลิ ตเกลื อสื บ ต่ อมาได้ นั่น
ชี้ ให้เห็นว่ากลุ่มผูป้ ระกอบการเกลื อจากแหล่งผลิตเกลือบ่อหัวแฮด บ้านท่าสะอาด ใช้เงื่อนไขทาง
ประวัติศาสตร์ ชุมชนแหล่งผลิตเกลือดั้งเดิม ต่อรองจนเหมือนแหล่งผลิตเกลือที่ได้รับการคุม้ ครอง
จากประวัติศาสตร์ อนั ยาวนานนั้น
ลักษณะเช่ นนี้ มีความน่ าสนใจในแง่ที่ประวัติศาสตร์ ทอ้ งถิ่นมีอาํ นาจต่อรองกับเงื่อนไข
ทางกฎหมาย อํานาจทางการเมืองที่จะเข้ามาจัดการทรัพยากรนํ้าเกลือในท้องถิ่นได้ แม้ยงั ไม่มีการ
จัดระเบียบความรู ้ทอ้ งถิ่น การพัฒนาศักยภาพ และเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากเกลือ เช่น การประกาศ
คุม้ ครองความรู ้และประวัติศาสตร์ ทอ้ งถิ่นที่มีการผลิตเกลือ โดยการลงทะเบียนเป็ นพื้นที่สมบัติทาง
วัฒนธรรมมีชีวิต (Intangible Cultural Asset) นอกจากนี้ พบว่าในร้านขายของที่ระลึก แปรรู ปเกลือ
เป็ นผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย เป็ นเครื่ องบอกเล่าประวัติศาสตร์ และเกร็ ดความรู้เรื่ องเกลืออื่นๆไว้ดว้ ย
แหล่งทําเกลือพื้นบ้านที่มีประวัติศาสตร์มายาวนาน มีวธิ ีทาํ ที่มีเทคนิคเฉพาะตัวเช่นที่บ่อ
หัวแฮด บ่อเกลือกลางลํานํ้าสงคราม ที่มีประวัติศาสตร์ เกี่ยวเนื่องกับชุมชนท้องถิ่นในลุ่มนํ้าสงคราม
และลุ่มนํ้าโขง แต่ขาดการส่ งเสริ มให้ความรู้ให้ทอ้ งถิ่นเหล่านี้เข้มแข็ง เพื่อเก็บรักษาพัฒนาความรู้
ประวัติ ศ าสตร์ ชุ ม ชนให้ ส ามารถเชื่ อ มโยงกับ ตลาดสมัย ใหม่ ไ ด้ และคุ ้ม ครองความรู้ แ ละ
ประวัติศาสตร์ ทอ้ งถิ่นไว้ดว้ ยการยกย่องเป็ นพื้นที่สมบัติทางวัฒนธรรม

4.3 บทบาทเกลือกับสุ ขภาพ


คนงานนาเกลื อ ที่ เ ป็ นคนในนาเกลื อ บ้า นโนนดอกไม้แ ดงมี ท้ ัง ผู้ห ญิ ง และชายโดย
ส่ วนมากผูช้ ายจะทํางานเข็นเกลือเข้าฉาง ส่ วนผูห้ ญิงจะทํางานเก็บเกลือตักเกลือเป็ นหลัก การทํางาน
อยู่ในสภาพแวดล้อมที่แดดร้ อนจัด เท้าแช่ น้ าํ เค็ม และสู ดเอาอากาศที่มีไอเกลือ เข้มข้นซึ่ งอาจจะมี
ผลกระทบต่อสุ ขภาพโดยตรง คนงานเหล่านี้จึงเสี่ ยงต่อโรคระบบทางเดินหายใจ โรคผิวหนัง
219

นอกจากนี้การที่นาเกลือยังทําลายแหล่งอาหารตามธรรมชาติในหมู่บา้ นลง และเกิดภาวะ


ความขัดแย้งภายในชุ มชนมากขึ้น จนเกิดผลกระทบต่อระบบวัฒนธรรมและจิตใจของคน เช่น การ
ทะเลาะเบาะแว้ง ไม่ร่วมกิจกรรมทางสังคมในหมู่บา้ น ชาวบ้านบางรายเกิดความเครี ยดที่มีบา้ นเรื อน
ตั้ง อยู่ใ นแนวหลุ ม ยุบ สิ่ งที่ ก ล่ า วมานี้ คื อภาวะคุ ก คามต่ อสุ ข ภาพทั้งทางกาย จิ ต สัง คม และจิ ต
วิญญาณของคนในชุมชนให้อ่อนแอลง
ขณะที่คนงานที่ทาํ งานในโรงต้มเกลือด้วยเชื้อเพลิงแกลบบ้านกุดเรื อคํา มีสภาพแวดล้อม
ที่ เต็ม ไปด้วยฝุ่ นควัน อุ ณ หภู มิ สู ง มี ค วันจากการเผาแกลบต้ม เกลื อ นอกจากนี้ ย งั มี ไ อเกลื อจาก
กระทะต้มเกลื อที่มีความเข้มข้นสู ง ซึ่ งอาจจะส่ งผลกระทบต่อคนงานที่ทาํ งานและสัมผัสไอเกลือ
และอยู่ในสิ่ งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมวันละหลายชัว่ โมง โดยไม่มีเครื่ องป้ องกัน นอกจากนี้ ชุมชน
ใกล้เคียง ได้รับการรบกวนจากฝุ่ นควันบางครั้ง และยังพบว่าการทําเกลือแบบนี้ ก็สร้างผลกระทบ
สิ่ งแวดล้อมเรื่ องนํ้าเค็ม ดินเค็ม และแผ่นดินยุบ ซึ่ งทําให้สวัสดิภาพของคนในชุมชนแหล่งผลิตเกลือ
ตกอยู่ในภาวะเสี่ ยง และเป็ นกิ จกรรมที่คุกคามแหล่งอาหารตามธรรมชาติและพื้นที่เกษตรกรรม
โดยเฉพาะอย่างยิง่ นาข้าวที่อยูล่ อ้ มรอบได้
เกลื อบ้านกุดเรื อคําเป็ นเกลื อสําหรับการบริ โภคที่สะอาดกว่าเกลื อจากการทํานาเกลื อ
และชาวบ้า นลุ่ ม นํ้าสงครามก็นิย มใช้เกลื อต้ม เกลื อกุดเรื อคําจึ งได้รับความนิ ย มในการนําไปใช้
ถนอมอาหาร หรื อผลิ ตสิ นค้า พื้นถิ่ น เช่ น ปลาร้ า ปลาส้ม เช่ นกันกับเกลื อจากบ่อหัวแฮด ที่ผลิ ต
สําหรับการถนอมอาหาร ที่ชุมชนต่างๆ ทั้งบนที่ลุ่มและที่ดอนมีอาหารโปรตีนจากปลาร้าเก็บไว้ได้
ตลอดปี ปั จจุบนั นี้ บทบาทนั้นก็ยงั คงดํารงอยูอ่ ย่างเข้มแข็งแม้วฒั นธรรมการบริ โภคและเครื่ องปรุ ง
รสอาหารในปั จจุบนั แม้จะมีเครื่ องปรุ งรสที่หลากหลายขึ้น เช่น ซอส นํ้าปลา ผงชูรส แต่เกลือก็ยงั
เป็ นเครื่ องปรุ งรสในวัฒนธรรมปลาแดกที่อยูค่ ู่สังคมอีสานอย่างมัน่ คง
การผลิ ตเกลือบ่อหัวแฮดดําเนิ นการมายาวนานที่สุด และต้องทํางานหนักเช่ นกันกับทุก
แหล่งแต่มีผลกระทบน้อยกว่าทุกแหล่งและยังไม่มีรายงานวิกฤตผลกระทบสิ่ งแวดล้อม การต้มเกลือ
ไม่มีการระบายนํ้าขมทิ้งสู่ ธรรมชาติ และยังใช้ฟืนต้มและอยูห่ ่ างจากชุ มชนในพื้นที่ป่าทามนํ้าท่วม
ถึงและทําการผลิตในช่วงเวลาหลังฤดูฝนเท่านั้น ธรรมชาติจึงมีช่วงเวลาฟื้ นฟูตวั เองได้ในระดับหนึ่ ง
แต่ก็ยงั พบคราบความเค็มกระจายในฤดูแล้ง แม้ไม่ถึงขั้นร้ายแรงแต่ควรมีการจัดการที่ดีกว่าที่เป็ นอยู่
อย่างไรก็ตามในความเชื่ อของชาวบ้านลุ่มนํ้าสงครามเชื่อว่าเกลือบ่อหัวแฮดเป็ นเกลือคุณภาพสู ง ที่
นิยมบริ โภค สามารถช่วยถนอมอาหารพวกปลาร้า ปลาแดก และปรุ งรสได้รสชาติดี เป็ นที่นิยมของ
ชาวลุ่มนํ้าสงครามจนเกลือบ่อหัวแฮดเป็ นเกลือที่มีราคาสู งที่สุดในตลาด นอกจากนี้ ยงั มีการส่ งเสริ ม
เกลือไอโอดีนโดยเทศบาลตําบลท่าสะอาดช่วยส่ งเสริ มสนับสนุน
220

5. เกลือกับอนาคตของชุ มชนลุ่มนา้ สงคราม

คนในชุ มชนที่อาศัยอยู่ในสิ่ งแวดล้อมที่มีเกลือเป็ นองค์ประกอบได้มีความสัมพันธ์กบั


เกลือจนไม่สามารถแยกออกจากกันได้เห็นได้จากการผลิตเกลือทั้ง 3 แบบ ในทั้ง 3 ชุมชน ซึ่ งพบว่า
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อม กับเทคโนโลยีการผลิต และเป้ าหมายของการค้าขายเกลือของ
กลุ่ ม ผูผ้ ลิ ตแต่ ล ะกลุ่ ม เช่ น กลุ่ ม ผูผ้ ลิ ตเกลื อบ่ อหัวแฮดเน้นการผลิ ตเพื่อบริ โภคส่ ง ขายในตลาด
ท้องถิ่นและเป็ นเกลือที่มีราคาสู งที่สุดในบรรดาการผลิตเกลือทั้ง 3 แบบ อีกด้านหนึ่ งชุมชนแหล่ง
ผลิตเกลือด้วยเทคโนโลยีการต้มด้วยเชื้อเพลิงแกลบเป็ นกลุ่มผูผ้ ลิตเกลือเพื่อบริ โภคเช่นกัน แต่ตลาด
ค้าขายเกลื อนอกจากจะขายในท้องถิ่ นเล็กน้อย แต่ส่วนใหญ่จะส่ งขายสําหรับอุตสาหกรรมอาหาร
และโรงงานอุตสาหกรรมในภาคกลาง ราคาสู งเป็ นอันดับที่สองรองจากเกลือบ่อหัวแฮด
ส่ วนการผลิ ตเกลื อของกลุ่มชุ มชนแหล่งผลิตเกลือบ้านโนนดอกไม้แดงซึ่ งเปลี่ยนแปลง
จากการผลิ ตเกลื อจากวิถีผลิ ตแบบท้องถิ่นไปอย่างสิ้ นเชิ ง โดยมีการสร้างวัฒนธรรมการผลิตเกลือ
แบบใหม่ดว้ ยแรงผลักดันจากกลุ่มทุนอุตสาหกรรม ปัจจุบนั สภาวะนิเวศวิทยาในหมู่บา้ นเสื่ อมโทรม
จากความเค็มในแหล่งนํ้า นาข้าว ชาวถิ่นสู ญเสี ยที่ดิน ปัจจุบนั เป็ นแรงงานรับจ้างรายวันในนาเกลือที่
เคยเป็ นของบรรพบุรุษตัวเอง ส่ วนรายที่พยายามรักษาที่ดินไว้ก็จาํ เป็ นต้องกลายเป็ นผูผ้ ลิตรายย่อยที่
ผลิตเกลือขายโดยราคาผูกขาดผ่านการตกเขียวเกลือและอยูใ่ นวังวนของพันธะสัญญา
ลักษณะการปรับตัวของชุ มชนในความเปลี่ยนแปลงอันรวดเร็ วในห้วง 30 ปี ที่ผ่านมา
พบว่ า เกิ ด ความขัด แย้ง ระหว่ า งผู้ผ ลิ ต เกลื อ และผู้ไ ด้รั บ ผลกระทบอยู่ เ นื อ งๆ ผลการเลื อ กตั้ง
ผูใ้ หญ่บา้ นครั้งล่าสุ ดพบว่าผูท้ ี่ได้รับการเลือกตั้งเป็ นตัวแทนชุมชนในระดับหมู่บา้ นเป็ นผูท้ ี่แสดงตัว
ไม่สนับสนุ นการทํานาเกลื อ และเริ่ มมีกระบวนการต่อรอง เช่น ห้ามสู บนํ้าเกลือในวันพระ ผูใ้ ดฝ่ า
ฝื นปรับเป็ นเงินจํานวน 500 บาท จากเดิมที่เคยเรี ยกค่าปรับเพียง 12 บาทและเหล้า 1 ขวดหากมีการ
ใช้เครื่ องจักรใหญ่ในวันพระ แต่เมื่อวัฒนธรรมชุ มชนไม่อาจจะปรับตัวได้ทนั กับความเปลี่ยนทาง
วัฒนธรรมการผลิตเกลือแบบนาเกลือผืนใหญ่ และส่ งผลกระทบกว้างขวาง ทําให้ตอ้ งปรับค่าปรับ
การสู บนํ้าเกลือในวันพระขึ้น นอกจากนี้ ยงั พบความพยายามในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าอันเกิดจาก
ภัยพิบตั ิดินยุบ เช่น การรวมตัว การกําหนดข้อตกลงเรื่ องการชดเชยค่าเสี ยหายจากการผลิตเกลือจาก
แผ่นดินยุบ บ้านเรื อนแตกร้าว
ในยุคเริ่ มต้นการพัฒนาการผลิตเกลือจากภายในชุมชนเองนั้นเกลือมีบทบาทเพื่อความอยู่
รอด เพื่อความสัมพันธ์ทางการค้าภายในท้องถิ่น คนเป็ นแรงงานในกระบวนการนั้น เป็ นทรัพยากร
หนึ่งที่จะผลักดันให้เศรษฐกิจท้องถิ่นดําเนินไปสัมพันธ์กบั ชุมชนที่อยูไ่ กลออกไป ด้วยเทคโนโลยี
พื้นฐานที่สามารถควบคุมจํากัดผลกระทบสิ่ งแวดล้อมและความขัดแย้งได้มากกว่า แต่เมื่อก้าวสู่ ยุค
221

ที่ ก ารผลิ ต เกลื อ ด้ว ยเทคโนโลยี ข นาดใหญ่ แ ละมี เ ป้ าหมายเพื่ อ ตอบสนองความต้อ งการของ
ภาคอุตสาหกรรมและเกิดจากแรงผลักดันจากรู ปแบบเศรษฐกิจแบบอุตสาหกรรมของประเทศอย่าง
เต็ม ที่ เกลื อที่ ผ ลิ ตออกไปจากนํ้า สงครามจึ ง กลายเป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของระบบเศรษฐกิ จที่ มี อ าํ นาจ
ควบคุมจากศูนย์กลาง ปลายทางของเกลือที่เปลี่ยนรู ปไปเป็ นองค์ประกอบหนึ่ งในเคมีภณ ั ฑ์ต่างๆ ที่
ใช้กนั อยูใ่ นสังคมสมัยใหม่
การพัฒนาเทคโนโลยีการขุดเจาะนํ้าบาดาลและเริ่ มต้นการทําเกลือจากนํ้าเค็มใต้บาดาล
ซึ่ งผูก้ ุมความลับความรู ้ เรื่ องนํ้าบาดาลเค็มคือกลุ่มทุนจากภายนอกที่เข้ามาซื้ อที่ดินและทําการผลิต
เกลือ ในขณะที่ชุมชนยังดําเนิ นวิถีชีวิตเกษตรกรรม นโยบายการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมของไทยต้อง
ใช้เกลือผลักดัน ทําให้คนภายในชุ มชนแหล่งผลิตเกลือถูกดึงเข้าไปเป็ นกลุ่มผลประโยชน์ในฐานะ
ของคนงานนาเกลือ ลูกนา ลูกหนี้ ตกเขียวเกลือ ส่ วนกลุ่มผูป้ ระกอบการรายใหญ่ได้มีความพยายาม
ยึดกุมอํานาจทางการเมือง เช่นผูป้ ระกอบการรายใหญ่ผหู้ นึ่ งในหมู่บา้ น วางฐานอํานาจผ่านธุ รกิจนา
เกลือจนสามารถได้รับการเลือกตั้งให้เป็ นนายกองค์การบริ หารส่ วนท้องถิ่น และพยายามสนับสนุน
คนของตนเข้าสู่ ระบบการเมืองในระดับหมู่บา้ น เช่ น สนับสนุ นเงินหาเสี ยง เพื่อส่ งตัวแทนกลุ่มผู้
ประกอบการนาเกลือลงสมัครผูใ้ หญ่บา้ น แข่งกับกลุ่มผูใ้ หญ่บา้ นเก่าที่เริ่ มนําเสนอปั ญหาในหมู่บา้ น
สู่ สื่อ และหน่วยงานการเมืองที่สูงขึ้นไป
เมื่ อความต้องการเกลื อขยายตัวขึ้นตามลักษณะการพัฒนาโลกยุค ใหม่ที่ใช้ผลิ ตภัณฑ์
อุ ตสาหกรรมและเคมี ภณ ั ฑ์ต่า งๆ มากขึ้ น ทําให้รูปแบบการผลิ ตเกลื อก้า วเข้าสู่ ยุคเทคโนโลยีที่
ทันสมัย เช่น การทําเหมืองละลายเกลือหินของ บริ ษทั เกลือพิมาย ส่ วนในลุ่มนํ้าสงครามปั จจุบนั ได้
มีข ้อเสนอเรื่ องการทํา เหมื องแร่ ใ ต้ดิน ของบริ ษ ทั เหมืองแร่ จากประเทศจี น โดยฝ่ ายนโยบายได้
กําหนดยุทธศาสตร์ ที่มุ่งเสริ มเทคโนโลยีน้ ี เพื่อให้ส ามารถผลิ ตเกลื อและแร่ โพแทชป้ อนสู่ ตลาด
อุตสาหกรรมเคมี และปุ๋ ยเคมี (แร่ โพแทช หรื อ โพแทสเซี ยม (K) ใช้เป็ นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ ยเคมี )
ที่ขยายตัวขึ้นในประเทศ ตลอดจนสามารถเป็ นแหล่ งผลิตเกลือและแร่ โพแทช ให้กบั ประเทศใน
ภูมิภาคลุ่มนํ้าโขง และอาเซี ยน โดยที่โครงการเหมืองแร่ โพแทชสกลนคร เป็ นหนึ่ งใน 3 พื้นที่ที่รัฐ
มุ่งส่ งเสริ มเพื่อเชื่อมโยงระบบการตลาดเข้าสู่ ภูมิภาคลุ่มนํ้าโขง
แนวทางนี้ทาํ ให้เห็นแนวโน้มว่ารู ปแบบอุตสาหกรรมเกลือแบบเหมืองแร่ ใต้ดินจะเข้ามา
แทนที่ การทําเกลื อด้วยเทคโนโลยีเกลื อแบบต้มและตากเช่ นในปั จจุ บนั และอาจจะส่ งผลทําให้
ผูป้ ระกอบการรายเล็ก กว่าที่ตม้ หรื อตากไม่มีตลาดที่จะสามารถผลิตเกลือส่ งให้ได้อีกต่อไปเพราะ
กลไกการผูกขาดตลาดเกลื อด้วยบริ ษทั อุตสาหกรรมเหมืองแร่ ใต้ดินรายใหญ่ที่จะสามารถขุดเกลือ
หิ นขึ้นมาจากใต้ดินได้อย่างเหลือพอ
222

ในยุค ที่ ส ามารถพัฒนาเทคโนโลยีที่ ทนั สมัย ทําให้ฝ่ายที่ ยึดกุ มทิ ศทางนโยบายเกลื อ


ร่ วมกับกลุ่ ม ทุ นที่ มีเทคโนโลยีมองว่าเกลื อที่มี อยู่ใต้ดินต้องนํา ขึ้นมาใช้ป ระโยชน์สําหรับ ความ
เติบโตทางอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจโดยอาศัยเกลือเป็ นวัตถุดิบหนึ่งที่จะขับดันระบบนั้นให้ดาํ เนิน
รุ ดหน้าไปนับเป็ นวิธีการมองเกลื อแบบที่เห็ นว่าเป็ นวัตถุ ดิบในสายพานอุตสาหกรรมและความ
รุ่ งเรื องทางเศรษฐกิจโดยมีเทคโนโลยีเป็ นเครื่ องมือ แม้วา่ เกลือหรื อแร่ โพแทชจะมีอยูอ่ ย่างจํากัด แต่
ฝ่ ายเจ้าของทุน และเทคโนโลยี เชื่อว่าพัฒนาการทางเทคโนโลยีสามารถเอาทรัพยากรนั้นมาใช้ และ
มีเทคนิ ควิธีในการจัดการผลกระทบสิ่ งแวดล้อมและอื่นๆ ได้ นอกจากนี้ เทคโนโลยีการทําเกลื อ
และเทคโนโลยีเหมื องแร่ จะทําให้สังคมสามารถจัดความสัมพันธ์ระหว่างความเจริ ญเติบโตทาง
เศรษฐกิจกับคุณภาพชีวติ ของคน โดยปั จจุบนั รัฐบาลได้วางแนวทางที่คาดว่าจะใช้สร้างและควบคุม
ระบบความสัมพันธ์ใหม่น้ ี โดยการบัญญัติพระราชบัญญัติแร่ ปี 2510 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545
ตลอดจนมาตรการการประเมินผลกระทบทางสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพตามกฎหมายกําหนด
กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงอุตสาหกรรม ได้เสนอให้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติแร่
พ.ศ. 2545 ได้เสนอให้มีการแก้ไขพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2510 โดยรัฐบาลนายชวน หลีกภัย ได้
นําเข้าสู่ การพิจารณาของรัฐสภา เมื่อปี 2543 รัฐสภาได้ลงมติให้ผา่ นการแก้ไขร่ าง พ.ร.บ. แร่ เป็ น
เอกฉันท์เมื่อปี 2545 เหตุ ผลเพื่อให้มีการทําเหมืองแร่ ใต้ดินคลุ มพื้นที่กว้างขึ้นโดยไม่ตอ้ งแสดง
หลักฐานการมีสิทธิ การทําเหมืองในพื้นที่ขอสัมปทาน ทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยี และเอื้ออํานวยต่อการลงทุนและพัฒนาแหล่งแร่ ใต้ดิน
ระหว่างการพิจารณาของสภาผูแ้ ทนราษฎรได้มีขอ้ ถกเถียงต่อความไม่ชอบมาพากลของ
การแก้ไขร่ าง พ.ร.บ. แร่ อย่างรวดเร็ วในชั้นสภาผูแ้ ทนราษฎร เมื่อร่ าง พ.ร.บ. แร่ เข้าสู่ การพิจารณา
ของวุฒิสภา ประชาชนในพื้นที่ ที่จะได้รับผลกระทบจากโครงการเหมืองแร่ โพแทช กับ องค์ก ร
พัฒนาเอกชน พยายามให้ขอ้ มูลต่อวุฒิสภาเพื่อพิจารณาร่ าง พ.ร.บ.แร่ อย่างรอบคอบพร้อมกับการลง
พื้นที่ดูตวั อย่างการทําเหมืองแร่ โพแทชที่อาํ เภอบําเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่ งเป็ นโครงการเหมือง
แร่ โพแทชอาเซี ยน ตลอดจนสอบถามความเห็นจากประชาชนในพื้นที่ที่จะได้รับผลกระทบ...มีขอ้
ถกเถียงต่อไปว่าเจตนารมณ์ของการแก้ไข พ.ร.บ.แร่ ยังคงเหมือนเดิมที่จะอนุญาตให้มีการทําเหมือง
แร่ ใต้ดินทัว่ ประเทศไทยได้ โดยที่สิทธิ การทําเหมืองใต้ดินลึ กกว่า 100 เมตร และไม่ตอ้ งแสดง


ร่ างพระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่...) พ.ศ.....(สําเนา) เลขรับ 27/2543 สํานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฏร อ้างแล้วใน
วสันต์ พานิช และคณะ “กฎหมายแร่ และสัญญาสัมปทานเหมืองแร่ โพแทช” การสัมมนาโครงการเหมืองแร่ โพแทชจังหวัดอุดรธานี
ปัญหาและแนวทางแก้ไข ณ ห้องประชุมนานาชาติช้ นั 2 อาหาคารสถาบันวิจยั สภาวะสิ่ งแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 29
มีนาคม 2546 : 164
223

หลักฐานต่อพนักงานเจ้าหน้าที่วา่ ผูข้ อจะมีสิทธิทาํ เหมืองใต้ดินล่วงแดนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินของผูอ้ ื่น แต่


ให้มีการจัดทํารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมประกอบการยื่นคําขอประทานบัตรเหมืองแร่
ใต้ดิน และต้องมีการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนในพื้นที่(วสันต์ พานิช และคณะ, 2546)
การกําหนดยุทธศาสตร์ เกลือหิ นและแร่ โพแทชของรัฐบาลดังกล่าวมาสะท้อนภาพความ
ไม่ เห็ นด้วยกับ การขยายการมี ส่ วนร่ วมและการถกเถี ย งของสาธารณะในการตัดสิ นใจกํา หนด
นโยบายการพัฒนาเหมืองเพื่อนําเกลือหรื อโพแทชขึ้นมาใช้ ตัวอย่างเช่น การวางระเบียบกฎเกณฑ์
การตัดสิ นใจโครงการ การกําหนดยุทธศาสตร์ เกลือและแร่ โพแทช โดยกรมอุตสาหกรรมพื้นฐาน
และการเหมืองแร่ ที่มีอาํ นาจตาม พ.ร.บ.แร่ เป็ นการผูกขาดอํานาจไว้ กรณี โครงการเหมืองแร่ โพ
แทชสกลนครนั้นมีความก้าวหน้าเป็ นลําดับที่ 4 รองจาก (1) โครงการเหมืองแร่ โพแทชอาเซี ยน
จังหวัดชัยภูมิ ที่ได้เคยมีการทดลองทําเหมืองและกําลังขอประทานบัตร (2)โครงการเหมืองแร่ โพ
แทชจัง หวัดอุ ดรธานี ที่ บ ริ ษ ทั กํา ลัง ยื่นขอประทานบัตร แม้อยู่ใ นภาวะขัดแย้ง กับ มวลชนอย่า ง
ต่อเนื่ องและรุ นแรงขึ้นแต่ก็ยงั มีความพยายามผลักดันโครงการนี้ ต่อไป (3) โครงการเหมืองแร่ โพ
แทชจังหวัดนครราชสี มา อําเภอด่านขุนทด บริ ษทั ไทคาลิ จํากัดได้รับอาชญาบัตรสํารวจแร่ โพแทช
ในพื้นที่รวม 40,000 ไร่ มีอายุอาชญาบัตร 5 ปี ในพื้นที่ 3 ตําบล และ (4)โครงการเหมืองแร่ โพแทช
จังหวัดสกลนคร ซึ่ งบริ ษทั ไชน่ า หมิงต๋ า โพแทช คอร์ ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด ได้ยื่นขอ
อาชญาบัตรพิเศษ เพื่อสํารวจแร่ โพแทชใน อําเภอวานรนิ วาส จังหวัดสกลนคร 12 แปลง เนื้ อที่
120,000 ไร่ (ซึ่ งเดิมเป็ นพื้นที่สงวนไว้เพื่อการศึกษาทดลองตามกฎหมายตาม พ.ร.บ.แร่ มาตรา 6 ทวิ)
ปั จจุ บนั รั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมได้ออกประกาศกระทรวง
อนุญาตให้ยนื่ คําขออาชญาบัตรสํารวจแร่ โพแทชในพื้นที่เป็ นกรณี พิเศษเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2554
โครงการเหมื องแร่ โพแทชใต้ดินทั้ง 4 แห่ งตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคอีสานตอนบนซึ่ งตาม
ยุทธศาสตร์ แร่ เกลื อหิ นและโพแทช ของกระทรวงอุตสาหกรรมมีเป้ าหมายจะพัฒนาให้เป็ นแหล่ง
อุตสาหกรรมแร่ โพแทชและอุตสาหกรรมต่อเนื่องเพื่อเชื่อมโยงเข้ากับเศรษฐกิจในภูมิภาคลุ่มนํ้าโขง
แต่เมื่อมองย้อนไปที่ชุมชนแหล่ งผลิ ตเกลื อ เช่ น ชุ มชนบ้านโนนดอกไม้แดง พบว่าก่ อนจะมีการ
พัฒนาอุตสาหกรรมเกลือ คนในชุ มชนไม่รับรู้ขอ้ มูลหรื อมีส่วนในการตัดสิ นใจ และเมื่อดําเนินการ
อุตสาหกรรมเกลือมานานราว 30 ปี แล้วและเกิ ดผลกระทบหลายครั้งในหลายด้าน แต่ในทางการ
แก้ไขพบว่า รัฐบาลมีแนวทางการตั้งคณะกรรมการจากภายนอกมาพิจารณาและกําหนดมาตรการ
ต่างๆ ซึ่ งไม่สามารถแก้ไขปั ญหาได้จริ ง ทั้งนี้ไม่เคยมีกระบวนการการมีส่วนร่ วมทางสังคมในชุมชน
เพื่อผลักดันการแก้ไขปั ญหาเรื่ องนี้อย่างจริ งจัง อีกทั้งกระบวนการภายในชุมชนก็ถูกกดไว้ดว้ ยระบบ
224

ความสัมพันธ์แบบเจ้าหนี้ กบั ลูกหนี้ หรื อนายจ้างกับลูกจ้าง แนวทางการประนี ประนอมกับปั ญหา


จึงเป็ นวิธีที่ใช้กนั ในชุมชนเพื่อรักษาความสัมพันธ์ภายในชุมชน
แนวทางการใช้ทรัพยากรเกลือและแร่ โพแทชให้มีประสิ ทธิ ภาพและได้ประโยชน์สูงสุ ด
ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่น้ นั จะเห็นว่าไม่มีที่ว่างให้ความรู้ทอ้ งถิ่ น ความรู้ต่างๆ เกี่ ยวกับแร่ โพแทช
และเกลือหิ นในเหมืองใต้ดินในปั จจุบนั เป็ นของผูเ้ ชี่ยวชาญ ทํานองเดียวกันที่อาํ นาจการตัดสิ นใจ
หรื อการมีส่วนร่ วมในการกําหนดทิศทางหรื อนโยบายการพัฒนาชุมชนแหล่งเกลือและแร่ โพแทช
อยู่ภายใต้อาํ นาจของบรรษัทข้ามชาติ หรื อกลุ่ มทุนที่มีความสัมพันธ์กบั ฝ่ ายการเมืองเพื่อกําหนด
ทิศทางนโยบายต่างๆ โดยอาศัยกลไกของรัฐทําให้มีความสอดคล้องกับความต้องการพัฒนาเหมือง
แร่ เพื่อตอบสนองการพัฒนาเศรษฐกิ จโดยนําเกลื อและโพแทชมาใช้ให้เต็มที่เท่าที่ศกั ยภาพของ
เทคโนโลยีจะสามารถทําได้ ทั้งนี้ มาตรการด้านภาษี สร้างกองทุนฟื้ นฟูสภาพแวดล้อม ปรับปรุ ง
กฎหมาย ข้อกําหนดในการประกอบกิจการเกลือ ส่ งเสริ มอุตสาหกรรมที่อนุรักษ์ส่ิ งแวดล้อมโดยอ้าง
มาตรฐานสากล ของระบบอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ตลอดจนการมีส่วนร่ วมผ่านกลไกการเมืองแบบ
ทางการที่รัฐกําหนดขั้นตอนไว้ตามลําดับ โดยพยายามสร้างตํานานการก้าวสู่ โลกใหม่และรุ่ งเรื อง
ของชุ มชนผ่านคําโฆษณาประชาสัมพันธ์โครงการ เช่ น “เหมืองชุ มชนนําคนกลับบ้าน” “ปุ๋ ยราคา
ถูก” ตลอดจนการจ้า งงาน และอุ ตสาหกรรมต่ อเนื่ องอื่นๆ ในท้องถิ่ น ภาพสัง คมรู ปแบบใหม่ ที่
แนวนโยบายของรัฐนําเสนอ ผ่านการกําหนดยุทธศาสตร์ การพัฒนาอุตสาหกรรมเกลือและโพแทช
ในภาคอีสาน แต่ในอีกด้านหนึ่ งย่อมเห็นได้ถึงทิศทางการช่วงชิงทรัพยากรเกลือและแร่ โพแทชจาก
ชุมชนแหล่งเกลือ และผูป้ ระกอบการที่มีเทคโนโลยีขนาดเล็ก และเงินทุนน้อยกว่า
จากแนวโน้มที่กล่าวมาอาจจะคาดการณ์บทบาทของเกลือในยุคหลังการทําเหมืองเกลือ
และแร่ โ พแทชใต้ดิ น ที่ อ ารยธรรมของสั ง คมอุ ต สาหกรรมเริ่ ม เข้า ไปควบคุ ม ธรรมชาติ ด้ว ย
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ซึ่ งก่อให้เกิ ดความเจริ ญทางวัตถุและการบริ โภคอย่างไม่มีเขตจํากัด
หากมี ก ารพัฒ นาอุ ต สาหกรรมเหมื อ งแร่ เ กลื อ และโพแทชจริ ง ตามแผนยุ ท ธศาสตร์ เ กลื อ ของ
กระทรวงอุตสาหกรรม ในอนาคตในพื้นที่แหล่งแร่ เกลือหิ นและโพแทชในภาคอีสานของไทยจะมี
โพรงเกลืออันเกิดจากการทําเหมืองแร่ อยู่ทว่ั ไป ขณะที่กิจกรรมทางอุตสาหกรรมต่างๆ ในประเทศ
ขณะนี้ทาํ ให้พบว่าปริ มาณกากนิ วเคลียร์ ที่เพิ่มขึ้นซึ่ งจะก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์และสิ่ งแวดล้อม
การกํา จัดกากนิ วเคลี ย ร์ ที่ดาํ เนิ นการอยู่ใ นประเทศอุ ตสาหกรรมที่ ใ ช้เกลื อมากที่ สุ ดในโลกเช่ น
สหรั ฐอเมริ กาใช้วิธีการทิ้งในชั้นหิ นลึ กและนักเทคโนโลยีเห็ นว่าภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อมีช้ นั
เกลือหิ นแพร่ กระจายอยูม่ ากและมีคุณสมบัติในการกักเก็บที่คล้ายคลึงกับที่ใช้ในต่างประเทศ
225

สํานักงานพลังงานปรมาณู เพื่อสันติ (พปส.) รายงานว่ามีกากนิวเคลียร์ ที่อยูใ่ นความรับ


ผิด ชอบประมาณ 20 ลูกบาศก์เมตร และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นอีกปี ละ 30 ลูกบาศก์เมตร ทั้งหมดปั จจุบนั
อยูใ่ นโรงเก็บและยังไม่มีแผนที่จะกําจัดอย่างถาวร และเห็นว่าชั้นเกลือหิ นมีคุณสมบัติในการกักเก็บ
ที่คล้ายคลึงกับที่ใช้เก็บกากนิวเคลียร์ในต่างประเทศเพราะเกลือหินมีคุณสมบัติเด่น คือ มีค่าความซึ ม
ผ่านตํ่า มีความสามารถในการเชื่ อมประสานตัวเอง และทนความร้อนได้สูง และมีผลการวิเคราะห์
ว่าโพรงเกลือมีความเหมาะสมที่จะเก็บกากนิวเคลียร์ อยูร่ ะดับความลึกประมาณ 600 เมตรจากผิวดิน
ในช่ วง 500 ปี มีการยุบตัวของผิวดิ นเพียงเล็กน้อย สามารถออกแบบโพรงเกลื อที่เหมาะสมที่จะ
ศึกษาต่อไปเพื่อการทิ้งกากนิ วเคลี ยร์ ทั้งนี้ ระบุว่าพื้นที่บา้ นศรี เมือง และบ้านกุดจิก อําเภอวานร
นิ วาส จังหวัดสกลนคร ในลุ่มนํ้าสงครามเป็ นหนึ่ งในพื้นที่ที่มีผลการวิจยั สรุ ปว่ามีแนวโน้มความ
เหมาะสมในการทิง้ กากนิวเคลียร์ ที่ระดับความลึกถึงหลังคาโพรงเท่ากับ 610, 585 ตามลําดับ
การศึกษานี้ช้ ีให้เห็นว่า นักเทคโนโลยีเห็นว่าการจัดการของเสี ยจากอุตสาหกรรมควรนํา
กลับมาทิ้งไว้ใต้โพรงเกลื อใต้ชุมชนแหล่งเกลือและแร่ โพแทชภายหลังการปิ ดเหมือง เพราะเกลือ
หิ นมีความเหมาะสมในการทิ้งกากนิ วเคลียร์ หรื อของเสี ยจากวัตถุกมั มันตรังสี ที่เกิ ดขึ้นจากการใช้
ทรั พ ยากรในภาคอุ ตสาหกรรมมาฝั ง กลบไว้ใ ต้ชุ ม ชนแหล่ ง ผลิ ต เกลื อและแร่ โพแทช และเมื่ อ
พิจารณานโยบายการพัฒนาพลัง งานในประเทศที่ หวัง ว่า จะใช้พ ลัง งานนิ วเคลยร์ ใ นอนาคต จึ ง
ชี้ ให้เห็นว่า การพัฒนาเหมืองแร่ เกลือหิ นและโพแทชในอนาคตนั้นคํานึ งถึงการใช้ประโยชน์โพรง
ใต้ดินในชุมชนเป็ นสถานที่ทิ้งกากนิวเคลียร์หรื อของเสี ยจากวัตถุกมั มันตรังสี หรื อขยะอันตราย
กล่าวโดยสรุ ปได้วา่ เทคโนโลยีการผลิตเกลือที่พฒั นามาในพื้นที่ชุมชนลุ่มนํ้าสงครามนั้น
ได้พฒั นามาถึงขั้นที่มีการนําเสนอรู ปแบบเหมืองใต้ดินอันเป็ นเทคโนโลยข้ามพรมแดนขนาดใหญ่
ซึ่ งจะส่ งผลต่อการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั มนุษย์ดว้ ยกัน และมนุษย์กบั ระบบ
นิ เวศ คือ ระหว่างคนในชุ มชน ความสัมพันธ์ของคนเปลี่ยนจากความสัมพันธ์แบบเสมอหน้าใน
ระบบการค้าขายแลกเปลี่ ยนในท้องถิ่น เป็ นความสัมพันธ์แบบผูม้ ีอาํ นาจเหนือกว่ากับผูม้ ีอาํ นาจตํ่า
กว่าในระบบเทคโนโลยีการผลิ ตและการตลาด โดยใช้ระบบพันธะสัญญา หรื อ ตกเขียว หรื อการ
ว่าจ้างในระบบตลาดค้าเกลือ และมีแนวโน้มที่ความสัมพันธ์อย่างหลังนี้ จะเข้มแข็งและผูกขาดมาก
ขึ้น นับว่าเป็ นการก้าวสู่ ความเป็ นสังคมอุตสาหกรรม โดยการใช้เทคโนโลยีขนาดใหญ่เข้าควบคุม
ธรรมชาติเพื่อนําทรัพยากรจากชุ มชนไปใช้ประโยชย์ ภายใต้ระบบตลาดเสรี น้ นั ได้ก่อความรํ่ารวย
แก่ใครบางคนที่มองไม่เห็นตัวจริ งโดยที่ชุมชนท้องถิ่นมีสิทธิ อาํ นาจในการใช้ประโยชน์หรื อเข้าถึง
ทรัพยากรเกลือได้น้อยมาก ท้ายที่สุดพื้นที่นิเวศชุ มชนยังถูกกําหนดเป็ นแหล่งนํากากขยะของเสี ย
กลับมาทิ้ง แนวทางเช่นนี้จึงไม่อาจจะถือเป็ นการสร้างประโยชน์สูงสุ ดต่อสังคมส่ วนรวมแต่อย่างใด
บทที่ 6
สรุ ปและอภิปรายผล

1. บทสรุ ป
การทาเกลื อมายาวนานตั้งแต่โบราณและก่ อให้เกิ ดความเปลี่ ยนแปลงของระบบนิ เวศ
และสิ่ งแวดล้อมในลุ่มน้ าสงครามอันเกิ ดจากพลังอานาจการพัฒนาอุตสาหกรรมเกลือ โดยเฉพาะ
ช่ ว ง 30 ปี ที่ ผ่ า นมานี้ แรงขับ เคลื่ อ นของเทคโนโลยี ก ารผลิ ต เกลื อ ที่ มุ่ ง น าเกลื อ ที่ ไ ด้ป้ อน
ภาคอุ ต สาหกรรมหลัง จากที่ ป ระเทศไทยพัฒ นาตนเองเป็ นประเทศอุ ต สาหกรรมใหม่ ความ
เปลี่ ยนแปลงทางนิ เวศวิทยานี้ โยงใยไปถึ งการเปลี่ ยนแปลงความสัมพันธ์ของผูค้ นในนิ เวศแหล่ ง
ผลิตเกลือนั้น ๆ

ภาพที่ 42 แผนภาพความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ วัฒนธรรม และสุ ขภาวะ


226
227

จากกรอบแนวคิดทางนิเวศวัฒนธรรม (Cultural Ecology) ที่มองอิทธิพลของสิ่ งแวดล้อม


เป็ นตัวกาหนดกระบวนการทางสังคมวัฒนธรรมซึ่งเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา เพื่อปรับตัวให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อม อันมีเทคโนโลยีการผลิต โครงสร้างสังคมและสิ่ งแวดล้อม เป็ นปั จจัยกาหนด โดย
เชื่ อว่าวัฒนธรรมเกิ ดจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยมีพฒั นาการของวัฒนธรรมที่ก่อตัวใน
เงื่อนไขทางสิ่ งแวดล้อมและทรัพยากร ดังนั้นลักษณะเทคโนโลยีและทรัพยากรจึงมีส่วนกาหนดการ
จัดระเบี ยบสังคมนั้น ๆ ในอี กด้านหนึ่ งความก้าวหน้าของเทคโนโลยีน้ นั เกิ ดจากแรงกระตุน้ ของ
วัฒนธรรม ทั้งนี้ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับสภาพแวดล้อมมีความใกล้ชิดและส่ งผลกระทบ
ซึ่งกันและกันอย่างแยกไม่ออก กรณี เกลือในลุ่มน้ าสงครามนั้นมีการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยีเป็ นเครื องมื อสร้ า งความก้า วหน้าและความสามารถในการผลิ ตเกลื อ มากขึ้ น ระบบ
เทคนิค หรื อ เทคโนโลยี ที่ นามาใช้แตกต่างกันจะก่อให้เกิ ดการจัดการทางด้านสังคมที่แตกต่างกัน
และที่สาคัญการใช้เทคโนโลยีน้ นั มีขอ้ จากัด หากใช้ไม่เหมาะสมชุ มชนอาจไม่สามารถปรับตัวได้
ทันต่อวัฒนธรรมใหม่ที่เทคโนโลยีน้ นั ผลักดันไป ทาให้สังคมนั้น ๆ มีปฏิกิริยาตอบโต้ หรื อพยายาม
จัดระเบียบความสัมพันธ์ดงั กล่าวใหม่
ประกอบกับแนวคิดนิ เวศวิทยาและสุ ขภาพ (Eco-Health) ที่มองว่าสุ ขภาพ หรื อสุ ขภาวะ
ของปั จเจกนั้นเกี่ยวข้องสัมพันธ์กบั สุ ขภาวะของสังคมและระบบนิเวศ ความสัมพันธ์น้ นั สะท้อนให้
เห็ น ความเป็ นไปในสั ง คมที่ ม องเรื่ อ งสุ ข ภาพเป็ นกระบวนการของชี วิต ที่ มี ค วามเคลื่ อ นไหว
เปลี่ ยนแปลง อย่างเชื่ อมโยงกับเหตุปัจจัยของสภาวะแวดล้อม โดยที่สุขภาวะทางกายและจิตของ
ชีวติ โยงใยอยูก่ บั สุ ขภาวะโดยรวมของสังคมและระบบนิเวศ รวมกันแล้วหมายถึงการมีชีวิตอยูใ่ นสิ่
แวดล้อมที่ดี สังคมที่เป็ นธรรมและมีความเป็ นอยูท่ ี่เป็ นสุ ข ครอบคลุมไปถึงการได้รับความคุม้ ครอง
และปกป้ องสิ ทธิ พ้ืนฐาน ไม่ถูกปฏิ บตั ิอย่างมีอคติ ไม่ทนทุกข์จากความอยุติธรรมทางสังคมและ
เศรษฐกิ จ มีความเป็ นธรรมในสังคมเชื่อมโยงกับการพัฒนาประเทศ การศึกษา ศาสนา การปกป้ อง
ดูแลสิ่ งแวดล้อม หรื อระบบนิ เวศและทรัพยากรธรรมชาติ มี ระบบกฎหมายหรื อนิ ติรัฐที่ปกป้ อง
คุม้ ครองสิ ทธิ ข้ นั พื้นฐานของบุคคล สามารถคุม้ ครองการหาอยูห่ ากินให้พอเพียงเหมาะสมได้
แนวคิดนิเวศวัฒนธรรม และนิเวศสุ ขภาวะมีความสัมพันธ์กนั กล่าวคือ มนุษย์คนหนึ่ งที่
อาศัยอยู่ในระบบนิ เวศหนึ่ ง ร่ วมกับ คนอื่น ๆในสังคมหรื อชุ มชน ภายใต้วฒั นธรรม เทคโนโลยี
ประเพณี ความเชื่ อต่าง ๆ และการที่มนุษย์ผนู้ ้ นั จะมีสุขภาพดี มนุษย์ผจู้ ะต้องมีภาวะที่สมบูรณ์ ทั้ง
ทางกาย ทางจิต ทางสังคมและทางจิตวิญญาณ หรื อมีสุขภาวะที่สมบูรณ์เชื่อมโยงกัน ภายใต้ปัจจัย
ที่ส่งผลต่อสุ ขภาวะทั้งที่เป็ นปั จจัยทางชีวภาพ กายภาพ ปั จจัยทางสังคม ฯลฯ ที่ลอ้ มรอบอยูถ่ า้ ปั จจัย
228

เหล่ านั้นเอื้ อหรื อส่ งเสริ มสุ ขภาวะ ย่อมส่ งผลให้มนุ ษย์ผนู้ ้ นั หรื อมนุ ษย์ในชุ มชุ มหรื อสังคมนั้นมี
คุ ณภาพชี วิตที่ดี หมายถึ งการมีสุขภาพอนามัยที่ดี ทั้งร่ างกายและจิตใจ มีความรู้ มีงานทาทัว่ ถึง มี
สิ่ ง แวดล้ อ มที่ พ่ ึ ง พิ ง ได้ มี ร ายได้ พ อเพี ย งต่ อ การด ารงชี พ มี ค รอบครั ว ที่ อ บอุ่ น มั่น คง อยู่ ใ น
สภาพแวดล้อมที่ดี
แนวคิดนิ เวศวิทยาวัฒนธรรม และนิ เวศวิทยาสุ ข ถาวะที่สัมพันธ์ดงั กล่ าวมานี้ สามารถ
สรุ ปให้เห็นความสัมพันธ์ของสิ่ งที่เป็ นปั จจัยที่กาหนดสุ ขภาพได้ (ดังแผนภาพที่ 42) กล่าวคือหาก
คนหรื อสังคมหนึ่งจะเป็ นบุคคลหรื อสังคมที่มีสุขภาพดีมีปัจจัยที่ลอ้ มรอบอยูเ่ ป็ นจานวนมากภายใต้
พื้นที่หรื อระบบนิเวศและธรรมชาติซ่ ึ งบุคคลหรื อสังคมนั้นดารงอยูเ่ ชื่อมโยงกับระบบความเชื่อหรื อ
สิ่ งศักดิ์ที่สร้างขึ้น สิ่ งเหล่านั้นจะส่ งผลต่อสุ ขภาวะทั้งทางกาย ใจ สังคม และสติปัญาของบุคคลหรื อ
สังคมนั้นภายใต้แนวคิดทั้งสองที่ กล่าวมาเมื่อพิจารณาสถานการณ์ในชุ มชนแหล่งผลิ ตเกลือทั้ง 3
ชุ มชนคือบ้านโนนดอกไม้แดง บ้านกุดเรื อคา บ้านท่าสะอาด และอีกหนึ่ งพื้นที่โครงการเหมืองแร่
โพแทชใต้ดินจังหวัดสกลนคร จะเห็ นว่าเกลื อเป็ นหนึ่ งในปั จจัยกาหนดสุ ขภาพของคนในชุ มชน
เมื่ อ มี ค วามพยายามบัง คับ ควบคุ ม ธรรมชาติ แ วดล้อ มเพื่ อ เอาประโยชน์ จ ากเกลื อ โดยเพิ่ ม ขี ด
ความสามารถในการใช้ประโยชน์จากสิ่ งแวดล้อมที่มีเกลือและแร่ โพแทช จากเทคโนโลยีที่มีพลัง
อานาจการเข้าถึงมากขึ้นได้สร้ างผลกระทบจนทาให้ความสมดุลของโซ่ สัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั
ธรรมชาติแวดล้อมต้องสู ญเสี ยไป กล่าวคือนิเวศนาเกลือที่สร้างขึ้นใหม่ ได้ตดั ขาดนิเวศธรรมชาติที่
เชื่อมโยงสัมพันธ์กนั อย่างละเอียดอ่อน ระหว่างป่ าดง ป่ าโคก บะ บุ่ง ทาม ห้วย หนอง นาบะ นาทาม
แม่น้ า ลาห้วย และผูค้ นในชุ มชนก็สร้างระบบสิ ทธิ ส่วนร่ วมในการใช้ประโยชน์ทรัพยากรเหล่านั้น
ร่ วมกันโดยมีระบบการจัดการน้ า ที่ดิน แรงงาน ที่เอื้อต่อความมัน่ คงทางอาหารและเศรษฐกิ จใน
ชุ ม ชน แต่ เ มื่ อ ระบบนิ เ วศที่ ห ลากหลายถู ก ท าลายลงด้ว ยนิ เ วศนาเกลื อ จนก่ อ ภาวะขาดแคลน
ทรัพยากรอาหาร สร้างความขัดแย้งทางนิเวศวิทยา เช่น การอ้างสิ ทธิ ในที่ดินระหว่างสิ ทธิ ปัจเจกกับ
สิ ท ธิ ส่ วนร่ วม หรื อสิ ท ธิ ชุ ม ชนเหนื อพื้ นที่ นิเวศเดี ย วกันนั้น นอกจากนี้ ภาวะความขัดแย้ง และ
วิกฤตการณ์ ส่ิ งแวดล้อมและความเสื่ อมโทรมของระบบนิ เวศจากความเค็ม หลุมยุบที่ เกิดขึ้นอย่าง
กว้างขวางได้ส่งผลต่อสุ ขภาวะของคนในชุมชนแหล่งผลิตเกลือ สิ่ งเหล่านี้ สะท้อนถึงความไม่ลงตัว
ในการจัดการความสัมพันธ์และการอยู่ร่วมกันระหว่างมนุ ษย์และธรรมชาติ จึงกล่าวได้ว่าการ
พัฒนาอุ ตสาหกรรมเกลื อในลุ่ มน้ าสงครามอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แบบต้ม
เกลื อ หรื อนาเกลื อ ขนาดใหญ่รวมถึ งข้อเสนอการพัฒนาเหมื องใต้ดินในลุ่ มน้ าสงครามนั้นเป็ น
เทคนิ ควิธีที่ ทอดทิ้ง “โซ่ สัมพันธ์” ระหว่างมนุ ษย์กบั ระบบธรรมชาติ และไม่คานึ งถึ งข้อจากัดที่
229

ระบบธรรมชาติที่จะสามารถรองรับได้ ความสัมพันธ์ดงั นี้ จึงไม่มน่ั คง ยัง่ ยืน และกาลังก่อภาวะภัย


พิบตั ิ และวิกฤตกาลทาง สังคมในชุมชนบ้านโนนดอกไม้แดง
ข้อเท็จจริ งจากนโยบาย แผนงาน โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมเกลือและแร่ โพแทช ซึ่ ง
เป็ นทรัพยากรธรรมชาติ ที่เดิ มคนในชุ มชนถื อเป็ นทรั พย์สินส่ วนรวมไม่ มีใครครอบครอง แต่ มี
ระเบียบประเพณี ที่ปฏิ บตั ิการอย่างเคร่ งครัดเพื่อผลิตเกลือ โดยการต้มน้ าเกลือที่ได้จากการขูดดิ น
เอี ย ด หรื อ น้ า เค็ ม ในธรรมชาติ เ พื่ อ น ามาใช้เ ป็ นเครื่ อ งปรุ ง อาหาร ถนอมอาหาร ยารั ก ษาโรค
โดยเฉพาะการทาปลาแดก การผลิ ตเกลื อในระดับนี้ ได้เป็ นแรงผลักให้เกิ ดพัฒนาการการก่ อตั้ง
ชุ มชนในลุ่มน้ าสงครามมาตั้งแต่สมัยโบราณต่อเนื่ องมาจนปั จจุบนั เห็ นได้จากกรณี ชุมชนคนทา
เกลือที่บ่อหัวแฮด บ้านท่าสะอาด อาเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ ที่ยงั รักษาระดับการผลิตเช่นนั้นอยูแ่ ต่มี
แนวโน้มจะขยายกาลังการผลิตมากขึ้นในอนาคต
การต้มและตากเกลือจากน้ าเกลือใต้ดินหลังการค้นพบแหล่งน้ าเค็มใต้ดิน ก่อนจะพัฒนา
เป็ นเทคโนโลยีขา้ มนิเวศ คือการนาน้ าเค็มขึ้นมาตากบนนาเกลือเหมือนกับการทาเกลือทะเล ทาให้
นิ เวศแหล่งเกลือจากทะเลดึกดาบรรพ์ที่ธรรมชาติเก็บไว้ใต้ธรณี นบั ล้านปี ถูกพลิกขึ้นมาเพื่อใช้ผลิต
เกลื อ แบบนาเกลื อ เป็ นการลดต้น ทุ น การผลิ ต ให้ ส ามารถตอบสนองการใช้ ป ระโยชน์ ท าง
อุตสาหกรรมมากที่สุด เพราะสังคมไทยต้องการเกลือมากขึ้นไม่ใช่ เพียงการถนอมอาหาร และยา
รักษาโรคอีกต่อไป
ปั จจัยที่ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงบทบาทเกลืออย่างมากคือนโยบายอุตสาหกรรมเกลือ
ภายใต้ร ะบบการตลาดการค้า การลงทุ น และเทคโนโลยี ที่ มี บ ทบาทในการพลิ ก โฉมหน้ า
ความสัมพันธ์ของคนกับธรรมชาติ คนกับคน และคนกับสังคมทั้งในชุมชน และนอกชุมชน นับจาก
จุดเริ่ มต้นจากหลังจากทาเกลือแบบขูดเอาผงคลีดินเค็ม (ดินเอียด) บนผิวดินมาหมักกับน้ าให้ได้
น้ า เค็ ม มากรองแล้ว น าไปต้ม ถื อ เป็ นเทคโนโลยีแ บบพื้ น บ้า น ซึ่ งระบบการผลิ ต แบบนี้ ได้ก่ อ
ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนให้ร่วมมือกันนาเกลือมาใช้ให้พอกับความต้องการ เช่น ผูค้ นอพยพ
เข้าสู่ ลุ่มน้ าสงครามเพื่อทาเกลือบริ เวณแหล่งเกลือโบราณที่อาเภออากาศอานวย และอาเภอนาหว้า
หรื อกรณี บ่ อหัวแฮด และแล้ว เกลื อก็ เป็ นแร่ ธ าตุ ที่ ดึง ดู ด เชื่ อมโยงคนในชุ มชนกับ ชุ ม ชนอื่ นใน
ภูมิภาค เกลื อยุคนี้ จึงมีปลายทางไม่ไกลจากชุ มชนมากนัก อีกทั้งในการผลิตเกลือแบบพื้นบ้านนั้น
ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสิ่ งแวดล้อมโดยเฉพาะแหล่งเกลือนั้นใช้ความเชื่อ วัฒนธรรมประเพณี
และธรรมชาติของฤดูกาลควบคุมรู ปแบบการต้มเกลือ และระยะเวลาในการผลิตเกลือ ความสัมพันธ์
ระหว่างสภาพแวดล้อมอันประกอบด้วยแหล่งน้ าเค็มกับเทคโนโลยีการผลิตแบบต้มขนาดเล็กนั้นได้
230

ก าหนดวัฒ นธรรมที่ ช่ วยให้ ป รั บ ตัว ในการค้นหาเกลื อ และน ามาใช้ และยัง รั ก ษาขอบเขตของ


ผลกระทบให้จากัดด้วยระบบความเชื่อในวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ ประจาบ่อเกลือที่ผคู้ นต้องเคารพบูชา
เมื่อมี การนาเทคโนโลยีและวิธีการผลิ ตเกลื อใหม่มาใช้ก็ท าให้คนในชุ มชนต้องปรั บ
ความเชื่อใหม่ วิธีการจัดการเกลือไม่ได้ข้ ึนอยูก่ บั ผีหรื อธรรมชาติอีกต่อไป แต่ข้ ึนอยูก่ บั ระบบการค้า
การตลาดและกลไกลทางการเมือง กล่าวคือ เมื่อสังคมขยายใหญ่ข้ ึนก็มีการเปลี่ยนเทคโนโลยีการ
ผลิตเกลือเป็ นการสู บน้ าใต้ดินขึ้นมาต้มและขยายขนาดกระทะต้มเกลือ ต่อมาเปลี่ยนเป็ นการตากบน
ลานดิ น ทาให้สามารถผลิ ตเกลื อตอบสนองความเติบโตของอุตสาหกรรมเคมีในประเทศมากขึ้น
ความสัม พันธ์ ข องคนกับ คนในชุ ม ชนที่ เข้า มาเกี่ ย วข้อ งกับ เกลื อ เปลี่ ย นเป็ นคนจากภายนอกที่
สามารถใช้และควบคุมเทคโนโลยีและขนาดหน่ วยการผลิตที่ใหญ่ข้ ึนและปลายทางของเกลือจาก
ชุ มชนแหล่ งผลิ ตเกลื อส่ งให้ห่างไกลออกไปจากแหล่งกาเนิ ด และเปลี่ ยนโครงสร้ างทางเคมีของ
เกลือเพื่อใช้เป็ นสารเคมีต้ งั ต้นเลี้ยงภาคอุตสาหกรรม
ความสั ม พันธ์ ระหว่า งคนภายนอกที่ เข้า มายึด กุม เกลื อ เป็ นไปเพื่อ ผลประโยชน์ ท าง
เศรษฐกิ จ ในรู ปแบบค่าจ้าง การซื้ อที่ดิน ตลอดจนการควบคุมด้วยการทาเกลือแบบพันธะสัญญา
หรื อตกเขียวเกลือ หรื อการให้เช่าที่ดินเพื่อจะสามารถมีอานาจต่อรองให้ซ้ื อเกลือได้ในราคาถูกที่สุด
เท่าที่จะทาได้ ความสัมพันธ์ของคนกับสิ่ งแวดล้อมเปลี่ยนรู ปแบบพึ่งพิงอย่างยาเกรง มาเป็ นการใช้
ประโยชน์ อ ย่ า งเต็ ม ที่ ต ามศัก ยภาพของเทคโนโลยี ที่ ใ หญ่ ข้ ึ น จนธรรมชาติ เ สี ย หาย ขาดความ
หลากหลาย และขาดความสมดุล โดยมีรัฐเข้ามามีบทบาทในการกาหนดพื้นที่อนุญาตผลิตเกลือและ
ส่ งเสริ มการทาเกลือในระยะแรก ต่อมาเมื่อผลกระทบมากขึ้นรัฐพยายามจะจากัดพื้นที่ผลิตเกลือ อีก
ทั้งร่ วมกับฝ่ ายนักเทคนิคเสนอเทคโนโลยีที่กา้ วหน้ากว่าเดิมเพื่อจะสามารถผลิตเกลือและแร่ โพแทช
แบบเหมืองแร่ ใต้ดินโดยคาดหวังว่าจะสามารถใช้เทคโนโลยีควบคุมผลกระทบต่างๆ ได้ และหาก
แนวทางนี้พฒั นาขึ้นได้จริ ง ความสัมพันธ์ของคนกับคนจะมีกลไกการตลาด และกลไกทางกฎหมาย
ในการบังคับควบคุมให้อุตสาหกรรมนี้ดาเนินต่อไป
เส้นทางของเกลือจากชุมชนแหล่งผลิตเกลือจากที่เคยเดินทางอย่างช้าๆ ผ่านเรื อกระแซง
สู่ ชุมชนริ มฝั่งน้ าสงครามและแม่น้ าโขง มาเป็ นเกลือที่เดินทางอย่างรวดเร็ วผ่านถนนการพัฒนามุ่งสู่
นิคมอุตสาหกรรม ภาคตะวันออกและกรุ งเทพฯ ในปั จจุบนั และแนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีการ
ผลิตเกลือในอนาคตกาลังก้าวสู่ โลกการค้าเสรี ในดินแดนที่ห่างไกลออกไปยังประเทศในภูมิภาคลุ่ม
น้ าโขง และอาเซี ยนที่มีความต้องการซื้ อเกลือหรื อแร่ โพแทช ผ่านระบบกลไกหรื อระเบียบของโลก
ไร้พรมแดน และผลลัพธ์หนึ่งที่จะได้และนากลับมายังชุมชนแหล่งผลิตเกลือแร่ โพแทชตามแนวทาง
231

ที่ได้มีการศึกษาไว้คือขยะอุตสาหกรรม และขยะกัมมันตภาพรังสี ที่จะย้อนกลับมาเก็บใต้โพรงเกลือ


หินใต้ดินในชุมชน
รู ปแบบสังคมเกษตรที่มีอุตสาหกรรมเกลือเข้ามาแทรกตัวอยู่ดว้ ยในลุ่มน้ าสงครามเริ่ ม
ขึ้นเมื่อมีกลุ่มทุนเข้าไปควบคุ มแหล่งเกลือในธรรมชาติดว้ ยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีซ่ ึ งเป็ น
เงื่อนไขสาคัญที่ทาให้คนภายในหรื อภายนอกชุมชนเข้าไปมีอานาจเหนือแหล่งผลิตเกลือนั้นมากขึ้น
และมีแนวโน้มจะเพิ่มมากขึ้นตามศักยภาพของเทคโนโลยีที่นามาใช้ในการผลิตเกลือ ผลที่ตามมา
คือเกลื อที่อยู่ภายใต้ระบบเศรษฐกิ จอุตสาหกรรมมีปลายทางที่อุตสาหกรรมเคมี โดยรัฐมีนโยบาย
กฎหมายที่ส่งเสริ มในตอนแรก และพยายามควบคุมในตอนหลังเมื่อผลกระทบปรากฏร้ายแรงแล้ว
แต่มาตรการควบคุมตามกฎหมายก็ไม่สามารถควบคุมได้เพราะระบบทุนหรื อตลาดที่ไร้ระเบียบเข้า
ไปควบคุมให้มีการผลิตเกลือในแบบนาเกลือที่มีพนั ธะสัญญาแบบตกเขียวเกลือ ซึ่ งส่ งผลให้คนใน
ชุ มชนที่เคยเป็ นเจ้าของที่ดินที่อุดมสมบูรณ์กลายเป็ นแรงงานรับจ้างรายวันในที่ดินที่เคยเป็ นของ
ตัวเอง ทั้งนี้ ภายในชุ มชนก็ตกอยูใ่ นภาวะความเสี่ ยงทางนิเวศวิทยา เช่น แผ่นดินทรุ ด ดินเค็มน้ าเค็ม
และความขัดแย้ง ระดับความรุ นแรงขยายใหญ่ข้ ึนที่ชุมชนต้นทางของเกลือ และแนวโน้มในอนาคต
ถูกกาหนดโดยยุทธศาสตร์ เกลื อหิ นและแร่ โพแทช โดยเทคโนโลยีการเกิ ดเหมืองแร่ ใต้ดินซึ่ งเป็ น
เทคโนโลยีที่คนในท้องถิ่นยังไม่รู้ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีดงั กล่าว ยิง่ เทคโนโลยีขยายพลังอานาจ
การผลิตใหญ่ข้ ึนแต่ทว่าอานาจผูกขาดเทคโนโลยีกลับตกอยูใ่ นมือของทุนเอกชนเพียงรายเดียว และ
เมื่อตลาดเกลื อกาลังกว้างขวางออกไป มีนโยบายกฎหมายที่ซบั ซ้อนขึ้นเพื่อควบคุมให้เป็ นไปตาม
เป้ าหมายทางที่ มุ่ ง หมายให้ ลุ่ ม น้ าสงคราม และภาคอี ส านตอนบนเป็ นพื้ น ที่ น าร่ องพัฒ นา
อุตสาหกรรมเกลือและแร่ โพแทช ตลอดจนอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
ในสถานการณ์วิกฤตสิ่ งแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม และสุ ขภาวะ อันเกิดจากผลกระทบ
ของอุตสาหกรรมเกลือทาให้คนชุ มชนแหล่งผลิตเกลือพยายามจัดความสัมพันธ์กบั ทรัพยากรเกลือ
เช่ น บ่อหัวแฮด จะต้มเกลื อเฉพาะในฤดูแล้ง โดยต้องมีพิธีกรรมเลี้ ยงผี ห้ามสู บน้ าเกลือในวันพระ
ขณะที่บา้ นโนนดอกไม้แดงก็เช่นกัน ถ้าฝ่ าฝื นใช้เครื่ องจักรทางานในนากลือในวันพระจะถูกปรับ
500 บาท เป็ นต้น แต่เมื่อระดับการพัฒนาเทคโนโลยีที่ใหญ่ข้ ึน พื้นที่อุตสาหกรรมกว้างขวางขึ้นเช่น
พื้นที่บา้ นโนนดอกไม้แดง ตลอดจนการเข้ามาของอานาจจากภายนอกโดยอ้างสิ ทธิ ตามกฎหมาย
และเงิ นทุนซื้ อที่ดินไปเป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของคนนอกชุ มชน วัฒนธรรมชุ มชนก็ไม่สามารถจะควบคุม
ได้แม้กฎหมายของรัฐเองก็ไม่ได้มีเจตนารมณ์ที่แท้จริ งในการควบคุม เห็นได้จากนาเกลือทั้งหมดใน
บ้านโนนดอกไม้แดงมีเพียง 3 แห่ ง (ประมาณ 50 ไร่ ) ที่ชาวบ้านคนท้องถิ่นเป็ นเจ้าของเท่านั้นที่มี
ใบอนุญาตถูกต้องตามกฎหมาย
232

ในข้อนี้ จะเห็ นได้ว่าระบบการผลิตเกลือแบบพื้นบ้านที่สามารถใช้วฒั นธรรมความเชื่ อ


ท้องถิ่ นควบคุมได้ เช่ น การขูดดิ นเอียดในบ่อเกลือ ก่อนจะขูดเจ้าจ้ า หรื อผูน้ าจะเป็ นผูใ้ ห้สัญญาณ
กาหนดให้แต่ละคนลงขูดดินพร้อมกันและพื้นที่ตม้ เกลือจากัดอยูใ่ นแหล่งเกลือเท่านั้น ใช้ฟืนขนาด
เล็กหรื อใช้เพียงกิ่ งไม้ตม้ เกลือ ขณะที่มีการต้มเกลือสื บเนื่องมานับร้อยปี ที่บ่อหัวแฮดได้มีผลทาให้
ป่ าไม้รอบ ๆ ถูกทาลายลง ส่ วนปั จจุ บนั ได้อาศัยไม้ปลู ก ขณะเดี ยวกันการที่บ่อเกลื ออยู่ในลาน้ า
สงครามธรรมชาติจากัดฤดูกาลผลิตเพียงในฤดูน้ าลดเท่านั้น และการทาเกลือมายาวนานทาให้กลุ่ม
ผูผ้ ลิ ตเกลื อในบ่อหัวแฮดมี การช่ วยเหลื อพึ่งพาและรวมกลุ่ มกันได้มากกว่าแหล่ งผลิตเกลืออื่น ๆ
ทั้งนี้ผผู ้ ลิตเกลือบ่อหัวแฮดเน้นการผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นจึงไม่จาเป็ นต้องเร่ ง
อัตราการผลิต หรื อมีขอ้ ผูกมัดกับนายทุนแต่อย่างใด ซึ่ งตรงกันข้ามกับแหล่งผลิตเกลือต้มด้วยแกลบ
ที่บา้ นกุดเรื อคาแม้จะมีกฎหมายกาหนดให้ผลิตเกลือตั้งแต่เดือนตุลาคม ถึงเดือนเมษายนของทุกปี
แต่ปรากฎว่ามีการลักลอบต้มเกลือตลอดปี ทานองเดียวกันกับแหล่งผลิตเกลือบ้านโนนดอกไม้แดง
ที่เมื่อขนาดกาลังผลิ ตและผลประโยชน์เพิ่มต้องการเกลือมากขึ้น การใช้อานาจควบคุมอย่างเป็ น
ทางการภายใต้พรบ. โรงงาน พรบ.แร่ หรื อ พรบ.สิ่ งแวดล้อม ไร้ประสิ ทธิภาพเพราะพลังของทุนนั้น
ซ่ อนตัวอยู่เบื้องหลังเป็ นผูผ้ ลักดันให้การผลิตเกลือเป็ นไปอย่างอยูเ่ หนือกฎหมาย และส่ งผูผ้ ลิตราย
ย่อยมาเป็ นหนังหน้าไฟเผชิญความขัดแย้ง ต่อรองกับอานาจ หรื อดื้อเพ่งต่อกฎหมายที่มีอยู่
ทั้งนี้ ในด้านความรู ้ พบว่ามีการศึกษาผลกระทบของการผลิ ตเกลือต่อระบบนิ เวศ และ
สังคมรู ปแบบต่าง ๆอยูม่ าก แต่ปรากฎว่าไม่มีกระบวนการมีส่วนร่ วมของชุ มชนในการรับรู้ขอ้ มูล
และเข้าไปมีส่วนร่ วมในการจัดการทรัพยากรเพื่อรักษาสภาพนิเวศและสุ ขภาวะของตนเอง หรื อการ
แก้ไขปั ญหาอย่างยัง่ ยืน ในแง่น้ ี เมื่อพิจารณาในทางการเมืองพบว่ากฎหมายนโยบายที่เปิ ดทางให้
กลุ่มทุนอุตสาหกรรมเข้าถึ งทรัพยากรในชุมชนอย่างเต็มที่ แต่ไม่มีศกั ยภาพในการควบคุม ชุมชน
สู ญเสี ย อานาจเหนื อทรั พ ยากรไปอย่า งสิ้ นเชิ ง มี บ างกรณี ที่ ผลกระทบกว้างขวางและกลายเป็ น
ประเด็นสาธารณะ เช่น กรณี น้ าเสี ยว หรื อ กรณี ตาบลดงเหนื อในลุ่มน้ าสงคราม ที่อานาจการเมือง
ท้องถิ่นเป็ นผูไ้ ด้รับผลกระทบจึงพยายามแสดงพลังต่อรองและยุติผลกระทบกับอานาจรัฐส่ วนกลาง
แต่ ในอี ก ด้า นหนึ่ ง เมื่ อชุ มชนแหล่ งผลิ ตเกลื อเป็ นชุ ม ชนขนาดเล็กและอานาจการเมื องท้องถิ่ นมี
ผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับนาเกลือ หรื ออุตสาหกรรมเกลือ แม้จะเกิ ดผลกระทบที่ปรากฏชัดเจนแต่
ผลกระทบนั้นก็จะถูกกดซุ กไว้ใต้พรม แม้ชาวบ้านส่ วนใหญ่จะไม่เห็นด้วยกับนาเกลือ อีกทั้งอานาจ
ทุนที่ใช้ระบบ "ตกเขียว" หรื อ "ลูกนา" ทาให้ชาวบ้านบางส่ วนเข้าไปมีผลประโยชน์ต่างตอบแทน
กับนาเกลื อและเกิ ดวงจรหนี้ สินจนไม่อาจจะดิ้นหลุด นอกจากนี้ ยงั เกิ ดความขัดแย้งขึ้นกับผูไ้ ด้รับ
233

ผลกระทบภายในชุมชน คนเหล่านี้จึงเป็ นหนังหน้าไฟป้ องกันนายทุนผูท้ ี่ได้รับผลประโยชน์จริ งจาก


การค้าขายเกลือให้ลอยตัวเหนือปั ญหาสิ่ งแวดล้อม และความขัดแย้ง
ในมิติทางสุ ขภาวะ อุตสาหกรรมเกลือที่ขนาดใหญ่เกินไป ไร้การควบคุมหรื อการมีส่วน
ร่ วมเข้าไปกาหนดทิศทาง หรื อตรวจสอบการดาเนินการโดยชุมชน อุ ตสาหกรรมเกลือได้กลายเป็ น
ต้นเหตุของการทาลายสิ่ งแวดล้อม และแหล่งอาหารของชุมชน ทาให้สุขภาพทางกายแย่ลงเพราะ
แหล่งอาหารมีน้อยลง มีขอบเขตพื้นที่เก็บหาอาหารจากัดลงต้องหันไปพึ่งพิงอาหารสาเร็ จรู ป หรื อ
วัตถุ ดิบในการทาอาหารจากตลาด นอกจากนี้ สุขภาพจิตของชาวบ้านที่ได้รับผล กระทบโดยตรง
เช่น บ้านแตกร้าวเพราะดินทรุ ดมาถึงตัวบ้านย่อมมีความเครี ยด และเมื่อไม่มีมาตรการเยียวยาความ
เดื อดร้ อนนี้ ทาให้ปัญหาไร้ ทางออกความขัดแย่งและภาวะกดดันก็ยิ่งเพิ่มขึ้น ในส่ วนของคนงานที่
ทางานในนาเกลือจะต้องใช้แรงอย่างหนักในระยะเวลาเก็บเกลือเพื่อให้ได้ค่าจ้างรายวัน และต้องใช้
เงินซื้อ หรื อเชื่ออาหาร ผัก ฯลฯ ทาให้มีรายจ่ายเพิ่ม ต้องตกอยูใ่ นภาวะมีหนี้สิน ความเครี ยดก็ยิ่งทวี
ขึ้น ดังพบว่าในหมู่บา้ นโนนดอกไม้แดงมีอตั ราการดื่มเหล้าที่มากขึ้นในฤดูการผลิตเกลือ ขณะที่
สุ ขภาพทางสังคม การรวบกลุ่ม และประเพณี วฒั นธรรมในชุ มชนอ่อนแอลงจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป
เป็ นแรงงานในนาเกลื อต้องออกไปทางานตั้งแต่ก่อนรุ่ งกลับเข้าบ้านก็ค่ามืดทาให้ไม่มีเวลาทาบุญ
ร่ วมกัน พิธีกรรมต่างๆ ประกอบขึ้ นอย่างเร่ งด่วน เด็กถูกปล่อยปละละเลย หรื อปล่อยไว้ในความ
ดูแลของโรงเรี ยน
ที่กล่าวมาชี้ ให้เห็นว่าความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันของระบบย่อยๆ มากมายในระบบนิเวศ
ของชุ มชนแหล่งผลิตเกลือทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตซึ่ งเคยมีความหลากหลายและงดงาม เช่น ความ
งดงามของทุ่งดอกไม้แดงในความทรงจาของคนในชุมชนอันเป็ นเรื่ องราวสะท้อนความเป็ นมาหรื อ
ประวัติศาสตร์ ของชุ มชนถูกทาลายลงจนสิ้ นสู ญทาให้ เด็กรุ่ นใหม่ไม่เคยเห็นและไม่รู้จกั ดอกไม้
ชนิ ดนี้ อีกต่อไป พื้นที่ อุดมสมบูรณ์ ที่สุดของหมู่บา้ นที่เคยเป็ นนิ เวศนาข้าวเปลี่ ยนเป็ นนิ เวศแบบ
อุ ต สาหกรรมนาเกลื อ ที่ ก ลุ่ ม ผูป้ ระกอบการเกลื อ ออกแบบสร้ า งขึ้ น มาที่ ท ้า ยหมู่ บ ้า นด้า นทิ ศ
ตะวันออกและทิศเหนือ นาเกลือแทนที่และเบี ยดขับระบบนิเวศที่หลากหลายของบะ บุ่ง ทาม ห้วย
หนอง ฮ่องน้ า ในระบบนิ เวศเกษตรแบบนาข้าวของคนในชุมชนดั้งเดิมไป จึงเห็นได้ชดั ว่าการผลิต
แบบอุตสาหกรรมเกลือโดยทานาเกลือไม่ใช่แนวทางที่ยงั่ ยืนเมื่อเทียบกับระบบนิ เวศเกษตรเดิม แต่
เมื่อระบบเศรษฐกิ จของประเทศโดยรวมเข้าสู่ ความเป็ นอุตสาหกรรม และยุทธศาสตร์ การพัฒนา
อุตสาหกรรมเกลือหิ นและแร่ โพแทชในภาคอีสานของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
มี ค วามมุ่ ง หวัง ที่ จ ะขยายปี กการค้า ออกไปยัง ตลาดในระดับ อาเซี ย น ซึ่ งในอนาคตข้า งหน้ า
เทคโนโลยีเศรษฐกิจในการทาเหมืองเกลือและแร่ โพแทชมีแนวโน้มจะขยายใหญ่ข้ ึนเป็ นเหมืองใต้
234

ดิน ซึ่ งจะเป็ นแรงผลักให้เกิดความสัมพันธ์แบบใหม่ในชุมชนที่เคยเป็ นชุมชนเล็ก ๆ ห่ างไกล และ


แม้คนในชุมชนจะมีความปรารถนาที่จะรักษาระบบนิเวศให้ยง่ั ยืนแต่การดัดแปลงใช้ประโยชน์จาก
ธรรมชาติคือเกลื อที่มากเกินไป ได้ส่งผลกระทบต่อบ้านของมนุษย์และบ้านของสรรพสิ่ งคือระบบ
นิ เวศ รวมทั้งคนในชุ มชน โดยเฉพาะบ้านโนนดอกไม้แดงบัดนี้ ปนเปื้ อนด้วยเกลือและดินทรุ ดตัว
พังทลายลง เป็ นหมู่บา้ นในเขตที่เสี่ ยงต่อภัยพิบตั ิดินยุบ
ปฏิสัมพันธ์กบั ธรรมชาติของคนในชุมชนเปลี่ยนไปตามระบบนิเวศอุตสาหกรรมเกลือที่
สร้างขึ้นมาเมื่อประมาณ 30 ปี มานี้ ด้วยเทคโนโลยีการผลิตเกลือแบบต่างๆ ทั้งเครื่ องสู บน้ า การต้ม
ด้วยฟื น การต้มเกลื อด้วยแกลบ ระบบตากเกลื อในนาเกลื อ ครั้ นเมื่อมี การพัฒนาไปถึ งจุดหนึ่ ง ก็
พบว่าเทคโนโลยีหรื อเทคนิคการผลิตเกลือที่ทาอยูน่ ้ นั เป็ นอันตรายต่อดุลยภาพของระบบนิเวศอย่าง
ไม่อาจจะปกปิ ด จึงมีขอ้ เสนอเรื่ องการทาเหมืองเกลือและแร่ โพแทชใต้ดิน ข้อเสนออันเป็ นนโยบาย
รั ฐและทิ ศ ทางการลงทุ นนี้ ช้ ี ใ ห้เห็ นความพยายามของผูก้ ุม อานาจทางเทคโนโลยี การตลาด คื อ
บริ ษทั ข้ามชาติ และอานาจทางการเมือง ในการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมเกลือและ
เหมืองแร่ ใต้ดิน โดยใช้เทคโนโลยีที่กา้ วหน้าขึ้นซับซ้อนมากขึ้นเพื่อเข้ามาสกัดเอาเกลือและแร่ โพ
แทชใต้ดิน นาไปตอบสนองความเติบโตของอุตสาหกรรม
ทั้งนี้ ชุ มชนที่เป็ นแหล่งผลิตเกลือในลุ่มน้ าสงครามมีพฒั นาการของสังคมวัฒนธรรมที่
เกี่ยวข้องกับเกลื อซึ่ งเป็ นความสัมพันธ์ของระบบย่อยภายในวัฒนธรรมของมนุษย์ เช่น การบริ โภค
ปลาร้า ที่ตอ้ งใช้เกลื อเป็ นส่ วนประกอบสาคัญ และเป็ นเครื่ องปรุ งรสหลักของคนในท้องถิ่นลุ่มน้ า
สงคราม และภูมิภาคลุ่มน้ าโขง โดยคนในท้องถิ่นได้สร้างวัฒนธรรมที่เกี่ ยวข้องกับเกลือ เช่น การ
สร้างตานานการค้นพบบ่อเกลือของเจ้าพ่อคาแดง ผูเ้ ป็ นนายพรานไล่ล่าแฮด หรื อ แรด มาจนถึงโค้ง
น้ าของแม่น้ าสงครามจึงได้ลนั่ ไกปื นแล้วนาแฮดนั้นมาชาแหละ แล้วเอาหัวของแฮดนั้นไปฝังดินไว้
แต่หวั แฮดก็ไม่เน่าไม่เสี ยทาให้รู้วา่ ใต้ดินนั้นมีความเค็มมาก จึงได้ขุดบ่อน้ าตื้นบริ เวณนั้นและพบว่า
น้ า ที่ ซึ ม ออกมานั้นเป็ นน้ า เค็มจัด จนเอามาต้ม ท าเกลื อได้ นั่นคื อเรื่ องเล่ าที่ อธิ บ ายลัก ษณะทาง
ธรณี วิทยาใต้ดินที่ประกอบด้วยความเค็มของคนท้องถิ่นที่มาตั้งรกรากอยู่บริ เวณชุมชนแหล่งเกลือ
บ้านท่าสะอาด อาเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ
การค้นพบบ่อเกลือหัวแฮดได้นาไปสู่ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมการผลิต
เกลือกับทรัพยากรธรรมชาติคือปลา และสิ่ งแวดล้อมทางธรรมชาติอื่นๆ ในลุ่มน้ าสงคราม เช่น ต้อง
ทาพิธีไหว้เจ้าพ่อคาแดงทุกวันออกใหม่สามค่าเดือนสาม (ขึ้น 3 ค่า เดือน 3) ของทุกปี ทาให้คนใน
ชุมชนมารวมกันประกอบพิธีกรรม ต่อมาเมื่อชุมชนขยายขึ้นไปผูค้ นประกอบอาชีพที่หลากหลายขึ้น
แต่ความเชื่ อตามตานานเจ้าพ่อคาแดงยังดารงอยู่ ทาให้ทุกอาชี พยังยึดถือพิธีกรรมนี้ และปฏิบตั ิเป็ น
235

ประจาทุกปี นอกจากนี้ ยงั มีการเชิ ญเจ้าพ่อไปอยู่ตามศาลเจ้าพ่อคาแดงที่คนสาขาอาชี พต่าง ๆ สร้าง


ขึ้ น เช่ น ชาวประมงสร้ างศาลเจ้าพ่อคาแดงไว้บริ เวณหนองนาแซงอันเป็ นแหล่ ง หาปลาที่สาคัญ
พ่อค้าแม่คา้ ได้สร้างศาลเจ้าพ่อคาแดงไว้ที่ตลาด คนต้มเกลือก็ได้สร้างศาลเจ้าพ่อคาแดงไว้ที่บ่อเกลือ
หรื อตามบ้านเรื อนก็สร้างศาลเจ้าพ่อไว้ในบ้านของตนก็มี
พิธีกรรมไหว้พอ่ คาแดงของคนต้มเกลือเดิมเป็ นกลไกการควบคุมคนในชุมชนให้มีความ
ยาเกรงต่อบ่อเกลื อ และการสื บเล่าประวัติชุมชนและสื บทอดพิธีกรรมของชาวบ้านท่าสะอาดใน
ปั จ จุ บ ันได้ท าให้ ค นภายในชุ ม ชนเชื่ อมโยงเข้า หากันด้วยว่า พวกเขามี ตานานความเป็ นมาจาก
จุดเริ่ มต้นหรื อจุดร่ วมเดียวกัน ขณะที่พิธีกรรมการไหว้ผีปู่ย่าของกลุ่มชาวโซ่ บา้ นโนนดอกไม้แดง
ในวันออกใหม่สามค่ าเดื อนสาม เช่ นกันกับบ่อหัวแฮด คนในชุ มชนบ้านโนนดอกไม้แดงเคยใช้
พิธีกรรมนี้ เพื่อเชื่ อมโยงถึ งบรรพบุรุษของตน เห็นได้จากการสื่ อสารระหว่างจ้ ากับวิญญาณบรรพ
บุรุษหรื อผีปู่ย่านั้นต้องใช้ภาษาโซ่ และระหว่างพิธีกรรมจะมีการเสี่ ยงทายเรื่ องฝนฟ้ าจะตกต้องตาม
ฤดูกาลหรื อไม่ สภาพการผลิ ตข้าวในปี นั้นจะเป็ นอย่างไร หรื อความเป็ นไปในหมู่บา้ น เช่ น จะมี
เหตุ ร้ายใดหรื อไม่ เป็ นความเชื่ อที่ตอบสนองระบบการผลิ ตทางการเกษตรแบบชาวนา และการ
จัดการความขัดแย้งหรื อความสัมพันธ์กนั ภายใน และการไหว้ผีปูยา่ นี้ กาหนดให้เป็ นจารี ตที่ชาวบ้าน
ต้องปฏิ บตั ิทุกปี หากปี ใดละเลยในชุมชนจะเกิ ดภัยอันตราย เช่ น ได้มีการบันทึกเหตุการณ์รายวันที่
สาคัญ ในสมุดบันทึกรายงานการปกครอง ที่บนั ทึกโดยผูใ้ หญ่บา้ นระบุว่าเมื่อ "ได้ ทาพิ ธีจับผีปอบ
ร่ วมกับหมอผีในระหว่ างวันที่ 7 – 9 ตุลาคม 2547 โดยหมอผีได้ จับปอบได้ 13 ตัวโดยจับใส่ ไหแล้ ว
นาไปเผาในป่ าช้ า และใช้ เงิ นในการดาเนิ นการ 16,000 บาท โดยได้ เงิ นมาจากการบริ จาคของ
ชาวบ้ าน ต้ นเที ยนพรรษา เพราะก่ อนหน้ านีม้ ีปัญหาคนในหมู่บ้านตายแบบผิดปกติเดือนละ 3 – 4
ศพ พิธีกรรมนีท้ าให้ เกิดความผาสุกของราษฎร"
บันทึกนี้สอดคล้องกับความเชื่อของชาวบ้านที่วา่ ในปี นี้ ได้มีการทาบุญหมู่บา้ นโดยที่ยงั
ไม่มีพิธีเลี้ ยงผีปู่ย่าทาให้มีความเดื อดร้อนขึ้นในหมู่บา้ น และนอกจากนี้ เพื่อป้ องกันเหตุเดือดร้อน
ดังที่เกิดขึ้นในหมู่บา้ นได้มีการตั้งกฎระเบียบของหมู่บา้ นอันเกี่ยวเนื่องกับความเชื่อปู่ ตา ได้แก่ ห้าม
ตัดไม้ ห้ามขนฟื นผ่านหมู่บา้ น ห้ามใช้เครื่ องจักรสู บน้ าเกลือ ห้ามสี ขา้ ว หรื ออาจจะกล่าวได้วา่ ห้าม
ใช้เครื่ องจักรหนักและส่ งเสี ยงดัง ห้ามตัดไม้หรื อจับสัตว์ใดๆ ในดอนปู่ ตา ทั้งนี้ เดิมทีจะมีการปรับ
ไหมโดยเจ้าจ้ าเป็ นเหล้า 1 ขวด และเงิน 12 บาทแต่ต่อมาคนไม่เกรงกลัวค่าปรับราคาถูกโดยเฉพาะ
ผูท้ านาเกลื อทาให้ได้มีการประชุ มประชาคมหมู่บา้ นเพื่อปรับปรุ งการคิดค่าปรับเป็ นเงินอย่างเดียว
500 บาทโดยจ่ายเข้ากองกลางของหมู่บา้ นหากมีการละเมิดกฎดังกล่าวจะมีมาตรการทางสังคม
236

ระบบสังคมในชุ มชนแหล่งผลิตเกลือแบบบ้านโนนดอกไม้แดงมีการจัดความสัมพันธ์
ในเชิ งการต่อรองผลประโยชน์ระหว่างชุ มชนเอง และระหว่างชุ มชนกับผูป้ ระกอบการเกลือ หรื อ
ระหว่างผูป้ ระกอบการเกลือกับฝ่ ายรัฐ และโรงงานซื้ อเกลือ โดยมีการรวมตัวกันของผูท้ ี่เข้ามาเกี่ยว
ข้องกับเกลือ เช่น กรณี ผปู ้ ระกอบการรวมกลุ่มกันที่บา้ นโนนดอกไม้แดงมีสมาชิก 15 คน รวมตัวกัน
เพื่ อ ต่ อ รองกับ ชาวบ้า นที่ ไ ด้รั บ ผลกระทบ และเจ้า หน้า ที่ ข องรั ฐ ที่ เ ข้า มาตรวจสอบ ระหว่ า ง
ผูป้ ระกอบการและชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบ เช่นเมื่อเกิดดินยุบใกล้บา้ นเรื อนของชาวบ้านก็จะมี
การเจรจาตกลงกัน และผลที่สุดมักจะลงท้ายด้วยการจ่ายค่าชดเชย เช่ น ชาวบ้านบ้านเรื อนเสี ยหาย
กลุ่มผูป้ ระกอบการจะเรี่ ยรายเงินมาซ่ อมแซมให้ ที่ดินมีรอยแยกจะซื้ อที่ดินล้อมรั้วไว้ แผ่นดินยุบ
เก็บเรี่ ยรายเงินจากผูป้ ระกอบการไปถมกลบเพื่อไม่ให้ชาวบ้านกลัว หรื อไม่ให้เจ้าหน้าที่รัฐตรวจพบ
ขณะที่ ผูป้ ระกอบการเกลื อบ้านกุดเรื อคา ร่ วมกันจัดตั้งสหกรณ์ ผูผ้ ลิ ตเกลื อสกลนคร เพื่อต่อรอง
ร้องเรี ยนเรื่ องการปฏิบตั ิหน้าที่ของรัฐ เรื่ องขอให้ผ่อนปรนมาตรการในการทานาเกลือ เป็ นต้น ใน
ทานองเดี ยวกันก็มีการรวมกลุ่มกันของผูไ้ ด้รับผลกระทบ กรณี บา้ นโนนดอกไม้แดง รวมกลุ่มกัน
เฉพาะหน้าเมื่อเกิดปั ญหา ดินยุบ แล้วเท่านั้น ขณะที่ชาวบ้านในตาบลดงเหนือมีการรวมตัวกัน จัดตั้ง
องค์กรเพื่อต่อรองกับหน่ วยงานรั ฐอย่างต่อเนื่ อง มีการเคลื่อนไหวทั้งในระดับพื้นที่ ระดับจังหวัด
และระดับผูก้ าหนดนโยบายให้ยกเลิกการทานาเกลือในท้องถิ่นตน และไม่ให้ต่อใบอนุญาต เพราะ
ไม่ตอ้ งการให้เกิดผลกระทบจากการทาเกลืออีกต่อไป
ระบบความคิ ด ความรู ้ ความเชื่ อ ทัศ นคติ และค่ านิ ย มต่ างๆ ชาวบ้า นในแต่ ละชุ ม ชน
แหล่ ง ผลิ ตเกลื อจะแตกต่างกัน เช่ น กลุ่ ม ผูผ้ ลิ ตเกลื อที่บ่อหัวแฮดยึดโยงประวัติศาสตร์ ชุม ชนไว้
เหนี ยวแน่น ส่ วนท้องถิ่นให้ความสาคัญกับแหล่งวัฒนธรรมนี้และพยายามส่ งเสริ มอาชีพผลิตเกลือ
ไอโอดีน และจัดพิธีไหว้เจ้าพ่อคาแดงเพื่อส่ งเสริ มให้เป็ นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น และเกลือที่ผลิตได้
ที่บ่อหัวแฮดยังมี ปลายทางที่ชุมชนในลุ่มน้ าสงคราม และสายน้ าสาขาตลอดจนท้องถิ่นต่าง ๆ ใน
ภาคอีสานที่ยงั คงนิยมเกลือที่ผลิตด้วยการต้มเคี่ยวด้วยฟื นเพราะเชื่อว่าเป็ นเกลือสุ กที่เคี่ยวได้ดีเหมาะ
แก่การทาปลาร้า ขณะที่ชุมชนแหล่งผลิตแบบบ้านโนนดอกไม้แดง และกุดเรื อคา ไม่ได้มีคาอธิ บาย
เรื่ องลักษณะความเค็มใต้ดิน แม้จะเคยมีความรู้ในการผลิตเกลือด้วยดินเอียดในแหล่งเกลือปั จจุบนั
เคยมีแหล่งผลิตเกลือโบราณของชุมชนแต่ก็ถูกทาลายลงด้วยระบบการผลิตเกลือเพื่ออุตสาหกรรมที่
เข้ามาอย่างรวดเร็ วและขยายวงกว้างออกจนความเค็มคุ กคามสิ่ งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างคน
และธรรมชาติ ทาให้คนภายในชุมชนมีความ สัมพันธ์ที่ขดั แย้งกันและมีบทบาทเป็ นเพียงแรงงานใน
สายพานการผลิ ตที่ส่งผลผลิ ตไปที่ปลายทางโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อแปรเกลือให้เป็ นสารเคมีใน
ภาคอุตสาหกรรม หรื อสาหรับผลิตอาหาร ความสัมพันธ์และการรวมกลุ่ม หรื อประเพณี วฒั นธรรม
237

ต่าง ๆ มีความหมายน้อยลงขณะที่ค่าจ้าง หรื อการทางานในนาเกลือสาคัญเพราะมากขึ้นเป็ นแหล่ง


รายได้ พฤติ ก รรมการซื้ อ อาหารส าเร็ จ รู ป และการจ้า งแรงงานราคาแพงขึ้ น นั้น เป็ นรู ป แบบ
ความสัมพันธ์ในทางธุ รกิจต่อกันระหว่างคนในหมู่ชาวบ้าน
ระบบเทคโนโลยีการผลิตเกลือเป็ นปั จจัยสาคัญที่ทาให้วฒั นธรรม สิ่ งแวดล้อม และสุ ข
ภาวะของคนในชุ มชนแหล่งผลิ ตเกลือเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้ นเชิ ง ปริ มาณพลังงานจากเชื้ อเพลิ ง
แสงอาทิตย์ และแรงกายของเหล่าแรงงานที่ใช้ในการผลิตเกลือทาให้ผลิตเกลือออกมาได้นบั แสน
ตันต่อปี และประสิ ทธิ ภาพของเครื่ องมือทางเทคนิ ควิธีที่ใช้ผลิตเกลือจากพลังงานที่นามาใช้ทาให้
เกิ ดการพัฒนาทางวัฒนธรรม อันมีเทคโนโลยีการผลิ ตเกลือเป็ นตัวกาหนด โดยเฉพาะในมุมมอง
ของผูผ้ ลิตเกลือในปั จจุบนั จะมองว่าความก้าวหน้าของเทคโนโลยีจะสามารถก่อให้เกิดกาไรสู งสุ ด
ในการผลิต
เมื่อสังคมลุ่มน้ าสงครามถูกผูกโยงเข้ากับระบบเศรษฐกิจของประเทศเทคโนโลยีการผลิต
เกลือจึงพัฒนาขึ้นมาเป็ นเทคโนโลยีเศรษฐกิจที่เข้ามามีบทบาทสาคัญในชุมชนแหล่งผลิตเกลือ การ
นาวัฒนธรรมเทคโนโลยีเศรษฐกิจเข้ามาทาให้เกิดความสัมพันธ์ใหม่ระหว่างคนกับสภาพแวดล้อมที่
มีเกลื อเป็ นองค์ประกอบในรู ปแบบใหม่ กล่ าวคื อวัฒนธรรมเศรษฐกิ จได้เข้ามามีอานาจควบคุ ม
ระบบสังคมในชุ มชน เห็นได้จาก ผูค้ นให้ความสาคัญกับการจ้างงาน และรายได้จากการทางานใน
นาเกลื อ ละเลยความเสื่ อมโทรมทางด้านสิ่ งแวดล้อม หรื อการเกิ ดแผ่นดิ นทรุ ด จนหมู่บา้ นโนน
ดอกไม้แดงกลายเป็ นชุ มชนในเขตภัยพิบตั ิดินทรุ ดแต่อานาจทางเศรษฐกิ จของกลุ่มทุนเกลือที่อยู่
ภายนอกก็ยงั ใช้ระบบสังคมควบคุมระบบความคิดและการตัดสิ นใจของคนในชุมชนในการต่อรอง
แบบประนีประนอมกับระบบเศรษฐกิจที่อาศัยนาเกลือเพราะคนจานวนมากในชุมชนได้เข้าไปอยูใ่ น
วัฒนธรรมเศรษฐกิ จที่ ถู ก สร้ างขึ้ นมา และวัฒนธรรมเศรษฐกิ จ อันเกิ ดจากระบบเทคโนโลยีน้ ี มี
แนวโน้มที่จะผลักดันให้ชุมชนแหล่งผลิตเกลื อในลุ่มน้ าสงครามวิวฒั นาการไปสู่ ความเป็ นสังคม
อุตสาหกรรมเมื่อนิ เวศเกษตรแบบนาข้าวเปลี่ยนเป็ นนิเวศอุตสาหกรรม เช่น กรณี บา้ นโนนดอกไม้
แดง แม้จะมีผูป้ ระกอบการอยู่ 15 รายภายใต้การควบคุ มของทุนใหญ่พ้ืนที่ทุ่งดอกไม้แดงที่อุดม
สมบูรณ์ที่มีลกั ษณะนิเวศแบบนาข้าวอันเป็ นนิเวศเศรษฐกิจที่ชุมชนสามารถควบคุมเทคโนโลยีหรื อ
เทคนิควิธีการผลิต และเงินทุนได้ในระดับหนึ่ งต้องเปลี่ยนเป็ นนาเกลือ แต่ดว้ ยวิถีวฒั นธรรมชาวนา
ที่เคยเป็ นมานานทาให้คนในชุมชนมีการปรับตัวโดยการเปลี่ยนแปลงพัฒนาพื้นที่โคกให้เป็ นนาข้าว
แทน วัฒนธรรมการผลิตข้าวบนที่ลุ่มก็เปลี่ยนไปเป็ นการปลูกข้าวนาโคกซึ่ งย่อมมีความเปลี่ยนชนิด
พันธุ์ ข ้าว วิธี การเพาะปลู ก การปั ก ดาข้าว เปลี่ ย นไปต้องใช้เวลานานขึ้ นแต่ ผลผลิ ตกลับน้อยลง
ปั จจุบนั อาจจะเรี ยกได้วา่ ชุ มชนบ้านโนนดอกไม้แดงเป็ นชุ มชนเกษตรกรรมกึ่งอุตสาหกรรม เพราะ
238

ชาวบ้านจานวนมากในชุ มชนเองและชุ มชนใกล้เคียงได้เข้ามาพึ่งพาระบบการจ้างงานในนาเกลือ


หรื อการอพยพแรงงานไปทางานในเมืองใหญ่
การทานาของชาวบ้านโนนดอกไม้แดงเป็ นไปในลักษณะการเป็ นชาวนาครึ่ งเวลา หรื อ
คนในครอบครัวจานวนหนึ่งจะเข้าสู่ ระบบการจ้างในภาคอุตสาหกรรมในนอกฤดูกาลผลิต ในขณะ
ที่ชุมชนแหล่งผลิ ตเกลื อบ้านกุดเรื อคาก็มีแนวโน้มความขัดแย้งภายในชุ มชนมากขึ้นแต่ด้วยพื้นที่
การผลิตที่มีขนาดเล็กจานวนผูป้ ระกอบการประมาณ 38 คนนี้ จากัดพื้นที่ผลกระทบให้อยูใ่ นอาณา
บริ เวณที่จากัดไม่ขยายไปไกลมากนักเมื่อเทียบกับการทานาเกลือ
วัฒนธรรมเกลื อในชุ มชนแหล่ งผลิ ตเกลื อบ่ อหัวแฮด เป็ นปั จจัยผลัก ดันทาให้คนใน
ชุ มชนสามารถก่อสร้ างชุ มชน และขยายระบบการผลิตไปสู่ ระบบอื่นๆ แต่เมื่อเกลือจากนาเกลือที่
ผลิ ตเป็ นจานวนมากทาให้การค้าขายเกลือยากขึ้นราคาถูก ขณะที่ตน้ ทุนการผลิตเพิ่มขึ้น ราคาฟื น
และการขนส่ งที่เพิ่มขึ้น ปั จจุบนั จะมีเพียง 12 ครอบครัวที่ยงั คงยึดอาชีพผลิตเกลือและในจานวนนี้
ทุกครอบครัวมีอาชีพเสริ มคือการหาปลาหรื อการทานาข้าว มีเพียง 1-2 ครอบครัวเท่านั้นที่ไม่มีนา
ข้าวและดารงชี วิตด้วยการผลิ ตและค้าขายเกลื อตลอดปี แต่ราคาเกลื อและระบบการผลิ ตที่มีอายุ
ยาวนานนับร้อยปี และไม่พบว่ามีผลกระทบสิ่ งแวดล้อมที่รุนแรงหรื อความขัดแย้งที่รุนแรงอันเกิ ด
จากการใช้เ ทคโนโลยีก ารผลิ ต เกลื อ ในชุ ม ชน อุ ต สาหกรรมเกลื อ ขนาดเล็ก ในระดับ ชุ ม ชนนี้
ตอบสนองความต้องการในท้องถิ่ นและไม่ได้เบียดขับระบบการผลิตแบบอื่นแต่ส่งเสริ มกันทาให้
ชุ มชนที่ก่อตั้งขึ้นจากกลุ่มผูผ้ ลิตเกลือกลายเป็ นชุมชนขนาดใหญ่ขยายรู ปแบบของอาชีพกว้างขวาง
ขึ้นขณะที่ยงั ดารงวัฒนธรรมอันสื บเนื่องกับการผลิตเกลือ มีการส่ งเสริ มขององค์การปกครองส่ วน
ท้องถิ่นต่อวัฒนธรรมประเพณี การไหว้เจ้าพ่อคาแดง และส่ งเสริ มการผลิตเกลือไอโอดีน เป็ นต้น
กล่าวโดยสรุ ปได้วา่ วัฒนธรรมเศรษฐกิจแบบเกษตรกรรมที่มีประวัติศาสตร์ มายาวนาน
และมี ก ารปรั บ ตัวภายในระบบการผลิ ตเองก าลัง เผชิ ญหน้า กับ ระบบวัฒนธรรมเศรษฐกิ จแบบ
อุ ตสาหกรรมที่ รูป แบบเทคโนโลยีที่ ก้า วหน้า ขึ้ นท าให้พ้ื นที่ ข องระบบวัฒนธรรมอุ ตสาหกรรม
ขยายตัวขึ้นในอาณาบริ เวณของนิ เวศชุมชน ซึ่ งมีความพยายามของมนุษย์ในการพัฒนาเทคโนโลยี
ท าให้เ กิ ดพลัง อัน ยิ่ง ใหญ่ เ ป็ นแรงกระตุ ้น การใช้ท รั พ ยากร ในเส้ น ทางแห่ ง ความก้า วหน้า ทาง
เทคโนโลยีที่ดูเหมือนในสังคมจะพยายามพัฒนาวัฒนธรรมรู ปแบบนี้จนกว้างขวาง ดังการนาเสนอ
เทคโนโลยีการผลิตเกลือแบบใหม่ๆ เช่นการทาเหมืองละลายเกลือหิ น การทาเหมืองใต้ดิน เหมือนที่
ใช้กนั ในประเทศสหรั ฐอเมริ กา หรื อยุโรป ตลอดจนแนวทางการเก็บขยะอุตสาหกรรม และขยะ
กัมมันตภาพรั งสี ใต้โพรงอุ โมงค์เหมืองแร่ เกลื อและโพแทชใต้ดินคือภาพสะท้อนความเชื่ อเรื่ อง
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีจะเป็ นแรงกระตุน้ ให้สังคมขับเคลื่อนไปให้ทนั สมัยของแนวทางการ
239

พัฒนาด้วยนโยบายจากศูนย์กลางผ่านนโยบายเกลือหิ นและแร่ โพแทช, พ.ร.บ.แร่ , พลังของระบบ


เศรษฐกิจทุนนิยม
ในลุ่มน้ าสงคราม บริ ษทั ข้ามชาติสามารถยื่นขอเปิ ดพื้นที่การสารวจแร่ โพแทชในเชิ ง
พาณิ ชย์ได้สาเร็ จ กระบวนการต่ อไปคื อการรอขั้นตอนอนุ ญาตอาชญาบัตรพิ เศษสารวจ เพื่ อจะ
สามารถนาเทคโนโลยีการสารวจเข้ามาในชุมชนแหล่งแร่ ประมาณ 120,000 ไร่ ครอบคลุมประมาณ
50 หมู่บา้ นที่ลว้ นเป็ นชุมชนเกษตรกรรม และชาวประมงน้ าจืด ในพื้นที่นิเวศที่ราบสองฝั่งลาน้ ายาม
สายน้ าสาขาสายใหญ่ของแม่น้ าสงคราม รวมทั้งเมืองวานรนิวาส ในระดับการสารวจนี้ พบว่าชุมชน
ในแหล่ งแร่ ไม่ได้รับรู ้ ขอ้ มูลหรื อปฏิ บตั ิการอันนามาซึ่ งการตัดสิ นใจดังกล่ าว และเมื่อการสารวจ
เสร็ จก็จะนาไปสู่ การกาหนดที่ต้ งั เหมืองแร่ ใต้ดินซึ่ งอาจจะอยูใ่ ต้ชุมชน และนิเวศนาข้าว และประมง
ลุ่มน้ าสงคราม รวมทั้งการกาหนดพื้นที่โรงงานประกอบกิจการเหมืองแร่ ในชุมชนแหล่งแร่ ในเขต
อาเภอวานรนิ วาส โดยจะต้องมีระบบการยื่นขอประทานบัตรเหมืองแร่ ใต้ดินตาม พ.ร.บ.แร่ พ.ศ.
2510 แก้ไ ขเพิ่ม เติ ม ปี 2545 ก าหนด ช่ องทางกฎหมาย ตลอดจนการประเมิ นผลกระทบทาง
สิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพ การรับฟั งความคิดเห็นของประชาชนตามเงื่อนไขและระเบียบวิธีปฏิบตั ิที่
รัฐกาหนด
แนวทางกาหนดนโยบายเช่ นนี้ จึงเป็ นแนวทางที่กาหนดขึ้นเพราะมองว่าคนในชุ มชน
เป็ นเพียงองค์ประกอบอันหนึ่ งของระบบอานาจเหนื อทรัพยากรเกลือ และเป็ นส่ วนเล็กของระบบ
นิ เวศที่มีเกลื อและแร่ โพแทชปริ มาณมหาศาล และเทคโนโลยีที่นาเข้ามาจะเป็ นการทาให้เกิ ดการ
ไหลของพลังอันจะสามารถนาเกลือหิ น และโพแทชออกจากระบบนิเวศชุมชนนั้น เมื่อพิจารณาใน
ด้านนโยบายของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเกลือและโพแทช ซึ่ งมีความต้องการอย่างแรงกล้าที่จะ
ผลักดันการใช้ประโยชน์เกลือด้วยเทคโนโลยีที่ใหญ่ข้ ึนสามารถเร่ งการผลิตและความก้าวหน้าของ
การบริ โภคเกลือภายในประเทศที่จะสะท้อนความเติบโตของภาคอุตสาหกรรม ในแนวทางนี้ พบว่า
คนท้องถิ่นไม่ใช่ผยู ้ ดึ กุมอานาจการผลิตเกลือ แทบจะไม่มีความรู้เรื่ องเทคโนโลยีที่จะนาเข้ามาใช้ใน
ชุ มชนตน และผลผลิ ตเกลื อและแร่ โพแทชที่ได้ถูกนาไปผูกโยงกับระบบเศรษฐกิจที่ใหญ่ข้ ึน ด้วย
กลไกตลาดเสรี ซับซ้อนและไร้ พรมแดน แนวนโยบายการกาหนดพื้นที่ผลิตเกลือและแร่ โพแทช
รวมทั้งมาตรการการอนุญาตตลอดจนขั้นตอนตามกฎหมายจึงเปรี ยบเป็ นใบผ่านทางสาหรับการผ่อง
ถ่ายทรัพยากรจากชุมชนไปสู่ ตลาดภายนอก ซึ่ งแม้แต่ผปู้ ระกอบการเกลือรายย่อย ชาวนาเกลือ หรื อ
กลุ่ มทุ นเกลื อในปั จจุ บนั ที่ เคยมี ความสัมพันธ์เชื่ อมโยงอยู่กบั โรงงานอุตสาหกรรมในประเทศก็
อาจจะอยูน่ อกเส้นทางการผลิตและการตลาดของทุนโลกาภิวตั น์ในลักษณะนี้
240

2. บทเรียนจากชุ มชนแหล่ งผลิตเกลือในลุ่มนา้ สงคราม

ประสบการณ์ ที่เกิ ดขึ้ นที่บา้ นโนนดอกไม้แดงโดยเฉพาะปั ญหาความเสื่ อมโทรมของ


สภาพแวดล้อมและแหล่งอาหารตามธรรมชาติ ในพื้นที่ราบลุ่มที่สมบูรณ์ซ่ ึ งดึ งดูดบรรพบุรุษของ
ชาวบ้านโนนดอกไม้แดงมาตั้งถิ่ นฐาน ถูกทาลายลงในชัว่ เวลาเพียงไม่กี่ปีที่กลุ่มทุนอุตสาหกรรม
เกลือเข้ามากว้านซื้ อและยึดครองพร้อมเปลี่ยนเป็ นแหล่งผลิตเกลือซึ่ งส่ งผลให้ชาวบ้านโนนดอกไม้
แดงต้องขายที่ดินที่สมบูรณ์ และไปซื้ อที่นาโคกที่สมบูรณ์นอ้ ยลงทาให้ตอ้ งขยายพื้นที่ผลิตมากขึ้น
เพื่อให้มีขา้ วเพียงพอต่อความต้องการบริ โภคในครัวเรื อน และอยูไ่ กลจากหมู่บา้ นออกไปทาให้ตอ้ ง
ใช้เวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เมื่อแหล่งอาหารในลาห้วยน้อยลง ขาดความมัน่ คงด้านอาหาร
คืบคลานสู่ ความไม่มน่ั คงในชี วิตและทรัพย์สินจากปั ญหาดินยุบ เรื อนชานแตกร้าว หรื อต้องรื้ อย้าย
ภาวะเหล่านี้ทาให้เกิดความยากจนรวมไปถึงความขัดแย้งในเรื่ องการนาน้ าเกลือขึ้นมาต้มและตาก
เพื่อผลิตเกลือ จนระบบนิเวศถูกทาลายจนหมู่บา้ นอยูใ่ นสภาวะที่เปราะบางเกิดแผ่นดินยุบ และการ
กระจายของน้ าเค็มจนวิถีนาข้าวที่ทุ่งดอกไม้แดงล่มสลาย ขณะที่ธุรกิ จเกลื อทาให้ผูป้ ระกอบการ
เกลือมีฐานอานาจทางเศรษฐกิจที่เข้มแข็ง สามารถควบคุมแรงงานด้วยระบบตกเขียวเกลือ ซึ่ งทาให้
ผูป้ ระกอบการรายใหญ่ไม่ตอ้ งเผชิญหน้ากับปัญหามวลชน และมัน่ ใจได้วา่ สามารถผลิตเกลือได้ตาม
ต้องการในราคาที่ต่าที่สุดและไม่เคยเปลี่ยนแปลงเลยเป็ นเวลานานมาแล้ว วิธีการผลิต ปริ มาณการ
ผลิ ต เทคโนโลยีการผลิ ตที่ ลงทุ นต่ าที่สุด ให้กาไรสู งที่สุด สะท้อนภาพการรุ กของอุตสาหกรรม
การค้าต่อชุมชนท้องถิ่น
ความขัดแย้งในชุ มชนที่ผา่ นนับเป็ นความแย้งทางนิเวศ(ecological conflict) เพราะการ
เข้ามาครอบครอง แบ่งปั น หรื อใช้เกลือในชุ มชนแหล่ งเกลือนั้นมีการใช้อานาจที่เข้ามามีอิทธิ พล
อย่า งไม่ เท่ า เที ย ม เหลื่ อ มล้ า กลุ่ ม ที่ ไ ด้ค รอบครองมากเกื อบทั้ง หมดเป็ นกลุ่ ม ทุ นขายเกลื อจาก
ภายนอก และกลุ่มอุตสาหกรรมเคมีที่ซ้ื อเกลือไปด้วยราคาแสนถูกไม่เคยเปลี่ยนแปลงมาหลายสิ บปี
จนราคานั้นไม่สะท้อนต้นทุนการผลิตที่แท้จริ ง ทาให้ชาวนาเกลือรายย่อยต้องแบกรับภาระหนี้ สิน
และทิ้งความเสี ยหายทางสังคมสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพไว้ในท้องถิ่น ความจริ งข้อนี้เป็ นแรงกดดัน
ทาให้ชุมชนพยายามสถาปนาความสัมพันธ์ ใหม่ภายใต้อานาจและประวัติศาสตร์ ของการรุ กคืบของ
อุตสาหกรรมเกลื อตั้งแต่ขนาดเล็กจนขยายขนาดขึ้น ดังเห็นได้จากความพยายามในการต่อสู้ของ
ฝ่ ายชุ มชนกรณี ตาบลดงเหนื อที่คนภายในชุมชนใช้วิธีการรวมพลังมวลชนในการต่อรองกับอานาจ
ตามกฎหมายโดยอ้างสิ ทธิ ตามรั ฐธรรมนู ญและความชอบธรรมในเรื่ องการอนุ รักษ์ส่ิ งแวดล้อม
หากแต่การร้องเรี ยนความทุกข์น้ ี ตามกลไกอานาจของผูเ้ ดือดร้อนชาวบ้านโนนดอกไม้แดง บ้านกุด
241

เรื อคา และหมู่บา้ นอื่น ๆ กาลังเข้าร่ วมด้วย เพราะการเคลื่อนไหวเพียงลาพังนั้นไม่เป็ นผลให้มีการ


แก้ไขปั ญหา
ในทานองเดี ยวกันกับภาวะชุมชนแหล่งผลิตเกลือที่เป็ นอยู่ ระบบเทคโนโลยีใหม่ที่ฝ่าย
รัฐและฝ่ ายทุนนาเสนอคือการทาเหมืองแร่ ใต้ดิน นั้นย่อมจะทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างมนุ ษย์กบั
สิ่ ง แวดล้อมแบบมี เทคโนโลยีเป็ นปั จจัย หลัก ที่ จ ะท าให้ก ารเข้า ถึ ง ทรั พ ยากรมากขึ้ นจนผูย้ ึดกุ ม
เทคโนโลยีสามารถผูกขาดอานาจการเป็ นเจ้าของทรัพยากรธรณี อย่างไรก็ตามพบว่ามีการก่อตัวของ
องค์กรภายในชุ มชนหลายแห่ งเพื่อต่อสู้ช่วงชิ งความมีอานาจที่เหนื อกว่าในการจัดการทรัพยากร
เกลื อ มี ก ารจัด ตั้ง สถาบัน ชุ ม ชนเพื่ อ ที่ จ ะต่ อ รองกับ รั ฐ และระบบตลาด รวมตลอดถึ ง ผูม้ ี ส่ ว น
เกี่ ยวข้องอื่นๆท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในโลกปั จจุบนั เช่ น กรณี
การเคลื่อนไหวของกลุ่มอนุรักษ์ส่ิ งแวดล้อมอุดรธานี ในพื้นที่โครงการเหมืองแร่ โพแทชอุดรธานี ที่
รวมตัวกันเป็ นองค์กรประชาชนและตรวจสอบกระบวนการขั้นตอนต่าง ๆในการอนุ ญาตสารวจ
การศึกษาผลกระทบ การรังวัดปั กหมุดเขตเหมืองแร่ เพื่อประกอบการขอประทานบัตรตามขั้นตอน
กฎหมายแร่ หรื อกระทัง่ การเคลื่ อนไหวปะทะกันบนท้องถนน หรื อ กรณี ที่ ช าวตาบลดงเหนื อ
รวมตัวเคลื่อนไหวมวลชนต่อต้านการทานาเกลือ การที่ชาวบ้านโนนดอกไม้แดง ร้องต่อผูต้ รวจการ
รัฐสภา นั้นชี้ ให้เห็นตัวอย่างชุ มชนที่มีความตื่นตัวและพยายามพัฒนาศักยภาพภายในเพื่อเรี ยกร้อง
การเข้าไปมีส่วนในการสร้างกฎเกณฑ์ข้ ึนมาเพื่อการอนุรักษ์ หรื อใช้ทรัพยากรธรณี คือเกลือและแร่
โพแทช ซึ่ งถื อเป็ นการต่อรอง และตอบโต้กบั อานาจต่างๆ ในสังคม พร้อมๆ กันกับกระบวนการ
สร้างนิยามความหมายของสิ ทธิ ประเภทใหม่ๆ ที่จะช่วยสร้างความชอบธรรมในการเข้าถึงทรัพยากร
โดยผ่านวาทกรรมหรื อการโต้เถียงเชิงอุดมการณ์ในสังคม ที่ชวนตั้งคาถามว่าการใช้เทคโนโลยีใหญ่
การผูกขาดการกาหนดนโยบายเกลือและแร่ โพแทช หาใช่แนวทางที่เหมาะสมแต่จะเป็ นแนวทางที่
เบียดขับผูค้ นในชุ มชนแหล่งผลิตเกลือให้ไร้ที่ยืนในแผ่นดินตนเอง และเงื่อนไขนี้ จะผลักดันให้เกิด
กระบวนการของชุ ม ชนในการปรั บ ความสั ม พันธ์ เ ชิ ง อานาจใหม่ ก ับ พลัง อานาจที่ ก ดทับ อยู่ใ น
ปั จจุบนั ซึ่ งในงานศึกษานี้ ไม่ได้ลงรายละเอียดในประเด็นนี้ แต่นบั เป็ นประเด็นที่น่าสนใจและท้า
ทายที่จะศึกษาค้นคว้าต่อไป
ในด้าน “สุ ข ภาพ” หรื อ “สุ ขภาวะ” ในที่ น้ ี มี นัยที่ เกี่ ย วข้องกับ การพัฒนามนุ ษย์และ
สังคม ไม่ใช่ แค่การเจ็บป่ วยหรื อการรักษาพยาบาล ดังนั้น สุ ขภาพ หรื อสุ ขภาวะ ที่กล่ าวในงาน
ศึ ก ษานี้ จึง หมายถึ ง สุ ข ภาพกาย สุ ข ภาพใจ สุ ข ภาพจิ ตวิญญาณ และสุ ข ภาพสัง คม รวมกันแล้ว
หมายถึงการมีชีวิตอยูใ่ นสิ่ แวดล้อมที่ดี สังคมที่เป็ นธรรมและมีความเป็ นอยูท่ ี่เป็ นสุ ข สอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อม
242

ความหมายของสุ ขภาวะที่ดีครอบคลุมไปถึ งการได้รับความคุม้ ครองและปกป้ องสิ ทธิ


พื้นฐาน คื อการจะมี สุข ภาวะที่ ดีไ ด้ต้องไม่ท นทุ ก ข์จากความอยุติธ รรมทางสังคมและเศรษฐกิ จ
ครอบคลุมถึงความเป็ นธรรมในสังคมที่เชื่อมโยงกับระบบการพัฒนาประเทศ การปกป้ องดูแลระบบ
นิ เวศ และทรั พยากรธรรมชาติ ระบบกฎหมายหรื อนิ ติรัฐที่ปกป้ องคุ ม้ ครองสิ ทธิ ข้ นั พื้นฐานของ
บุคคล คุม้ ครองการหาอยูห่ ากินของคนที่เป็ นสมาชิกของชุมชน ซึ่ งเป็ นฐานของสังคมที่ใหญ่ข้ ึนไป
เมื่ อพิ จารณาในมิ ติท างสุ ขภาวะของชุ มชนและระบบนิ เวศอันเกิ ดจากความสัม พันธ์
วัฒนธรรมเศรษฐกิ จ หรื อเทคโนโลยีเศรษฐกิ จ ที่นามาใช้และก่ อให้เกิ ดความสัมพันธ์กบั ระบบ
นิ เวศทางชี วภาพ เพราะเมื่อระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงไปในทางเสื่ อมโทรมย่อมเกี่ยวข้องโดยตรงกับ
การเกิ ดโรคและการเจ็บป่ วยของผูค้ นในชุมชนแหล่งผลิตเกลือ เช่น ความเค็มในลาห้วยบ่อแดงทั้ง
สาย และทุ่งดอกไม้แดงทั้งทุ่ง ตลอดจนภาวะดินทรุ ด และการกลายเป็ นคนงานรับจ้างรายวันในผืน
ดินที่เคยเป็ นของบรรพบุรุษตนนั้นย่อมสะท้อนว่าปั จจัยทางด้านชีวภาพหรื อระบบนิเวศที่ถูกทาลาย
ลงด้วยความเค็ม นั้นได้สร้างความกดดันทางวัฒนธรรมเช่น วัฒนธรรมการหาและผลิ ตอาหารของ
ชาวบ้า นโนนดอกไม้แ ดง ซึ่ งเหลื อพื้ นที่ ห าและผลิ ต อาหารเพี ย งครึ่ งเดี ย วและเป็ นครึ่ งที่ ค วาม
สมบูรณ์และหลากหลายทางชี วภาพน้อย ชาวบ้านจึงเปลี่ยนวัฒนธรรมการผลิตและหาอาหารตาม
ธรรมชาติมาเป็ นวัฒนธรรมการจับจ่ายซื้ ออาหาร ร้านค้าในชุ มชนมีมากถึง 7 แห่ งและยังมีตลาด
เคลื่อนที่แบบรถพุ่มพวง ตลาดนัด ที่สะท้อนให้เห็นทางออกในการมีอาหารให้พอบริ โภคโดยอาศัย
ตลาดเพราะความมัน่ คงทางอาหารของชุมชนสั่นคลอนลงอย่างเห็นได้ชดั
การกลายเป็ นชุ ม ชนแหล่ ง ผลิ ตเกลื อ ท าให้เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงทางสุ ข ภาพอนามัย
สะท้อนผ่านสุ ขภาวะของระบบนิ เวศ(Ecosystem Health) เพราะสุ ขภาพของคน สัตว์ และ
สิ่ งแวดล้อม หรื อระบบนิ เวศ (Ecological Health) นั้นประกอบด้วยความสัมพันธ์ระหว่างสุ ขภาวะ
ของระบบนิเวศซึ่ งสัมพันธ์กบั สุ ขภาพของมนุษย์(Human Health) ในการศึกษานี้ไม่อาจจะเก็บข้อมูล
เรื่ องการเจ็บป่ วยการเป็ นโรคจากอิทธิ พลของเกลือ ลักษณะการเกิดโรคของคนในชุมชนแหล่งผลิต
เกลื อ แต่ เ มื่ อ มองแบบองค์ร วมไม่ ไ ด้ม องเฉพาะสุ ข ภาพส่ ว นบุ ค คล แต่ ม องด้ว ยแนวคิ ด เรื่ อ ง
นิ เวศวิทยาผ่านความ สัมพันธ์อนั ซับซ้อนระหว่างสิ่ งแวดล้อม สังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ ซึ่ ง
พบว่ า อุ ต สาหกรรมเกลื อ และแร่ โ พแทชก าลัง เป็ นปั จ จัย ที่ เ บี ย ดท าลายดุ ล ยภาพ และการมี
ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกันของคนในชุ มชน และเบียดเบียนธรรมชาติจนส่ งผลต่อสุ ขภาวะของ
ปั จเจก สุ ขภาวะของสังคมและระบบนิเวศ ทาให้ชุมชนไม่มีศกั ยภาพในการจัดการปัญหาได้เอง
ท้ายที่สุดจึงกล่าวได้วา่ การมีสุขภาวะที่ดีของคนในชุมชนบ้านโนนดอกไม้แดง กุดเรื อคา
ท่า สะอาด หรื อกระทัง่ ชุ ม ชนแหล่ ง แร่ เกลื อและโพแทชจะไม่ อาจจะเกิ ดขึ้นได้เลยหากไม่ มีก าร
243

เยียวยารักษาผืนดิ นและธรรมชาติ ให้อยู่ในภาวะที่สมดุ ล ลดภาวะการเสี่ ยงภัยจากการยุบตัวของ


แผ่นดิน ความเค็ม ความขัดแย้ง และความขาดแคลนอาหาร ทั้งนี้ หากการผลิตและใช้เกลือยังดาเนิน
ไปในทิศทางที่ยึดเทคโนโลยีและเงินทุนเป็ นหลักต่อไปย่อมเป็ นการผลักชุ มชนแหล่งเกลือและแร่
โพแทชให้กา้ วเข้าไปเผชิ ญหน้ากับวิกฤตของความอยูร่ อด ตกอยูใ่ นภาวะความเสี่ ยงภัยและภัยพิบตั ิ
จากความไม่สมดุลทางธรรมชาติ
ข้อเสนอแนะในทางกระบวนทัศน์ต่อแนวนโยบายการนาเกลือขึ้นมาใช้ในอนาคตคือ การ
หลี กเลี่ ยงที่จะไม่กา้ วเข้าไปสู่ วิกฤตนั้น โดยหันกลับไปหาโลกทัศน์เชิ งนิ เวศหรื อสร้ างนโยบายที่
ตระหนักถึ งความสัมพันธ์ระหว่างคนและธรรมชาติให้เป็ นระบบเกื้อกูลแก่ชีวิตและสุ ขภาพมนุษย์
เองในฐานะสิ่ งมี ชีวิตหนึ่ งที่เป็ นหน่ วยชี วิตที่ไม่สามารถตัดตัวเองออกจากระบบนิ เวศทั้งมวลได้
เช่ น ภาวะการเกิ ดปั ญหาแผ่นดิ นทรุ ดในช่ วงปี 2538 – 2545 ในชุ มชนแหล่งผลิตเกลือบ้านโนน
ดอกไม้แดง อันเป็ นผลของการสู บน้ าเกลือจากใต้ดินเป็ นปริ มาณมากก่อให้เกิ ดแผ่นดินทรุ ดเพราะ
การสู บน้ าเกลื อขึ้นมาจากใต้ดินทาให้มีการละลายของเกลื อหิ น เกิ ดเป็ นโพรงใต้ดินขึ้นเมื่อโพรง
ดังกล่าวเสี ยสมดุล โพรงขยายใหญ่ข้ ึนทาให้เกิดการพัง ยุบตัวของหิ นและดินที่ปิดทับโพรงอยู่ การ
ยุบตัวของพื้นดินหากเกิดในบริ เวณแหล่งชุมชนหรื อถนนหลวง อาจสร้างความเสี ยหายเป็ นอันตราย
ต่อชีวติ และทรัพย์สิน และสร้างความตื่นตระหนกตกใจแก่ชุมชนได้ ล่าสุ ดได้เกิดหลุมยุบขนาดใหญ่
บริ เวณใกล้โรงเรี ยน ซึ่ งเป็ นการยุบตัวครั้งที่ 5 และมีทิศทางการแตกร้าวของพื้นดินมีแนวพุ่งเข้าสู่
หมู่บา้ น คนในหมู่บา้ นเกิดภาวะความไม่มน่ั คงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินต้องย้ายบ้านหนี และ
ชุมชนตกอยูใ่ นภาวะตึงเครี ยดและขัดแย้งกัน
กล่ า วโดยสรุ ป ว่า ความเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คมอัน เกิ ด จากความสั ม พัน ธ์ ข องระบบ
เศรษฐกิ จส่ วนกลางที่เข้ามาสัมพันธ์เชื่ อมโยงกับความเปลี่ยนแปลงทางสังคมวัฒนธรรมในชุ มชน
ท้องถิ่ น จากการที่ อานาจภายนอกทั้งรัฐและทุนได้ครอบงาทั้งทางความรู้ และเทคโนโลยี เพราะ
ความรู้เรื่ องเกลือและธรณี วิทยาเกลือเป็ นองค์ความรู้หลักที่เกิดจากกลไกอานาจรัฐซึ่ งมีพลังอานาจ
ในการครอบงากาหนดทิศทางการใช้และผลิตเกลือสิ นเธาว์ในชุมชนแหล่งผลิตเกลือทัว่ ภาคอีสาน
อย่างไรก็ตามวิกฤติจากอุตสหกรรมเกลือทาให้เกิ ดการเคลื่อนไหวทางความรู้ที่สะท้อน
ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมจากผลกระทบเรื่ องเกลื อ แต่ส่วนใหญ่เป็ นความรู้ ทางด้านเทคนิ คสิ่ งแวดล้อม
เทคนิ คทางธรณี วิทยา ยังไม่มีความรู้ในมิติทางสังคมวัฒนธรรม หรื อ นิ เวศวิทยาและสิ่ งแวดล้อม
ซึ่งจะสามารถเปลี่ยนแปลงการรับรู ้และให้ความหมายแก่ “เกลือและแร่ โพแทช” ใต้ธรณี อีสาน การ
รั บ รู ้ และให้ค วามหมายแก่ สิ นแร่ ช นิ ดนี้ ย งั คงเป็ นกระแสรองหลายขุม กับการพัฒนาความรู้ ท าง
เทคนิคทางธรณี วทิ ยาและวิศวกรรมเหมืองแร่ ดังนั้นการพัฒนาความรู้เพื่อส่ งสร้างพลังทางสังคมให้
244

มากขึ้นเรื่ อยๆ ทั้งในแง่พลังในการอธิ บายระบบนิเวศวิทยา ธรณี วิทยา และอุทกธรณี วิทยา ในมิติ


ทางสังคมวัฒนธรรม โดยตระหนักอย่างสาคัญว่ามนุ ษย์จะต้องปรับตัวที่จะดารงชี วิตอยู่อย่างสอด
คล้องกับสิ่ งแวดล้อมมากกว่าที่จะพยายามควบคุมหรื อเอาชนะ หรื อดึงดูดเอาทรัพยากรเกลือและแร่
โพแทชที่มีอยูเ่ ข้าสู่ ตลาดค้าเสรี อนั ไร้ขอบเขต เปราะบาง ไร้ความเป็ นธรรม

3. ข้ อเสนอแนะต่ อปัญหา และอนาคตของชุ มชนแหล่งผลิตเกลือ


3.1 บ่ อหัวแฮด: มรดกวัฒนธรรมมีชีวติ
3.1.1 รักษาและพัฒนาแหล่ งเกลือบ่อหัวแฮดให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู้ประวัติศาสตร์
ชุมชนลุ่มน้ าสงคราม ด้วยระบบการผลิตในครัวเรื อนที่มีเอกลักษณ์และประวัติศาสตร์ ของตนเองอัน
ถื อว่าสมบัติทางวัฒนธรรมมีชีวิต (Intangible Cultural Asset) ควรมีการส่ งเสริ มพัฒนาความรู้
ท้องถิ่นเพื่อให้การสื บเล่าประวัติศาสตร์ ทอ้ งถิ่นลุ่มน้ าสงครามอย่างมีความหมาย ตลอดจนสื บทอด
พิธีกรรมอันเป็ นความเชื่ อร่ วมของคนในชุมชนได้อย่างมีคุณค่าต่อการเป็ นหนึ่ งเดียวภายในด้วยแรง
ขับของตานานร่ วมกัน(Myth Moteur) และจากรากฐานการที่ ชุมชนก่อตั้งจากกลุ่มชนจากการต้ม
เกลื อของคนที่ อาศัยอยู่ในถิ่ นฐานเดี ยวกัน ได้สร้ างสานึ กของเผ่าพันธุ์ที่ก่อกาเนิ ด เติบโต และมี
ชะตากรรมร่ วมกันมาแต่บรรพบุรุษ โดยมีแรงขับเคลื่อนจากประวัติศาสตร์ ร่วม(Shared History)
ของกลุ่มคนที่สืบเชื้อสายมาจากบรรพบุรุษผูท้ าเกลือ ให้มีความเหมายเชื่อมโยงกับปั จจุบนั ทาให้เกิด
แรงบันดาลใจในการสร้ างและสื บทอดวัฒนธรรมร่ วมกันอย่างมากมาย ในอาณาเขตที่สัมพันธ์กบั
สถานที่คือบ่อเกลือซึ่ งเป็ นถิ่นที่อยูท่ ี่ศกั ดิ์สิทธิ์ เป็ นดินแดนมาตุภูมิ
3.1.2 พัฒนาระบบการผลิตให้สะอาด และเรี ยบง่าย ด้วยการพึ่งตัวเองด้านเชื้ อเพลิง
เช่นมีการปลูกสวนป่ าชุมชน ปลูกไม้โตเร็ วนามาใช้ทาฟื น ในการผลิตเกลือ งดใช้ไม้จากธรรมชาติ
3.1.3 พัฒนาเป็ นวิสาหกิจชุมชน โดยการพัฒนาเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ ให้สะอาด มี
มาตรฐาน มีเอกลักษณ์ และมีคุณค่าในฐานะเครื่ องหมายทางวัฒนธรรม โดยออกแบบผลิตภัณฑ์จาก
เกลื อ ที่ ห ลากหลาย เช่ น หัว แฮดที่ ร ะลึ ก ลู ก อมเกลื อ หรื อ เกลื อ ในบรรจุ ภ ัณ ฑ์ท างวัฒ นธรรม
3.1.4 รักษาโซ่ สัมพันธ์กบั สิ่ งแวดล้อมไว้ให้ได้ โดยพัฒนาประสิ ทธิ ภาพการผลิต
ไม่ ให้ท่ อน้ า เกลื อรั่ วไหล และรั กษาปริ ม าณการผลิ ตให้เหมาะสม เพราะการสู บ น้ า ขึ้ นมาต้ม ใน
ปริ มาณจากัดไม่เป็ นพิษภัยที่รุนแรง ธรรมชาติสามารถเยียวยาได้หากไม่ขยายกาลังการผลิตมากกว่า
ที่เป็ นอยูแ่ ละดูแลระบบสู บน้ าเกลือไม่ให้รั่วไหลก็จะยิง่ เพิ่มประสิ ทธิภาพการผลิตมากขึ้น
245

3.2 ดินยุบ: ภัยพิบัติระเบิดเวลานาเกลือบ้ านโนนดอกไม้ แดง


การทานาเกลือแม้จะเป็ นการผลิตเกลือที่ต้นทุนต่าที่สุดแต่เป็ นวิธีการที่สร้างผล กระทบ
มากที่สุดและไม่คุม้ ค่าต่อความสู ญเสี ยทางนิเวศวิทยา วัฒนธรรม และสุ ขภาพ ของชุมชน ตลอดจน
เป็ นวิธีการผลิตเกลือที่ทาลายวัฒนธรรมข้าว แม้จะมีมาตรการควบคุมแต่ทุกมาตรการก็ถูกละเลยไม่
เป็ นจริ ง และหากยังมีการสู บน้ าเกลือต่อไปอย่างที่เป็ นอยู่ จะทาให้เกิ ดวิกฤตที่ร้ายแรงขึ้น จึงเสนอ
ให้ยุติการทานาเกลื อในพื้นที่ ที่ เพื่อฟื้ นฟูระบบนิ เวศและรื้ อฟื้ นความสัมพันธ์ภายในชุ มชนอย่าง
เร่ งด่วนเพื่อป้ องกันเหตุวกิ ฤตที่อาจจะเกิดขึ้นได้
3.3 เกลือบ้ านกุดเรือคา กับเศรษฐกิจชุ มชน
การผลิตเกลือที่บา้ นกุ ดเรื อคาถือเป็ นอุตสาหกรรมครัวเรื อน แม้จะขยายขนาดการผลิ ต
ด้วยเชื้ อเพลิ งและระยะเวลาในการต้มเกลือจึงนับเป็ นวิธีการผลิตที่ยอมรับได้ ทั้งนี้ หากมีมาตรการ
ควบคุมการสู บน้ าเกลือและการดูแลระบบการปล่อยน้ าเสี ยไม่ให้ร่ัวไหลสู่ ธรรมชาติก็จะเป็ นวิธีที่ลด
ภาวะความตึงเครี ยดด้านสิ่ งแวดล้อมและสังคมลงได้ ขณะเดียวกันควรมีการส่ งเสริ มองค์กรทาง
สังคมในชุ มชน ทั้งของผูป้ ระกอบการ และประชาชนในชุมชน เพื่อที่จะสามารถพัฒนา
องค์กรผูผ้ ลิ ตเกลื อในระดับท้องถิ่ น ที่พฒั นาขึ้นมาจากการมีส่วนร่ วมของคนในชุ มชน และส่ งคืน
ผลประโยชน์ให้กบั ชุ มชนโดยมีอานาจต่อรองเรื่ องราคาเกลือ รวมทั้งยกระดับมาตรฐานการผลิตให้
มีผลกระทบด้านต่าง ๆ ให้นอ้ ยที่สุด
3.4 เหมืองแร่ โพแทชสกลนครกับความรู้ทยี่ ังขาดหาย
ความรู ้เรื่ องเกลือและแร่ โพแทช ในพื้นที่ลุ่มน้ าสงครามยังอยูใ่ นขอบเขตที่จากัดมาก ดังนี้
การพัฒนาการรั บ รู ้ โดยเฉพาะในระดับชุ มชนนั้นมี ความจาเป็ นเบื้ องต้น ก่ อนที่ จะมีก ารกาหนด
นโยบาย หรื อการขับดันการนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในชุ มชนหรื อสังคม เพื่อให้สังคมมีวุฒิภาวะ
พอที่จะเลือกรับเทคโนโลยีที่เหมาะสม และสามารถนาทรัพยากรเกลือและแร่ โพแทชขึ้นมาใช้อย่าง
ไม่ทาลายชุมชน อีกทั้งเป็ นการยกระดับกระบวนทัศน์ การอธิ บายสถานะและความสัมพันธ์ระหว่าง
ชี วิตมนุ ษย์ ชี วิตของสรรพสิ่ งในระบบนิเวศ เพื่อการสื่ อสารทางสังคมที่มีผลกระทบต่อเนื่ องไปยัง
ส่ วนอื่ น ๆ ของสั ง คมอันจะนาไปสู่ ค วามเปลี่ ย นเพื่อ สร้ า งสมดุ ล ความสั ม พันธ์ ระหว่า งคนและ
นิ เวศวิท ยาอันประกอบด้วยเกลื อและความเค็ม ไม่ ใ ห้ลุ ก ลามกระจายออกท าลายสิ่ ง มี ชี วิตอื่ น ๆ
รวมทั้งผูค้ น วัฒนธรรม และสุ ขภาพ
246

4. ข้ อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่ อไป

งานศึกษานี้ใช้แนวคิด 2 แนวคิดหลักคือนิเวศวิทยาวัฒนธรรม ที่ใช้อธิบายพัฒนาการทาง


เทคโนโลยีที่เข้ามาบทบาทในการนาทรัพยากรเกลือมาใช้ ขณะที่แนวคิด นิเวศวิทยาสุ ขภาวะในการ
อธิ บายถึงองค์รวมของปั ญหา “สุ ขภาวะ” หรื อสภาวะการมีชีวิตอยู่ในสิ่ แวดล้อมเต็มไปด้วยความ
เค็ม และดิ นทรุ ด ตลอดจนความไม่เป็ นธรรม ความไม่เท่าเทียบกันของระบบตลาดที่เข้ามาทาให้
“คุณภาพชีวติ ” ของคนในชุมชนแย่ลง
ผูศ้ ึ ก ษาเห็ นว่าสิ่ งท้า ทายต่ อไปส าหรั บการศึ ก ษาเรื่ องเกลื อ -โพแทช ในชุ มชนลุ่ มน้ า
สงคราม คือแนวคือการศึกษาลงลึกในมิตินิเวศวิทยาสุ ขภาวะ เพื่ออธิ บายสุ ขภาวะชุมชนแบบองค์
รวม ซึ่ งหมายรวมถึ งการคุ ม้ ครองและปกป้ องสิ ทธิ พ้ืนฐาน ความยุติธรรมทางสังคมและเศรษฐกิ จ
จากการกาหนดนโยบาย ซึ่ งเป็ นการตีความหมายของสุ ขภาพในมุมกว้าง ที่ครอบคลุมถึงความเป็ น
ธรรมในสังคมที่ เชื่ อมโยงกับระบบการพัฒนาประเทศ การศึกษา ศาสนา การปกป้ องดูแลระบบ
นิ เวศ และทรั พยากรธรรมชาติ ระบบกฎหมายหรื อนิ ติรัฐที่ปกป้ องคุ ม้ ครองสิ ทธิ ข้ นั พื้นฐานของ
บุคคล รวมไปถึงการคุม้ ครองการหาอยูห่ ากินของคนตัวเล็กตัวน้อยที่เป็ นสมาชิกของชุมชนพื้นฐาน
ของสังคมที่ใหญ่ข้ ึนไป
247

รายการอ้างอิง

หนังสื อภาษาไทย

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรสิ่ งแวดล้อม. กลุ่มสามประสาน กองประสานการจัดการ


จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม (2547). เกลือสิ นเธาว์ . กรุ งเทพฯ: สานักงาน
นโยบายและแผนทรัพยากรสิ่ งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม.
โกมาตร จึงเสถียร. (2545). มิติสุขภาพ: กระบวนทัศน์ ใหม่ เพือ่ สร้ างสั งคมแห่ งสุ ขภาวะ. นนทบุรี :
สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุ ข.
เคอร์ ลนั สกี, มาร์ก. (2551). ประวัติศาสตร์ โลกผ่านเกลือ. แปลจาก (Salt: A World History). แปล
โดยเรื องชัย รักศรี อกั ษร. กรุ งเทพฯ: มติชน.
เครื อข่ายนักวิจยั ไทบ้านลุ่มน้ าสงครามตอนล่าง. (2548). นิเวศวิทยาและประวัติศาสตร์ ป่าบุ่งป่ าทามลุ่ม
นา้ สงครามตอนล่าง. ม.ป.ท.: โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทางความหลากหลายทาง
ชีวภาพอย่างยัง่ ยืนในพื้นที่ชุ่มน้ าลุ่มแม่น้ าโขง.
เครื อข่ายนักวิชาการนิ เวศวัฒนธรรมอีสาน. (2550).เกลืออีสานองค์ ความรู้ส่ ู ยุทธศาสตร์ การจัดการ
อย่างยัง่ ยืน. ขอนแก่น: สถาบันวิจยั และพัฒนามหาวิทยาลัยขอนแก่น.
งามพิศ สัตย์สงวน. (2547). การวิจัยเชิงคุณภาพทางมานุษยวิทยา. พิมพ์ครั้งที่5. กรุ งเทพฯ:
สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชนัญ วงษ์วภิ าค. (ม.ป.ป.). นิเวศน์ วทิ ยาวัฒนธรรม. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร
วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ .
ณรงค์ ณ เชียงใหม่ และ กรรณกา วิทย์สุภากร. (2528). มนุษยวิทยาและการสาธารณสุ ข. กรุ งเทพฯ:
โอเดียนสโตร์ .
ไท้ นันท์จนั ทร์ . (2542). มานุษยวิทยาประยุกต์ . กรุ งเทพฯ: รวมสาส์น.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2521). รายงานการสารวจเศรษฐกิจการผลิตและการตลาดในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุ งเทพฯ: ธนาคารแห่งประเทศไทย.
ธงชัย พรรณสวัสดิ์และคณะ. (2546). เอกสารการสั มมนาโครงการเหมืองแร่ โพแทช จังหวัดอุดรธานี
ปัญหาและแนวทางแก้ไข. กรุ งเทพฯ: แมนนี่ พริ้ นติ้งโปรเซส.
248

ธาดา สุ ทธิธรรม. (2544). ผังเมืองในประเทศไทย: ผังการใช้ ทดี่ ินสายธารอารยธรรมเขมรในภาค


ตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น: คณะสถาปัตยกรรมศาตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นพนันท์ อนุรัตน์. (2448). พรรคกรีน: จากปรัชญาสู่ ปฏิบัติการ. กรุ งเทพฯ: บริ ษทั ด่านสุ ทธากา
รพิมพ์ จากัด.
นิยพรรณ วรรณศิริ. (2540). มานุษยวิทยาวัฒนธรรม. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ .
ปิ่ นแก้ว เหลืองอร่ ามศรี . (2539). ภูมิปัญญานิเวศวิทยาชนพืน้ เมือง ศึกษากรณีชุมชนกะเหรียงในป่ า
ทุ่งใหญ่ นเรศวร. กรุ งเทพฯ: โครงการฟื้ นฟูชีวิตและธรรมชาติ.
บาเพ็ญ ไชยรักษ์. (2552). แม่ นา้ สี เขียวคราม. กรุ งเทพฯ: อมริ นทร์พริ้ นติง้ แอนด์พบั ลิชชิ่ง.
เบญจา ยอดดาเนิน จรรยา เศรษฐบุตร และกฤตยา อาชวนิจกุล. (2523). สั งคมวิทยาการแพทย์ .
กรุ งเทพฯ: สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ปกรณ์ สุ วานิช. (2546). “ความเป็ นมาและข้อดีของโครงการเหมืองแร่ โพแทชจังหวัดอุดรธานี ” ใน
ธงชัย พรรณ สวัสดิ์และคณะ, บรรณาธิการ. เอกสารการสั มมนาโครงการเหมืองแร่ โพ
แทช จังหวัดอุดรธานี ปัญหาและแนวทางแก้ไข วันที่ 29 มีนาคม 2546 ณ สถาบันวิจัย
สภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุ งเทพฯ: แมนนี่ พริ้ นติง้ โปรเซส.
_________. (2550). ธรณีวิทยาแหล่งโพแทช – เกลือหินของไทย. กรุ งเทพฯ: บริ ษทั คัมภีร์วรรณ
จากัด.
_________. (2552). พญานาคกับเกลือใต้ ดิน ในตานานผาแดง-นางไอ่ -ท้าวพังคี. กรุ งเทพฯ: โลก
แห่งธรณี วทิ ยา.
ประเวศ วะสี . (2545). พ.ร.บ.สุ ขภาพแห่ งชาติ : ธรรมนูญสุ ขภาพของคนไทย เครื่องมือนวัตกรรม
ทางสั งคม. นนทบุรี : สานักงานปฏิรูประบบสุ ขภาพแห่งชาติ.
ประสิ ทธิ์ คุณุรัตน์. (2530). ภูมิศาสตร์ กายภาพ ภาคอีสาน. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ,
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ประสิ ทธิ์ คุณุรัตน์. (2544). “ป่ าทาม มดลูกของแม่น้ าไตของแผ่นดิน” ป่ าทาม ป่ าไทย. สุ รินทร์ :
เอดิสันเพรสโปรดักส์
ปรี ชา เปี่ ยมพงษ์สานต์. (2541). เศรษฐศาสตร์ สีเขียวเพือ่ ชีวติ และธรรมชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
_________. (2543). นิเวศเศษฐศาสตร์ และนิเวศการเมือง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ: คณะ
เศรษฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
249

ยศ สันตสมบัติ. (2540). มนุษย์ กบั วัฒนธรรม. กรุ งเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัย


ธรรมศาสตร์ .
เลิศศักดิ์ คาคงศักดิ์ และเบญจรัตน์ เมืองไทย. (2549). การวิเคราะห์ นโยบายสาธารณะกรณีศึกษา
การจัดการเกลืออีสาน: เกลืออีสาน จากวิถีชุมชนสู่ อุตสาหกรรม. กรุ งเทพฯ: สภาที่
ปรึ กษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
วิไลลักษณ์ ทรงศิริ. (2538). “แหล่งผลิตเกลือสมัยโบราณและกลุ่มเตาเครื่ องปั้ นดินเผาลุ่มน้ า
สงคราม” รายงานการวิจัยทางโบราณคดี. ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมสถาบันราชภัฏสกลนคร.
ศรี ศกั ร วัลลิโภดม. (2545). แอ่งอารยธรรมอีสาน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุ งเทพฯ:มติชน.
_________. (2546). “อีสาน: ความสัมพันธ์ของชุมชนที่มีคูน้ าคันดินกับการเกิดของรัฐในประเทศไทย.”
ใน เกลืออีสาน: ทุ่งกุลา อาณาจักรเกลือ 2500 ปี . สุ จิตต์ วงษ์เทศ, บรรณาธิการ. กรุ งเทพฯ:
มติชน.
_________. (2546). “เกลืออีสาน.” ใน เกลืออีสาน: ทุ่งกุลา อาณาจักรเกลือ 2500 ปี . สุ จิตต์ วงษ์เทศ,
บรรณาธิการ. กรุ งเทพฯ: มติชน.
_________, บรรณาธิการ. (2541). “วัฒนธรรมปลาแดก” เอกสารการประชุมทางวิชาการ 3-4
ธันวาคม 2541 สานักงานกองทุนสนับสุ นการวิจยั โครงการเมธีวจิ ยั อาวุโส. สกลนคร:
สานักงานสามัญศึกษา จังหวัดสกลนคร.
แวนเลียร์ . (2525). “เกลือและการตั้งถิ่นฐานในภาคอีสาน” แปลจาก “Salt and settlement in Northeast
Thailand” แปลโดย สุ ดารา สุ จฉายา. เมืองโบราณ 8, 2 (เมษายน -กรกฎาคม): 112-118.
“วัฒนธรรมปลาแดกล่ม อวสานแห่ งชีวิตลุ่มน้ าสงคราม.” ศิลปวัฒนธรรม 18, 3 (มกราคม): 112 –
116.
สัญญา ศรายุทธ. (2516). เศรษฐกิจการทานาเกลือ ในปี พ.ศ.2515-2516. กรุ งเทพฯ : กองนโยบาย
กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ .
สุ จิตต์ วงษ์เทศ. (2549). “ปลาแดก – ปลาร้า: ทาปลาให้เน่าแล้วอร่ อย”. พลังลาวชาวอีสานมาจาก
ไหน. กรุ งเทพฯ: มติชน.
สานักงานสิ่ งแวดล้อมภาคที่ 9. (2548). รายงานการติดตามปัญหาและแก้ไขปัญหาผลกระทบ
สิ่ งแวดล้อมจากการประกอบกิจการเกลือสิ นเธาว์ . อุดรธานี: สานักปลัดกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม.
250

สานักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ. (2503). แผนพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2504-


2509. กรุ งเทพฯ: สภาพัฒนา เศรษฐกิจแห่งชาติ.
สานักงานคณะกรรมการสุ ขภาพแห่งชาติ และมูลนิธิสาธารณสุ ขแห่งชาติ. (2553). สรุ ปเหตุการณ์
อบัติภัยสารเคมีรั่วไหลของบริษัทอดิตยา เบอร์ ร่าฯ ข้ อมูลการลงพืน้ ทีต่ รวจสอบเมื่อ 9
มิถุนายน 2553. นนทบุรี: สานักงานคณะกรรมการสุ ขภาพแห่งชาติ.
อภิศกั ดิ์ โสมอินทร์ . (2526). ภูมิศาสตร์ อสี าน. มหาสารคาม: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.
อคิน รพีพฒั น์, หม่อมราชวงศ์. (2551). วัฒนธรรมคือความหมาย : ทฤษฎีและวิธีการของคริฟ
ฟอร์ ด เกียร์ ซ. กรุ งเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิ รินธร (องค์การมหาชน).
อนุชาติ พวงสาลี. (2553). “ระบบนิเวศ : สรรพชีวิตสัมพันธ์” ธรรมชาติของสรรพสิ่ ง : การเข้ าถึง
ความจริงทั้งหหมด. ประเวศ วะสี บรรณาธิการ. กรุ งเทพฯ: กรี นปัญญาญาณ.
อานันท์ กาญจนพันธ์, บรรณาธิการ. (2543). พลวัตของชุ มชนในการจัดการทรัพยากร กระบวนทัศน์
และนโยบาย. กรุ งเทพฯ: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั .

เอกสารบทความภาษาไทย

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรมพัฒนาที่ดิน. กลุ่มปรับปรุ งดินเค็ม กรมพัฒนาที่ดิน. (2540). “เอกสาร


คู่มือเจ้าหน้าที่ของรัฐ เรื่ อง ดินเค็ม.” เอกสารเผยแพร่ .
กรมพัฒนาและส่ งเสริ มพลังงาน. (2539). “เอกสารประกอบงานสัมมนา เรื่ อง งานศึกษาและจัดทา
แผนป้ องกันแก้ไขผลกระทบสิ่ งแวดล้อมจากการเก็บกักน้ าในตัวลาน้ า โครงการน้ า
สงคราม.โรงแรมปริ นซ์พาเลช กรุ งเทพมหานคร 9 กันยายน 2539.”
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ . (2547). “เอกสารพระราชบัญญัติแร่ (ฉบับที่5)
พ.ศ.2545 และประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ตามมาตรา88/6 88/9 88/10 และ88/11.”
กรุ งเทพฯ: กระทรวงอุตสาหกรรม.
กรมส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อม. (2547). เอกสารประกอบการสัมมนาเสนอแผนการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมโดยชุมชนลุ่มน้ าสงครามตอนล่าง “มหกรรมวิถี
ชีวติ ชุมชนลุ่มน้ าสงครามตอนล่าง” 24 เมษายน 2547 ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัย
ราชภัฎสกลนคร. กรุ งเทพ: กรมส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อม.
251

กลุ่มภูมินิเวศภาคอีสาน. “เอกสารรวบรวมเกี่ยวกับลาน้ าเสี ยว เกลือและดินเค็ม.” โดยกลุ่มศึกษา


ปัญหาดินเค็มภาคอีสาน, ม.ป.ท., ม.ป.ป.
กลุ่มนิเวศวัฒนธรรมศึกษา. (2548.) เอกสารประกอบการบรรยายสรุ ปบริ ษทั เหมืองแร่ โพแทช
อาเซี ยน จากัด(มหาชน) การศึกษาดูงาน ของคณะกรรมการการศึกษาผลกระทบและ
ประชาสัมพันธ์ โครงการเหมืองแร่ โพแทชอุดรธานี , 27 กรกฏาคม.
กลุ่มนิเวศวัฒนธรรมศึกษา(2646). เอกสารประกอบการสัมมนา “โครงการเหมืองแร่ โพแทช จังหวัด
อุดรธานี : ปั ญหาและแนวทางแก้ไข”,2546.
กลุ่มนิเวศวัฒนธรรมศึกษา. (2549). “จากอุตสาหกรรมเกลือ สู่ เหมืองแร่ โปแตชใต้ดินอีสาน.”
เอกสารประกอบการประชุมให้มูลสภาที่ปรึ กษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ
สานักงานสภาที่ปรึ กษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรุ งเทพ, 29 มิถุนายน 2549.
แก้ว กังสดารอาไพ. (2534). “เมื่อเกลือไม่ใช่เป็ นเพียงแค่เกลือ” หมอชาวบ้ าน 132, 151
(พฤศจิกายน)
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. กองวิจยั การเกษตร. “การผลิตและ
การตลาดเกลือของประเทศไทย.” เอกสารเศรษฐกิจการเกษตร เลขที่88/2538, 2538.
คมกริ ช เวชสัสถ์. (2545). “การศึกษาศักยภาพทางกลศาสตร์ของชั้นเกลือหินสาหรับการทิ้งกาก
นิวเคลียร์ในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือของประเทศไทย.” วิทยานิพนธ์วทิ ยาศาสตร์
มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีธรณี สานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีสุรนารี .
คมกริ ช เวชสัสถ์. (2545). “การศึกษาศักยภาพเชิงกลศาสตร์ของโพรงใต้ดินในชั้นเกลือหินสาหรับ
การทิ้งกากนิวเคลียร์ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย.” เอกสาร
ประกอบการ ประชุมเสนอผลงานวิจยั ระดับบัณฑิตศึกษาของประเทศไทย ครั้งที่ 3 วันที่
18 – 19 กรกฎาคม 2545. โปรแกรมวิชาวิศวกรรมธรณี สาขาวิชาเทคโนโลยีธรณี สานัก
วิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี .
โครงการฟื้ นฟูชีวติ และธรรมชาติ. (2539). “ของดีศรี สงคราม.” เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่ อง
ของดีศรี สงคราม สถาบันราชภัฏสกลนคร 23 มิถุนายน 2539
_________. (2539). “การสัมมนาเรื่ อง โครงการพัฒนากับผลกระทบสิ่ งแวดล้อมจากการเก็บกักน้ า
ใน ตัวลาน้ าโครงการน้ าสงคราม.” จัดโดย กรมพัฒนาและส่ งเสริ มพลังงาน เสนองาน
ศึกษาโดยมหาวิทยาลัยขอนแก่น ณ โรงแรมปริ นซ์พาเลช กรุ งเทพมหานคร 9 กันยายน
2539.
252

_________. (2540). “การสัมมนาเรื่ อง โครงการพัฒนากับผลกระทบสิ่ งแวดล้อม: กรณี โครงการน้ า


สงคราม.” จัดโดย ศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ, โครงการทางเลือก
เพื่อการพัฒนา สถาบันวิจยั สังคม จุฬาฯ, โครงการฟื้ นฟูชีวติ และธรรมชาติ, มูลนิธิสืบนา
คะเสถียร, โครง การจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน ภาคอีสาน, กป.อพช. ภาค
อีสาน. ณ ห้อง ประชุมสารนิเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 25 ธันวาคม 2540.
_________. (2541). “เอกสารการสัมมนาวิชาการ เรื่ อง วิถีชาวประมง การอนุรักษ์และจัดการในลุ่ม
น้ าโขงตอนล่าง.” โรงแรมสกลแกรนด์ พาเลช จังหวัดสกลนคร 23 พฤศจิกายน
เครื อข่ายประชาชนอนุ รักษ์ลุ่มน้ าเสี ยวใหญ่ตอนบน อาเภอบรบือและอาเภอวาปี ปทุม จังหวัด
มหาสารคาม.(ม.ป.ป.) “เอกสารเผยแพร่ เครื อข่ายเครื อข่ายประชาชนอนุรักษ์ลุ่มน้ าเสี ยว
ใหญ่ตอนบน”
จรัญญา วงษ์พรหม. “นโยบายสาธารณะ: ทางออกของการจัดการเกลืออีสานจริ งหรื อ???.”
บทความส่ วนหนึ่งของการวิจยั เรื่ อง การพัฒนากระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อ
การจัดการเกลืออีสาน ได้รับการสนับสนุนจากแผนงานพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อ
คุณภาพชีวติ ที่ดี สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริ มสุ ขภาพ และมูลนิธิ
สาธารณสุ ขแห่งชาติ (มสช.) 2550.
ชวลิต วิทยานนท์ และคนอื่น ๆ (ม.ป.ป.) “ความหลากชนิด, สถานภาพของพรรณปลาในลุ่มแม่น้ า
สงครามตอนล่างและความสาคัญ ต่อเศรษฐกิจสังคมพื้นบ้าน.” สถาบันพิพิธภัณฑ์สัตว์
น้ า, สานักงานประมงจังหวัดนครพนม, กรมประมง, โครงการฟื้ นฟูชีวติ และธรรมชาติ.
ชัยวิทย์ อุณหศิริกุล. (2549). “เกลือสิ นเธาว์ (ตอน 2).” จุลสาร กพร. กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและ
การเหมืองแร่ . 4, 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2549): 2.
ณรงค์ ถิรมงคล. (2521). “ข้อคิดเห็นการกาเนิดเกลือโพแทชในภาคอีสาน.” วารสารข่ าวสารการ
ธรณี. 23, 7 (กรกฎาคม ): 25-39.
ธวัช จาปะเกษตร์ . (2528). การสารวจแร่ เกลือหินและโพแทชภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. เอกสาร
ประกอบการประชุม ธรณี วทิ ยาและการพัฒนาทรัพยากรธรณี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ณ ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 135 – 148.
ธีรดา นามให และเลิศศักดิ์ คาคงศักดิ์. (2545). “ทบทวนโครงการโขงชีมูลผลกระทบและความไม่
คุม้ ค่าที่เกิดขึ้น.” เอกสารประกอบการประชุมเครื อข่ายผูไ้ ด้รับผลกระทบจากโครงการ
โขงชีมูล, อาศรมไทบ้านดอนแดง อาเภอกันทรวิชยั จังหวัดมหาสารคาม.
253

บุญชัย เจียมจิตจรุ ง. (2535). “ระวังเกลือท่วมประเทศ ผันนาเกลือเป็ นเหมืองโปแตช.” ฐานเศรษฐกิจ


(24 กุมภาพันธ์ -1 มีนาคม): 3.
บาเพ็ญ ไชยรักษ์. (2552). “ความทรงจาของห้วงทะเล 100 ล้านปี : ขุมทรัพย์ ทุขลาภ ความขัดแย้ง
บนแอ่งเกลืออีสาน.” เนชั่นนอลจีโอกราฟฟิ ก. 9,100 (พฤษจิกายน): 129 - 141.
ประเสริ ฐ วิทยารัฐ. 2538 “ เกลืออีสาน.” วารสารสุ โขทัยธรรมมาธิราช 8, 3 (กันยายน-ธันวาคม): 36 - 50.
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม. (2522). วันที่ 6 กุมภาพันธ์ เรื่ อง “กาหนดพื้นที่ให้เป็ นเขตสาหรับ
ดาเนินการสารวจ การทดลอง การศึกษา หรื อการวิจยั เกี่ยวกับแร่ .”
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม. (2523). วันที่ 11 มิถุนายน เรื่ อง “การยืน่ ขอสิ ทธิสารวจและผลิตแร่
โพแทชในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.”
ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข. (2537). ฉบับที่ 153 พ.ศ. 2537 เรื่ อง “เกลือบริ โภค.”
ประมวล เจนคุณาวัฒน์. (2548). “สรุ ปย่อรายงานการสารวจ โพรงเกลือและหลุมยุบ ระหว่างปี 2546 –
2548 จากรายงาน การเจาะสรวจโพรงเกลือและหลุมยุบ บ้านโนนแสบงและบ้านหนองกวัง่
ตาบลหนองกวัง่ อาเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร ปี พ.ศ. 2546.” กลุ่มตรวจสอบและ
ประเมินผลแหล่งแร่ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ . เอกสารเผยแพร่ .
__________. (2548). “ผลการเจาะตรวจสอบโอกาสขยายตัวของหลุมยุบเข้าในหมู่บา้ นโนนแสบง
ตาบลหนองกวัง่ อาเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร ปี พ.ศ. 2547.” กลุ่มตรวจสอบประเมินผล
แหล่งแร่ , กันยายน 2548.
ปิ่ นแก้ว เหลืองอร่ ามศรี และสุ ธาริ น คูณผล. (2543)."คิดเชิงสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา: วิวาทะว่าด้วย
เรื่ องทรัพยากรส่ วนรวม.” ในสถานภาพไทยศึกษา: การสารวจเชิงวิพากษ์. ฉัตรทิพย์ นาถ
สุ ภา บรรณาธิการ. กรุ งเทพฯ: สานักงานสนับสนุนการวิจยั .
พรรณนีย ์ วิชชาชู. (2545). “นาเกลือ” น.ส.พ. กสิ กร 75, 2 (มีนาคม – เมษายน): 58-71.
พจน์ เกื้อกูล. (2518). “บ่อพันขัน” เมืองโบราณ 2, 1 (ตุลาคม-ธันวาคม): 73-78.
พงษ์เทพ จารุ อาพรรณ. (2543). “สภาพปัญหาและมาตรการแก้ไขการทาเกลือในภาคตะวันออกเฉียง
เหนือ.” รัฐสภาสาร 39, 2 (กุมภาพันธ์ ): 72-85.
“พลิกปูมศึก 3 เส้า แอ่งเกลือ บ้านม่วง-วานรนิวาส สกลนคร” (2538). มติชน (17 มกราคม): 6.
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ . (2547). “ยุทธศาสตร์ อุตสาหกรรมเหมืองแร่ และ
อุตสาหกรรมต่อเนื่ อง.” กันยายน.
254

รุ่ งเรื อง เลิศศิริวรกุล. (2548.) "การจัดการผลกระทบที่เกิดจากการผลิตเกลือสิ นเธาว์." เอกสารเสนอใน


การประชุมเวทีสิ่งแวดล้อม เรื่ อง มิติใหม่ของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อมในภาคอีสาน, สถาบันวิจยั สังคมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. โรงแรมเจริ ญโฮเต็ล
จังหวัดอุดรธานี , วันที่ 4 สิ งหาคม 2548.
เลิศศักดิ์ คาคงศักดิ์ และพรพนา ก๊วยเจริ ญ. (2541). “วิถีประมงลุ่มน้ าสงคราม.” เอกสารประกอบการ
สัมมนาเรื่ อง วิถีประมง การอนุรักษ์และจัดการในลุ่มน้ าโขงตอนล่าง จังหวัดสกลนคร วันที่
23 พฤศจิกายน, 2541.
วลัยลักษณ์ ทรงศิริ. (2539). “แหล่งผลิตเกลือสมัยโบราณลุ่มน้ าสงคราม.” เมืองโบราณ 22, 4 (ตุลาคม-
ธันวาคม): 39 - 52.
วีระ สุ ดสังข์. (2535). “โดยคาถามถึงโขงชีมูล ผันน้ ามาละลายภูเขาเกลือ.” อาทิตย์ข่าวพิเศษ 17, 864 (31
ธันวาคม – 6 มกราคม): 15.
แวนเลียร์ (VanLiere, W). (2525). “เกลือและการตั้งถิ่นฐานในภาคอีสาน” แปลจาก “Salt and Settlement
in Northeast Thailand,” แปลโดย สุ ดารา สุ จฉายา. เมืองโบราณ 8, 2( เมษายน –กรกฎาคม):
112-116.
“วัฒนธรรมปลาแดกล่ม อวสานแห่งชีวิตลุ่มน้ าสงคราม” (2540.) ศิลปวัฒนธรรม 18 , 3 (มกราคม):
84-101.
สานักงานสามัญศึกษาจังหวัดสกลนคร. (2542). “ฮักถิ่นบ้านเฮา” เอกสารเผยแพร่ .
ศันสนีย ์ ชูแวว. (2541). “ความสาคัญของทรัพยากรประมงต่อเศรษฐกิจสังคมพื้นบ้านในลุ่มแม่น้ า
สงคราม.” เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการเรื่ อง วิถีชาวประมง การอนุรักษ์และ
จัดการในลุ่มน้ าโขงตอนล่าง จังหวัดสกลนคร วันที่ 23 พฤศจิกายน 2541
ศรี ศกั ร วัลลิโภดม. (2539) “ จากภูพานถึงไชยบุรี ภาพรวมประวัติศาสตร์และโบราณคดี” เมืองโบราณ 22,
4 (ตุลาคม-ธันวาคม): 11-38.
สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2548). “รายงานการติดตามประเมินผลการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมของประเทศ: 3ปี ของแผนพัฒนาฯฉบับที่ 9.” เอกสารประกอบการประชุมประจาปี
2548 ของ สศช. ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ : 5 ปี ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 วัน
ศุกร์ที่ 24 มิถุนายน 2548. ณ ศูนย์ แสดงสิ นค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี
จังหวัดนนทบุรี.
สมชัย วงศ์สวัสดิ์และสมเจตต์ จุลวงษ์. (2532). “ เอกสารดินเค็มกับผลกระทบทางสิ่ งแวดล้อม อุทก
วิทยาภาคอีสานดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” เอกสารเผยแพร่ . กรมพัฒนาที่ดิน.
255

สันติภาพ ศิริวฒั นไพบูลย์. (2549). “การพัฒนากระบวนการนโยบายสาธารณะ กรณี แหล่งเกลือ


โบราณรอบหนองหานกุมภวาปี .” บทความส่ วนหนึ่งของการวิจยั เรื่ อง การพัฒนา
กระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อการจัดการเกลืออีสาน ได้รับการสนับสนุนจาก
แผนงานพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อคุณภาพชีวติ ที่ดี สานักงานกองทุนสนับสนุน
การสร้างเสริ มสุ ขภาพ และมูลนิธิสาธารณสุ ขแห่งชาติ (มสช.)
สุ จิตต์ วงษ์เทศ. (2549). "กินข้าวกับเกลือ" อาหารเก่าแก่ที่สุดราว 2,500 ปี มาแล้ว.” มติชนสุ ดสั ปดาห์
26, 1340. (เมษายน): 20 – 21.
สุ ชาติ สุ ขสะอาด. (2544). “เรื่ องแนวทางการจัดการอุตสาหกรรมเกลือสิ นเธาว์แบบยัง่ ยืน กรณี ศึกษา
อาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี .”
ไสว สุ นทโรทก. (2521). “โปแตชอยูห่ นใด” ข่ าวสารการธรณี 22, 11 (พฤศจิกายน): 37-43.
อัษฎา วนาทรัพย์ดารง. (2529). “ขุมทองคาขาวเกลือบรบือ” เดลินิวส์ (21 มิถุนายน): 8.
รัฐสภา. (2533). เอกสารประกอบเพื่อการอภิปรายเรื่ อง “ความเป็ นไปได้ในการแก้ไขปั ญหาการทานาฃ
เกลือและแนวทาง.” ณ อาคาร 3 ตึกรัฐสภา, 22 มิถุนายน.
เอกสารประกอบ “การประชุ มเชิงปฏิบตั ิการยกร่ างแผนการจัดการทรัพยากรโดยชุมชนลุ่มน้ า
สงครามตอนล่าง.” กุมภาพันธ์ 2546.
เอกชัย คะษาวงศ์. (2541). “วัฒนธรรมปลาแดกในชุมชนลุ่มแม่น้ าสงครามตอนล่าง ศึกษากรณี
หมู่บา้ นศรี เวินชัย ต.สามผง อ.ศรี สงคราม จ.นครพนม.” วัฒนธรรมปลาแดก. ศรี ศกั ร
วัลลิโภดม บรรณาธิการ. เอกสารการประชุมทางวิชาการ 3-4 ธันวาคม 2541 สานักงาน
สนับสนุนกองทุนการวิจยั โครงการเมธีวิจยั อาวุโส สานักงานสามัญศึกษาจังหวัด
สกลนคร, 2541.

วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย

กรมพัฒนาและส่ งเสริ มพลังงาน (2538.) “รายงานหลัก การศึกษาทบทวนความเหมาะสม โครงการ


น้ าสงคราม, สรุ ปแผนการพัฒนาโครงการลุ่มน้ าสงคราม.” ดาเนินงานโดย บริ ษทั เอ
เชี่ยน เอ็นจิเนียริ่ งคอนซับแตนส์ จากัด, EPDC International Limited, บริ ษทั ปัญญา
คอนซับแตนท์ จากัด. มปท: กรุ งเทพฯ.
กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่ งแวดล้อม. กรมพัฒนาและส่ งเสริ มพลังงาน. (2542). “งาน
256

ศึกษาและจัดทา แผนป้ องกันแก้ไขผลกระทบสิ่ งแวดล้อมจากการเก็บกักน้ าในตัวลาน้ า


โครงการน้ าสงคราม.” เอกสารเผยแพร่ .
กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่ งแวดล้อม. กรมพัฒนาและส่ งเสริ มพลังงาน. (2542). “งาน
ศึกษาและจัดทาแผนป้ องกันแก้ไขผลกระทบสิ่ งแวดล้อมจากการเก็บกักน้ าในตัวลาน้ า
โครงการน้ าสงคราม.” (รายงานฉบับสมบูรณ์). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
กรมพัฒนาและส่ งเสริ มพลังงาน. (2538). “รายงานหลัก การศึกษาทบทวนความเหมาะสม โครงการน้ า
สงคราม.” ดาเนินงานโดย บริ ษทั เอเชี่ยน เอ็นจิเนียริ่ ง คอนซับแตนส์ จากัด, EPDC
International Limited, บริ ษทั ปัญญา คอนซับแตนท์ จากัด. กันยายน 2538.
_________. (2538). “สรุ ปแผนการพัฒนาโครงการลุ่มน้ าสงคราม.” ดาเนินงานโดย บริ ษทั เอเชี่ยน
เอ็นจิเนียริ่ งคอนซับแตนส์ จากัด, EPDC International Limited, บริ ษทั ปัญญา คอนซับ
แตนท์จากัด. กันยายน 2538.
กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ . (2546). “รายงานสถานการณ์การแพร่ กระจายความ
เค็มลงสู่ แหล่งน้ าธรรมชาติ จากการทาเกลือสิ นเธาว์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือปี พ.ศ.
2545.” เอกสารเผยแพร่ .
กิติ เฟื่ องขจร. (2542). “การศึกษาเกี่ยวกับการทิ้งของเสี ยในหินเกลือในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ของประเทศไทย โดยใช้วธิ ีการวิเคราะห์เชิงตัวเลข.” สาขาวิชาเทคโนโลยีธรณี สานัก
วิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี .
กาญจนา อุทยั เลี้ยง. (2546). “กระบวนการยอมรับเทคโนโลยีในการผลิตเกลือบ้านหนองกวัง่
อาเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร.” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษา
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
กุสุมา หงษ์ชูตา. (2544). “บ่อเกลือบ้านท่าสะอาดกับวิถีชีวิตของชาวลุ่มน้ าสงคราม กรณี ศึกษาบ้าน
ท่าสะอาด อ.เซกา จ.หนองคาย.” ปริ ญญานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาไทยคดีศึกษา กลุ่ม
มนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. คณะเทคโนโลยี. ภาควิชาธรณี วทิ ยา (2547). “โครงการศึกษาปัจจัยทาง
ธรณี วทิ ยาที่ทาให้เกิดดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2547.”
จรัญญา วงษ์พรหม และคณะ. (2550). “พัฒนาการเกลืออีสาน: รายงานการศึกษาภายใต้โครงการ
“การพัฒนากระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อการจัดการเกลืออีสาน.” เครื อข่าย
นักวิชาการนิเวศวัฒนธรรมอีสาน สถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
257

จินดา จิรวุฒินนั ท์. (2528). “รายงานการสารวจเศรษฐกิจการผลิต และตลาดเกลือใน


ภาตะวันออกเฉียงเหนือการวิเคราะห์โครงการเกลือหิ นและโซดาแอชในแนว
เศรษฐศาสตร์ .” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
ชัชวาลย์ น้อยคายาง. (2545) “ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมจากการผลิตเกลือแบบต้มที่บา้ นกุดเรื อคากับ
แบบ ตาก กรณี ศึกษาบ้านจาปาดง ตาบลกุดเรื อคา อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร.”
ปริ ญญานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ณรงค์ กุลจันทร์ และคณะ. (2548). “รายงานวิจยั ท้องถิ่นโครงการการศึกษาสภาพการเปลี่ยนแปลง
ของระบบนิ เวศน์ลาน้ าเสี ยวใหญ่ตอนบนและผลกระทบต่อวิถีชีวติ ชุมชนสองฝั่งลาน้ า
อาเภอบรบือ อาเภอวาปี ปทุม จังหวัดมหาสารคาม.” สานักงานกองทุนสนับสนุนการ
วิจยั สานักงานภาคอีสาน.
บริ ษทั ทีมคอนซัลติ้ง เอนจิเนี ยร์ จากัด . (2542). “รายงานสรุ ปการประเมินผลกระทบทาง
สิ่ งแวดล้อมโครงการเหมืองแร่ โพแทช.” บริ ษทั เอเชียแปซิฟิกโพแทช คอร์เปอร์ เรชัน่
จากัด.
บริ ษทั ีมคอนซัลติ้ง เอนจิเนียร์ จากัด. (2540). โครงการเหมืองแร่ โพแทชอาเซียนจากัด อ.บาเหน็จ
ณรงค์ จ.ชัยภูมิ : รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม (รายงานสรุ ป).
บริ ษทั พรี ดีเวลลอปเมนท์ คอนซัลแตนท์ จากัด และสถาบันวิจยั สังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
(2548). “รายงานผลการศึกษาโครงการศึกษาผลกระทบสิ่ งแวดล้อมการทาเกลือจาก
น้ าเกลือใต้ดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กรณี ศึกษาบ้านดุงน้อย – บ้านศรี สุทโธ
ต.บ้านดุง, บ้านทุ่ง ต.บ้านชัย, บ้านโพนสู งและบ้านฝาง ต.โพนสู ง อ.บ้านดุง
จ.อุดรธานี.”
ประสิ ทธิ์ คุณุรัตน์ และเศกสรรค์ ยงวณิ ชย์. (2545). “การศึกษาสภาพและผลกระทบทางเศรษฐกิจ
สังคมของชุมชนที่จดั การทรัพยากรเกลือ ดินเค็มน้ าเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบน.” รายงานการวิจยั ชุดโครงการ การจัดการทรัยพากร เกลือ ดินเค็มและน้ าเค็ม
แบบยัง่ ยืนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พรพนา ก๊วยเจริ ญ. (2545). “ระบบสิ ทธิทรัพย์สินส่ วนรวม: พลวัตการจัดการทรัพยากรประมงน้ า
จืด ในกรณี ชุมชนลุ่มน้ าสงครามตอนล่าง.” ปริ ญานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขามานุษยวิทยา
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
258

พงษ์พนั ธ์ บุปเก. (2550). “การใช้กฎหมายในการกาหนดพื้นที่ การขออนุญาต การควบคุม การสู บ


น้ าเกลือใต้ดิน และการทาเกลือสิ นเธาว์จากน้ าเกลือใต้ดิน.” วิทยานิพนธ์นิตศาสตร์
มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
เพชร สุ พตั กุล. (2542). “ผลกระทบจากการผลิตเกลือสิ นเธาว์:กรณี ศึกษาตาบลบ้านดุง อาเภอบ้าน
ดุง จังหวัดอุดรธานี .” ปริ ญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยคดีศึกษา (เน้น
สังคมศาสตร์ ) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เพียงตา สัตรักษ์ และคณะ. (2547). “รายงานการวิจยั เรื่ อง การประยุกต์สารวจธรณี ฟิสิ กส์เพื่อศึกษา
ธรณี วทิ ยาใต้ผวิ ดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.” ขอนแก่น : ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี
คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ภาคภูมิ วิธานติรวัฒน์ และคณะ. (2540). “รายงานการวิจยั เรื่ อง การศึกษาผลผลิตเชิงเศรษฐกิจ
สังคมและระบบนิเวศน์ป่าชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ศึกษาเฉพาะกรณี ป่าทามทุ่ง
พันขันบ้านดงสาร ต.โพนงาม อาเภออากาศอานวย จังหวัดสกลนคร.”
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2545). “โครงการศึกษาผลกระทบของการชะล้าง
เกลือตามธรรมชาติและการผลิตเกลือต่อคุณภาพน้ าในแม่น้ าสงคราม” มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น.
ดารงค์ ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม. (2545). “การจัดการธุรกิจผลิตเกลือสิ นเธาว์ในอาเภอกันทร
วิชยั .” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
รติสมัย พิมยั สถาน. (2546). “ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อปริ มาณการผลิตเกลือสิ นเธาว์กรณี ศึกษาบ้านม่วง
จังหวัดสกลนคร.” รายงานศึกษาอิสระปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัย ขอนแก่น.
รุ่ งเรื อง เลิศศิริวรกุล, และคณะ. (2546). “รายงานการวิจยั เรื่ อง การไหลของน้ าใต้ดินและการ
เคลื่อนย้ายของสารละลายเกลือในพื้นที่ทาเกลือ.” ภาควิชาเทคโนโลยีธรณี คณะ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เลิศศักดิ์ คาคงศักดิ์ และเบญจรัตน์ เมืองไทย. (2548). “การวิเคราะห์นโยบาย สาธารณะ กรณี ศึกษา
การจัดการเกลืออีสาน วิถีชีวิตชุมชนสู่ อุตสาหกรรม.” (รายงานฉบับสมบูรณ์) กรุ งเทพฯ
: สถาบันวิจยั สาธารณสุ ข (สวรส.).
วัฒนสาร ปานเพชร. (2536). “การเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมในช่วง ที่มีการทาเกลือ
แบบการค้า ปี 2514 ถึงปัจจุบนั ศึกษาหมู่บา้ นเกลือ อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.”
ปริ ญญานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
259

สพสันต์ เพชรคา. (2540). “ปากยาม : หมูบ่ า้ นประมงในลุ่มแม่น้ าสงครามกับการเปลี่ยนแปลง ทาง


เศรษฐกิจและสังคม” วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาชาไทยคดีศึกษา คณะมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมาหสารคาม.
สุ รัตน์ วรางรัตน์. (2540) “วัฒนธรรมการประกอบอาชีพประมงลาน้ าสงครามของกลุ่มไทโซ่บา้ น
ปากอูน ไทลาว บ้านปากยาม อาเภอศรี สงคราม จังหวัดนครพนม.” สานัก
ศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฎสกลนคร.
สุ ชาติ สุ ขสะอาด. (2544). “แนวทางจัดการอุตสาหกรรมเกลือสิ นเธาว์แบบยัง่ ยืน กรณี ศึกษา อาเภอ
บ้านดุง จังหวัดอุดรธานี .” ปริ ญญานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายและการ
จัดการทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริ ก.
สุ วทิ ย์ ธีรศาสวัตและคณะ. (2535). “การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในชุมชนลุ่มน้ าสงครามตั้งแต่ปี
พ.ศ. 2437 ถึง ปัจจุบนั .” กรุ งเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ.
สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. “รายงานการติดตามประเมินผลการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมของประเทศ: 3ปี ของแผนพัฒนาฯฉบับที่ 9.” เอกสารประกอบการประชุม
ประจาปี 2548 ของ สศช. ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ: 5 ปี ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่
10 วันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน 2548. ณ ศูนย์แสดงสิ นค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทอง
ธานี จังหวัดนนทบุรี.
ศรี ศกั ร วัลลิโภดม. (2538). “การศึกษาผลกระทบด้านโบราณคดี ศิลปะและวัฒนธรรม โครงการน้ า
สงคราม.” ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ศูนย์ศึกษาค้นคว้าและพัฒนาเกษตรกรรมภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ. (2536). “รายงานการผลิตเกลือ
สิ นเธาว์ในเขตจังหวัดอุดรธานี และสกลนคร.” เอกสารการวิจยั .
มหาวิทยาลัยศิลปากร. ภาควิชามนุษยวิทยา. (2539). “การศึกษาผลกระทบด้านโบราณคดี ศิลปะ
และวัฒนธรรม โครงการน้ าสงคราม.” กรมพัฒนาส่ งเสริ มพลังงาน
กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่ งแวดล้อม.
รติสมัย พิมยั สถาน. (2547). “ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อปริ มาณการผลิตเกลือสิ นเธาว์กรณี ศึกษาบ้านม่วง
จังหวัด สกลนคร.” รายงานศึกษาอิสระปริ ญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ขอนแก่น.
วนมพร พาหะนิชย์. (2538) “ผลกระทบจากการทาเกลือต่อภูมิทศั น์วฒั นธรรมบริ เวณลุ่มน้ าเสี ยว
ในเขตอาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต สาขา
ภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
260

อัมพวัน พักมณี . (2527) “ระบบการตลาดและราคาเกลือในประเทศไทย.” ปริ ญญานิพนธ์ปริ ญญา


มหาบัณฑิต คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
อานนท์ เศรษฐเกรี ยงไกรและคณะ. (2536). “รายงานการศึกษา ความเป็ นไปและความเหมาะสมใน
การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมเกลือสิ นเธาว์ อาเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี .” ศูนย์
เศรษฐกิจอุตสาหกรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กองเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวง
อุตสาหกรรม.

หนังสื อภาษาอังกฤษ

Nitta, Eiji. (1993). “Ancient industries,ecosystems and the environment with special reference to
the northeast of Thailand.” Symposium on Evironment and Culture with emphasis
on urban issues. The siam society under royal royal patroage. Bangkok.
Herring, Ann. Tobacco & Salt Miseum (English edition). (2010). Japan: Hikari Shashin Printing
Co,. Ltd,
Bohannan, Paul, and Glazer, Mark. (1988). High points in anthropology. New York: Alfred A.
Knopf.
Mchale, John. (1970). The Ecological Context. New York: George Braziler.
Sattayarak, Nares. (1985). Conference on Geology and Mineral Resources Development of the
northeast, Thailand. Khon Kaen University, Khon Kean, 26-27 November 1985.
De Plaen, Renaud, and Kilelu, Catherine. (2004). “From Multiple Voices to Common Langnuage
Ecosystem Approaches to Human Health as Emerging Paradigm.” Ecohealth 1,2
(November): 24-34.
Editorial, Guest. (2004). “Epanding the Practice of Ecosystem Health” Ecohealth 1,2 (November): 4-7

เวปไซต์

กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม. (2554). ธรณี วทิ ยาบริ เวณ ที่ราบสู ง


โคราช. เข้าถึงเมื่อ 25 มกราคม. เข้าถึงจา http://www.dmr.go.th/main.php?Filename
=korat_gro
261

กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม กรมทรัพยากรธรณี กระทรวง


ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม. (2549). เกลือสิ นเธาว์ . เข้าถึงเมื่อ
15 พฤษภาคม. เข้าถึงจาก http://www.onep.go.th/ Naturalresources/ soil/
salt/salt01d.htm.
มหาวิทยาลัยบูรพา, คณะมนุษย์ศาสตร์ . (2553). ทฤษฎีมนุษยวิทยาวัฒนธรรม. เข้าถึงเมื่อ10
ธันวาคม. เข้าถึงจาก http://www.huso.buu.ac.th/cai/sociology.html.
Kamonrot Mokharat. (2553). ทฤษฎีนิเวศวิทยาวัฒนธรรม. เข้าถึงเมื่อ 20 ธันวาคม. เข้าถึงจาก
http://www.gotoknow.org/
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และกัณฐิกา ศรี อุดม. (2549). พระเจ้ ากรุ งสยามกับเซอร์ จอห์ น เบาว์ริง. เข้าถึงเมื่อ
24 เมษายน. เข้าถึงจาก http://tffannouncement.blogspot.com/
ThaiLaws. (2554) พระราชบัญญัติสุขภาพแห่ งชาติ พ.ศ. 2550. เข้าถึงเมื่อ 30 ตุลาคม เข้าถึง
http://www.ThaiLaws.com/
ประมวล เจนคุณาวัฒน์.(2554) รายงานการสารวจโพรงเกลือและหลุมยุบ ระหว่างปี 2546-2548
กลุ่มตรวจสอบและประเมินผลแหล่งแร่ กรมอุตสาหกรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ .
เข้าถึงเมื่อ 20 ธันวาคม. เข้าถึงจาก http://www.dpim.go.th/ articles/ article?catid =123
&articleid=159
โสภณ ตะติโชติพนั ธุ์ และกุณตี เทศประสิ ทธิ์ . (2554). “รายงานเพื่อการยุติปัญหาสิ่ งแวดล้อมจาก
การผลิตเกลือสิ นเธาว์จงั หวัดสกลนคร” วารสารการส่ งเสริมสุ ขภาพและอานามัย
สิ่ งแวดล้อม 23 , 1 (มกราคม – มีนาคม ) เข้าถึงเมื่อ 15 ตุลาคม. เข้าถึงจาก
http://advisor.anamai. moph.go.th/231/23104.html.
sucheep.kar. (2553). ทฤษฎีนิเวศวิทยาวัฒนธรรม Cultutal ecology วันศุ กร์ ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ.
2552. เข้าถึงเมื่อ 15 ธันวาคม. เข้าถึงจาก http://sucheeppost.blogspot.com/cultutal-
ecology.html
อนงค์ ไพจิตรประภาภรณ์. (2554). แนวทางแก้ไขปัญหาดินเค็มโดยประชาชนมีส่วนร่ วม เสวนาร่ วมใจ
ไขปัญาดินเค็ม สานักงานบริหารและฟื้ นฟู กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่ 20
มิถุนายน 2548. เข้าถึงเมื่อ 25 มกราคม. เข้าถึงจาก www.dpim.go.th.
262

สั มภาษณ์

นายสมใจ นวลใจ(2554). [นามสมมุติ] เจ้าจ้ าประจาหมูบ่ า้ น. สัมภาษณ์, 5 กรกฎาคม.


วรวัฒน์ จัทร์ตระกูล (2554). [นามสมมุติ] ผูใ้ หญ่บา้ นบ้านโนนดอกไม้แดง. สัมภาษณ์, 5 ตุลาคม.
นางบัวงาม รวยลีลา(2554). [นามสมมุติ] สัมภาษณ์, 15 กรกฎาคม.
นางมูล คมคาย(2554). [นามสมมุติ] สัมภาษณ์, 15 กรกฎาคม.
นางขวัญเทพ สุ ขสบาย(2554). [นามสมมุติ], สัมภาษณ์, 15 กรกฎาคม.
นางปลาน้อย สี หวาน. (2554). [นามสมมุติ],อายุ 82 ปี สัมภาษณ์ 5 ตุลาคม.
นางวิเวก ต้นโพธิ์ ศรี (2554). [นามสมมุติ],อายุ 67 ปี สัมภาษณ์ วันที่ 5 ตุลาคม.
นายเรี ยน ลอยเรื อ(2554). [นามสมมุติ],อายุ 56 ปี สัมภาษณ์ 4 ตุลาคม.
นายปรัชญา คิดควร(2554). [นามสมมุติ], อายุ 42 ปี สัมภาษณ์ 6 ตุลาคม.
นายบรรจง ใจดี.(2554). [นามสมมุติ], อายุ 40 ปี สัมภาษณ์ 6 ตุลาคม.
นายคู่ดี ดินสมบูรณ์. (2554). [นามสมมุติ] ผูป้ ระกอบการเกลือ. สัมภาษณ์ 6 ตุลาคม.
นายทนง ศาสตรา.(2554). [นามสมมุติ] เจ้าของร้านค้าประจาหมู่บา้ น. สัมภาษณ์, 4 ตุลาคมฬ
นายเข้ม แก้วเขียว.(2554). [นามสมมุติ] ผูร้ ับซื้อเกลือรายหนึ่ง. สัมภาษณ์, 15 กรกฎาคม.
นางธาร พันพร. (2554). [นามสมมุติ] สัมภาษณ์, 15 กรกฎาคม.
นางศรี สวย มณี ชยั . (2554). [นามสมมุติ] สัมภาษณ์, 15 กรกฎาคม.
นางดอกบัว กาลังสุ ข. (2554). [นามสมมุติ] สัมภาษณ์, 15 กรกฎาคม.
นางละเอียด รองศรี . (2554). ผูป้ ระกอบอาชีพต้มเกลือที่บ่อหัวแฮด. สัมภาษณ์, 8 เมษายน.
สมทฤธิ์ เจริ ญชัย. (2554). ประธานกลุ่มผูผ้ ลิตเกลือสิ นเธาว์บา้ นท่าสะอาด. สัมภาษณ์, 8 เมษายน.
นายสงัด จันทรพัด. (2549). สมาชิกเครื อข่ายประชาชนลุ่มน้ าเสี ยง. สัมภาษณ์, 10 เมษายน.
นายคาพาย ธุรทา. (2549). สมาชิกเครื อข่ายประชาชนลุ่มน้ าเสี ยง. สัมภาษณ์, 10 เมษายน.
นายโชคปัญญา ธงอาษา. (2554). กานันตาบลดงเหนือ. สัมภาษณ์, 21 ตุลาคม.
นายเทพนม จันทร์ แก้ว. (2554). นายกองค์การบริ หารส่ วนตาบลดงเหนือ. สัมภาษณ์, 21 ตุลาคม.
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
265

แหล่ งโบราณคดีเกลือในลุ่มน้าสงคราม

จากการสารวจของนักโบราณคดีของ วิไลลักณ์ ทรงศิริ (2538: 3 – 9) บริ เวณระหว่าง พื้นที่


ในเขตที่ลาน้ ายามและลาน้ าอูนซึ่ งเป็ นลาน้ าสาขาของแม่น้ าสงคราม ในเขตรอยต่อระหว่างอาเภอนาหว้า
จังหวัดนครพนมและอาเภออากาศอานวย จังหวัดสกลนคร พบแหล่งโบราณคดี ที่มีลกั ษณะเป็ น “โพน”
หรื อเนินดินขนาดใหญ่ 9 แห่ง ได้แก่
1. โพนเกลือวัดโพนสวรรค์ บ้านเม่นใหญ่ ตาบลอากาศ อาเภออากาศอานวย จังหวัดสกลนคร
วัดโพนสวรรค์เป็ นวัดร้างตั้งอยู่บนเนิ นดิ นสู งประมาณ 7-10 เมตร เพิ่งร้างไปเมื่อราว 10 กว่าปี ที่ ผ่านมา
ชาวบ้านเม่นใหญ่ เรี ยกดินนี้ ว่า โพนสู ง ส่ วนชาวบ้านท่าเรื อเรี ยกว่า โพนขาว สภาพโดยรอบเนิ นล้อมด้วย
อ่างเก็บน้ าขนาดใหญ่ จนดูเหมือนเป็ นเกาะกลางน้ า มีเส้นทางติ ดต่อกับบ้านเม่นใหญ่โดยใช้ถนนลูกรังที่
เป็ นฝายน้ าล้นด้วย ในช่วงหน้าแล้งโดยรอบเนิ นจะปรากฏคราบเกลือสี ขาวตามผิวดินทัว่ ไป และมีเนิ นดิน
เตี้ ย ๆ และบ่อน้ าเค็มใกล้ ๆ เนิ นแห่ งหนึ่ ง ชาวบ้านเม่นใหญ่ 3-4 รายจะมาทาเกลื อใช้ในครั วเรื อนเป็ น
ประจาทุกปี บางส่ วนของเนิ นพบเศษภาชนะดินเผาทับถมจานวนมหาศาลตลอดทัว่ ผิวดินและรอยตัดผนัง
ดิ น และรอยกัด เซาะของหนองน้ า รอบ ๆ เนิ นทาให้เ ห็ นร่ องรอยของเนิ นดิ นเผาไฟและคราบเกลื อใน
บางส่ วน โบราณวัตถุที่สารวจพบ คือ เศษภาชนะดินเผาเนื้ อดิน พบกระจายตลอดทัว่ ทั้งเนิ นและมีปริ มาณ
มหาศาล ทาขึ้นอย่างหยาบ ๆ ส่ วนใหญ่ประดับด้วยลายเชื อกทาบ, เศษภาชนะดินเผาเนื้ อแกร่ ง แบบเตาลุ่ม
น้ าสงคราม จานวนเล็กน้อย, ชิ้นส่ วนหิ นดุ, เศษกระดูกสัตว์
2. โพนเกลือสานักสงฆ์ โพนช้ างขาวสั นติธรรม บ้านท่าเรื อ ตาบลท่าเรื อ อาเภอนาหว้า จังหวัด
นครพนม ตั้งอยู่บนเนิ นดินแห่ งนี้ อยู่ห่างจากวัดโพนสวรรค์มาทางทิศตะวันออกเฉี ยง เหนื อประมาณ 1-2
กิโลเมตร ลักษณะของแหล่งโบราณคดี เป็ นเนิ นดินขนาดใหญ่ สู ง 8 – 9 เมตร ตอนบนของเนิ นเป็ นที่ราบ
รู ป ทรงของเนิ น มี รู ปร่ า งไม่ ส ม่ า เสมอ โดยรอบเป็ นทุ่ งนากว้า ง และมี หนองน้ า ขนาดใหญ่ อยู่ท างทิ ศ
ตะวันออก ชาวบ้านท่าเรื อเรี ยกเนินนี้วา่ เนินสูง ส่ วนชาวบ้านเม่นใหญ่เรี ยกว่า โพนขาว สลับกับเนิ นดินวัด
โพนสวรรค์ เนิ นดิ นที่ พบมีการตัดผนังชั้นดินเพื่อทาถนนขึ้นไปสู่ สานักสงฆ์ พบว่ามีการทับถมของเศษ
ภาชนะดินเผาเนื้อดินหนาแน่น และพบเศษภาชนะดินเผาโดยรอบทั้งเนิ น โบราณวัตถุที่สารวจพบ คือเศษ
ภาชนะดินเผาเนื้ อดิน พบกระจายทัว่ ไปตลอดทั้งเนิ น พบทั้งลายเชื อกทาบและลายกดประทับด้วยนิ้วมือ,
ชิ้นส่ วนภาชนะดินเผามีลกั ษณะคล้ายเบ้าทรงสูง สูง 12 เซนติเมตร ขนาดปากกว้าง 10 เซนติเมตร มีคราบสี
ดาและสี เทาปรากฏอยู,่ ชิ้นส่ วนหิ นดุ, เศษกระดูกสัตว์
3.โพนส้ มโฮง บ้านท่ า เรื อ ตาบลท่ าเรื อ อาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม เป็ นเนิ นดิ นร้ า ง สู ง
ประมาณ 5 – 6 เมตร ตั้งอยู่ห่างจากวัดโพนสวรรค์มาทางตะวันออกเฉี ยงเหนื อประมาณ 300 เมตร ตัวเนิ น
ปกคลุมด้วยไม้มีหนามและพืชทนเค็มพวกหนามพุงคอและหนามแดง มีร่อยรอยการทาเกลือในบริ เวณติด
กับหนองน้ าทางทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ของเนิ น โบราณวัตถุที่พบคือ เศษภาชนะดินเผา ซึ่ งมีการทับถมอย่าง
266

หนาแน่ นตั้งแต่ตอนบนจนถึงตอนล่างของเนิ นโดยสังเกตได้จากแนวตัดผนังด้านตะวันตกของเนิ น เศษ


ภาชนะที่ พบส่ วนใหญ่มีขนาดใหญ่ตกแต่งด้วยลายเชื อกทาบ นอกจากนี้ ยงั พบชั้นดิ นที่ มีร่องรอยของการ
เผาไหม้อีกด้วย
4. โพนแต้ บ้านท่าเรื อ ตาบลท่าเรื อ อาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม สู งประมาณ 4-5 เมตร ตัว
เนิ นปกคลุมไปด้วยเศษไม้และใบไม้ พื้ นที่ โดยรอบเป็ นนากว้าง จากการสารวจบริ เวณรอบ ๆ เนิ นพบ
โบราณวัตถุปริ มาณน้อยมาก เป็ นเศษภาชนะดินเผาลายเชือกทาบ, ชิ้นส่ วนหิ นดุ
5. โพนกอก บ้านท่าเรื อ อาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม เป็ นเนิ นดินที่เล็กที่สุด สู งประมาณ 2-
3 เมตรพื้นที่โดยรอบเป็ นทุ่งนา ส่ วนหนึ่ งของเนิ นถูกเจ้าของที่ นาขุดไปเพื่อใช้ในการถมที่ ทาให้พบเศษ
ภาชนะดินเผากระจายอยูท่ วั่ ไปในบริ เวณนั้น โบราณวัตถุที่พบเป็ นเศษภาชนะดินเผาลายเชือกทาบ
6. โพนตุ่น บ้านบะหว้า ต าบลท่ า เรื อ อาเภอนาหว้า จังหวัด นครพนม ตั้งอยู่ห่า งจากหมู่
บ้านบะหว้ามาทางทิศตะวันตก ประมาณ 500 เมตรมีลกั ษณะเป็ นเนิ นดินร้างสู งประมาณ 6 – 7 เมตร พื้นที่
โดยรอบเป็ นทุ่งนากว้าง มีสระน้ าขนาดเล็กอยูท่ างด้านข้างของตัวเนิ น จานวน 2 สระ ตัวเนิ นถูกปกคลุมไป
ด้วยเศษไม้และใบไม้ และไม่ถูกรบกวนจึ งทาให้พบเศษภาชนะดิ นเผาปริ มาณน้อยมาก โบราณวัตถุที่พบ
คือเศษภาชนะดินเผาเนื้อดินลายเชือกทาบจานวนเล็กน้อย
7. โพนจุลณี บ้านบะหว้า ตาบลท่ าเรื อ อาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม โพนจุ ลณี หรื อที่
ชาวบ้านเม่ นใหญ่ เรี ยกว่า โพนน้ า ดับ ตั้งอยู่ใกล้กับโพนตุ่ น มี ลกั ษณะคล้า ยกันคื อ เป็ นเนิ นดิ นร้ า ง สู ง
ประมาณ 5 – 6 เมตรปกคลุมด้วยเศษไม้และใบไม้อย่างหนาแน่น โบรารณวัตถุที่พบคือ เศษภาชนะดินเผา
เนื้อแกร่ ง แบบเตาลุ่มน้ าสงคราม จานวน 1 ชิ้น
8. วัดโพธิ์เครื อ บ้านเสี ยว ตาบลบ้านเสี ยว อาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม วัดโพธิ์ เครื อตั้งอยู่
บนเนินดินขนาดใหญ่ ห่างจากบ้านเสี ยวมาทางใต้ ประมาณ 400 เมตร ชาวบ้านเสี ยวเรี ยกเนิ นดินนี้ ว่าโพน
ตูม วัดโพธิ์ เครื อนี้ สร้ างมาราว 50 ปี แล้ว ลักษณะของเนิ นดิ นมีการทับถมของเศษภาชนะดิ นเผาอย่าง
หนาแน่ นตลอดทั้ง เนิ น เนิ น นี้ มี การปรั บ ระดับ ของเนิ น ดิ น และสร้ า งสิ่ งก่ อ สร้ า งต่ า ง ๆ จ านวนมาก
โบราณวัตถุที่พบคือเศษภาชนะดินเผาเนื้ อดิน ขนาดเล็ก พบทั้งลายเชื อกทาบ และแบบเรี ยบไม่มีลาย, เศษ
ภาชนะดินเผาเนื้อแกร่ ง แบบเตาลุ่มน้ าสงคราม 1 ชิ้น, เศษกระดูกสัตว์
9. สานักสงฆ์ ร้างโพนหัวแข้ -สั นติธรรม บ้านเสี่ ยว อาเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม ตั้งอยู่บน
เนินดินห่างจากวัดโพธิ์ เครื อมาทางทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ประมาณ 1,200 เมตร ชาวบ้านเสี ยวเรี ยกเนิ นดินนี้ ว่า
โพนบ้านเก่า เพราะเคยเป็ นสถานที่ต้ งั ชุมชนมาก่อนที่จะย้ายมาอยูท่ ี่บา้ นเสี ยวในปั จจุบนั สานักสงฆ์น้ ี สร้าง
มาได้ราว 3 ปี แล้ว โบราณวัตถุที่สารวจพบ เศษภาชนะดินเผาเนื้อดินลายเชือกทาบ พบกระจายทัว่ ไปตลอด
ทั้งเนิน, ชิ้นส่ วนหิ นดุ, เศษกระดูกสัตว์
ภาคผนวก ข
268

ตัวอย่ างกลอนลาต่ อสู้ กบั อุตสาหกรรมเกลือในลุ่มนา้ เสี ยว

ประพันธ์โดย: บุญยัง แคนหนอง


ที่มา: คัดลอกจากบันทึกฉบับลายมือของ บุญยัง แคนหนอง, เมษายน 2549

1.กลอนลายาว นาเกลือ
ฟังเด้อพ่อฟังเอาฉันสิ เว้าประวัติเรื่ องนาเกลือ มันสุ ดแสนที่เหลือทนเขตบรบือพ้น
พวกนายทุนมาสร้างนาเกลือดาษดื่น หลายยิ่งกว่าบ่อนอื่น
ทั้งบ่อนตากบ่อนต้มหลายล้านแต่ละเดือน
เริ่ มแรกต้มมีแน่บ่ทนั หลาย ความเสี ยหายบ่ทนั มีเพราะพากันต้ม
พอเบิดฟื นเบิดไม้บ่แนวสิ ตม้ ต่อ เอาแกลบต้มกะบ่พอไม้กะเบิดกะเสี่ ยงเลยได้ตากดู
นักวิชาการเขารู ้ลองตากเบิงกะเห็นผล ตากไว้บ่ดนสามวันกวดเอาเกลือได้
น้ าที่เหลือนั้นให้ไหลลงหนอบ่อ เฮ็ดหลายม่องบ่พอขยายไปบ่หน่อยถึงร้อยกว่าคน
ปี 18 – 19(2518 – 2519) นั้นเสี ยวบ่ทนั ตกกล้านารวมตาบลแคนได้ผลถึงร้อย
บ่แม่นทาหน่อยๆ ประมาณ สองร้อยไร่
ประชาชนอยูไ่ ด้อาศัยน้ าแม่เสี ยว ต่อมาอีกแล้วได้ประมาณ 4 ปี ปลาย
ความฉิ บหายมาถึงข้าวนาตายเกี้ยง ปี 23(2523) นาเอาเรื่ องเข้ากรุ งเทพฯ
ไปเว้าความเดือดร้อนถึงท่านพ่อเปรม
ในระยะนั้นเปรมท่านเป็ นนายก เพิ่นเห็นอกชาวนาถ้าปล่อยไปคงแย่
จึงเอาเรื่ องเข้าสภาโดยด่วน ส่ งผูแ้ ทนสื บเรื่ องจริ งแท้ส่ าใด๋
เผินกะสิ ได้ให้คณะรัฐมนตรี ด่วนไปดูความจริ งเรื่ องราวจังใด๋ แท้
สิ ได้หาทางแก้เร็ วไวโดยด่วน เห็นสมควรยับยั้งนาเรื่ องเข้าเสนอ
รัฐบาลขณะนั้นกะบ่เซ่อรี บส่ งเร็ วลา ใช้มาตรา 20 ห้ามทาแต่วนั นั้น
ลงวันที่ 16 เมษา 2523 ตามพระราชบัญญัติ
ห้ามทาแต่วนั นั้นกฎสาคัญมีไว้ควรเป็ นตัวอย่าง
ห้ามปานใด๋ กะซ่างพวกนายทุนบ่ยา่ นขืนดื้ออยูบ่ ่อเซา
รัฐบาลอยากเข้าตั้งแต่พวกนายทุน บาดความสูญเสี ยบ่คะนิงดูบา้ ง มันเป็ นทาง 225 กิโลกว่า ๆ
รัฐบ่ตอ้ งซัว่ ตัดสิ นใจให้รีบแก้ปัญหานี้ใหญ่หลวงคิดไปเบิ่งกว้าง ๆ
อย่างเป็ นห่ วงนายทุนแผ่นดินสู ญเสี ยหายค่าเงินหลายล้าน
จากอาเภอบรบือ อาเภอจัตุรพัตรพิมาน อาเภอเกษตรวิสยั
อาเภอสุ วรรณภูมิ อาเภอโพนทราย จังหวัดร้อยเอ็ด อาเภอราศีไศล
269

จังหวัดศรี สะเกษ ความเสี ยหายบ่หน่อยแสนห้าหมื่นไร่


ค่าเสี ยหายคิดได้ 400 ล้านต่อปี รัฐบาลชุดนี้ให้แก้กฎหมาย
นโยบายให้มนั ชัดรัดกุมเอาเรื่ อง อย่างหวังกินเมืองบ้านทาลายพวกไพร่
ให้คอยเอาใจใส่ อย่างหวังถ้าได้โรงแก้งอย่างเดียว
ถ้าท่านคิดโลภเสี ยแต่ผลประโยชน์ของโตโสแต่ทางทาลายราษฎรคงวุน่
ถึงลงทุนหลายล้านรัฐบาลกะอย่าห่วง คิดเห็นคนทั้งปวงผูเ้ ขาสิ เดือดร้อนเสี ยแล้วกะซ่างมัน
คิดว่าบ่บีบคั้นชาวราชชาวนิกร ราษฎรหลายแสนที่อาศัยลาน้ า
นางามๆ เสี ยถิ่มเพราะน้ าเกลือทาเหตุ
สังเวชคนนับล้านนาข้าวสิ บ่มี ตั้งแต่ก้ ีปู่ย่าตายาย ปูปลาหลายเหลือกินแผ่นดินกะงามล้น
ประชาชนมีหน้ามีตาชมชื่น ปูปลาแตกวื้น ๆ ลาน้ าแม่เสี ยว ทุกมื้อนี้ขอดเขี่ยวสุ ดที่จะเหลือทน
ภัยของคนเขาเฮ็ดฆ่ากันทางอ้อม ยังสิ หาทางแก้ออกกฎหมายทาต่อ
วันที่ 10 พ.ย. บรรหาร ออกประกาศให้ทาแท้แน่นอน
เรื่ องของคนเดือดร้อนบรรหารว่ามันดี ไทยอาซาฮี สิ ขาดเกลือไปป้ อน
เรื่ องของมันพวมฮ้อนไผเป็ นคนก่อ หูตาคนกะบ่บอดไปเบิดทุกเบี้ยงยังฮูเ้ รื่ องราว
อย่างว่าฉันก้าวร้าวมันแม่นความจริ ง ไทยอาซาฮีโซดาแอ๊ช แม่นผูใ้ ด๋ กนั แท้
ยังสิ หาทางแก้ออกกฎหมายทาต่อ ได้หลายกะบ่พอใช้อานาจบีบคั้นทางแก้กะบ่มี
รัฐบาลยุคนี้พ่อค้าเป็ นใหญ่ นายทุนอุดหนุนคนทาเกลือบ่ซ่อยเหลือคนไฮ่
ไทยอาซาฮีเคมีภณ ั ฑ์โซดาไฟ ลงทุนไปห้าล้านบาท
ย่านเกลือขาดส่ งให้โรงงานเจ้ง จัง่ ซ่อนหนุนเรื่ องมันจังวุน่ พ่อค้าใหญ่ทุนหลาย
ความเสี ยหายบ่มองเห็นค่าคนบ่มีซ้ า ชะตากรรมคงแย่คนรวยเขาเหยียบย่า
นี้บ่แม่นเรื่ องเวรกรรมก็หากคนเฮ็ดขึ้นขืนดื้อบ่ถอย เรื่ องมันจึงเงียบจ้อยถ้าคอยเบิ่งทางผล
บ่ทนั ดนก็คงเห็นเรื่ องมันบ่เกินแจ้งแถลงการณ์ฯให้ฮคู ้ อยดูเด้อพ่อใหญ่
พวกนายทุนเส้นใหญ่ กาเงินมาบ่หน่อยหลายล้านแต่ได้ยิน
รวมไปหมดทั้งสิ้ นฮอดรัฐมนตรี อยากให้มีการเฮ็ดเกลือส่ งขายค้า
พวกชาวนารวมกันเข้าจับกันเป็ นกลุ่ม เพื่อสิ ได้ประชุมฟังเรื่ องราวคืบหน้าเอาไว้แต่ละเดือน
ถ้ามันคาดเคลื่อนเข้าฝ่ ายนายทุน มันสมบูรณ์ทางกฎหมายหมู่เฮาตายแน่
ให้รีบหาทางแก้เดินขบวนยกใหญ่ เฮาต้องเอาใจใส่ เรื่ องสาคัญแบบนี้เฮานิ่งอยูบ่ ่เป็ น
บ่แม่นฉันเว้าเล่น ๆ เส้นใหญ่ฮาวโพนมีแต่คนโต ๆ อย่าสะกลัวแกรงย่าน
ให้รวมตัวกันต้านถึงสิ ตายกะบ่วา่ ลูกหลานอยูข่ า้ งหน้าสิ กินแท้อีหยัง
ให้รวมกันยับยั้งสูต้ ่อย่ายอมถอย บ่มีกอยมีมนั ให้หลานกินได้หมดสมัยนานแล้วกอยมันบ่มีป่า
มีแต่ต้ งั ต่อสูก้ นั ไว้อย่าสลาย เปรี ยบกับเหมือนโรคร้ายทาลายหมู่มวลมนุษย์
ทาลายกบปูปลาไฮ่นาสูญสิ้ น ทาลายดินดอนไม้ตายไปบ่ใช่หน่อย
270

เสี ยหายไปบ่อใช่หน่อยสองร้อยกว่ากิโล พวกเราอย่าโง่โสอยูค่ นเดียว


ให้กลมเกลียวสามัคคีฮกั หอมกันไว้ แม่นไผ ๆ กะมาเว้าชาวนาอย่าสิ หวัน่
ให้ฮกั กันแน่นแฟ้ นคือแป้ นแผ่นเดียว ให้เหมือนเครื อไม้เกี้ยวเกาะเกี่ยวปายยาง
ใผสิ ถางบ่มีตะหล่นลงดินได้ ให้เอาใจกันสูเ้ พื่อความอยูร่ อดปลอดภัย
จากเหตุร้ายรวมสูซ้ ่อยกันมิฉะนั้นเราอยูบ่ ่เป็ นสุ ข เฮาแยกกันเราทุกข์ซ่อนหลานเหลือไว้
บ่มีไผสิ มาแก้แทนเฮาแล้วละแม่ รี บพากันซ่อยแก้คาวนี้ บ่สลาย
ถ้าคอยฟังข่าวร้ายหรื อว่าข่าวทางดี มีปฏิกิริยาต่อเฮาจังใด๋ แท้
ถ้ามีผลทางร้ายหญิงชายอย่าสุ อยู่ รี บพร้อมสูเ้ ดเตรี ยมไว้อย่าสลาย
เราก็รู้วา่ ร้ายฮ้ายพี่กะคงเห็น มันทั้งเหม็นทั้งเค็มกว่าทะเลเด้อเจ้า
ถ้าเฮาเซากินข้าวกะยังพอไคแน่เซากินทะแม่เชิญเจ้าสิ บ่ตาย
ลูกหลานเกิดโรคร้ายขาดหมู่สารอาหาร บ่มีปูปลากินขาดโปรตีนซ้ า
อนามัยเขาย่าคาเตือนทุกเมื่อ คอยซ่วยเหลือลูกเต้าหลานหล่อนให้อยูด่ ี
เหตุมนั เป็ นอย่างนี้ อย่านิ่งนอนใจ เหมือนกับไฟลามลุกทัว่ ดงดอนไม้
เฮาบ่ตายอย่าให้เขาทาได้ง่าย เรื่ องนี้อย่าสลายรวมกันสูต้ ่อต้านนานมื้ออย่าสิ ถอย

2.กลอนลาออนซอนเสี ยว
ออนซอนเด้ ออนซอนดิน ออนซอนหญ้า ออนซอนปลามันตายจุ่ม
ออนซอนเด้พุ่มไม้ริมน้ าฝั่งเสี ยว ออนซอนเครื อไม้เกี้ยวเกาะเกี่ยวปลายแก
ออนซอนแหบ่มีปลา ออนซอนนามันฮ้าง ออนซอนทางริ มน้ านาเสี ยวมันเกิดซ่า
ออนซอนกบปูปลา ออนซอนนาฝั่งน้ าริ มห้วยฝั่งเสี ยว
ออนซอนบักเสี้ ยวมันเหี่ ยวยืนตาย ออนซอนฝายวังโนนมันเน่านูมเหม็นอื้อ
ออนซอนผือในน้ าในนาเคยเขียวอ่อน ออนซอนขอนดู่เหง้าเฮาได้แย่แหลม
ออนซอนแขมออนซอนอ้อ ออนซอนกอไม้ไผ่
ออนซอนไซสิ ฮา้ งมันสิ คา้ งขื่อเฮือน ออนซอนเกวียนออนซอนล้อคอควายบ่ได้ก่าย
ออนซอนนายยุคนี้มีแล้วบ่ออ่าวหา ออนซอนภูผากว้างวังดงหลวงกะแปนเปล่า
ออนซอนนาและข้าวยืนต้นกะเล่าตาย ออนซอนฝายออนซอนน้ านาทามกะเหม็นเน่า
ออนซอนเต่าแต่ก้ ีเดียวนี้บ่เห็น นกกะเต็นงอยไม้คอยกินปลานาฝั่ง
ฮอดบ่มีอีหยังหาแนวบังให้เบิ่งเล่นนกเต็นน้อยกะเล่าหาย ดินทรายมาถมแล้วดินเกลือกะมาตื่ม
ซื่ มเข้านา ป่ าไม้ริมน้ ากะเล่าตาย เดียวนี้คกั โพดฮ้ายอยากอาย
หมู่นาเขินพวกนาเชิญนาทามงามเขียวริ มน้ า นางาม ๆ กะเลยแค้น
พ่อใหญ่แมนได้ฮอ้ งฮ่า! พ่อใหญ่หาฮ้องโอ้! ปาโท! นี่ช่างเป็ น
แม่ใหญ่เสนหลงฮ้องขุนจองวองฮ้องซัน่ พ่อใหญ่ผนั ออยผูน้ าหน่อยสิ บ่ตาย
271

สังมาคักโพดฮ้ายเป็ นตาหน่ายผ่ายเพ คักแล้วเด้คนอีสานย่านแต่ตายวายสิ้ น


มาเบิงดินนาข้าวมีแต่เกลือเป็ นซ่า เสี ยดายนาดายไม้ยืนตายเต็มทุ่ง
แนวคนบ่อประสงค์ไม้เคยเขียวเลยเหี่ ยวแห้งยืนต้นหล่นใบ
หลูโตน...พวกต้นไม้บ่อฮูเ้ รื่ องนาคน อยูน่ าโพนกะยังไคบ่ตายวายสิ้ น
อยูน่ าดินลองแม๋ เค็มหลายฮากเน่า บ่อทันตายกะยืนเหงาพอปานคนถูกเรื่ องขังคุกอยูต่ ะราง
คอยยืนอยูจ่ ่างฮ้างในระหว่างตัดสิ น ชาติแนวดินมันเค็มอยูท่ ่อตายรอมื้อ
บรบือเซาแล้วกะยังพอไคแน่ ทรัพยากรกะสิ บ่แย่เสี ยสิ้ นเสี ยมสูญ
คิดเห็นความก่อนพุน้ สมบูรณ์ดีมีปลา บักหอยนา หอยขม อยูเ่ ต็มในน้ า
มีปลาซิ ว ปลากุง้ ดุกค่าว ค้อ เข็ง ตึกได้กองเจ็งเพ่งเต็มเดิ่นเกินหลาย
นาหน้าฝายเอาจนเมื่อยลงอัง่ กันได้ฝันพ้อ อยูน่ าตอในน้ าหน้าฝายขอนดู่
ใส่ ลอบเอาปลาบู่ อยูน่ าขอนบ่อนเว้าโตน้อยส่ าแขน ปลาส่ าแผ่นแป้ นแน่นอยูน่ าฝาย
เดียวนี้ตายทั้งเป็ นหมู่ปลาสูญสิ้ น ตายฮอดดินดอนไม้มนั เค็มเต็มที่
สิ่ งใด๋ มนั เคยมีถามหากะบ่พอ้ กอไม้กะเล่าตาย อึดแนวกินมากฮ้ายกินตั้งแต่ปลาทู
ถ้าเนื้อหมูมนั แพงบ่มีเงินซื้ อ ถ้ามันเป็ นคือเค้ากะพอไคแน่
กินนาลอบนาแหกะสิ พออยูไ่ ด้ เงินใช้กะบ่เปลือง
คันอาศัยปลาเลี้ยงนาไฮ่นานาปล่อยนาสร้างสระนาหนองกะแต่พอปานนั้น
มันบ่คือมูลเค้าลาเสี ยวเฮาจักหน่อย ปลาลาเสี ยวบ่หน่อยปางกี้เก่ามา
หว่านขาเดียวนั้นนาออกจนเต็มแห อยากให้หวนกลับมาดัง่ เดิมคาเค้า
อยากให้เซาทางแหล่งเกลือหิ นดินเน่า มันสิ เมิดบ่อนเว้าหลายหล่อนท่อนปลาย
เดียวนี้คกั โพดฮ่ายฝายเน่าให้เซาทา อย่าก่อกรรมชาวนาทุกข์จนค้นแค้น
ในดินแดนลาน้ าลาเสี ยวให้เทียวเบิงพวกที่อยูท่ างเทิงรัฐบาลให้ช่วย.....

3. กลอนพญาสร้ อยนาเกลือ
ฟังเด้อพ่อ ฟังเอากลอนพญาสร้อย พวกเฮาพลอยเดือดร้อนใหญ่
เฮาบ่ตอ้ งสงสัยเดือดร้อนไปบ่ใช่นอ้ ยสองร้อยกว่ากิโล
พวกชาวนาฮ้องโอ้ โธ่นี่แม่นอีหยังกัน
แต่ก่อนมันบ่อเคยเป็ นซางเค็มเอาฮ้าย
ปูปลาตายเต็มน้ าขาวในนากะตายจุ่ม ตายยืนต้นเป็ นเกี่ยวกะบ่ได้ชาวนาให้ใส่ กนั
ถามไปเบิ่งบ้านนัน่ ถามไปเบิ่งบ้านนี่ เผิ่นกะวาคือกัน
อัศจรรย์มนั เค็มซ่างเป็ นเอาฮ่าย ตายละหนอคาวนี้นายทุนทาเหตุ
เอาเกลือขึ้นมาตากต้มทาให้เสื่ อมเสี ย หวังเอาเงินยาทเบี้ยผลประโยชน์ของโต
บ่โสทางเสี ยหายหมู่คนหลายล้าน รัฐบาลก็เคยไม่ให้ทากันอีก
272

แต่พวกพ่อค้าขืนดื้นบ่อเซา ปานมันบ่กินข้าวเอาตั้งแต่เงินตรา
พวกชาวนาเสี ยหายบ่คะนิงดูบา้ ง ยังหาทางดื้อพยายามสิ ทาต่อ
ได้หลายล้านกะบ่พอ พวกชาวนาเดือดร้อนหลายล้านกว่าคน
ฉันนี่ยา่ นบ่อพ้นถ้ารัฐบ่จดั การออกกฎหมายบังคับบ่ให้เขาทาได้
จับคนใด๋ ปรับล้านจาจองตลอดชัว่ แนวนี่ยา่ นแต่กลัวถ้ารัฐทาแบบนี้ หยุดแท้แน่นอน
รัฐกะบ่เดือดร้อนแก้อีกทีหลัง ถ้าหวังเอาแต่นายทุน
รัฐก็คงวุน่ ราษฎรสิ นาจี้เดินขบวนให้เถิงท่าน
รออีกบ่นานกะเพราะความเดือดร้อนอดอีกบ่ไหวถ้ารัฐบ่แก้ให้สิไปอยูเ่ ป็ นเดือน
เตรี ยมเสบียงอาหารสูแนวไปพร้อม บ่อยอมถอยหลังให้สิไปหลายกว่าก่อน
ว่าไว้แล้วกะบ่ถอนความเอือดร้อนกะบ่ส่างหาทางแก้กะบ่ได้สินไห้บ่เซา
แม่นความโศกเศร้าเท่าชัว่ ชีวิต เขาทาผิดกฎหมายรัฐบาลคอยช่วย
หวังทางรวยเงินล้าน นายทุนพ่อค้าใหญ่ทุนหลาย
ชลประทานเสี ยหายหมู่ปลาตายเกลี้ยง ชลประทานเสี ยถิ่มลาเสี ยวกะเลยเน่า
ทาประโยชน์บ่ได้เค็มฮ่ายกว่าทะเล ดินกะเน่าเอ้เต้เหม็นฮ่ายกว่าคนตาย
ลาเสี ยวสูญนาเสี ยแม่นบ่มีคุณค่า พวกชาวนาเคยใช้
เอาเสี ยวทาประโยชน์ เดียวนี้โทษรอบด้านไหลเข่าไส่ นา
นี่จงั แม่นพวกบ้าหาแต่ทางรวย เพราะว่านายทุนคอยหนุนจังบ่กลัวเกรงย่าน
อันธพาลคนซัว่ สันดานคนซัว่ โทษตัดสิ นตัดหัวเสี ยบประจาน
ชี้หน้าซ้ าจังสิ สม กรรมใด๋ ไผทาตอบสนองมันด้วย
หวังทางรวยเงินล้านสันดานคนซัว่ ตัดสิ นให้ตดั หัวเสี ยบประจานซี้ หน้าด่าซ้ าจังสิ ดี
สาหรับคนพวกนี้เจ้าหน้าที่พาทา พาก่อกรรมทาเวรหมู่คนหลายล้าน
ผลเสี ยหายบ่อเคยเว้า เอาแต่เงินเป็ นใหญ่ไผสิ สุขทุกข์ฮอ้ นกูได้กะแม่นดี
ถ้าเจ้านายแบบนี้คอยซ๋ อยแต่นายทุน แผ่นดินสู ญนาเสี ยเฮ็ดกินบ่อมีได้
หลายปี ไปกะคงแย่ชาวนาสิ นงั่ เจ่า เลยสิ อึดอยากข้าวถึงเท่าซัว่ แหลน
ฉันนี่ยา่ นบ่เว้าผลฝ่ ายทางเสี ยเพราะนาเกลือบรบือส่ าลือถึงเท่า
กะอย่างหวังกินเด้อข้าวถ้านาเกลือทาต่อ ลูกกะสิ หนี จากพ่อลูกกะสิ หนีจากแม่
ไปทางานรับจ้างพอได้ซ้ื อข้าวกระป๋ อง ยากนาปากและท้องจังเข้าสู่เมืองกรุ ง
ไกลจากลุงอาวอาย่ายายอยูท่ างบ้าน ยังลูกหลานเหลือไว้ถา้ คอยไปกันต่อ
ยากนาปากส่ อว่อกินอันใดกะเกี้ยงหาได้กะบ่พอ ยากในปากพ้อว้อหาตั้งแต่แนวกิน
หาจนเหนี่ยวบ่พอผองหมู่ปลาตายเกี้ยง ฝูงสัตว์เลี้ยงวัวควายอยู่ใต้ล่าง
เลยสิ อึดฮอดน้ ายามแล้งส่ วนสิ ตาย บ่แม่นฉันเว้าฮ้ายมันหากแม่นความจริ ง
ตั้งแต่ลิงงอยในก็แล่นหาหนองน้ า ตามไปดูอยากเห็นข้อความจริ งให้สว่าง
273

ความสงสัยให้กระจ่างรี บหาทางซ่อยแก้ ปล่อยนานไปหลายสิ แย่หาทางแก้สิบ่ไหว


เดียวนี้พอซ่อยได้มนั ยังบ่ทนั สาย ยังบ่ถึงคาว....เกิ่งกลางทางซ่ วยอย่างให้ถึงคาว...
ได้นอนตายหงายผื่ง เงินบาทสี่ สลึงก็ให้มนั ได้ใช้สมค้าค่ามันอย่างบีบคั้นกันแน่เด้อคนไทย
ไทยก็ไทยคือกันธิ ปไตยเพียงพร้อม รัฐบาลคราวครั้งยังเห็นผลประโยชน์
ยังลงโทษพ่อค้าคราวครั้งต่อมา รอไปอีกเบิ่งแม่ป้าประมาณว่าสิ บปี
มีแต่เกลือเต็มนาให้รัฐหาทางแก้ เขียนโครงการถึงเจ้าเหนื อหัวเจ้ากระหม่อม
ให้พระองค์ได้รับรู ้ได้ฟ้ื นฟูแม่เสี ยวอย่าให้เป็ นอีสานเขี่ยวให้เขียวดีคือว่า
ให้รีบพัฒนาเอาเงินมาลอกรื้ อให้นาเรื่ องกราบทูล
เพื่อให้มาช่วยแก้ตามราชดาริ ขอให้สมโครงการดัง่ พระองค์ประสงค์ไว้
ให้มนั ใสคือแก้วแววไวใสแว่ง ให้ใสปานหน่วยแก้วเขียวตื้อทัว่ อีสาน
ให้หมู่ชาวบ้านได้รับทุกข์ให้สุขคืน อย่าฝ่ าฝื น....สิ หวั หยัน่ โย้ย
รัฐบาลคงรู ้ชูอีสานให้ลอยเด่น ให้โลกเขาเห็นประจักษ์จดั แล้วยามแล้งได้เพิ่งพา
อย่าให้ถึงชาติหน้าเขาว่าความฝัน เรื่ องสาคัญควรเฮ็ดรัฐบาลอย่ารอช้า
ตัดปัญหาลงไว้อีสานเขียวลงต่อรัฐบาลคือพ่อราษฎรคือลูกควรได้เบิ่งแยง
บ่อว่าฝนว่าแล้งให้ควรเบิงให้เป็ นสุ ข ราษฎรเขาทุกข์กค็ ือดัง่ ตัวนักบริ หารบ้านอย่าเอ็ดเอียง
ข้างฝ่ ายนายทุนคือลูกจ้างกินบ้านคดโกง รัฐก็เป็ นผูส้ ร้างราชเป็ นฝ่ ายบริ หาร
ราชการโกงกินแผ่นดินต้องมีเรื่ อง กฎบ้านเมืองมีไว้ตดั สิ นลงโทษ
ราชการชัว่ ช้าบ่อเอาไว้เผิ่นไล่หนี ราษฎรทุกมื้อนี้เข้ารู ้ทวั่ กันหมด
ไผไปตรงไปคดเสี ยมเสี ยเขารู ้ ดูข่าวสารเมืองบ้านหนังสื อพิมพ์ลงข่าว
เว้าพื้นเรื่ องอื้อฉาวในวงการแบบนี้รู้ทวั่ .

4. ลาล่ องสั ตว์ คุยกันเรื่องน้าเค็ม


พวกหมู่ปูปลากุง้ เถียงกันออกสนัน่ อัศจรรย์ฝงู คนจัง่ แม่นบ่ซื่อถือเค้าเก่าเดิม
ปล่อยน้ าเค็มเข้าเพิ่มปลาในบ่อลาหนี คนอัปรี ยซ์ ี กะบานปล่อยน้ าพานหาเรื่ อง
พวกกบเขียดกับหอยโข่งโตเปลือกแข็งกะใคแน่ ทนความเค็มอยูไ่ ด้บ่อมีเนื้อสิ เปื่ อยเพ
เฮาโลดคักโพดเด้ ตีนกะเปื่ อย ขากะเพ เปลื่อยทั้งเก็งเกหลังเปลื่อยพังตายแน่
เดียวนี้เฮาพวมแย่สิลาหนี จากหมู่ มันเป็ นน่าอดสูเค็มกะเค็มโพดฮ้ายต้องตายแน่หมู่เฮา
บักหอยออกปากเว้าเฮาทนอยูบ่ ่ไหว น้ าทั้งใสทั้งเค็มไผสิ ทนอดกลั้น
อ้ายปูเอยมึงกะยังมีกะดองแน่นสิ ทนเค็มได้แน่ คักแล้วแหม่บกั โข่งตายโฮงแท้หมู่เฮา
อ้ายกุง้ ออกปากเว้ามันทั้งเน่าทั้งเหม็น เสี ยว มันเป็ นนาหยังจังเค็มปานนี้
แต่หลายปี มาพุน้ คือบ่เค็มเหม็นเน่า
274

อ้ายปลานิลว่านั้น มึงไคแน่พอทน ได้เลี้ยงคนกะยังไคเฮาต้องไกลไลเพื่อน


เหลือทนหลายอ้ายหอยกี้บ่ลอยหนีกเ็ ลยเน่า
เป็ นจังได๋ อา้ ยเต่าเจ้ากะดองแข็งพออยูไ่ ด้ไห้จาเว้าสู่ฟัง
เฮากะอยูจ่ ้ งั มัง่ มันเค็มอยู่บ่ไหว เฮาต้องหาทางหนีอยูบ่ ่ดีมนั เค็มฮ้าย
มันวุ่นวายสัตว์น้ าถามกันออกสนัน่ นี้คือภัยมะหันสัตว์เล็ก ๆ น้อย ๆ จาเว้าต่อกัน
ตกบ่อนบั้นมันยาดแย่งทรัพยากร พวกนายทุนกับชาวนาสิ ฆ่ากันฟั นม้าง
พวกถางเอาแร่ รังแกแม้แต่เอี่ยน พวกไส้เดือนกะฮ้องโอ้โทบ้าฮาเค็ม
ซ่าดันดังเต้มๆ ฮอดหมู่งวั ควาย สังมาซวยแท้ซุมเฮาบ่อยากลงหนองน้ า
นางามๆ มีหญ้ากะเลยกายเป็ นเอียด เขียดกะอดบ่ได้ งัวควายไห้ใส่ กนั
ฮอดยามแล้งฮ้องลั้น น้ ามันบ่อมีกิน ยามฝนลินลงมามันหากพอไคซัว่
ควายบางตัวเว้า นาเขากูกะแตกเขิบ อยูต่ ามเหลิบปุ้ นท้องเป็ นเฮียนแสบคัน
ถูกน้ าเกลือจนสะบั้นแสบใหญ่ไอเกลือ มันเค็มหลายเอาเหลือแสบสิ ตายจนได้หลงฮ้อง
พวกมันมีสมองให้พากันลองช่วยพวกงัวควายเขาสิ วา่
ทั้งพวกปูพวกปลาสัตว์เล็กๆ น้อย ๆเขาสิ ได้วา่ เฮา
เป็ นจัง่ ได๋ พ่อเฒ่าอีพ่อใหญ่บรรหาญ พ่อใหญ่ประมาณ พ่อใหญ่ชาย บ่ยากอายสัตว์บอ้
พวกปูปลาเขาหลงฮ้องพวกงัวควายเขาสิ ด่า เขาพวกหมู่สตั ว์สาบ่ฮหู ้ นาวฮูฮ้ อ้ นเขาสิ ได้แช่งเวร....
บ่แม่นฉันเว้าเล่นเป็ นตาน่ายอยากอายสัตว์ แต่พดั มีนาเกลือน้ ากะเค็มเหลือล้น
ก็เพราะคนเพียงหน่อยคอยทากรรมชัว่ พวกนายทุนเจ้าสัวทาให้สตั ว์ใหญ่นอ้ ยตายจ้อยฮอดบ่เหลือ
เฮาตั้งใจไว้เผื่อสิ เลี้ยงหมู่มวลมนุษย์ ถูกทาลายตายเหม็นเน่านุมพูมพื้น
พอแต่ขืนลงน้ าดุก ขาว เข็ง ค้อ สุ บหัวเสี ยบน้ าตามห้วยฮ่อมเสี ยว
จักว่าเค็มหรื อเปรี้ ยวประเดียวสัน่ ดันตาย ปลาหลาย ๆ ก็เลยสูญโลดบ่ยงั เหลือค้าง
หมดหนทางเฮาแล้วปูปลามันเว้าว่าบ่มีวาสนาสิ เลี้ยงคนอีกได้
ไทบ้านย้านแต่ตาย สายแน่นพัน.
ภาคผนวก ค
276

ตารางผลการเจาะสารวจแร่ โพแทชใน อาเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร

ตารางที่ 12 ผลการเจาะสารวจแร่ โพแทชหลุม K-48 วัดโนนวิเวกศรี เมือง อาเภอวานรนิวาส จังหวัด


สกลนคร

ระยะ (เมตร) ความหนา ชั้นหิน รายละเอียด


(เมตร)
0.00 – 6.10 6.1 Top soil ส่วนใหญ่เป็ นดินทรายขนาดละเอียดถึงละเอียดมาก มีสี
ดินชั้นบน น้ าตาลปนเหลือง ดินเหนียวพบน้อยมาก
6.10 – 141.12 135.02 Claystone เป็ นชั้นหิ นโคลนสี น้ าตาลแดง หนามากอาจพบเม็ดประสี เทา
หิ นโคลน หรื อสี เทาเขียว บางครั้งสลับด้วยชั้นหิ นทรายแป้ งตอนล่าง ๆ
ของชั้นนี้มกั พบแร่ ยปิ ซัมเกิดแทรกในรอยแตกของหิ นอยู่
เสมอ
141.13-144.93 3.81 Anhydrite มีช้ นั แร่ แอนไฮไดรต์สีเทาถึงเทาดามีช้ นั ที่ปนด้วย
แอนไฮไดรต์ สารอินทรี ยจ์ านวนพอประมาณแทรกอยูใ่ นรอยชั้นหิ น
144.93-207.64 62.71 Clay เป็ นดินเหนียวสี น้ าตาลแดง เนื้อเหนียวเป็ นแบบพลาสติกไม่
ดินเหนียว แข็งตัว
207.64-215.49 7.85 Clay เป็ นชั้นดินเหนียวสี เทา ไม่แข็งตัว เนื้อดินเหนียวเป็ น
ดินเหนียว พลาสติก
215.49-312.19 96.7 Rock salt ส่วนใหญ่ตอนบนเป็ นเกลือหิ นใส ถัดลงมาเป็ นเกลือหินใส
เกลือหิ น ปนเกลือหินสี ขาวน้ านม และเกลือหิ นสี ควันดามีแอนไฮ
ไดรต์ช้ นั บาง ๆ แทรกสลับเป็ นระยะ ๆ ตอนล่างสุดพบ
ร่ องรอยของแร่ ซิลไวต์เกิดปนในเกลือหิ นเล็กน้อย เช่น ที่
ระดับความลึก 219.3 เมตร
312.19-313.27 1.08 Anhydrite สี เทาถึงดาเนื้อแน่น แต่บางช่วงเกิดเป็ นชั้นสี ดาของคาร์บอน
แอนไฮไดรต์ แทรกสลับ
313.27-327.90 14.63 Rock salt ส่วนใหญ่เป็ นเกลือหินสกปรกสี ควันดาคล้ายเกลือหิ นข้าง
เกลือหิ น พบแต่ไม่พบซิลไวต์
277

ตารางที่ 12 ผลการเจาะสารวจแร่ โพแทชหลุม K-48 วัดโนนวิเวกศรี เมือง อาเภอวานรนิวาส จังหวัด


สกลนคร (ต่อ)
ระยะ (เมตร) ความหนา ชั้นหิน รายละเอียด
(เมตร)
327.90-388.01 60.11 Clay เป็ นดินเหนียวสี น้ าตาลแดง เนื้อเหนียวเป็ นแบบพลาสติกไม่
ดินเหนียว แข็งตัวมีสีเทาเขียวเห็นเป็ นจุดประ มีเกลือหิ นสี สม้ แทรก
เป็ นเลนส์บางครั้งแทรกอยูใ่ นรอยแตกทาให้เกิดเป็ นสายแร่
นอกจากนั้นยังพบแร่ คาร์นลั ไลต์เกิดแบบเดียวกับเกลือหิ น
แต่ไม่พบเป็ นเลนส์
388.01 – 395.68 7.16 Clay เป็ นชั้นดินเหนียวสี เทา ไม่แข็งตัวเนื้อดินเหนียวเป็ น
ดินเหนียว พลาสติก
398.68- 407.21 8.53 Carnallite ส่วนใหญ่เป็ นเกลือหินสี ขาวใสประมาณร้อยละ 90 อาจมี
คาร์นลั ไลต์ แอนไฮไดรต์ ที่เหลืออีกร้อยละ 10 เป็ นแร่ คาร์นลั ไลต์ส่วน
ใหญ่เป็ นสี ขาวใสปนเม็ดสี ชมพูและม่วงอ่อน พบร่ องรอยแร่
แทชชีไฮไดรต์
407.21-477.72 70.51 Carnallite & ชั้นโพแทชที่มีส่วนประกอบของแร่ 3 ชนิดหลักได้แก่เหลือ
Tachyhydrite หิ น คาร์นลั ไลต์และแทชชีไฮไดรต์โดยร้อยละ 60 เป็ นแร่
คาร์นลั ไลต์- คาร์นลั ไลต์สีชมพูปนม่วงอ่อนแต่บางตอนเป็ นชั้นคาร์
แทชชีไฮไดรต์ นัลไลต์บริ สุทธิ์ปนอีกร้อยละ 30 เป็ นแร่ แทชชีไฮไดรต์สี
เหลืองผลึกแร่ ขนาดใหญ่อีกร้อยละ 10
เป็ นแร่ เกลือหิ น
477.72-497.28 19.56 Syvite เป็ นชิลไวต์ช้ นั ล่างเกิดปนกับเม็ดเหลือสี ขาวใสประมาณร้อย
ซิลไวต์ ละ 60 ส่วนซิลไวต์ซ่ ึงมีประมาณร้อยละ 40 เกิดเป็ นเม็ด
คล้ายตัวอมีบา สี ขาวขุ่นคล้ายเทียนไข
497.28- 765.22 265.94 Rock salt เป็ นเกลือหิ นชั้นล่างตอนบนสี ขาวใสสะอาด ส่วนตอนล่างสี
เกลือหิ น ควันดาเพราะมีสารอินทรี ยป์ น มีช้ นั แอนไฮไดรต์ช้ นั บาง
แทรกสลับโดยเฉพาะตอนล่างมากขึ้น เรื่ อย ๆ

ที่มา: ปกรณ์ สุ วานิช, ธรณีวิทยาแหล่งแร่ โพแทช-เกลือหินของไทย (ม.ป.ท.:บริ ษทั คัมภีร์วรรณ


จากัด, 2550), 176 – 178.
278

ตารางที่ 13 ผลการเจาะสารวจแร่ โพแทชหลุม K-55 วัดอัมพวา บ้านกุดจิก อาเภอวานรนิวาส จังหวัด


สกลนคร
ระยะ (เมตร) ความหนา ชั้นหิน รายละเอียด
(เมตร)
0.00 – 6.10 6.1 Top soil ดินปนทรายสี น้ าตาลแดงถึงสี เหลืองปนน้ าตาล ทรายขนาด
ดินชั้นบน ละเอียด
6.10 – 133.50 127.4 Claystone สี น้ าตาลแดง มีหินทรายแป้ งแทรกสลับ มีจุดประสี เทาเขียว
หิ นโคลน กระจัดกระจาย ในรอยแตกมียปิ ซัมสี ขาวใสพบช่วงล่าง ๆ
133.50 -137.16 3.66 Anhydrite มีสีเทาดา มีสารอินทรี ยแ์ ทรกตามชั้นหิ นมาก
แอนไฮไดรต์
137.16-208.18 71.02 Clay เป็ นดินเหนียวสี น้ าตาลแดง เนื้อค่อนข้างเหนียวมีสีเทาดา
ดินเหนียว แทรกสลับ
208.18-306.02 97.84 Rock salt ส่วนใหญ่เป็ นเกลือหินสี ขาวใสตอนบน ตอนล่างถัดลงไป
เกลือหิ น เริ่ มมีสีคล้ า และมีช้ นั แอนไฮไดรต์บาง ๆ แทรกสลับมากขึ้น
306.02-306.97 0.95 Anhydrite สี เทาถึงสี ดามีสารอินทรี ยส์ ี ดาแทรกตามชั้นบาง ๆ
แอนไฮไดรต์
306.97-320.55 13.58 Rock salt เหมือนระยะที่ 208.18-306.02
เกลือหิ น
320.55-387.10 66.55 Clay สี น้ าตาลแดง เนื้อค่อนข้างเหนียวมีสีเทาดาแทรกสลับ มี
ดินเหนียว เกลือหิ นสี สม้ แทรกเป็ นเลนส์หรื อสายในรอยแตก บางครั้ง
เป็ นแร่ คาร์นลั ไลต์สีสม้
387.10-393.19 6.09 Rock salt ส่วนใหญ่เป็ นเกลือหินสี ขาวใสแทรกสลับด้วยแอนไฮไดรต์
เกลือหิ น ชั้นบาง ๆ
393.19 – 438.91 45.72 Carnallite ส่วนใหญ่เป็ นคาร์นลั ไลต์ค่อนข้างบริ สุทธิ์ไม่มีสีจนถึงสี ม่วง
คาร์นลั ไลต์ อ่อนใส ความสมบูรณ์ของคาร์นลั ไลต์มีประมาณร้อยละ 90
ที่เหลือเป็ นเกลือสี ขาวใส

ที่มา: ปกรณ์ สุ วานิช, ธรณีวิทยาแหล่งแร่ โพแทช-เกลือหินของไทย (ม.ป.ท.: บริ ษทั คัมภีร์วรรณ


จากัด, 2550), 176 – 178.
279

ตารางที่ 13 ผลการเจาะสารวจแร่ โพแทชหลุม K-55 วัดอัมพวา บ้านกุดจิก อาเภอวานรนิวาส จังหวัด


สกลนคร (ต่อ)
ระยะ (เมตร) ความหนา ชั้นหิน รายละเอียด
(เมตร)
438.91- 475.49 36.58 Carnallite & คาร์นลั ไลต์ส่วนนี้มีความบริ สุทธิ์ลดลงเหลือประมาณร้อย
Halite ละ 70 เนื่องจากมีเกลือหินสี ขาวปนอยูป่ ระมาณร้อยละ 30
คาร์นลั ไลต์และ คาร์นลั ไลต์มีสีสม้ ปน
ฮาไลต์
475.49 – 824.42 348.23 Rack salt ส่วนใหญ่เป็ นเกลือหินสี ขาวใสตอนบน ถัดลงมาเกลือหิ น
เกลือหิ น เริ่ มมีสีเทาและสี ควันดา แทรกสลับด้วยแอนไฮไดรต์ช้ นั บาง
824.42-824.18 0.76 Anhydrite สี เทาถึงดามีสารคาร์บอนสี ดาบาง ๆ สลับ
แอนไฮไดรต์
824.18-826.92 2.74 Siltstone เป็ นหิ นทรายแป้ งสี เทาเขียว เนื้อแน่น สลับด้วยหิ นทรายชั้น
หิ นทรายแป้ ง บาง ๆ
826.92-827.23 0.31 Siltstone เป็ นหิ นทรายแป้ งสี น้ าตาลแดง
หิ นทรายแป้ ง

ที่มา: ปกรณ์ สุ วานิช, ธรณีวิทยาแหล่งแร่ โพแทช-เกลือหินของไทย. (ม.ป.ท.:บริ ษทั คัมภีร์วรรณ


จากัด, 2550), 179 – 180.
ภาคผนวก ง
281
282
283

ประวัติผ้วู จิ ัย

ชื่อ – สกุล นางสาวบาเพ็ญ ไชยรักษ์


ที่อยู่ 18 หมู่ 4 ตาบลอุ่มจาน อาเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร

ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2542 สาเร็ จการศึกษา การศึกษาบัณฑิต สาขาภาษาไทย
มหาวทิยาลัยมหาสารคาม อาเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม
พ.ศ. 2551 ศึกษาต่อระดับปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

You might also like