You are on page 1of 6

ระบบ

นเวศค
ิ ืออะไร
ระบบน ิเวศ(ecosystem) ค ือ ความส ัมพันธ์ ระหว ่างกล ่มส
ุ ่งม
ิ ีชีวิตกับส ่งแวดล
ิ ้อม
โครงสร ้างของระบบน ิเวศ
ระบบน ิเวศม ีองค์ ประกอบท ่ส
ี ำค ัญ 2 ส ่วน ค ือ
1. องค ์ ประกอบทางช ีวภาพ(biological component) ได ้แก ่ ส่งม
ิ ีชีวิตในระบบน ิเวศ เช ่น พืช ส ัตว์ มน ุษย

เห็ด รา จ ุล
ินทร ี์
ย เป ็ นต
้น
2. องค ์ ประกอบทางกายภาพ(physical component) ได ้แก ่ ส่งไม
ิ ่มีชีว
ิตในระบบน ิเวศ เช ่น ด ิน น ้ำ แสง
ุณหภ
อ ูมิ เป็ นต
้น

โครงสร ้างของส ่งม
ิ ีชีว
ิตในระบบน ิเวศแบ ่งออกเป ็ น 3 ระด ับ (trophic levels) ค ือ
1. ู ผผล
้ ิต(producer) ได ้แก่พืช สาหร ่าย โปรโตซ ัว เช ่น ย ูกล ีน
่า หร ือเเบคท ีเรียบางชน ิด โดยม ีบทบาทใน
การน ำพล ังงานจากแสงอาท ิตย์ มากระต ุ
้นสารอน ินทร ี์
ยบางชน ิดให้อย ่ในร
ู ู ปของสารอาหาร
2. ู ผบร
้ ิโภค(consumer) ได ้แก ่ สัตว์ท่ด
ี ำรงช ีวิตอย่ได
ู ้้ดวยการก ินส่งม
ิ ีช
ีวิตอ
่ืน ได้แก ่
- ูผบร
้ ิโภคพ ืช (herbivore หร ือ primary consumer) เช ่น ้ ชาง ้ มา โค กระบ ือ กระต ่าย เป ็ นต
้น
- ูผบร
้ ิโภคส ัตว
์ (carnivore หร ือ secondary consumer) เช ่น เส ือ สิงโต เหย ่ยว ง
ี ู เป็ นต
้น
- ูผบร
้ ิโภคท ั
้งสัตว์ทั
้งพืช (omnivore) เช ่น คน ไก ่ ลิง เป ็ นต
้น
3. ู ผย
้ ่อยสลายสารอ ินทรี์ย(decomposer) ได ้แก่ เห ็ด รา แบคท ีเร ีย และจ ุลินทรี์ยต่างๆ ท ่สามารถย
ี ่อยสลายซาก
ืช ซากส
พ ัตว์ หรือสารอ ินทรี์ย ให ้เป ็ นสารอน ินทร ี์
ยพืชสามารถน ำไปใช ้ประโยชน ์ ได

กระบวนการหล ักสองอย ่างของระบบน ิเวศค ือ การไหลของพล ังงานและการหม ุนเวียนของสารเคม ี การไหลของ
พลังงาน (energy flow) เป ็ นการส ่งผ่านของพล ังงานในองค ์ ประกอบของระบบน ิเวศ ส ่วนการหม ุนเวียนสารเคม ี
(chemical cycling) เป ็ นการใช ้ประโยชน ์ และนำกล ับมาใช ้ใหม ่ของแร ่ธาต ุภายในระบบน ิเวศ อาท ิเช่น
คาร์ บอน และ ไนโตรเจน

พลังงานท ่ส
ี ่งมาถ ึงระบบน ิเวศท ั
้งหลายอย ่ในร
ู ู ปของแสงอาท ิตย์ พืชและผ ู้ผลิตอ
่ืนๆจะท ำการเปล ่ยนพล
ี ังงานแสงให ้เป็น
พลังงานเคม ีในรู ปของอาหารท ่ให
ี ้พล ังงานเช ่นแป้งหร ือคาร ์ โบไฮเดรต พล ังงานจะไหลต ่อไปย ังสัตว์ โดยการก ินพืช
และผู้ผลิตอ่ืนๆ ูผ้ย
่อยสลายสารท ่ส
ี ำค ัญได ้แก่ แบคท ีเรียและฟ ั งไจ (fungi)ในด ินโดยได ้รับพลังงานจากการย ่อย
สลายซากพ ืชและซากส ัตว์ รวมท ั
้งส ่งม
ิ ีชีว
ิตต ่าง ๆ ท ่ตายลงไป ในการใช
ี ้พล ังงานเคม ีเพ่
ือท ำงาน ส ่งม
ิ ีช
ีวิตจะปล ่อย
พลังงานความร ้อนไปส ่บร
ู ิเวณรอบๆต ัว ด ังนั
้นพล ังงานความร ้อนน ี
้จึงไม ่หวนกล ับมาในระบบน ิเวศได ้อีก ในทางกล ับกัน
การไหลของพล ังงานผ ่านระบบน ิเวศ สารเคม ีต
่างๆสามารถน ำกล ับมาใช ้ได้อีกระหว ่าง ส ังคมของส ่งม
ิ ีชีว
ิตและส ่ง

แวดล้อมท ่ไม
ี ่ม
ีชีว
ิต พ ืชและผ ู้ผลิตล้วนต ้องการธาต ุคาร์ บอน ไนโตรเจน และแร ่ธาตุ่ืนๆในร
อ ู ปอน
ินทร ียสารจากอากาศ
และด ิน
การส ังเคราะห ์้ดวยแสง(photosynthesis)ได ้รวมเอาธาต ุเหล ่าน้เข
ี ้าไว ้ในสารประกอบอ ินทรี์
ย อาท ิเช่น
คาร์ โบไฮเดรต และโปรต ีน ส ัตว์ต่างๆได ้รับธาต ุเหล่าน้โดยการก
ี ินสารอ ินทร ี์
ย เมแทบบอล ิซึม (metabolism)
ของท ุกชีวิตเปล ่ยนสารเคม
ี ีบางส ่วนกล ับไปเป ็ นสารไม ่มีช
ีวิตในส ่งแวดล
ิ ้อมในร ู ปของสารอน ินทร ี์
ย การหายใจระด ับ
เซลล์ (respiration) เป ็ นการท ำให ้โมเลก ุลของอ ินทร ียสารแตกสลายออกเป ็ นคาร์ บอนไดออกไซด ์ และน ้ำ การ
หมุนเว ียนของสารส ำเร ็จลงได ้้ดวยจ ุลินทร ี์
ยท่ย
ี ่อยอินทร ียสารท ่ตายลงและของเส
ี ียเช่นอุจจาระ และเศษใบไม ้ ูผ
้ย่อย
สลายเหล ่าน้จะก
ี ักเก ็บเอาธาต ุต่างๆไว ้ในด ิน ในน ้ำ และในอากาศ ในร ู ปของ สารอน ินทร ี์ย ซ
ึ่งพ
ืชและผ ู
้ผลิต
สามารถน ำมาสร ้างเป ็ นสารอ ินทร ี์ยได ้อ
ีกคร ั
้ง หม ุนเวียนก ันไปเป ็ นวัฏจ ักร

ระบบน ิเวศ คืออะไร


ระบบน ิเวศ หรือ ecosystem คือ การอย
่ร
ู ่วมก
ันของส่งม
ิ ีชีว
ิตในหน

่งหน
่วยพ

ืนท
่ ซ
ี ึ
่งก
่อให
้เก
ิดความส
ัมพ
ันธ
์ต
่อส
่งม
ิ ี
ีว
ช ิตด
้วยกันเองและปฏ ิส
ัมพ
ันธ
์ต
่อส
่งแวดล
ิ ้อม เกิดการถ
่ายทอดพล ังงานและการหมุนเว
ียนของสสารจากธรรมชาติส
่ส
ู ่ง

ีช
ม ีว
ิตต่าง ๆ

องค์ ประกอบของระบบน ิเวศ มีอะไรบ้าง


ระบบน ิเวศมีองค
์ ประกอบ 2 ส่วน ได้แก่
1. องค ์ ประกอบทางชีวภาพ (biological component) ค ือ ส่งม
ิ ีชีว
ิตในระบบน ิเวศ เช ่น พืช ส ัตว์ มน
ุษย
์ เห็ด
รา จ ุล
ินทรี์
ย เป
็ นต
้น โดยโครงสร ้างของส ่งม
ิ ีชีว
ิตในระบบน ิเวศแบ ่งออกเป ็ น 3 ระด ับ ดังนี

• ู
ผผล
้ ิต (producer) ได ้แก่พ
ืช สาหร ่าย โปรโตซ ัว เช ่น ย ูกล
ีน่า หรือเเบคท ีเรียบางชน ิด โดยมี
บทบาทในการน ำพล ังงานจากแสงอาท ิตย์ มากระตุ
้นสารอน ินทร
ี์ยบางชนิดให้อย ่ในร
ู ู ปของสารอาหาร
• ู
ผบร
้ ิโภค (consumer) ได ้แก
่ สัตว์ท
่ด
ี ำรงชีว
ิตอย่ได
ู ้้
ดวยการก ินส
่งม
ิ ีช
ีวิตอ

ืน ได ้แก่
• ู
ผบร
้ ิโภคพ
ืช (herbivore หร ือ primary consumer) เช ่น ้ชาง ้มา โค กระบ ือ กระต ่าย
เป
็ นต
้น
• ู
ผบร
้ ิโภคส
ัตว
์ (carnivore หร ือ secondary consumer) เช ่น เส ือ สิงโต เหย ่ยว ง
ี ู เป
็ นต
้น
• ู
ผบร
้ ิโภคท

้งส
ัตว์ท

้งพืช (omnivore) เช ่น คน ไก่ ลิง เป ็ นต
้น
• ู
ผย
้ ่อยสลายสารอินทรี์
ย (decomposer) ได ้แก่ เห็ด รา แบคท ีเรีย และจ ุล
ินทรี์ยต่างๆ ท่สามารถ

่อยสลายซากพ
ย ืช ซากสัตว
์ หรือสารอินทร ี์
ย ให้เป
็ นสารอนินทร
ี์ยพ
ืชสามารถน ำไปใช ้ประโยชน ์ ได

2. องค ์ ประกอบทางกายภาพ (physical component) ค ือ ส่งไม
ิ ่มีช
ีวิตในระบบน ิเวศ เช ่น ด ิน น้ำ แสง
ุณหภ
อ ูมิ เป
็ นต
้น

หวงโซ
่ ่อาหารและสายใยอาหาร
่วงโซ
ห ่อาหาร หร ือ Food Chain ค ือ ความสัมพ
ันธ์ ของส
่งม
ิ ีชีว
ิตในเร่
ืองของการก ินต ่อก
ันเป็ นทอด ๆ จาก ู ผ
้ผล
ิตส่


ผบร
้ ิโภค ท ำให ้มีการถ ่ายทอดพลังงานในอาหารต ่อเน่
ืองเป็ นล
ำด ับจากการก ินต่อ โดยห ่วงโซ่อาหารน ั้นม
ีทั
้งหมด 4
แบบ ได ้แก่
1. ่
หวงโซ ่อาหารแบบผู
้ล่า (Predator chain or Grazing food chain) เร ่มจากผ
ิ ู
้ผลิตค
ือพ
ืช
ตามด้วยผ ู้บริโภคอ ันด
ับต่างๆ การถ่ายทอดพลังงานจ ึงประกอบด ้วย ูผ
้ล่า (Predator) และเหย ่
ือ (Prey)
2. ่
หวงโซ ่อาหารแบบปรส ิต (Parasitic chain) เร ่มจากผ
ิ ู
้ถูกอาศ
ัย (Host) ถ ่ายทอดพล ังงานไป
ังปรส
ย ิต (Parasite) และต ่อไปย
ังปรสิตอันด
ับส
ูงกว ่า (Hyperparasite) โดยภายในห ่วงโซ ่น
้จะใช
ี ้การเกาะ
ินซ
ก ึ
่งก ันและก ัน
3. ่
หวงโซ ่อาหารแบบเศษอ ินทร
ี์ย (Detritus chain) เร ่มจากซากพ
ิ ืชหรือซากส ัตว์ (Detritus)
หรือส่งท
ิ ่ไม
ี ่มีช
ีวิตถูกผ

้บริโภคซากพืชซากสัตว
์ก
ัดกิน และผ ู
้บร
ิโภคซากอาจถ ูกกินต่อโดยผู
้บริโภคสัตว์ อีกทอด
4. ่
หวงโซ ่อาหารแบบผสม (Mixed chain) เป ็ นการถ
่ายทอดพล ังงานระหว ่างส่งม
ิ ีชีว
ิตหลายๆ
ประเภท อาจม ีทั
้งแบบผ ู
้ล่า และปรส
ิต เช่น จากผู
้ผลิตไปยังผู
้บริโภคพืช และไปย ังปรส ิตเป
็ นต
้น

สายใยอาหาร (food web)


พลังงานทั
้งหลายในระบบน ิเวศน
้เก
ี ิดจากแสงอาทิตย์ พล
ังงานแสงถูกถ่ายทอดโดยเปล่ยนร
ี ู ปเป
็ นพล
ังงานศ
ักย
์ สะสมไว

ในสารอาหาร ซ ึ
่งเกิดจากกระบวนการส ังเคราะห
์้ดวยแสง แล
้วถูกถ
่ายทอดไปสู่
ู ผบร
้ ิโภคล
ำด ับต่างๆ ในระบบนิเวศ


่งมีความส ัมพ
ันธ
์กันอย
่างซ
ับซ้อนในร
ู ปแบบท
่เร
ี ียกว
่า สายใยอาหาร (food web) โดยสายใยอาหารของกล ่มส
ุ ่งม
ิ ี
ีว
ช ิตใดท
่ม
ี ีความซับซ้อนมาก แสดงว่าผู
้บร
ิโภคลำด
ับท่ 2 และล
ี ำด ับท
่ 3 ม
ี ีทางเล
ือกในการก ินอาหารได้หลายทาง มี
ผลทำให้กล ่มส
ุ ่งม
ิ ีชีว
ิตน

้นม
ีความมั
่นคงในการด ำรงชีว
ิตมากตามไปด้วย

การถ่ายทอดพล ังงานในห ่วงโซ ่อาหาร


สามารถแสดงผ ่านสามเหล ่ยมพ
ี ีระม ิดทางน ิเวศว ิทยา (Ecological Pyramid) ได ้ 3 ล ักษณะ ด ังน
ี้
• พีระม ิดจ ำนวนของส ่งม
ิ ีช
ีวิต (Pyramid of Numbers) ค ือ การแสดงจ ำนวนประชากรของส ่งม
ิ ีช
ีวิตตามล ำด ับขั
้น
ของการบร ิโภคในหน ึ
่งหน ่วยพ้
ืนท ่ ซ
ี ึ่งพีระมิดจำนวนของส ่งม
ิ ีชีว
ิตมักมีู
รปลักษณ ์ต่างจากพ ีระมิดฐานกว ้างทั่วไป
เน
่ืองจากจ ำนวนประชากรในระบบน ิเวศ ไม ่ได
้คำน ึงถึงมวลช ีวภาพของส ่งม
ิ ีชีวิต ท
ำให ้เกิดพีระมิดกลับด้านในระบบ
ิเวศท
น ่ม
ี ีจำนวนของผ ู
้ผล ิตน
้อย แต ่ม
ีชีวมวลขนาดใหญ ่ ซ ึ
่งสามารถรองร ับผ
ู้บร ิโภคจ ำนวนมาก

<img decoding="async" class="size-medium wp-image-22151"
src="https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบน ิเวศ-1-
217x300.jpg" alt="ระบบน ิเวศ" width="217" height="300"
srcset="https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบน ิเวศ-1-
217x300.jpg 217w, https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบ
ิเวศ-1.jpg 253w" sizes="(max-width: 217px) 100vw, 217px" title="ระบบน
น ิเวศ">
ระบบน ิเวศ
• พีระม ิดมวลช ีวภาพ (Pyramid of Biomass) ค ือ การแสดงปร ิมาณมวลรวมช ีวภาพหร ือเน้
ือเย่ือของส ่งม
ิ ีชีว
ิตใน
แต่ละลำด ับข ั
้นของการบร ิโภค ในร ู ปของน ้ำหนักแห้ง (Dry Weight) ต ่อหน ึ
่งหน่วยพ
้ืนท่ ซ
ี ึ
่งพีระมิดมวลของส ่งม
ิ ีชีว
ิต
สามารถแสดงผลของการถ ่ายทอดพล ังงานภายในห ่วงโซ ่อาหารได ้แม่นยำข ึ
้น ถ ึงแม้จำนวนหร ือมวลของส ่งม
ิ ีชีว
ิตจะม ี
การเปล ่ยนแปลงไปตามช
ี ่วงเวลาหร ือฤด ูกาลต่าง ๆ รวมไปถ ึงอัตราการเจร ิญเต ิบโตของส ่งม
ิ ีช
ีวิตแต่ละชน ิดท่ไม
ี ่คงท่


<img decoding="async" class="size-medium wp-image-22152"
src="https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบน ิเวศ-2-
300x295.jpg" alt="ระบบน ิเวศ" width="300" height="295"
srcset="https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบน ิเวศ-2-
300x295.jpg 300w, https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบ
ิเวศ-2.jpg 303w" sizes="(max-width: 300px) 100vw, 300px" title="ระบบน
น ิเวศ">
• พีระม ิดพล ังงาน (Pyramid of Energy) ค ือ การแสดงปร ิมาณพล ังงานของส ่งม
ิ ีช
ีวิตในแต่ละล ำด ับข ั
้นของการ
บริโภคภายในห ่วงโซ่อาหาร ซ ึ
่งสามารถแสดงผลของการถ ่ายทอดพล ังงานภายในห ่วงโซ ่อาหารได ้ชัดเจนท ่ส
ี ุด โดย
ีระม
พ ิดปร ิมาณพล ังงานจะม ีลักษณะเป ็ นพ
ีระมิดฐานกว ้างเสมอ ตามปร ิมาณพล ังงานของส ่งม
ิ ีช
ีวิตในแต่ละล ำั ดบข

้นของ
การบร ิโภค ซ ึ่งจะมีค
่าลดลงตามล ำดับขั
้นท่ส
ี ูงข

้นตาม “กฎ 10 เปอร ์ เซ
็นต์ ” (Ten Percent Law) กล ่าวคือ
พลังงานท ่ส
ี ่งม
ิ ีช
ีวิตแต
่ละล ำด ับขั
้นในระบบน ิเวศได ้ร
ับนั้นจะไม ่เท่าก
ันตามหล ักของล ินด
์ แมนกล่าวไว ้ว
่า พล ังงานท ่ได
ี ้รับ
จากผู
้ผล ิตท ุกๆ 100 ส ่วน จะม ีเพียง 10 ส ่วนเท่านั
้นทู่
ี ผบร
้ ิโภคน ำไปใช ้ในการด ำรงช ีว
ิตและการเจร ิญเต ิบโต และ
พลังงานในผ ู้บริโภคแต ่ละลำด ับท ุกๆ 100 ส ่วนก็จะถูกนำไปใช ้แค่ 10 ส ่วนน ั
่นเอง

<img decoding="async" class="size-medium wp-image-22153"
src="https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบน ิเวศ-3-
300x300.jpg" alt="ระบบน ิเวศ" width="300" height="300"
srcset="https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบน ิเวศ-3-
300x300.jpg 300w, https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบ
ิเวศ-3-150x150.jpg 150w,

https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบน ิเวศ-3-120x120.jpg
120w, https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบน ิเวศ-3.jpg
427w" sizes="(max-width: 300px) 100vw, 300px" title="ระบบน ิเวศ">
ความส
ัมพ
ันธ์ ระหว
่างส
่งม
ิ ีช
ีวิต
ความส
ัมพ
ันธ์ ระหว
่างส
่งม
ิ ีช
ีวิตในระบบนิเวศ แบ ่งออกเป็น 2 ล
ักษณะค
ือ
1. ความส
ัมพันธ์ ระหว
่างส
่งม
ิ ีชีว
ิตชนิดเด
ียวกัน
2. ความส
ัมพันธ์ ระหว
่างส
่งม
ิ ีชีว
ิตต่างชน
ิดกัน
ความส
ัมพ
ันธ์ ระหว
่างส
่งม
ิ ีช
ีวิตในระบบนิเวศแบ ่งได
้เป
็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ค
ือ

1. การได ้รับประโยชน ์ร
่วมกัน (mutualism) เป ็ นการอย ่ร
ู ่วมกันของส่งม
ิ ีชีว
ิต 2 ชน ิดท
่ได
ี ้ประโยชน ์้
ดวยก ันท
ั้งสอง
ชนิด ใช
้สัญล
ักษณ ์ (+, +) เช ่น แมลงก ับดอกไม ้ แมลงด ูดน้ำหวานจากดอกไม ้เป
็ นอาหาร และดอกไม ้ก
็มีแมลงช ่วย
ผสมเกสร
2. ภาวะอ ิงอาศ ัยหรือภาวะเก้
ือกูล (commensalism) เป ็ นการอย ่ร
ู ่วมกันของส ่งม
ิ ีชีว
ิตโดยท่่
ี ฝายหน ึ
่งได้ประโยชน ์
่วนอ
ส ีกฝ
่ ายหนึ
่งไม่ได้ประโยชน์ แต
่ก็ไม
่เสียประโยชน ์ (+,0) เช ่น ปลาฉลามก ับเหาฉลาม เหาฉลามอาศ ัยอย่ใกล
ู ้ตัว
ปลาฉลามและก ินเศษอาหารจากปลาฉลาม ซ ึ
่งปลาฉลามจะไม ่ได้ประโยชน ์ แต ่ก
็ไม่เส
ียประโยชน ์
3. ่ฝายหนึ
่งได้ประโยชน ์ และอ
ีกฝ่ ายหน
ึ่งเส
ียประโยชน ์ ( +, -) ซ ึ
่งแบ่งเป็ น 2 แบบ ค ือ การล ่าเหย่
ือ
(predation) เป ็ นความสัมพ
ันธ์ โดยมี่
ฝายหนึ่งเป
็ นผ

้ล่า (predator) และอ ีกฝ
่ ายหนึ
่งเป
็ นเหย่
ือ (prey) หร ือ
เป
็ นอาหารของอ ีกฝ
่ าย เช่น ง
ูกับกบ และภาวะปรส ิต (parasitism) เป ็ นความสัมพันธ
์ ของส
่งม
ิ ีช
ีวิตท
่ม
ี ี่
ฝายหน ึ
่ง
เป
็ นผ

้เบ
ียดเบ ียน เร ียกว
่า ปรส ิต (parasite) และอ ีกฝ
่ ายหนึ
่งเป็ นเจ
้าของบ ้าน (host)

ความหลากหลายของระบบน ิเวศ
โครงสร ้างของระบบน ิเวศในแต ่ละแหล ่งของโลกม ีความแตกต ่างกัน โดยบางแห ่งเป
็ นภูเขา ท่ราบ ทะเลทราย

ทะเลสาบ และทะเล ท ำให ้เก
ิดระบบน ิเวศท ่หลากหลายบนโลก โดยระบบน
ี ิเวศท

้งหมดน ้จ
ี ัดเป
็ นระบบน
ิเวศขนาดใหญ



่งเรียกว ่าชีวภาคหรือโลกของส ่งม
ิ ีช
ีวิต (biosphere)
ตารางเเสดงประเภทของระบบน ิเวศ ล ักษณะ และบร ิเวณท่พบระบบน
ี ิเวศ
ประเภทของระบบน ิเวศ ล
ักษณะ บร ิเวณท ่พบ

1. ่ปาดิบช้
ืน (tropical rain forest) – อย
่บร
ู ิเวณเส ้นศูนย
์สูตร
– ฝนตกตลอดป ี อาจสูงกว่า 400 เซนต ิเมตรต ่อป

– พบพ ืชพวกไม ้ยาง ตะเคียน ก
ันเกรา บ ุนนาค ปาล ์ ม เฟ
ิ น และมอสส ์ – ประเทศไทย
– มาเลเซ ีย
– อ
ินโดน ีเซีย
– ิ
ฟลิปปิ นส

– อเมร ิกาใต ้
– แอฟร ิกา
2. ทะเลทราย (desert) – อย่บร
ู ิเวณเหน ือหร
ือใต้เส้นศูนย์ส
ูตร บริเวณละติจ
ูดท ่ 30 องศาเหน
ี ือหร
ือใต

– ม
ีฝนตกอย ่างน้อย 20 เซนติเมตรต ่อปี
– พบกระบองเพชร – ทางเหน ือของแม ็กซิโก
– ประเทศช ิล

– เปรู
– แอฟร ิกา
3. ่ปาผล ัดใบ (temperate deciduous forest) – อย ่เหน
ู ือหร
ือใต้บร
ิเวณท่ม
ี ีทะเลทราย
– อากาศอบอ ่น ม
ุ ีฝนตกมาก
– พบพ ืชพวกโอ ๊ ก เมเป
ิล – อเมร ิกาเหน ือ
– ย
ุโรป
– ญ
ุ่
ี ปน

– ออสเตรเล ีย
4. ่ปาสน (taiga) – อากาศหนาวจ ัด มีหิมะในฤด ูหนาว
– พบไม ้ไม่พลัดใบ เช่น สน – ตอนใต ้ของประเทศแคนาดา
– ไซย ีเรีย
5. ทุนดรา (tundra) – ปกคล ุมด้วยน ้ำแข็ง
– ไม่พบต ้นไม้ใหญ่ พบหญ
้ามอสส์ ไลเคน ไม ่พ่มเล
ุ ็กๆ – ทางเหน ือของประเทศแคนาดา
– ร
ัฐอะแลสกาของสหร ัฐอเมริกา
6. ท่งหญ
ุ ้า (grassland) – พบหญ ้าเป็ นจำนวนมาก
– ฝนตกไม ่มาก – อเมร ิกาเหนือ
– แอฟร ิกาใต ้
– อาร์ เจนต ินา
ระบบน ิเวศในน ้ำ
1. ระบบน ิเวศน ้ำจ
ืดแบ่งออกเป
็ น 3 บร ิเวณ คือ บริเวณน้ำ้
ืน (littoral zone) บร
ต ิเวณกลางน ้ำ (limnetic
zone) และบร ิเวณใต ้น
้ำ (profundal zone) ซ ึ
่งแต่ละบร
ิเวณม
ีแสงเป็ นป
ั จจัยหล
ัก ท ่ท
ี ำให้ส่งม
ิ ีช
ีวิตมีความแตก
่างก
ต ัน

<img decoding="async" class="size-medium wp-image-22154"
src="https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบน ิเวศในน ้ำ-1-
300x231.jpg" alt="ระบบน ิเวศในน ้ำ" width="300" height="231"
srcset="https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบน ิเวศในน ้ำ-1-
300x231.jpg 300w, https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบ
ิเวศในน
น ้ำ-1.jpg 347w" sizes="(max-width: 300px) 100vw, 300px" title="ระบบน ิเวศในน ้ำ">
2. ระบบน ิเวศน ้ำทะเลแบ่งออกเป็ น 4 บริเวณ คือ บร ิเวณน
้ำข

้น-น้ำลง บร ิเวณน้ำ้ืน บร
ต ิเวณขอบทว ีป และบร ิเวณ
ใต
้มหาสม ุทรซึ
่งม ืดม
ิด โดยแต่ละบร ิเวณมีแสง อุณหภูมิ และความเค
็ม เป็ นป
ั จจ
ัยในการด ำรงชีวิตของส ่งม
ิ ีี
ชวิต

<img decoding="async" class="wp-image-22155 size-full"
src="https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบน ิเวศในน ้ำ-2.jpg"
alt="ระบบน ิเวศในน ้ำ" width="624" height="300"
srcset="https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบน ิเวศในน ้ำ-
2.jpg 624w, https://www.chulatutor.com/blog/wp-content/uploads/2022/05/ระบบน ิเวศใน
้ำ -2-300x144.jpg 300w" sizes="(max-width: 624px) 100vw, 624px" title="ระบบน
น ิเวศใน
้ำ ">

ัฏจ
ว ักรน ้ำ (water cycle)
้ำเป
น ็ นองค์ ประกอบส ำคัญในเซลล์ ของส
่งม
ิ ีช
ีวิต เป
็ นต
ัวกลางของกระบวนการต ่าง ๆ ในส ่งม
ิ ีช
ีวิต อีกทั
้งยังเป็ นแหล
่ง
่อย

ท ่อาศ
ู ัยของส ่งม
ิ ีช
ีวิตมากมายเพราะโลกของเราประกอบด ้วยน
้ำ 3 ใน 4 ส ่วน วัฏจักรของน ้ำจึงนับว่าม
ีความ
ำค
ส ัญต่อส่งม
ิ ีช
ีวิตเป็ นอย
่างมาก การเก ิดวัฎจ
ักรของน ้ำตามธรรมชาติแบ
่งออกเป ็น 4 ข ั
้นตอน ได ้แก่ การระเหย
การควบแน ่น การเก ิดฝนตก และการรวมต ัวของน้ำ

วฏจ
ั ักรคาร ์ บอน (Carbon Cycle)
คาร
์ บอนเป
็ นองค์ ประกอบหลักของสารอ ินทรี์ยท

้งหมด ดังนั
้นวัฏจ
ักรคาร์ บอนจ
ึงเกิดควบค่ก
ู ับวัฏจ
ักรพล
ังงานในระบบ
ิเวศ การส
น ังเคราะห ์้
ดวยแสงโดยพ ืช สาหร ่าย แพลงก์ ตอนพืชและแบคท ีเร
ีย ใช้๊
กาซคาร ์ บอนไดออกไซด์ และให

ผลผลิตเป
็ นคาร์ โบไฮเดรตในรู ปน
้ำตาลและเม ่
ือม
ีการหายใจ ๊ กาซคาร์ บอนไดออกไซด ์ถ
ูกปลดปล ่อยออกส่บรรยากาศ

ีกคร
อ ั
้ง แม้ว่าในบรรยากาศจะม ี๊
กาซคาร์ บอนไดออกไซด ์ เพ
ียง 0.03% แต ่การสังเคราะห ์้ดวยแสงใช
้๊
กาซ
คาร
์ บอนไดออกไซด ์ จากบรรยากาศไปถ ึง 1 ใน 7 ในขณะเด ียวก
ันก๊ าซคาร
์ บอนไดออกไซด ์ จากการหายใจก็ชดเชย
่วนท
ส ่หายไปค
ี ืนส่บรรยากาศ ท
ู ำให ้ปร
ิมาณก๊ าซคาร
์ บอนไดออกไซด ์ ในบรรยากาศคงท ่ตลอดเวลา

วฏจ
ั ักรออกซิเจน(oxygen cycle)
ัฏจ
ว ักรน
้ำและวัฏจ
ักรออกซ
ิเจน ม
ีความส
ัมพันธ
์ เก
่ยวโยงก
ี ัน เพราะต
่างประกอบด
้วยโมเลก ุลออกซ
ิเจน โดยท

่วไป
O2 ได้มาจากการสังเคราะห
์้
ดวยแสง แล
้วจึงเปล่ยนเป
ี ็ นน
้ำในข

้นตอนการหายใจท่ม
ี ีการใช
้ O2 วัฏจ
ักรออกซ
ิเจน
แบ่งออกเป
็น 2 ขั
้นตอน ได
้แก
่ การส
ังเคราะห์้ดวยแสง และการหายใจแบบใช้ออกซ ิเจน

วฏจ
ั ักรไนโตรเจน (nitrogen cycle)
ไนโตรเจนเป็ นองค
์ ประกอบส
ำคัญของกรดอะม
ิโนซึ
่งเป
็ นองค์ ประกอบของโปรต
ีนท
ุกชนิดในส
่งม
ิ ีชีว
ิต พ
ืชใช
้ไนโตรเจน
ได
้ใน 2 ูรป คือแอมโมเนียม (ammonium หรือ NH4 +) และไนเตรต (nitrate หร ือ NO3 -) และแม้ว
่าใน
บรรยากาศจะประกอบด ้วยไนโตรเจนถ
ึง 80% แต่อย
่ในร
ู ู ปก
๊ าซไนโตรเจน (N2) ซ

่งพืชไม
่สามารถนำมาใช้ได

วฎจ
ั ักรฟอสเฟต (phosphorus cycle)
จะแตกต ่างจากว ัฎจักรอ่
ืนๆ เช ่น คาร ์ บอน ออกซิเจนและไนโตรเจน ค ือ จะไม ่พบฟอสฟอร ัสในบรรยากาศท ั่วไปไม ่
เหมือนก ับว
ัฏจักรท่กล
ี ่าวมา ส ่วนใหญ ่จะอย่ในร
ู ู ปของของแข ็งของสารประกอบฟอสเฟตเก ือบทั
้งหมด เช ่น พบในช ั้นหิน
ฟอสเฟต ฟอสฟอร ัสเป็ นสารท ่เป
ี ็ นองค์ ประกอบสำหร ับสารพ ันธุกรรม เช ่น DNA (deoxyribonucleic acid)
และ RNA (ribonucleic acid) ซ ึ
่งท
ำหน้าท่ควบค
ี ุมกระบวนการเมตาบอล ิซึมและการถ ่ายทอดพ ันธ
ุกรรมของ
เซลล์ นอกจากน ี้ย
ังเป็ นองค์ ประกอบท ่ส
ี ำคัญส
ำหร ับสารให ้พลังงานสูงในส ่งม
ิ ีชีว
ิต เรียกว่า ATP รวมท ั
้งเป็ นองค์ ประ
กอบของฟอสโฟไลป ิ ด (phospholipid)
หน้าท
่ของส
ี ่งม
ิ ีช
ีวิตใน ระบบน ิเวศ
ระบบน ิเวศ (ecosystem) หมายถ ึง ระบบท่ม
ี ีความส ัมพันธ
์ก
ันของกล ่มส
ุ ่งม
ิ ีชีว
ิต พร้อมทั
้งสภาพแวดล ้อมท่ไม
ี ่มีช
ีวิต

ดวย เช ่น อุณหภูม
ิ แสง ความช ้
ืน ในพ ้ืนท
่ใดพ
ี ้ืนท
่หน
ี ึ
่ง ซึ
่งความส ัมพ
ันธ์นั้นหมายถ ึงการอาศ ัยอย่ร
ู ่วมกันของส ่งม
ิ ีช
ีวิต
และส ่งไม
ิ ่ม
ีชีว
ิตในบร ิเวณหน ึ
่ง ด ังนั
้นในบร ิเวณใดๆ ท ่ม
ี ีส
่งม
ิ ีช
ีวิตและส่งไม
ิ ่มีช
ีวิตมีความส
ัมพ ันธ
์ก
ันเพ ่
ือให้เกิดการแลก
เปล่ยนสารและถ
ี ่ายทอดพล ังงานระหว ่างกันเรียกว่าระบบน ิเวศ ประกอบด ้วยประเด ็นส
ำค ัญ 4 ประเด ็น ื คอ
1. หน
่วยพ้
ืนท่ หมายถ
ี ึง ระบบน ิเวศจะถ ูกจำก ัดขอบเขตหร ือขนาด ด ังน

้นจะเล ็กหรือใหญ ่อย
่างไรก ็ได้
แต่ขอให้มีอาณาบร ิเวณอย ่างเด ่นชัด เช ่น สระน ้ำ อ ่างเก ็บน้ำ ่ ปาไม ้ เม ือง ชนบท เป ็ นต
้น
2. ่

สงมีชีวิต หมายถ ึง องค ์ ประกอบหร ือโครงสร ้างท ั
้งหมดท ่เป
ี ็ นส่งม
ิ ีชีวิตภายในหน ่วยพ ้
ืนท่น
ี ั
้น
3. ่

สงแวดล ้อม หมายถ ึง องค ์ ประกอบท ั
้งหลายในหน ่วยพ ้
ืนท ่น
ี ั
้น ท ั
้งท่เป
ี ็ นส่งม
ิ ีชีว
ิตและส ่งท
ิ ่ไม
ี ่มีช
ีวิต เช ่น

ตนไม้ สัตว์ ดิน น ้ำ อากาศ สารอาหาร เป ็ นต้น
4. ระบบความส ัมพันธ์ หมายถ ึง ระบบความส ัมพันธ ์ ระหว ่างส ่งม
ิ ีชีวิตหน ึ
่งก ับส่งไม
ิ ่ม
ีชีวิตและส ่งม
ิ ีชีว
ิตอ่
ืน
ในหน ่วยพ
้ืนท่น
ี ั
้น น ั
่นค ือส่งต
ิ ่างๆ ภายในพ ้
ืนท ่น
ี ั
้นต่างก ็ม
ีบทบาทและหน ้าท ่ของตนเองอย
ี ่างช ัดเจน ท ำให ้สามารถสร ้าง
ความส ัมพันธ์ท่จะอย
ี ่ร
ู ่วมก ันได ้ ระบบความส ัมพันธ ์นี
้จะม ีกฎเกณฑ ์ท่แน
ี ่นอนจนส ุดท้ายก ็จะแสดงเอกล ักษณ ์ ของระบบน ั
้นๆ
เช่น ระบบน ิเวศล ำน ้ำน ่าน ระบบน ิเวศป ่ าดิบเขา ระบบน ิเวศหนองน ้ำ เป ็ นต
้น
ระบบน ิเวศ ม ีองค ์ ประกอบท ่ส
ี ำค ัญ 2 ส ่วน ค ือ
1. องค์ ประกอบทางช ีวภาพ (biological component) ได ้แก ่ ส่งม
ิ ีชีว
ิตในระบบน ิเวศ เช ่น พืช
ัตว
ส ์ มนุษย์ เห ็ด รา จ ุล
ินทร ี์ย เป็ นต้น
2. องค์ ประกอบทางกายภาพ (physical component) ได ้แก ่ ส่งไม
ิ ่มีช
ีวิตในระบบน ิเวศ เช ่น ดิน
้ำ แสง อ
น ุณหภ ูมิ เป็ นต้น
โครงสร ้างของส ่งม
ิ ีชีวิตในระบบน ิเวศแบ ่งออกเป ็ น 3 ระด ับ (trophic levels)
1. ู
ผผล
้ ิต (producer) เป ็ นส่งม
ิ ีชีว
ิตท ่สามารถสร
ี ้างอาหารได ้ เช ่น พ ืชท่ม
ี ีสารส ีในการส ังเคราะห ์

ดวยแสง (คลอโรฟ ิ ลล
์ แคโรท ีน แซนโทฟ ิ ลล
์ ) เร ียกส ่งม
ิ ีชีว
ิตกล ่มท
ุ ่สามารถสร
ี ้างอาหารได ้เองน ี
้ว่าออโตโทรฟ
(autotroph) เช ่น แพลงก ์ ตอนพ ืช แบคท ีเรียบางชน ิดท่ส
ี ังเคราะห ์้ดวยแสงได ้ พืชท ุกชนิด ส ่งม
ิ ีชีว
ิตเหล ่าน ี
้โดย
เฉพาะพ ืชใบเข ียว สร ้างอาหารข ึ
้นมาจากสารประกอบอน ินทร ี์ยโมเล ุกลเล ็กให ้เป็ นสารประกอบท ่ม
ี ีพลังงานส ูง พวก
คาร์ โบไฮเดรตและสารอ ่
ืนๆ โดยกลไกจากการส ังเคราะห ์้ดวยแสง ผลผล ิตท ่ได
ี ้จากกระบวนการส ังเคราะห ์้ดวยแสง
้ค

น ือคาร์ โบไฮเดรต จะเป ็ นสารอาหารท ่ให
ี ้พลังงานแก ่ส
่งม
ิ ีช
ีวิตอ่
ืนท ่ได
ี ้รับเข ้าไปในร ู ปของอาหาร และแก ๊ สออกซ ิเจน
จากปฏ ิก
ิริยาน ้จะเป
ี ็ นแก๊ สท่คายออกทางปากใบของพ
ี ืชแล้วแพร ่ไปในบรรยากาศ ซ ึ
่งมีประโยชน ์ทั
้งต ่อมน ุษย์ และระบบ
ิเวศในหลายกรณ
น ี
2. ู
ผบร
้ ิโภค (consumer) เป ็ นส่งม
ิ ีชีวิตท่ไม
ี ่สามารถสร ้างอาหารได ้เอง ้ ตองได ้รับอาหารโดยก ินผู

ผลิต เรียกส ่งม
ิ ีช
ีวิตกล ่มน
ุ ้ว
ี ่าเฮเทโรโทรฟ (heterotroph) เช ่น แพลงก ์ ตอนส ัตว์ ส ัตว์ต่างๆ ท ั้งช้าง ้ มา วัว
ควาย หม ี นก ผ ีเส ้
ือ ฯลฯ เน ่ืองจากส ่งม
ิ ีชีว
ิตท ่เป
ี ็ นผู
้บร ิโภคน ้ม
ี ีจ
ำนวนมากและแต ่ละชน ิดก็มีลักษณะการบร ิโภคท ่แตก

่างก
ต ัน สามารถแบ ่งผู้บริโภคออกเป ็ นกล ่มๆ โดยย
ุ ึดชน ิดของอาหารท ่ก
ี ินเป ็ นเกณฑ ์ ซ ึ่งจำแนกผ ู
้บร ิโภคได ้เป ็ น 3 กล ่ม

ือ

• ู
ผบร
้ ิโภคพ ืช (herbivore) หร ือผ ู
้บร ิโภคล ำด ับท่ 1 (primary consumer)

เช่น ้ชาง ้ มา โค กระบ ือ กระต ่าย เป ็ นต้น
• ู
ผบร
้ ิโภคส ัตว ์ (carnivore) หร ือผ ู
้บร ิโภคล ำด ับท ่ 2 (secondary consumer)

เช่น เสือ ส ิงโต เหย ่ยว ง
ี ู เป ็ นต
้น
• ู
ผบร
้ ิโภคท ั
้งส ัตว์ทั
้งพ ืช (omnivore) เช ่น คน ไก ่ ล ิง เป ็ นต
้น
3. ู
ผย
้ ่อยสลาย (decomposer) เป ็ นส่งม
ิ ีชีว
ิตท่ไม
ี ่สามารถสร ้างอาหารเองได ้ แต ่อาศ ัยอาหารจากส ่ง

ีช
ม ีว
ิตชนิดอ่ืน โดยการสร ้างน ้ำย ่อยออกมาย ่อยสลายแร ่ธาต ุต
่างๆ ในส ่วนประกอบของซากส ่งม
ิ ีชีวิตให ้เป็ นสารโมเลก ุ
ลเล็กๆ แล ้วจึงด ูดซ ึมอาหารผ ่านเย ่ือหุ้มเซลล ์ เข้าไปใช ้ เช ่น แบคท ีเรีย เห ็ด รา เป ็ นต้น
พลังงานท ่ส
ี ่งมาถ ึงระบบน ิเวศท ั
้งหลายอย ่ในร
ู ู ปของแสงอาท ิตย
์ พ ืชและผ ู้ผลิตอ่ืนๆ จะท ำการเปล ่ยนพล
ี ังงานแสงให ้
เป
็ นพลังงานเคม ีในร ู ปของอาหารท ่ให
ี ้พล ังงานเช ่นแป ้งหร ือคาร ์ โบไฮเดรต พล ังงานจะไหลต ่อไปย ังส ัตว์ โดยการก ิน
ืช และผ
พ ู้ผลิตอ่ืนๆ ู ผ
้ย่อยสลายสารท ่ส
ี ำค ัญได ้แก ่ แบคท ีเรียและฟ ั งไจ (fungi) ในด ิน โดยได ้ร ับพล ังงานจากการ
่อยสลายซากพ
ย ืชและซากส ัตว์ รวมท ั
้งส ่งม
ิ ีชีวิตต ่างๆ ท ่ตายลงไป ในการใช
ี ้พล ังงานเคม ีเพ่
ือท ำงาน ส ่งม
ิ ีช
ีิวตจะปล ่อย
พลังงานความร ้อนไปส ่บร
ู ิเวณรอบๆต ัว ด ังน ั
้น พล ังงานความร ้อนน ี
้จึงไม ่หวนกล ับมาในระบบน ิเวศได ้อีก ในทางกล ับ
ันการไหลของพล
ก ังงานผ ่านระบบน ิเวศ สารเคม ีต่างๆ สามารถน ำกล ับมาใช ้ได ้อีกระหว ่างส ังคมของส ่งม
ิ ีีชวิตและส ่ง

แวดล้อมท ่ไม
ี ่มีชีว
ิต พ ืชและผ ู้ผลิตล้วนต ้องการธาต ุคาร ์ บอน ไนโตรเจน และแร ่ธาต ุ่ืนๆ ในร
อ ู ปอน ินทร ียสารจาก
อากาศ และด ิน
การส ังเคราะห ์้ดวยแสง (photosynthesis) ได ้รวมเอาธาต ุเหล ่าน ้เข
ี ้าไว ้ในสารประกอบอ ินทร ี์ย อาท ิเช่น
คาร์ โบไฮเดรต และโปรต ีน ส ัตว์ต
่างๆ ได ้ร
ับธาต ุเหล ่าน้โดยการก
ี ินสารอ ินทร ี์
ย เมแทบบอล ิซ
ึม (metabolism)
ของท ุกช
ีวิตเปล ่ยนสารเคม
ี ีบางส ่วนกล ับไปเป ็ นสารไม ่มีช
ีวิตในส ่งแวดล
ิ ้อมในร ู ปของสารอน ินทร ี์ย การหายใจระด ับ
เซลล์ (respiration) เป ็ นการท ำให ้โมเลก ุลของอ ินทร ียสารแตกสลายออกเป ็ นคาร ์ บอนไดออกไซด ์ และน ้ำ การ
หมุนเวียนของสารส ำเร ็จลงได ้้ดวยจ ุลินทร ี์ยท
่ย
ี ่อย
ินทร
อ ียสารท ่ตายลงและของเส
ี ีย เช ่น อ ุจจาระ และเศษใบไม ้ ู ผ
้ย่อยสลายเหล ่าน ้จะก
ี ักเก ็บเอาธาต ุต่างๆ ไว ้ในด ิน
ในน้ำ และในอากาศ ในร ู ปของสารอน ินทร ี์
ย ซ ึ
่งพ ืชและผ ู
้ผลิตสามารถน ำมาสร ้างเป ็ นสารอ ินทร ี์ยได้อีกคร ั
้ง
หมุนเวียนก ันไปเป ็ นวัฏจักร

สร
ุป
ระบบน
ิเวศค
ือความจส
ัมพ
ันธ
์ ขอส
่งม
ิ ีชีว
ิตและไม
่ีมช
ีวิตหลายๆชน
ิดรวมก
ัน
มาจาก https://www.scimath.org/lesson-biology/item/7028-2017-05-21-14-25-17
https://www.chulatutor.com/blog/%E0%B8%8A
%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2-
%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%A8/
https://www.ondemand.in.th/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A
%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%A8-%E0%B8%A1-3/

You might also like