You are on page 1of 19

ลักษณะของสิ่ งมีชีวติ ถูกกำหนดโดยพันธุกรรม

พันธุกรรมประกอบขึน้ ด้ วย “ยีน” หลาย ๆ ยีน

DNA  RNA  Protein


ลักษณะของสิ่ งมีชีวติ อาจแบ่ งได้ เป็ น 2 แบบ

Phenotype ลักษณะทีป่ รากฎให้ เป็ นภายนอก


Genotype ลักษณะทางพันธุกรรม

?? สิ่ งทีชีวติ ทีม่ ยี นี เหมือนกันทุกประการ


จะมีลกั ษณะเหมือนกันหรือไม่ ??
ความเหมือนหรือความแตกต่ างของสิ่ งมีชีวติ

พันธุกรรม สิ่ งแวดล้ อม


ลักษณะทางพันธุกรรมกับสงิ่ มี
ชวี ติ มีอยูม่ ากมายแตกต่างกันออกไป
ความแตกต่างของลักษณะของสงิ่ มี
ชวี ต ่ น
ิ มิใชข ึ้ อยูก
่ บ ั พันธุกรรมทีต ่ า่ งกัน
เท่านัน ้ สว่ นหนึง่ ยังขึน ้ อยูก
่ บ

อิทธิพลของสงิ่ แวดล ้อม ดังนัน ้
ลักษณะของสงิ่ มีชวี ต ิ ทีแ่ สดงออกมา
จะถูกเปลีย ่ นแปลงไปตามสภาพของ
สงิ่ แวดล ้อมทีส ่ งิ่ มีชวี ติ ชนิดนัน ้
สิ่ งแวดล้อมทีม่ อี ทิ ธิพลต่ อลักษณะทางพันธุกรรม
แบ่ งออกเป็ น 2 กรณี คือ

1.อิทธิพลจากสงิ่ แวดล้อมภายนอก สงิ่ แวดล้อมภายนอก ได้แก่


ี า่ งๆ เป็นต้น
อุณหภูม ิ แสงสว่าง อาหาร สารเคมี ร ังสต

อุณหภูมิ
อุณหภูมม ี ว่ นสำค ัญต่อทางชวี เคมีของร่างกายหรือภายในเซลล์ อ ันมีผลต่อการ
ิ ส
เปลีย
่ นแปลงของล ักษณะทีแ ่ สดงออกมา
่ - การม้วนปี กแมลงว ัน เมือ
ต ัวอย่างเชน ่ ออยูท
่ อ ุ หภูม ิ 25 °C ปี กแมลงว ันจะม้วนไม่
ี่ ณ
ตรง แต่ถา้ หากให้อณ
ุ หภูมล ้ จะมี
ิ ดลงเหลือ 16 °c พบว่าแมลงว ันทีเ่ กิดขึน
ปี กตรงไม่มว้ น
แสงสว่ าง

แสงสว่างเป็นสงิ่ แวดล้อมทีม ่ อ
ี ท
ิ ธิพลต่อ
การสร้างคลอโรฟิ ล และการสร้างส ี
ต ัวอย่างเชน่

- การสงเคราะห์ คลอโรฟิ ลของใบพืช
แม้วา่ เซลล์พช ื จะมียน ี ทีค
่ วบคุมการ

สงเคราะห์ คลอโรฟิ ลก็ตาม แต่ถา้ ให้พช ื
เจริญเติบโตในทีม ่ ดื พบว่าใบพืชจะเป็น
สเี หลืองไม่เป็นสเี ขียวแสดงว่าเซลล์พช ื

ไม่สามารถสงเคราะห์ คลอโรฟิ ลได้
- การสร้างสข ี องข้าวโพดบางพ ันธุ ์ ในที่
ไม่มแ ี สงแดด
ข้าวโพดจะไม่มส ี เี ลย แต่ถา้ หาก
หนุ่มเขตหนาว VS สาวเขตร้อน
อาหาร
อาหารมีอท ิ ธิพลต่อการ
แสดงออกมาของยีน
ต ัวอย่างเชน ่
- การสร้างไขม ันสเี หลืองของ
กระต่าย กระต่ายจะสามารถ
สร้างไขม ันสเี หลืองได้ก็ตอ ่ เมือ
่ มี
องค์ประกอบของยีน และมี
อาหารทีเ่ หมาะสม ถ้าหากขาด
อย่างใดอย่างหนีง่ ไปแล้ว ไขม ัน
ทีส ้ มาจะไม่เป็นสเี หลือง
่ ร้างขึน
2. อิทธิพลของสิ่ ง
แวดล้ อมภายใน
สิ่ งแวดล้ อมภายใน ได้ แก่ อายุ เพศ ฮอร์ โมน เป็ นต้ น
อายุ
อายุมคี วามสำคัญต่ อการแสดงออกของลักษณะบางลักษณะ (การ
แสดงออกของยีน) โดยพบว่ า ลักษณะบางอย่ างจะยังไม่ แสดงออก
จนกว่ าจะถึงวัยอันสมควรหรือมีอายุมากขึน้
ตัวอย่ างเช่ น
- สี ผมของคน อาจจะเปลีย่ นเมือ่ อายุมากขึน้
- ลักษณะหัวล้ าน จะแสดงออกในชายบางคนทีม่ อี ายุมากขึน้
- ลักษณะสี ขนของสั ตว์ เช่ น การเปลีย่ นแปลงของขนและสี ของ
ไก่
เพศและฮอร์ โมน
ทงเพศและฮอร์
ั้ โมนจะเป็นสงิ่ ทีม ่ อ
ี ท
ิ ธิพลทีม
่ ผ
ี ล
ต่อการแสดงออกของล ักษณะหรือของยีน โดย
ทงเพศผู
ั้ แ
้ ละเพศเมียมียน ี เหมือนๆก ัน แต่
ล ักษณะหลายอย่างทีแ ่ สดงออกมาแตกต่างก ัน
และบางล ักษณะจะแสดงออกในเพศใดเพศหนึง่
เท่านน ั้
ต ัวอย่างเชน ่
- การเกิดหนวดเคราในผูช ้ าย สว่ นในผูห ้ ญิง
ไม่ม ี
- การสร้างน้ำนมของสตว์ ั เลีย ้ งลูกด้วยน้ำนมเพศ
เมีย สว่ นเพศผูจ ้ ะไม่มก ี ารสร้างน้ำนม
- การเกิดเขาในสตว์ ั พวกกวางหรือแกะต ัวผู ้ แต่
ในต ัวเมียไม่มเี ขา
ั ทางพ ันธุศาสตร์
ศพท์
• จีโนไทป์ (Genotype) หมายถึงชนิดของยีนทีม่ าจับคู่
กัน โดยปกติลกั ษณะของสิง่ มีชวี ติ หนึง่ ลักษณะจะถูกควบคุมโดยยีน
อย่างน้อย 1 คู่ เนือ่ งจากเป็ นยีนทีม่ าจากพ่อแม่อย่างละครึง่
นัน่ เอง
• ฟี โนไทป์ (Phenotype) หมายถึงลักษณะทีเ่ กิดจากการ
แสดงออกของยีน สามารถมองเห็นหรือตรวจสอบได้ เช่น สีผวิ
สีผม สีตา ความสูง ความเตี้ย ลักษณะความถนัด และกลุม่ เลือด
เป็ นต้น
ั ทางพ ันธุศาสตร์
ศพท์
• โฮโมไซกัส (Homozygous) หมายถึงการจับคู่ของยีนทีม่ สี ภาพเหมือนกัน
เช่น ยีนเด่นจับคู่กบั ยีนเด่น หรือยีนด้อยจับคู่กบั ยีนด้อย
• เฮเทอโรไซกัส (Heterozygous) หมายถึงการจับคู่ของยีนต่างสภาพ ได้แก่ ยีนสภาพ
เด่นจับคู่กบั ยีนสภาพด้อย ซึง่ เรียกว่า เป็ นลักษณะพันธุ์ทาง
ั ทางพ ันธุศาสตร์
ศพท์
• ลักษณะเด่น (Dominance) หมายถึงลักษณะเด่นของยีนซึางเป็ นลักษณะข่ม
โดยมีสมบัตขิ ม่ ยีนด้อยได้ ถ้าสภาพยีนเด่นนัน้ เป็ นปกติ
• ลักษณะด้อย (Recessive) หมายถึงลักษณะด้อยของยีน โดยปกติจะถูกข่มโดยยีนเด่น
ั ทางพ ันธุศาสตร์
ศพท์
• ลักษณะเด่นร่วมกัน (Co-dominance) เมือ่ ยีนเด่น
ของลักษณะต่างกันมาจับกัน แล้วส่งผลให้เกิดการแสดงออกของทัง้ สอง
ลักษณะ เรียกลักษณะเด่นทีแ่ สดงออกมาทัง้ สองนีว้ ่า เด่นเท่ากัน เช่น ยีนนำ
ลักษณะแอนติเจนเอ เมือ่ มาจับคู่กบั ยีนนำลักษณะแอนติเจนบี จะปรากฏเป็ นก
ลุม่ เลือดแบบเอบีขน้ ึ ซึง่ ลักษระดังลกล่าวนีเ้ กิดจากยีนหลายคู่ควบคุมลักษณะ
เดียวกัน
ั ทางพ ันธุศาสตร์
ศพท์
• ลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ (Incomplete
dominance) บางครัง้ ยีนเด่นบางชนิดมีสภาพอ่อนแอ ไม่สามารถข่ม
ยีนด้อยลงได้ทงั้ หมด จึงทำให้เกิดผลของการทำปฏิกริ ยิ าร่วมกันของยีน ได้
ลักษณะทีไ่ ม่เหมือนพ่อหรือแม่ออกมา ลักษณะดังกล่าวอาจเป็ นลักษณะกลาง
ระหว่างลักษณะของพ่อแม่กไ็ ด้ ตัวอย่างทีพ่ บ ได้แก่ สีแดงในดอกลิน้ มังกร
ซึง่ พบว่าเป็ นลักษณะเด่นแบบไม่สมบูรณ์ ข่มลักษณะสีขาวซึง่ เป็ นลักษณะด้อยลง
ไม่ได้ทงั้ หมด จึงทำให้เกิดดอกสีชมพู ขน้ ึ เป็ นต้น
ั ทางพ ันธุศาสตร์
ศพท์
• โฮโมไซกัส โดมิแนนซ ์ (Homozygous dominance)
หมายถึงสภาพยีนเด่นมาจับคู่กนั จะได้ฟีโนไทป์ของลักษณะเด่น ลักษณะนีเ้ รียกจัดเป็ นพันธุ์
แท้ลกั ษณะเด่น
• เฮเทอโรไซกัส โดมิแนนซ์ (Heterozygous dominance) หมายถึงยีน
สภาพเด่นจับคู่กบั ยีนสภาพด้อย ลักษณะนีจ้ ดั เป็ นลักษณะพันธุ์ทางนัน่ เอง
• โฮโมไซกัส รีเซสซีพ (Homozygous recessive) หมายถึงยีนสภาพด้อย
จับคู่กนั ฟี โนไทป์เป็ นลักษณะด้อย ลักษณะนีจ้ ดั เป็ นพันธุ์แท้ลกั ษณะด้อยลักษณะ

You might also like