You are on page 1of 73

กระบวนการถ่ ายทอดทางพันธุกรรม

ลักษณะทางพันธุกรรม (Genetic character )


พันธุกรรม (Heredity) คือ การถ่ายทอด
ลัก ษณะต่ า ง ๆ จากรุ่ นสู่ รุ่ นหรื อจาก
บรรพบุรุษไปสู่ ลูกหลานโดยอาศัยเซลล์
สื บพันธุ์ ซึ งพันธุ กรรมบางอย่างอาจไม่
ปรากฏในรุ่ น ลู ก แต่ ไ ปปรากฏในรุ่ น
หลานได้

ลักษณะทางพันธุ กรรม คือ ลักษณะ


ต่าง ๆ ของสิ งมีชีวติ ทีถูกควบคุมโดย
ยี น (Gene) และสามารถถ่ า ยทอด
ลัก ษณะจากรุ่ น หนึ งไปยัง รุ่ นต่ อ ๆ
ไปได้
โครงสร้ างเซลล์ (Cell)

Chromatin
กระจายอยู่ทวั
นิวเคลียส
โครโมโซม (Chromosome)

เมือเซลล์ มีการแบ่ งตัวของเซลล์ โครมาทิน (chromatin) จะมีการขดตัวสั นจนมีลักษณะ


เป็ นแท่ งจะเรียกว่ า โครโมโซม (chromosome) เมือโครโมโซม (chromosome) ได้ จําลอง
ตัวเองจนมีลกั ษณะเป็ นเส้ นคู่ จะเรียกว่ า โครมาทิด (chromatid)
Chromosome

ยีนหรือหน่ วย
พันธุกรรม
เป็ นส่ วนหนึงทีอยู่บน
ดีเอ็นเอ
DNA (Deoxyribonucleic Acid)
Purine

Pyrimidine
ลักษณะปรากฏถูกควบคุมด้ วยหน่ วยพันธุกรรม
ยีน (gene) คือ หน่วยพันธุกรรมทีอยูบ่ นโครโมโซม
(chromosome) ทําหน้าทีควบคุมลักษณะต่าง ๆ ทาง
พันธุกรรมจากพ่อแม่ไปยังลูกหลาน
รู ปแบบของยีนเรี ยกว่า ‘แอลลีล (Allele)’ มี 2 ลักษณะ คือ
1. แอลลีลเด่ น (dominant allele) คือ แอลลีลทีควบคุมลักษณะเด่นและ
แสดงลักษณะนันๆ ออกมาได้ อาจเรี ยกว่า ‘ยีนเด่ น’ มักเขียนแทนด้วยอักษร
พิมพ์ใหญ่ เช่น T
2. แอลลีลด้ อย (recessive allele) คือ แอลลีลทีควบคุมลักษณะด้อย ไม่
สามารถแสดงลักษณะออกมาได้ อาจเรี ยกว่า ‘ยีนด้ อย’ มักเขียนแทนด้วย
อักษรพิมพ์เล็ก เช่น t
มัลติเปิ ลแอลลีล (Multiple alleles)
การเข้าคู่ของแอลลีล เรี ยกว่า “ มัลติเปิ ลแอลลีล (Multiple alleles) ”
 แอลลีลทีเป็ นคู่เหมือนกัน เช่น TT หรื อ tt เรี ยกว่า Homozygous (พันธุ์แท้)
 แอลลีลทังคู่ต่างกัน เช่น Tt เรี ยกว่า Heterozygous (ลูกผสม หรื อพันทาง)
จํานวนโครโมโซมในเซลล์ร่างกายของสิ งมีชีวติ แต่ ละชนิด
โครโมโซมในร่ างกายมนุษย์ (Somatic cell) มีทงหมด
ั 2n = 46 (23 คู่)
1. โครโมโซมร่ างกาย (Autosome) จํานวน 44 โครโมโซม (22 คู)่
2. โครโมโซมเพศ (Sex chromosome) จํานวน 2โครโมโซม (1 คู)่ ในรู ปแบบ XX เพศ
หญิง และ XY เพศชาย
เพศ โครโมโซมร่ างกาย โครโมโซมเซลล์ สืบพันธ์
มนุษย์ผหู ้ ญิง 44+XX 22+X

เซลล์ไข่
มนุษย์ผชู ้ าย 44+XY 22+X หรื อ 22+Y

เซลล์อสุ จิ
ลักษณะของโครโมโซมในร่ ายกายมนุษย์
Autosome

Sex chromosome
การปฏิสนธิ
อสุ จจิ ากพ่ อ ไข่ จากแม่
โครโมโซม 23 โครโมโซม โครโมโซม 23 โครโมโซม

ปฏิสนธิ

ไซโกต
โครโมโซม 46 โครโมโซม
สรุป

Dominant allele
Recessive allele

Chromatids

ทีมา: https://www.asharedvision.com/gene-therapy-research/understanding-genetic-disease/
ความแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic Variation)
สิ งมี ชี วิ ต ชนิ ดเดี ย วกั น จะมี ล ั ก ษณะทางพั น ธุ ก รรม
คล้ายคลึงกัน และมีความแตกต่างกันน้อยกว่าสิ งมีชีวิตต่างชนิ ด
กัน ความแตกต่างอันเนื องจากมีลกั ษณะพันธุกรรมแตกต่างกัน
เรี ยกว่า ความแปรผันทางพันธุกรรม (genetic variation)

ความแปรผันทางพันธุกรรม จําแนกได้ 2 ประเภท คือ


1. ความแปรผันทางพันธุกรรมแบบไม่ต่อเนือง (Discontinuous variation)
2. ความแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่อเนือง (Continuous variation)
ความแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic Variation)
1. ความแปรผันทางพันธุกรรมแบบไม่ ต่อเนือง (Discontinuous variation)
• เป็ นลักษณะทางพันธุกรรมทีสามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจน
• เกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์เพียงอย่ างเดียว
• เช่น มีลกั ยิ ม-ไม่มีลกั ยิ ม มีติ งหู-ไม่มีติ งหู ความถนัดซ้าย-ขวา ความห่ างของคิ ว
หน้าผากมีรอยหยัก-ไม่มีรอยหยัก
ความแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic Variation)
2. ความแปรผันทางพันธุกรรมแบบต่ อเนือง (Continuous variation)
• เป็ นลักษณะทางพันธุกรรมทีไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจน
• เกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์และสิงแวดล้ อมร่ วมกัน
• เช่ น นํา หนัก สี ผิ ว สี ผม และส่ วนสู ง หากได้รับ สารอาหารถูก ต้องตามหลัก
โภชนาการ และออกกําลังกายอย่างเพียงพอก็จะทําให้มีร่างกายสูงได้
พันธุศาสตร์ (Genetics) เป็ นการศึกษาการ
ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และความ
หลากหลายทางพันธุกรรมของสิ งมีชีวติ และ
ยังมีความหมายรวมถึงความรู ้ทางวิทยาศาสตร์
เกียวกับหลักเกณฑ์ในการถ่ายทอดลักษณะ
ของสิ งมีชีวติ จากรุ่ นสู่รุ่น

เกรเกอร์ โยฮั น น์ เมนเดล


(Gregor Johann Mendel,
2365-2427) บิ ด าแห่ ง พัน ธุ
ศาสตร์
ลักษณะทางพันธุกรรมของถัวลันเตา 7 ประการ
ตัวอย่างการผสมดอกถัวลันเตาสี ม่วง (dominant gene) กับ ดอกสี ขาว (recessive gene)

P BB X bb

F1 Bb

ลูกรุ่ น F1 มี genotype แบบ Pp ทังหมด และมี phenotype เป็ น สี ม่วงทังหมด


ตัวอย่างการผสมดอกถัวลันเตาสี ม่วง (รุ่ น F1) เข้าด้วยกันเพือหา รุ่ น F2

F1

F1 F2

ลูกรุ่ น F2 มี genotype แบบ BB Bb bb ในอัตราส่วน 1:2:1


และมี phenotype เป็ น สี ม่วงและสี ขาว ในอัตราส่วน 3:1
Monohybrid cross
F1: ลูกรุ่นที 1 F2: ลูกรุ่นที 2
Dihybrid cross
เมือผสมพันธุ์ถัวลันเตาพันธุ์แท้ ลักษณะเมล็ดสีเหลือง เมล็ดกลม กับ
ลักษณะเมล็ดสีเขียว ขรุขระ จะได้ ลูกรุ่น F1 และ F2 ดังภาพ

F2

F2
การกลายพันธุ์ (Mutation)
การกลายพันธุ์ หรื อ การผ่าเหล่ า (Mutation) คือ สภาพของสิ งมีชีวิตทีเกิดมีการ
เปลียนแปลงทางพันธุกรรมจากเดิมทีเคยเป็ น โดยเฉพาะการเปลียนแปลงของยีน
ระดับของการกลายพันธุ์ทเกิ
ี ดขึนในสิ งมีชีวติ มี 2 ระดับ

1. การกลายพันธุ์ในระดับโครโมโซม (Chromosomal Mutation)


การกลายพันธุ์ทเซลล์
ี ร่างกาย (Somatic Cell)
การกลายพันธุ์ทเซลล์
ี สืบพันธุ์ (Gamete)
2. การกลายพันธุ์ในระดับยีนหรือโมเลกุลของดีเอ็นเอ (DNA Gene Mutation)
Somatic cell

โครโมโซมเพิ ม • ดาวน์ซินโดรม (Down Syndrome)


• กลุ่มอาการเอ็ดวาดส์ (Edwards Syndrome)

โครโมโซมลด • กลุ่มอาการคริ ดูชาต์ (Cri-du-chat Syndrome)

• โรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
ยีนด้ อยบนออโตโซม
• โรคผิวเผือก (Albinism)

ยีนเด่ นบนออโตโซม • ท้าวแสนปม (Neurofibromatosis)


ดาวน์ ซินโดรม (Down Syndrome) • มีโครงสร้างทางใบหน้าทีโดดเด่นชัดเจน
เช่ น หน้ า แบน หั ว เล็ ก หู เ ล็ ก หู บิ ด ผิ ด
รู ปร่ าง ปากเล็ก ตาเรี ยว หางตาเฉี ยงขึน มี
จุดสี ขาวอยู่ทีตาดํา คอสัน แขนขาสัน ตัว
เตียกว่าคนในวัยเดียวกันเมือโตขึน
• นิ วสัน มื อสัน เท้าสัน เส้นลายมื อตัดเป็ น
เส้นเดียว
• ลิ นจุกอยูท่ ีปาก
• เชาวน์ ปั ญญาตํ า ทํ า ให้ มี ปั ญหาด้ า น
พัฒนาการ
Down Syndrome

• โครโมโซมคูท่ ี 21 เกินมา 1 แท่ง (Trisomy


21) เป็ นสาเหตุของดาวน์ซินโดรมประมาณ
94%
• สาเหตุ : รั ง ไข่ ข องแม่ มี ก ารแบ่ ง เซลล์ ที
ผิดปกติ ทําให้ได้ไข่ทีมีโครโมโซม 24 แท่ ง
โดยมีแท่งของโครโมโซมคู่ที 21 เกินมาอีก 1
แท่ง เมือไข่ผสมกับสเปิ ร์มทีมีโครโมโซม 23
แท่ง

อ้างอิง: แพทย์หญิง สลิล ศิริอุดมภาส,


http://haamor.com/th/%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%
B8%99%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%A1/
กลุ่มอาการเอ็ดวาดส์ (Edwards Syndrome)
กลุ่ม อาการเอ็ดวาดส์ เกิ ด จากโครโมโซมคู่ ที 18 เกิ นมา 1 แท่ ง พบในทารกเพศหญิ ง
มากกว่าชาย พบได้ประมาณ 1 ใน 6,000-8,000 ของทารกแรกเกิดทีมีชีวติ
กลุ่มอาการเอ็ดวาดส์ (Edwards Syndrome)
• ลักษณะความผิดปกติ:
- นําหนักแรกเกิดน้อย
- ศีรษะและคางเล็กผิดปกติ ขากรรไกรสัน
อาจมีปากแหว่ง เพดานโหว่
- มีลกั ษณะมือผิดรู ปร่ าง
- มีความผิดปกติของอวัยวะภายใน ได้แก่ ไต
หัวใจพิการแต่กาํ เนิด ปอดและระบบ
ทางเดินอาหารผิดปกติ
- มีไอคิวตํามากจนไม่สามารถประเมินได้
• มักเสียชีวติ ภายในขวบปี แรก
กลุ่มอาการคริดูชาต์ (Cri-du-chat Syndrome หรือ Cat-cry-syndrome)
กลุ่มอาการคริ ดูชาต์ เกิดจากแขนโครโมโซมคู่ที 5 หายไป 1 โครโมโซม
กลุ่มอาการคริดูชาต์ (Cri-du-chat Syndrome หรือ Cat-cry-syndrome)
• อาการ: ศีรษะเล็กเกิน เบ้าตาห่างเกิน มีสนั หัวตา ใบหูตาํ อาจมีติ งเนือทีหน้าใบหู
ขากรรไกรเล็ก สติปัญญาตํากว่ามาตรฐานระดับปานกลางถึงรุ นแรง (มีไอคิว
ประมาณ 35) หัวใจพิการ
• ลักษณะทีเด่นชัดในกลุ่มอาการนีคือ มีเสี ยงร้องแหลมเล็กคล้ายเสี ยงแมวร้อง
โรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
ธาลัสซี เมีย (Thalassemia) เป็ นโรคโลหิ ตจางเรื อรังชนิ ดหนึ งที มีสาเหตุมาจาก
ความผิ ด ปกติ ข องยี น บนออโตโซม (autosome) ที ทํา หน้ า ที ควบคุ ม การสร้ า ง
เฮโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง
โรคผิวเผือก (Albinism)
ลักษณะของโรค Albinism
• คนผิวเผือกจะมีผิวทีไวต่อแสงมาก เนืองจากไม่มีเม็ดสี Melanin
• ดวงตาปรับตัวกับแสงได้ไม่ดีนกั และมองไม่เห็นในทีมืด
• ส่ วนใหญ่มีสายตาสันหรื อสายตายาวมาก
ท้ าวแสนปม (Neurofibromatosis)
ท้ าวแสนปม คือ โรคติดต่อทางพันธุกรรมที
ก่อให้เกิดเนืองอกตามแนวเส้นประสาท
• ยีนกลายพันธุ์ ลักษณะเด่ น
• มักพบในเด็กหรื อผูท้ ีเริ มเป็ นผูใ้ หญ่ โดย
ได้รับมาจากพ่อแม่หรื อเกิดจากการกลาย
พันธุ์ของยีน
• มักเป็ นเนืองอกชนิดไม่ร้ายแรง แต่
บางครังก็อาจกลายเป็ นเนืองอกชนิด
ร้ายแรง และกลายเป็ นมะเร็ งได้
Sex chromosome
ยีนด้อยบนโครโมโซมเพศ • ภาวะตาบอดสี (Color blindness)
• ภาวะขาดเอนไซม์จีซิกพีดี (G6PD deficiency)
• ฮีโมฟี เลีย (Hemophilia)

• กลุ่มอาการทริ ปเปิ ลเอ็กซ์ (Triple x syndrome)


โครโมโซมเพิ ม
• กลุ่มอาการดับเบิลวาย (Double y syndrome)
• กลุ่มอาการไคลน์เฟลเตอร์ (Klinefelter's
syndrome)

โครโมโซมลด • กลุ่มอาการเทอร์เนอร์ ( Turner's syndrome)


การถ่ ายทอดลักษณะทีถูกควบคุมด้ วยยีนทีอยู่บนโครโมโซมเพศ
 ภาวะตาบอดสี (Color blindness)
X-linked gene  ภาวะขาดเอนไซม์จีซิกพีดี (G6PD deficiency)
 ฮีโมฟี เลีย (Hemophilia)
ภาวะตาบอดสี (Color blindness)
• ตาบอดสี เป็ นภาวะพบได้บ่อยภาวะทีพบได้ในผูช้ ายมากกว่าผูห้ ญิง
• ภาวะตาบอดสี แต่กาํ เนิ ด อาจเป็ นบอดสี แดงหรื อพร่ องสี แดง บอดสี เขียวหรื อ
พร่ องสี เขียว ทําให้มองเห็นสี ผิดไปจากคนปกติ ซึ งในชี วิตประจําวันอาจไม่
เดือดร้อน แต่ความสามารถในการแยกสี ทีใกล้เคียงกันลดลงไป
• มีขอ้ จํากัดในอาชีพบางอย่างทีต้องใช้การมองแยกสี เป็ นประจํา
Color blindness
ภาวะตาบอดสี แต่กาํ เนิ ด จะถ่ายทอดทางโครโมโซม X (Chromosome X, โครโมโซม
ได้จากเพศหญิง/แม่)

Sex chromosome
Color blindness
ในคนปกติ ชายมี XY (Y เป็ นโครโมโซมเพศชาย ได้มาจากผูช้ าย/พ่อ) โดยที X ได้มาจาก
แม่ ถ้าแม่เป็ นพาหะมีภาวะตาบอดสี อยูใ่ น X ลูกชายจึงตาบอดสี ได้ 50% (โอกาส 1 ในลูกชาย 2 คนจะ
บอดสี ) ส่ วนลูกหญิงมี XX (X ตัวหนึ งมาจากแม่ X อีกตัวมาจากพ่อ) ถ้า X ตัวเดี ยวมีภาวะตาบอดสี
ยังเหลือ X ปกติอีกตัวหนึ ง ลูกหญิงจึงมักไม่แสดงอาการ แต่เป็ นพาหะโรคได้
ภาวะขาดเอนไซม์ จีซิกพีดี (G6PD deficiency)
• เอนไซม์ G6PD ช่วยป้ องกันเม็ดเลือดแดงจากการทําลายของสารอนุมูลอิสระ
• ผูท้ ีขาดเอนไซม์ G6PD มีความผิดปกติของพันธุกรรมของยีนด้อยบนโครโมโซม X
อาจจะทําให้เม็ดเลือดแดงแตกได้ ง่าย
• เกิดอาการในผูช้ ายได้มากกว่าผูห้ ญิง
ภาวะขาดเอนไซม์ จีซิกพีดี (G6PD deficiency)
• สิงกระตุ้น เช่น ถัวปากอ้า ลูกเหม็น หรื อ ยาบางชนิด
• อาการ: เมือได้รับสิ งกระตุน้ จะเกิดภาวะซี ดจากเม็ดเลือดแดงทีแตกอย่างเฉี ยบพลัน
เหนื อยง่าย อ่อนเพลีย ตาหรื อตัวเหลือง มีปัสสาวะมีสีโค้กจากเม็ดเลือดแดงแตก
ปริ มาณปั สสาวะอาจน้อยจนอาจนําไปสู่ภาวะไตวายเฉี ยบพลัน
ฮีโมฟี เลีย (Hemophilia)
ฮีโมฟี เลีย หรื อ โรคเลือดไหลไม่ หยุด
• เกิ ด จากการขาดโปรตี น จั บ ลิ ม
เลือด
• เป็ นโรคทางพันธุกรรมซึงมีความ
ผิดปกติเฉพาะในโครโมโซม X
Hemophilia
• ผูป้ ่ วยทีเป็ นโรคนีมีอาการเลือดออก
นานกว่า คนปกติ ทั วไปเมื อได้รั บ
บาดเจ็บ
• อัน ตรายมากหากมี เ ลื อ ดออกใน
ร่ างกาย โดยเฉพาะตามข้อศอก ข้อ
เท้า หั วเข่ า อาจร้ า ยแรงจนถึ ง ขัน
เสี ยชีวติ
• ปั จจุบนั ยังไม่มีวธิ ีรักษาให้หายขาด
Y-linked gene

hairy earpinnae

TDF gene
กลุ่มอาการทริปเปิ ลเอ็กซ์ (Triple x syndrome)
• ผูห้ ญิงโดยปกติจะมีโครโมโซม X จํานวน 2 แท่ง คือ XX แต่ถา้ ผูห้ ญิงทีมีอาการทริ ปเปิ ลเอ็กซ์
(Triple X Syndrome) นี จะมีโครโมโซม X เกินมาอีก 1 แท่ง ทําให้มโี ครโมโซม X จํานวน 3 แท่ง
เป็ น XXX รวมโครโมโซม ทังหมด จํานวน 47 แท่ง หรื อ 44+XXX
• ผู้ห ญิ ง ที มี อ าการทริ ปเปิ ลเอ็ ก ซ์ นี เป็ นหมัน มี ก ารเจริ ญเติ บ โตที ไม่ เ ต็ ม ที และทํา ให้ ไ ม่ มี
ประจําเดือน
กลุ่มอาการดับเบิลวาย (Double y syndrome)
• ผูช้ ายโดยปกติจะมีโครโมโซมเพศ XY ผูช้ ายทีมีอาการดับเบิลวายจะมีความผิด
ปกติทีเกิดกับโครโมโซม Y โดยมีโครโมโซม Y เกินมาจากปกติ โครโมโซมเพศ
เป็ นแบบ XYY จึงทําให้โครโมโซมในเซลล์ร่างกายเป็ น 47 หรื อ 44+XYY
• ลักษณะของผูป้ ่ วยในเพศชายจะมีรูปร่ างสู งใหญ่กว่าปกติ มีอารมณ์ร้าย โมโหง่าย
บางรายไม่เป็ นหมัน ดังรู ป
กลุ่มอาการไคลน์ เฟลเตอร์ (Klinefelter's syndrome)
• พบในเพศชาย เกิดจากโครโมโซม X เกินมา 1 หรื อ 2 โครโมโซม คือ 47,XXY หรื อ
48,XXXY
• ผูป้ ่ วยมีอาการปั ญญาอ่อน รู ปร่ างอ้อนแอ้น สูงชะลูด หน้าอกโต มีเต้านมเหมือนผูห้ ญิง
และเป็ นหมัน
• ถ้ามีจาํ นวนโครโมโซม X มาก อาการปั ญญาอ่อนก็จะรุ นแรงมากขึน
กลุ่มอาการเทอร์ เนอร์ (Turner's syndrome)
• เกิดในเฉพาะเพศหญิง สาเหตุจากโครโมโซม X หายไป 1 แท่ง ทําให้เหลือ
โครโมโซมในเซลล์ร่างกาย 45 แท่ง
• ผูป้ ่ วยมีอาการปั ญญาอ่อน และตัวเตีย ทีบริ เวณคอมีพงั ผืดกางเป็ นปี ก มักเป็ นหมัน
และไม่มีประจําเดือน
• มีอายุเท่ากับคนปกติทวั ๆ ไป
สรุ ปความผิดปกติของโครโมโซมและยีน
Autosome
• ดาวน์ ซินโดรม (Down Syndrome) โครโมโซมคู่ที 21 เกิน
• กลุ่มอาการเอ็ดวาดส์ (Edwards Syndrome) โครโมโซมคู่ที 18 เกิน

• กลุ่มอาการคริดูชาต์ (Cri-du-chat Syndrome) โครโมโซมคู่ที 5 แขน


ขาด 1 โครโมโซม

• โรคธาลัสซีเมีย (Thalassemia) ยีนด้ อย

• โรคผิวเผือก (Albinism) ยีนด้ อย

• ท้ าวแสนปม (Neurofibromatosis) ยีนเด่ น


สรุ ปความผิดปกติของโครโมโซมและยีน
Sex chromosome
• ภาวะขาดเอนไซม์ จซี ิกพีดี (G6PD deficiency) ยีนด้ อยบนโครโมโซม X
• ภาวะตาบอดสี (Color blindness) ยีนด้ อยบนโครโมโซม X
• ฮีโมฟี เลีย (Hemophilia) ยีนด้ อยบนโครโมโซม X
• กลุ่มอาการทริปเปิ ลเอ็กซ์ (Triple x syndrome) โครโมโซม XXX
• กลุ่มอาการดับเบิลวาย (Double y syndrome) โครโมโซม XYY
โครโมโซม XXY หรือ
• กลุ่มอาการไคลน์ เฟลเตอร์ (Klinefelter's syndrome)
XXXY
โครโมโซม X ขาดไป 1
• กลุ่มอาการเทอร์ เนอร์ ( Turner's syndrome)
โครโมโซม
การประยุกต์ ใช้ การเกิด Mutation
• การฉายรังสี แกมมาให้หน่อพุธรักษา เพือชักนําให้เปลียนสารสร้างสี ทาํ ให้สีดอก
เปลียนไป
• การสร้างดอกทิวลิปให้มีสีหลากหลายด้วยรังสี
• การใช้สารเคมียบั ยังการแยกของโครโมโซม เพือสร้างพืชทีมีขนาดดอกหรื อผลใหญ่
ขึน การสร้างพืชผลไร้เมล็ด

เกิดความหลากหลายทาง
พันธุกรรมของสิ งมีชีวติ
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) คือ การใช้ประโยชน์จาก
สิ งมีชีวิตหรื อระบบของสิ งมีชีวติ เพือผลิตผลิตภัณฑ์ทีเป็ นประโยชน์ต่อ
มนุษย์ โดยกระบวนการทีนักวิทยาศาสตร์ พฒั นาขึน

เทคโนโลยีชีวภาพสามารถตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้ ทําให้เกิด
เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ คือ พันธุวศิ วกรรม หรื อ เทคโนโลยีพนั ธุศาสตร์ (Genetic
engineering)
พันธุวศิ วกรรม (Genetic engineering)
พันธุวิศวกรรม (Genetic engineering) หมายถึง กระบวนการตัด
ต่อยีนจากการสังเคราะห์ขึน หรื อจากสิ งมีชีวิตแหล่งต่างๆ หลายแหล่งเข้า
ด้ว ยกัน ตามความเหมาะสม แล้ว ใส่ เ ข้า ในในสิ งมี ชี วิต ชนิ ด หนึ ง (host)
เพือให้ผ ลิ ตโปรตี นตามที ต้องการ เช่ น การตัด ต่ อยีนที ควบคุ ม การสร้ า ง
อินซูลินของคนเข้าไปในแบคทีเรี ยได้
GMO
สิ งมีชีวติ จากกระบวนการทางพันธุวศิ วกรรม

สิ งมีชีวติ ดัดแปลงพันธุกรรม
หรื อ
GMO (Genetically Modified Organism)
การใช้ ประโยชน์ จากเทคโนโลยีชีวภาพ
• ด้ านการเกษตร
• ด้ านอุตสาหกรรม
• ด้ านการแพทย์
• ด้ านกฎหมาย
ด้ านการเกษตร
ประโยชน์จากเทคโนโลยีชีวภาพด้านการปรับปรุ งและพัฒนาพันธุ์พืช สัตว์
และจุลินทรี ย ์
การปรับปรุ งและพัฒนาพันธุ์พชื และสั ตว์

โรคจุดวงแหวนทีเกิดจากเชือไวรัส การตัดต่อพันธุกรรมมะละกอทีมี
ในมะละกอ พันธุกรรมต้านทานต่อโรคจุดวงแหวน
การผสมเทียม (artificial insemination) และการถ่ ายฝากตัวอ่อน (Embryo Transfer)

การปฏิสนธิ
ในจานแก้ ว

ไข่ ทีปฏิสนธิแล้ วเจริญ


เป็ นเอ็มบริโอ
ด้ านการเกษตร
การปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์จุลนิ ทรีย์เพือใช้ ทาํ ปุ๋ ยหมัก บําบัดนําเสีย
การทําปุ๋ ยหมักโดยใช้ จุลนิ ทรีย์ย่อยสลาย

ทีมา: http://www.greenpeace.org/seasia/th/campaigns/eco-farming-for-our-food/eco-fertilizer/
ด้ านอุตสาหกรรม
การพัฒนาพันธุ์พืชให้สามารถผลิตสารทีเป็ นประโยชน์ต่อภาคอุตสาหกรรม เช่น
พลาสติกทีย่อยสลายได้และพอลิเมอร์ชนิดต่างๆ

เอทานอลทีผลิตจาก วัตถุดบิ ทางการเกษตร


เซลลูโลส

http://scijournal.kku.ac.th/files/Vol_40_No_4_P_1073-1088.pdf
พลาสติกชีวภาพ

https://m.mgronline.com/greeninnovation/app-detail/9570000133006
การผลิตพอลิเมอร์ยอ่ ยสลายได้
โดยใช้วตั ถุดิบชีวมวลทีเป็ นพืชผล
ทางการเกษตร เช่น ข้าวโพด อ้อย
มันสําปะหลัง
การเพิ มผลผลิตด้วยการพัฒนาพันธุ์พืชและสัตว์
1) การพัฒนาพันธุ์พืชเพือให้ได้พนั ธุ์พืชทีสามารถผลิตสารทีเป็ นประโยชน์ เช่น
การเพิ มคุณค่าทางโภชนาการในข้าว
2) พัฒนาพันธุ์สตั ว์เพือเพิ มปริ มาณเนือสัตว์ให้มากขึน เช่น ไก่เนือ และโคเนือ
ด้ านการแพทย์
อเล็กซานเดอร์ เฟลมิง (Alexander Fleming) นายแพทย์ชาวสก็อตแลนด์ ปี 1928 (ตรง
กับรัชสมัย ร. 6) ขณะทีเขากําลังศึกษาค้นคว้าเกียวกับเชือแบคทีเรี ย Staphylococcus
aureus เขาก็ได้คน้ พบเชือรา Penicillium chrysogenum สามารถผลิตสารปฏิชีวนะทีชือ
ว่า Penicillin ยับยังการเจริ ญเติบโตของแบคทีเรี ย

ยับยังโรค เช่น
• แอนแทรก
• ตอบตีบ
• ปวดอักเสบ
• บาดทะยัก
• เยือหุม้ สมองอักเสบ
1. การผลิตยาปฏิชีวนะ :Penicillin
2. การผลิตวัคซีน เช่น วัคซีนป้ องกันไข้หวัดใหญ่ รวมถึงการผลิตอินซู ลนิ ซึงเป็ น
ฮอร์โมนควบคุมปริ มาณนําตาลในเลือด ใช้รักษาผูป้ ่ วยเบาหวาน
3. การตรวจวินิจฉัยโรค โดยการเพิ มปริ มาณ DNA ของเชือโรค และตรวจว่าเป็ นเชือ
ชนิดใด ทําให้ป้องกันโรคได้ทนั เช่น วัณโรค และมาลาเรี ย
4. ช่ วยในการมีบุตร
การผสมในหลอดแก้ว : โดยการนําไข่ออกมาจากมดลูกไปผสมกับเชืออสุจิใน
ห้องปฏิบตั ิการ ก่อนทีจะนําตัวอ่อนกลับไปฝังในมดลูกอีกครัง
การทํากิฟต์: เป็ นการนําอสุจิและเซลล์ไข่ใส่เข้าไปในท่อรังไข่ เพือให้เกิดการ
ปฏิสนธิขึนเองตามธรรมชาติ
ด้ านกฎหมาย
• การใช้ ลายพิมพ์ DNA ตรวจพิสูจน์ ความเกียวพันคดีต่าง ๆ เช่น การฆาตกรรม การ
ทําร้ายร่ างกาย
• พิสูจน์ ความสัมพันธ์ ทางสายเลือด

You might also like