You are on page 1of 43

4.

4 มิวเทชัน ( Mution)
คือ การเปลี่ยนแปลง gene หรือ DNA และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดกับ chromosome ซึ่งมีผล
ทาให้ลักษณะหรือฟีโนไทป์ของสิ่งมีชีวิตเปลี่ยนไป และสามารถถ่ายทอดลักษณะที่เปลี่ยนไปนั้น
สู่รุ่นต่อๆไปผลที่เกิดขึ้นอาจเป็นไปในทางที่ดีขึ้น หรือเลวลงก็ได้ และสิ่งที่กระตุ้นให้เกิดการ
กลายพันธุ์ เรียกว่า Mutagen
# Mutagen คือสิ่งที่ก่อให้เกิดการกลาบพันธุ์ เช่น รังสีเอกซ์ รังสีอัลตราไวโอเลต สารเคมี
# Carcinogen คือ สารก่อมะเร็ง จัดเป็น mutagen ชนิดหนึ่ง
บัวจันทร์โกเมน เป็นบัวสายพันธุ์ใหม่ของโลกที่เกิดจากการผสมพันธุร์ ะหว่างบัวหลวงไทยกับบัวหลวง
อเมริกา แล้วฉายรังสีแกมมาจนเกิดการกลายพันธุ์ มีจุดเด่นคือ เปลี่ยนสีได้เองถึง 3 สี สีละ 3 วัน
จึงเรียกว่า บัวสามสี
สาเหตุของมิวเทชัน ( Mution)

1.ตามธรรมชาติ
2.สิ่งก่อการกลาย หรือมิวทาเจน
รังสี : รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา รังสีอัลตราไวโอเลต
สารเคมี : สารในควันบุหรี่ อะฟลาทอกซินที่ผลิตจากเชื้อรา สิ่ง
ปนเปื้อนในอาหาร

มิวเทชัน บางชนิดเป็น สิ่งก่อมะเร็ง (Carcinogen)


4.4 มิวเทชัน ( Mution)

ระดับของการกลายพันธุ์แบ่งเป็น 2 ระดับ
1.มิวเทชันระดับยีน ( Gene mutation หรือ point mutation /การกลายเฉพาะที่)
คือ การเปลี่ยนแปลงแทนคู่เบสในสายดีเอ็นเอ ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลง
นิวคลีโอไทด์ในโมเลกุลของ DNA แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
# การแทนที่คู่เบส (Base-pair substitution)
# การเพิ่มขึ้นหรือขาดหายของนิวคลีโอไทด์ (insertion or deletion nucleotide)
การแทนที่คู่เบส

ในการจาลองดีเอ็นเอครั้งแรกมีการจับคู่ของเบสผิดคู่เบส G ควรจะจับคู่กบั เบส C แต่ไปจับคู่ กับเบส T แทนและเมื่อ


สายพอลินิวคลีโอไทด์ที่มีเบส T นี้ไปเป็ นแม่แบบในการสร้าง พอลินิวคลีโอไทด์สายใหม่ เบส T จะไปจับกับเบส A
ดังนั้นลาดับของเบสในสาย DNA สายนี้ จึงเปลี่ยนแปลงไป
แตกต่างกันคือ กรดแอมิโนตาแหน่งที่ 6 ของพอลิเพปไทด์สายบีตาของฮีโมโกลบินในคนปกติ เป็ นกรดกลูตามิกส่ วนในคน
ที่เป็ นโรคโลหิ ตจางชนิดซิ กเคิลเซลล์จะเป็ นวาลีน
เมื่อเบสของ DNA เปลี่ยนไปการสังเคราะห์โปรตีนฮีโมโกลบินจะผิดปกติ
ทาให้คนที่มีลกั ษณะ ทางพันธุกรรมเช่นนี้เป็ นโรคโลหิ ตจางชนิ ดซิ กเคิลเซลล์
มิวเทชันที่เกิดการแทนที่เบส แต่ ยงั คงได้ กรดอะมิโนชนิดเดิม เรียกว่ า silent mutation
ค. มิวเทชันทีเ่ กิดการแทนทีเ่ บส ทาให้ ได้ กรดอะมิโนชนิดใหม่ มีคุณสมบัตทิ างเคมีแตกต่ างจากเดิม
เรียกว่ า missense mutation
ง. มิวเทชันทีเ่ กิดการแทนทีเ่ บส ทาให้ เกิดรหัสหยุด (stop codon) ทาให้ สาย polypeptide สั้ นลง เรียกว่ า
Nonsense mutation
2.การเพิ่มขึ้นหรือขาดหายของนิวคลีโอไทด์ (insertion or deletion of nucleotide)

เรียกมิวเทชันแบบนี้ว่า frameshift mutation

การเพิ่มขึ้นหรือขาดหายไปของคู่นิวคลีโอไทด์บางตาแหน่งของยีนทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการทางานของพอลิเพปไทด์
เช่นเพิ่มหรือลดของจานวนนิวคลีโฮไทด์ 1-2 นิวคลีโอไทด์ในบริเวณที่เป็นโคดอนทาให้ codon ไม่เป็นคู่สาม ทาให้แปล
รหัสเกิดความผิดพลาด และทาให้เกิดรหัสหยุดก่อนรหัสหยุดเดิม และพอลิเพปไทด์สั้นลง
2.มิวเทชันระดับโครโมโซม ( chromosomal mutation) เป็นการเปลี่ยนแปลงที่
เกิดขึ้นที่โครโมโซมซึ่งเป็นระดับที่ใหญ่ขึ้น จากระดับยีน ทาให้การเปลี่ยนแปลงส่งผล
ให้สิ่งมีชีวิตมีความผิดปกติมากกว่ามิวเทชันระดับยีน
2.1 การเปลี่ยนแปลงที่จานวนโครโมโซม
2.2 การเปลี่ยนแปลงที่โครงสร้างของโครโมโซม
2.1 การเปลี่ยนแปลงที่จานวนโครโมโซม คือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากโครโมโซมไม่แยกตัวออกจากกัน
(Non-disjunction) ในระยะ anaphase Iหรือ anaphase II ของ meiosis
ลักษณะผิวเผือก :ไม่สร้างเมลานิน ทาให้มีผิว
ขาว ผมขาว และม่านตาสีเทา

โรคฮีโมฟี เลีย (Hemophilia) หรื อโรคเลือดออก


อะคอนโดรพลาเซี ย (achondroplasia) ง่ ายหยุดยาก
: ลักษณะเตี้ยแคระ แขนขาสั้น
ทาลัสซีเมีย : มีอาการโลหิ ตจางเกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์ฮีโมโกลบิน (Hemoglobin) ซึง่ เป็ น
โปรตีนสาคัญในเม็ดเลือดแดง ฮีโมโกลบินทาหน้าที่ลาเลียงออกซิเจนจากปอดไปยังอวัยวะต่าง ๆ ทั่วร่างกาย ผูป้ ่ วย
โรคโลหิตจางธาลัสซีเมียไม่สามารถสร้างโปรตีนโกลบินได้ตามปกติหรืออาจสร้างได้นอ้ ยลง ส่งผลให้เม็ดเลือดแดง
ของผูป้ ่ วยเกิดพยาธิสภาพ ขาดความยืดหยุน่ และมักจะถูกม้ามทาลาย นาไปสูภ่ าวะโลหิตจางหรือภาวะซีด
(Anemia) และทำให้เม็ดเลือดแดงลำเลียงออกซิเจนไปส่วนต่ำง ๆ ของร่ำงกำยได้น้อยลง
การเพิม่ ขึน้ หรื อลดลงของโครโมโซมเป็ นแท่ ง เรียกว่ า Aneuploidy (อะนิวพลอยดีย์ )( ในกรณีทจี่ านวนโครโมโซม
หายไป 1 แท่ งเรียกว่ า Monosomy แต่ ถ้าเพิม่ ขึน้ มา 1 แท่ ง เรียกว่ า Trisomy) เช่ น โครโมโซมของคนปกติมี 46
แท่ ง อาจเพิม่ เป็ น 47เช่ น Down , s syndrome
คารีโอไทป์ ของกลุ่มอาการ cri-du-chat syndrome
• กลุ่มอำกำรเอ็ดเวิรด์ (Edward's syndrome) เกิดจากความผิดปกติของออโทโซมโดยคูท่ ่ี 18 เกินมา
1 โครโมโซม ลักษณะที่ปรากฏจะมีลกั ษณะหัวเล็ก หน้าผากแบน คางเว้า หูผิดปกติ ตาเล็ก นิว้ มือบิดงอ และกา
เข้าหากันแน่น หัวใจพิการ ปอดและระบบย่อยอาหารผิดปกติ มีลกั ษณะปั ญญาอ่อนร่วมอยูด่ ว้ ย ผูท้ ่ีป่วยเป็ นโรค
นีม้ กั จะเสียชีวิตก่อนอายุ 1 ขวบ
• กลุ่มอำกำรพำเทำ (Patau's
syndrome) เกิดจากความผิดปกติของออ
โทโซมคูท่ ่ี 13 เกินมา 1 โครโมโซม ลักษณะที่
ปรากฏจะพบว่ามีอาการปั ญญาอ่อน ปากแหว่ง
เพดานโหว่ หูหนวก นิว้ เกิน ตาอาจพิการ หรือตา
บอด ส่วนใหญ่อายุสนั้ มาก
ลักษณะอาการนอกจากอาจจะมีภาวะปั ญญาอ่อนแล้วยังมี
รู ปร่ างอ้อนแอ่นตัวสู งชะลูด มีหน้าอกโต เป็ นหมัน ถ้ามี
จานวนโครโมโซม X มาก ก็จะมีความรุ นแรงของปั ญญา
อ่อนเพิ่มขึ้น
• เป็ นควำมผิดปกติทพ่ี บในเพศหญิง เกิดขึน้
เนื่องจำกมีโครโมโซมเพศ คือ โครโมโซม X
เพียงโครโมโซมเดียว พบประมำณ 1 ต่อ 2,500
คน ของทำรกเพศหญิง
นิ้ วก้อยโค้งงอ พัฒนาการด้านกล้ามเนื้ อมัดใหญ่ช้า รั งไข่ฝ่อก่ อนวัยหรื อมี ความผิดปกติ ของการสร้ างรั งไข่
(แม้ว่าการเป็ นหมันจะพบได้น้อย) -ประจาเดื อนมาไม่สม่าเสมอ ท้องผูกหรื อปวดท้อง
เท้าแบน กระดู กหน้าอกโค้เล็กน้อย
2.2 การเปลี่ยนแปลงที่โครงสร้างของโครโมโซม คือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจาก
ความผิดพลาดหรือได้รับสารบางอย่าง เช่นรังสี ในระหว่างกระบวนการ meiosis ทาให้โครงสร้างของ
โครโมโซมเปลี่ยนแปลงไป

ส่วนใดส่วนหนึ่งของโครโมโซมขาดหายไป

ส่วนใดส่วนหนึ่งของโครโมโซมเพิ่มซา้ เข้ามา

ส่วนใดส่วนหนึ่งของโครโมโซมสลับตาแหน่ง
กันภายในโครโมโซม

การสลับชัน้ ส่วนของโครโมโซมระหว่าง
โครโมโซมที่ไม่เป็ นโฮโมโลกัสกัน
(Non-homologous chromosome)
การเพิม่ ขึน้ หรื อลดลงของโครโมโซมเป็ นชุด เรียกว่ า Euploidy (ยูพลอยดิ)
เพิม่ หรื อลดเป็ นชุด ๆแบบ Polyploid เช่ น 3n 4n หากเกิดในสั ตว์
ส่ วนใหญ่ จะไม่ รอดชีวติ มักเกิดในพืช เช่ น Triploidy = 3n แตงโมไร้
เมล็ด
แตงโมไร้เมล็ด ส่ วนใหญ่เป็ นเมล็ดไม่สมบูรณ์มีสีขาว อ่อนนุ่ม และมีเมล็ดสี น้ าตาลจานวนน้อยมาก ทาได้โดยใช้
สารเคมีเพิ่มจานวนโครโมโซมเป็ น 2 เท่า (เททระพลอยด์,4n) นาต้น 4n ไปปลูกเป็ นต้นแม่ และใช้เกสรเพศผู ้
จากต้น 2n มาผสม ลูกที่ได้จะมีโครโมโซม 3n และเป็ นหมัน

You might also like