You are on page 1of 15

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุศาสตร์



ความสัมพันธ์ ระหว่ างโครโมโซม ยีน และสารพันธุกรรม


เซลล์เป็ นหน่วยพื ้นฐานที่สาคัญของสิ่งมีชีวิต เซลล์ทวั่ ไป
ประกอบด้ วยส่วนสาคัญ 3 ส่วน คือ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และ
นิวเคลียส ซึ่งเป็ นส่วนประกอบที่สาคัญที่สดุ ของสิ่งมีชีวิต ภายใน
นิ ว เคลีย สซึ่ง มี รู ป ร่ า งกลมหรื อ รู ป ไข่ ถ้ า ใช้ ก ล้ อ งจุลทรรศน์ ส่อ งดู
ภายในขณะที่เซลล์กาลังจะแบ่งตัวจะเห็นว่า ภายในมีโครงสร้ างที่มี
ลักษณะเป็ นเส้ นใยเล็กๆขดพันกันอยู่เหมือนขดลวดสปริ งเต็มไป
หมด เราเรี ยกเส้ นใยเล็กๆที่ ขดพันกันอยู่เหมือนลวดสปริ งเต็มไป
หมด เราเรี ย กโครงสร้ างนี ว้ ่ า โครมาทิ น (chromatin) ซึ่ ง
ประกอบด้ วยโมเลกุลของ DNA (deoxyribonucleic acid) ขดจับ
ที่มาhttp://www.sciphotha.com ตัวกับโปรตีน เมื่อมีการแบ่งเซลล์ ปริ มาณของ DNA จะเพิ่มขึ ้นเป็ น 2 เท่า เส้ นโคร
มาทิ น ก็ จ ะขดแน่ น มากขึ น้ และหดสั น้ เข้ าจ นมี ลัก ษณะเป็ นแท่ ง ๆ เรี ย กว่ า
โครโมโซม(chromosome)มีหน้ าที่ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากรุ่ นพ่อแม่ไปสูร่ ุ่ นลูก สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีจานวน
โครโมโซมที่แน่นอนและคงที่ และสิง่ มีชีวิตต่างชนิดกันจะมีจานวนโครโมโซมแตกต่างกัน
ยีนเป็ นส่วนหนึ่งของโครโมโซม โครโมโซมหนึ่งๆมียีนควบคุมลักษณะต่างๆเป็ นพันๆลักษณะต่างๆเป็ นพันลักษณะ
ภายในยีนพบว่ามีสารเคมีที่สาคัญชนิดหนึ่ง คือ DNA หรื อเรี ยกว่าสารพันธุกรรม ซึ่งเป็ นโครงสร้ างประกอบด้ วยสายยาว 2
เส้ น พันกันเป็ นเกลียวคู่แบบบันไดเวียน ทาหน้ าที่กาหนดกิจกรรมต่างๆภายในเซลล์ โดยควบคุมการสังเคราะห์โปรตีนชนิด
ต่างๆ เช่น เอนไซม์ เฮโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ฮอร์ โมนบางชนิด เป็ นต้ น

 หน้ าที่ของสารพันธุกรรม DNA (deoxyribonucleic acid)


การศึกษาการถ่ายทอดทางพันธุกรรม เรี ยกว่า พันธุศาสตร์ (Genetics) ซึง่ จะอธิบายให้ ร้ ู ว่า ลักษณะทางพันธุกรรม
ที่พอ่ แม่ถ่ายทอดให้ ลกู นัน้ เรี ยกว่า ยีน (Gene) ยีนเป็ นข้ อมูลทางพันธุกรรมที่เรี ยงอยู่บนโครโมโซมในนิวเคลียส โดยมีจานวน
มากมายเรี ยงต่อกันเป็ นสายคล้ ายลูกปั ด ยีนของพ่ออยูภ่ ายในนิวเคลียสของเซลล์อสุจิ (Sperm cell) และยีนของแม่อยู่ภายใน
นิวเคลียสของเซลล์ไข่ (Egg cell) เมื่อมีการสืบพันธุ์เซลล์อสุจิและเซลล์ไข่จะเกิด การปฏิสนธิ ( Fertilization) นิวเคลียสของ
เซลล์อสุจิจะรวมกับนิวเคลียสของเซลล์ไข่ ได้ นิวเคลียสของเซลล์ใหม่ เรี ยกว่า ไซโกต (Zygote) ซึ่งเป็ นเซลล์เริ่ มต้ นของ
สิง่ มีชีวิตใหม่หรื อ ลูก ดังนันลู
้ กจึงมียีนมาจากพ่อครึ่งหนึง่ และจากแม่อีกครึ่ งหนึ่ง ลักษณะต่างๆที่ประกอบขึ ้นเป็ นตัวเรานัน้
ได้ มาจากพ่อและแม่ สิ่งที่พ่อแม่สง่ ผ่านมาให้ เรานี ้เรี ยกว่า ลักษณะทางพันธุกรรม (genetic character) ซึ่งทาให้ เราเหมือน
พ่ อ และแม่ และเมื่ อ พิ จ ารณาให้ ล ะเอี ย ดขึ น้ ไปอี ก จะพบว่ า ลัก ษณะที่ เ ราเหมื อ นแม่ นั น้ จะเหมื อ นตากับ ยายของเรา
เช่นเดียวกันลักษณะที่เราเหมือนพ่อก็จะเหมือนปู่ กับย่าด้ วย แสดงว่าลักษณะทางพันธุกรรมจะมีการถ่ายทอดจากรุ่ นหนึ่งไป
อีกรุ่นหนึง่ โดยผ่านการสืบพันธุ์ (Reproduction)
2

แผนภาพแสดงเซลล์ สืบพันธุ์เพศชายและเพศหญิง

รูปแสดงจานวนโครโมโซมภายหลังการปฏิสนธิ

โครโมโซมในเซลล์ร่างกายของสิ่งมีชีวิตมีรูปร่ างลักษณะเหมือนกันเป็ นคู่ๆ แต่ละคู่เรี ยกว่า ฮอมอโลกัสโครโมโซม


(homologous chromosome) เมื่อแบ่งเซลล์โครโมโซมแต่ละแท่งจะประกอบด้ วยโครมาทิด 2 โครมาทิด (chromatid) ที่
เหมือนกัน บริ เวณที่โครมาทิดทังสองติ
้ ดกันเรี ยกว่า เซนโทรเมียร์ (centromere)

ที่มา: https://www.biologycorner.com/

ศัพท์ พืน้ ฐานทางพันธุศาสตร์


1. Gene คือลักษณะทางพันธุกรรมซึง่ เป็ นส่วนหนึง่ ของโครโมโซม โครโมโซมของคนมี 23 คู่
และมียีนอยู่ประมาณ 50,000 ยีน ยีนเหล่านี ้กระจายอยู่ในโครโมโซมแต่ละคู่และควบคุมการถ่ายทอดลักษณะไปสู่ลูกได้
ประมาณ 50,000 ลักษณะ
3
2. allele คือยีนที่เป็ นคูเ่ ดียวกันเรี ยกว่าเป็ น แอลลีลกิ (allelic) ต่อกันหมายความว่าแอลลีลเหล่านันจะมี ้ ตาแหน่ง
เดียวกันบนโครโมโซมที่เป็ นคูก่ นั (homologous chromosome)
3. gamete หมายถึงเซลล์เพศ (sex cell) ทังไข่ ้ (egg) และอสุจิหรื อ (Sperm)
4. genotype หมายถึงลักษณะการจับคูก่ นั ของแอลลีลของยีนที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิง่ มีชีวิตซึง่ จะมี
2
5. ลักษณะ ลักษณะพันธุ์แท้ เช่น TT, tt และลักษณะพันธุ์ทาง เช่น Tt
6. phenotype หมายถึงลักษณะที่ปรากฏออกมาให้ เห็นซึง่ เป็ นผลจากการแสดงออกของจีโนไทป์ นัน่ เอง เช่น TT, Tt
มียีนไทป์ ต่างกันแต่มีฟีโนไทป์ เหมือนกัน คือ เป็ นต้ นสูงทังคู ้ ่
7. homozygote หมายถึงคูข่ องแอลลีลซึง่ เหมือนกัน เช่น TT จัดเป็ น ฮอมอไซกัดโดมิแนนต์ (homozygous
dominant) เนื่องจากลักษณะทังคู ้ ่เป็ นลักษณะเด่ น หรื อtt จัดเป็ นฮอมอไซกัสรี เซสซีฟ(homozygous recessive) เนื่องจาก
ลักษณะทังคู ้ เ่ ป็ นลักษณะด้ อย ลักษณะที่เป็ นฮอมอไซโกตเราเรี ยกว่า พันธุ์แท้
8. heterozygote หมายถึง คูข่ องแอลลีนที่ไม่เหมือนกัน เช่น Tt ลักษณะของเฮเทอโรไซโกตเราเรี ยกว่า
เป็ นพันธุ์ทาง
9. dominant คือลักษณะที่แสดงออกเมื่อเป็ นฮอมอไซกัสโดมิแนนต์และเฮเทอโรไซโกต
10. recessive ลักษณะที่จะถูกข่มเมื่ออยูใ่ นรูปของเฮเทอโรไซโกตและจะแสดงออกเมื่อเป็ นฮอมอไซกัสรี เซสซีฟ
11. complete dominant หมายถึงการข่มของลักษณะเด่นต่อลักษณะด้ อยเป็ นไปอย่างสมบูรณ์ทาให้ ฟีโน
ไทป์ ของฮอมอไซกัสโดมิเนนต์และเฮเทอโรไซโกตเหมือนกัน เช่น TT จะมีฟีโนไทป์ เหมือนกับT t ทุกประการ
12. ลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์ incomplete dominant เป็ นการข่มกันอย่างไม่สมบูรณ์ ทาให้ เฮเทอโร
ไซโกตไม่เหมือนกับฮอมอไซกัสโดมิเนนต์ เช่น การผสมดอกไม้ สแี ดงกับดอกไม้ สีขาวได้ ดอกไม้ สีชมพูแสดงว่าแอลลีลที่ควบคุม
ลักษณะดอกสีแดงข่มแอลลีลที่ควบคุมลักษณะดอกสีขาวได้ ไม่สมบูรณ์
13. Codominant เป็ นลักษณะที่แอลลลีลแต่ละตัวมีลกั ษณะเด่นกันทังคู ้ ข่ ม่ กันไม่ลงทาให้ ฟีโนไทป์ ของ
เฮเทอโรไซโกตแสดงออกมาทังสองลั ้ กษณะ เช่น หมูเ่ ลือด AB ทังแอลลี
้ ล I และแอลลีล IB จะแสดงออกในหมูเ่ ลือดทังคู
A
้ ่
14. test cross เป็ นการผสมระหว่างต้ นที่มีฟีโนไทป์ เด่นกับต้ นที่มีฟีโนไทป์ ด้ อย เพื่อต้ องการทราบว่า
ต้ นลักษณะเด่นนันเป็ ้ นลักษณะพันธุ์แท้ หรื อพันทาง ถ้ าหากต้ นที่ผสมซึง่ เป็ นลักษณะด้ อยนันเป็ ้ นพ่อแม่จะเรี ยกว่าการผสมแบบ
แบค ครอส (back cross)
15. karyotype คือการศึกษาโครโมโซมโดยการถ่ายภาพแล้ วนาภาพถ่ายของ โครโมโซมมาจัดเรี ยงเข้ าคู่
กันและแบ่งเป็ นกลุม่ ๆได้
16. monohybrid cross เป็ นการผสมพันธุ์ซงึ่ เราคานึงถึงลักษณะเพียงลักษณะเดียวและมียีนควบคุมอยู่
เพียงคูเ่ ดียว
17. dihybrid cross เป็ นการผสมที่ศกึ ษาลักษณะสองลักษณะในเวลาเดียวกัน มียีนควบคุมสองคู่

 การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามทฤษฎีของเมนเดล
เกรกอร์ โยฮันน์ เมนเดล ( Gregor Johann Mendel) นักบวชชาวออสเตรี ยที่มีความ
เชี่ ย วชาญเรื่ อ งพฤกษศาสตร์ และคณิ ต ศาสตร์ ได้ ทาการทดลองและอธิ บ ายวิ ธี ก ารถ่ า ยทอด
ลักษณะทางพันธุกรรมได้ อย่างชัดเจน จนได้ รับการยกย่องให้ เป็ น บิดาแห่ ง
พันธุศาสตร์

ที่มา: https://th.wikipedia.org/
4
ในการศึกษาพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต นักพันธุศาสตร์ นิยมใช้ สญ
ั ลักษณ์ แผนผัง แสดงลักษณะทางพันธุกรรมทัง้ ที่ปรากฏ
ลักษณะให้ เห็นและไม่ปรากฏลักษณะให้ เห็นในขณะที่กาลังศึกษาเท่าที่จะสามารถสืบค้ นได้ แผนผังนีเ้ รี ยกว่า “เพดดีกรี ”
(Pedigree) หรื อพงศาวลี

การผสมพันธุ์ถ่ วั ลันเตาโดยพิจารณาลักษณะเดียว ตามทฤษฎีของเมนเดล เช่น ถัว่ ลันเตาต้ นสูงพันธุ์แท้ กับถั่ว


ลันเตาต้ นเตี ้ยพันธุ์ปท้ ได้ ผลรุ่นลูก (F1 )และรุ่นหลาน (F 2) ดังนี ้

การผสมพันธุ์ถ่ วั ลันเตาโดยพิจารณาสองลักษณะ นาถัว่ ลันเตาฝักอวบ เมล็ดผสมกับถัว่ ลันเตา ฝั กแฟบ เมล็ดเหลืองจะได้


รุ่นลูก(F1 )และรุ่นหลาน (F 2) ดังนี ้
ฝักอวบ เมล็ดเขียว ฝักแฟบ เมล็ดเหลือง
รุ่นพ่อแม่(P) RRGG rrgg
เซลล์สบื พันธุ์ RC rg

รุ่นลูก(F1 )
RrGg

เซลล์สบื พันธุ์ RG Rg rG rg
รุ่นหลาน(F 2)
จีโนไทป์ ฟี โนไทป์ จีโนไทป์ ฟี โนไทป์ จีโนไทป์ ฟี โนไทป์ จีโนไทป์ ฟี โนไทป์
RrGg RG Rg rG rg
RrGg
RG RRGG ฝักอวบ RRGg ฝักอวบ RrGG ฝั ก อ ว บ RrGg ฝักอวบ
เมล็ดเขียว เมล็ดเขียว เมล็ดเขียว เมล็ดเขียว
5
Rg RRGg ฝักอวบ RRgg ฝักอวบ RrGg ฝั ก อ ว บ Rrgg ฝักอวบ
เมล็ดเขียว เมล็ดเหลือง เมล็ดเขียว เมล็ดเหลือง
rG RrGG ฝักอวบ RrGg ฝักอวบ rrGG ฝั ก แ ฟ บ rrGg ฝักแฟบ
เมล็ดเขียว เมล็ดเขียว เมล็ดเขียว เมล็ดเขียว
rg RrGg ฝักอวบ Rrgg ฝักอวบ rrGg ฝั ก แ ฟ บ rrgg ฝักแฟบ
เมล็ดเขียว เมล็ดเหลือง เมล็ดเขียว เมล็ดแหลือง

พันธุศาสตร์ ตามหลักของเมนเดล (Mendelian Genetics)


1. กฏแห่ งการแยกตัว (Law of segregation) ลักษณะของสิง่ มีชีวิตนันถู ้ กควบคุมโดย gene และ gene จะปรากฎ
เป็ นคู่ๆเสมอ ในการสร้ างเซลล์สืบพันธุ์ (gamete) gene ที่อยู่เป็ นคู่ๆ จะแยกออกจากกันแล้ วเข้ าสู่เซลล์สื บพันธุ์เซลล์ละ 1
gene คือ จะเกิดการแบ่งเซลล์แบบ meiosis ทาให้ จานวน chromosome ลดลงครึ่ งหนึ่ง เมื่อมีการผสมระหว่างเซลล์ สืบพันธุ์
เช่น อสุจิกบั ไข่ gene ก็จะกลับมาเป็ นคูอ่ ีกเช่นเดิม
2. กฎแห่ งการรวมกลุ่มอย่ างอิสระ (Law of independent assortment) ยีนที่แยกออกจากยีนที่เป็ นคู่กนั จะจัด
กลุ่มอย่างอิสระกับยีนอื่นที่แยกออกจากคู่กนั เช่นกันในการเข้ าไปอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์จึงสามารถทานายอัตราส่วนของเซลล์
สืบพันธุ์ที่มีกลุม่ ของยีนต่างๆได้ เช่น จีโนไทป์ RrYy จะสร้ างเซลล์สบื พันธุ์ได้ 4 ชนิด คือ RY Ry rY และ ry ในอัตราส่วน 1:1:1:1
เซลล์สบื พันธุ์ 4 ชนิด ของทังพ่
้ อและแม่ มีโอกาสจะมารวมกลุม่ อย่างอิสระ รุ่น F2 จึงมีจีโนไทป์ ในอัตราส่วน 9:3:3:1

ข้ อสรุ ปจากการวิเคราะห์ ของเมนเดล


1. การถ่ายทอดลักษณะหนึง่ ลักษณะใดของสิง่ มีชีวิตถูกควบคุมโดยปั จจัย (fector) เป็ นคูๆ่ ต่อมาปั จจัยเหล่านันถู
้ กเรี ยกว่า ยีน
(gene)
2. ยีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆจะอยูก่ นั เป็ นคูๆ่ และสามารถถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปได้
3. ลักษณะแต่ละลักษณะจะมียีนควบคุม 1 คู่ โดยมียีนหนึง่ มาจากพ่อและอีกยีนมาจากแม่
4. เมื่อมีการสร้ างเซลล์สืบพันธุ์( gamete) ยีนที่อยู่เป็ นคู่ๆจะแยกออกจากกันไปอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์ของแต่ละเซลล์และ ยีน
เหล่านันจะเข้
้ าคูก่ นั ได้ ใหม่อีกในไซโกต
5. ลักษณะที่ไม่ปรากฏในรุ่น F1 ไม่ได้ สญ ู หายไปไหนเพียงแต่ไม่สามารถแสดงออกมาได้
6. ลักษณะที่ปรากฏออกมาในรุ่น F1 มีเพียงลักษณะเดียวเรี ยกว่า ลักษณะเด่น ( dominant) ส่วนลักษณะที่ปรากฏในรุ่ น F2
และมีโอกาสปรากฏในรุ่นต่อไปได้ น้อยกว่า เรี ยกว่า ลักษณะด้ อย (recessive)
7. ในรุ่น F2 จะได้ ลกั ษณะเด่นและลักษณะด้ อยปรากฏออกมาเป็ นอัตราส่วน เด่น : ด้ อย = 3 : 1

การคานวณหาอัตราส่ วนทางพันธุศาสตร์
1. สร้ างตาราง Punet square
2. สร้ างเส้ นแบบแตกแขนง ( Branching หรื อ Fork-line method )
3. ใช้ หลักความน่าจะเป็ น ( Probability )
6
ตัวอย่ าง ถ้ าผสมถั่วเมล็ดเรี ยลสีเหลืองที่เป็ น homozygous dominance กับถั่วเม็ดขรุ ขระสีเขียวที่เป็ น homozygous
recessive จะได้ ลกู F1 ถ้ านา F1 ผสมกันเอง จงหา F2 genotype และ F2 phenotype
วิธีท่ ี 1 สร้ างตาราง Punet square

จากตางรางพันเนตมีฟีโนไทป์ 4 ชนิด คือ

วิธีท่ ี 2 สร้ างแบบแตกแขนง ( Branching หรือ Fork-line method )


2.1 หาชนิดจีโนไทป์ : ให้ แยกคูย่ นี แล้ วผสมทีละลักษณะเป็ น monohybrid พร้ อมกับนาความน่าจะเป็ นของแต่ละลักษณะมา
คูณกัน ดังนี ้
7

2.2 หาชนิดและสัดส่วนฟี โนไทป์ : ให้ รวมจีโนไทป์ ที่มีฟีโนไทป์ เป็ นแบบเดียวกัน แล้ วนาไปผสมกันแต่ละลักษณะ โดยนาค่า
ความน่าจะเป็ นมาคูณกัน ดังนี ้

วิธีท่ ี 3 ใช้ หลักความน่ าจะเป็ น ( Probability )


ให้ ผสมทีละลักษณะ (Monohybrid cross ) และนาค่าความน่าจะเป็ นของแต่ละลักษณะมาคูณเช่นกัน

 Test Cross / Black Cross


การผสมเพื่อทดสอบ (Test Cross)
วิธีการทดสอบจีโนไทป์ (Genotype) ของสิง่ มีชีวติ ที่ต้องสงสัยว่าทีม่ ีลกั ษณะเด่นนันเป็ ้ นแบบพันธุ์แท้ หรื อพันธุ์ทาง
โดยการนาสิง่ มีชีวิตทีต่ ้ องสงสัยไปผสมกับสิง่ มีชีวิตชนิดเดียวกันทีม่ ีลกั ษณะด้ อยแท้ ถ้ าลูก (รุ่น F1) ที่ออกมาเป็ นลักษณะเด่น
8
ทังหมดแสดงว่
้ าสิง่ มีชีวติ ที่ต้องสงสัยนันเป็
้ นลักษณะเด่นแบบพันธุ์แท้ แต่ถ้าลูก (รุ่น F1) ที่ออกมาเป็ นลักษณะเด่นต่อลักษณะ
ด้ อยมีเป็ นสัดส่วน 1:1 แสดงว่าเป็ นลักษณะเด่นแบบพันธุ์ทาง
การผสมกลับ (Back Cross)
การผสมกลับ หรื อ Back Cross คือ วิธีการทดสอบจีโนไทป์ (Genotype) ของสิง่ มีชีวติ รุ่น F1 ที่ต้องสงสัยที่มีลกั ษณะ
เด่นว่าเป็ นแบบพันธุ์แท้ หรื อพันธุ์ทาง โดยการนาสิง่ มีชีวิตรุ่น F1 ที่ต้องสงสัยไปผสมกับรุ่นพ่อหรื อรุ่นแม่ที่มีลกั ษณะด้ อยแท้ ถ้ า
ผลออกมาเป็ นลักษณะเด่นทังหมดแสดงว่ ้ าสิง่ มีชีวิตรุ่น F1 ที่ต้องสงสัยนันเป็
้ นลักษณะเด่นแบบพันธุ์แท้ แต่ถ้าผลออกมาเป็ น
ลักษณะเด่นต่อลักษณะด้ อยมีเป็ นสัดส่วน 1:1 แสดงว่าเป็ นลักษณะเด่นแบบพันธุ์ทาง
 ลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็ นส่ วนขยายของเมนเดล
1. Incomplete dominance การถ่ายทอดลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์
หรื อการข่มแบบไม่สมบูรณ์ พบในสิง่ มีชีวติ บางอย่าง ที่ลกั ษณะพันธุกรรมไม่
สามารถข่มกันได้ เมื่อลักษณะพันธุกรรมทังสองลั ้ กษณะอยูร่ ่วมกัน สามารถ
แสดงออกได้ ทงสองลัั้ กษณะ ทาให้ ลกู ที่เกิดมามีลกั ษณะของพ่อแม่รวมกัน
ตัวอย่างเช่น ลักษณะสีดอกลิ ้นมังกรและดอกบานเย็น
การผสมต้ นลิ ้นมังกรดอกสีแดงกับต้ นลิ ้นมังกรดอกสีขาว ซึง่ ควบคุม
ด้ วย 2 แอลลีน ถ้ ากาหนดให้ R กับ R' และจีโนไทป์ RR แสดงลักษณะสีแดง
R'R' แสดงลักษณะดอกสีขาว ส่วนจีโนไทป์ RR' จะแสดงลัดษณะดอกสีชมพู
ดังนันการผสมต้
้ นลิ ้นมังกรดอกสีแดงกับต้ นลิ ้นมังกรดอกสีขาวซึง่ เป็ นพันธุ์แท้
ทังคู้ จ่ ะแสดงฟี โนไทป์ และจีโนไทป์ ในรุ่นต่าง ๆ ได้ ดงั นี ้

รุ่น P ดอกสีแดง x ดอกสีขาว


genotype รุ่น P RR x R'R'
ลูกผสมรุ่นที่ 1 มีดอกสีชมพูทงหมด
ั้
genotype รุ่น ลูก RR'
ผสมรุ่นลูกผสมกันเอง คือ ดอกสีชมพู x ดอกสีชมพู
genotype RR' x RR'
เซลล์สบื พันธุ์ R R' R R'
ลูกรุ่น F2 มีจีโนไทป์ เป็ น RR RR' RR' R'R'
ลูกรุ่นที่ 2 มี ดอกสีแดง ดอกสีชมพู และดอกสีขาว
ในอัตราส่วน 1 : 2 : 1

ลูกรุ่นที่ 1 แสดงลักษณะสีดอกแตกต่างกันจากต้ นที่ใช้ เป็ นพ่อและแม่ ทังนี ้ ้เนื่องจากคูย่ ีนทีค่ วบคุมดอกสีแดงและคู่


gene ที่ควบคุมดอกสีขาวต่างไม่สามารถข่มกันได้
ปฏิกิริยาระหว่างคูข่ อง gene นี ้เป็ นแบบที่เรี ยกว่าเด่นไม่สมบูรณ์ (incomplete dominant) ซึง่ เป็ นผลให้ การแสดงออก
ของลูกรุ่นที่ 1 และลูกรุ่นที่ 2 แตกต่างไปจากลักษณะทีค่ วบคุมด้ วยยีนที่มีปฏิกิริยาแบบเด่นสมบูรณ์ (complete dominant) ดัง
ผลที่เห็นได้ ในการทดลองของเมนเดล
ตัวอย่ าง ลักษณะพันธุกรรมของเส้ นผมในคน
กาหนดให้ H เป็ นยีนควบคุมลักษณะผมหยิก
9
กาหนดให้ H' เป็ นยีนควบคุมลักษณะผมเหยียดตรง
ดังนัน้ genotype HH แสดงลักษณะผมหยิก H'H' แสดงลักษณะผมเหยียดตรง และ HH' แสดงลักษณะผมเป็ นลอน
หรื อหยักศก พ่อและแม่ทมี่ ีผมหยักศก จะมีโอกาสมีลกู ทีมีลกั ษณะเส้ นผมแตกต่างกัน คือ
พ่อและแม่ ผมหยักศก x ผมหยักศก
genotype HH' x HH'
เซลล์สบื พันธุ์ H H' H H'
genotype รุ่น F1 HH HH' HH' H'H'
phenotype F1 ผมหยิก ผมหยักศก ผมเหยียดตรง
อัตราส่วน 1 : 2 : 1
แสดงว่า การถ่ายทอดลักษณะเส้ นผมในคนเป็ นลักษณะเด่นไม่สมบูรณ์
2. codominance
ตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมทีเ่ ป็ นการข่มร่วมกัน คือ หมูเ่ ลือดระบบ ABO ในคน ซึง่ จาแนกตามชนิดของแอนติเจน
ซึง่ เป็ นสารประกอบพวกไกลโคโปรตีนอยูท่ ี่เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดง มี 2 ชนิด คือ แอนติเจน A และแอนติเจน B โดยหมูเ่ ลือด
A มีแอนติเจน A และหมูเ่ ลือด B มีแอนติเจน B จากการศึกษาพบว่าพ่อและแม่มียีนควบคุมหมูเ่ ลือด A และ B ที่เป็ นฮ
อมอโลกัสโดมิแนนท์ จะได้ ลกู ที่มหี มูเ่ ลือด AB
พ่อหมูเ่ ลือด A แม่หมูเ่ ลือด B
จีโนไทป์ IAIA IBIB
เซลล์สบื พันธุ์ IA IB
ลูกหมูเ่ ลือด AB
จีโนไทป์ IAIB

หมูเ่ ลือดของพ่อและแม่เป็ นหมูเ่ ลือด A และ B ตามลาดับ มียีนควบคุมในสภาพฮอมอไลกัสโดมิแนนท์ทงคู ั ้ ่ จะมีลกู ที่


มีหมูเ่ ลือด AB ที่เกิดจากแอลลีน IA เข้ าคูก่ บั แอลลีน IB แอลลีนทังสองแอลลี
้ นแสดงลักษณะเด่นได้ เท่ากัน ๆ จึงแสดงออก
ร่วมกัน เรี ยกว่า การข่มร่วมกัน (codominance)
3. multiple alleles
จากการศึกษาของ เอฟ เบิร์นสไตน์ (F. Bernstein) เป็ นคนแรกทีอ่ ธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของหมู่
เลือดในระบบ ABO จีโนไทป์ และฟี โนไทป์ ของหมูเ่ ลือดระบบ ABO ดังตาราง
ตาราง จีโนไทป์ และฟี โนไทป์ ของหมูเ่ ลือดระบบ ABO
จีโนไทป์ ฟี โนไทป์
IAIA IAi หมู่เลือด A
IBIB IBi หมู่เลือด B
I AI B หมู่เลือด AB
ii หมู่เลือด O
10
ลักษณะพันธุกรรมของหมูเ่ ลือดระบบ ABO เป็ นลักษณะที่ควบคุมด้ วยยีน 3 แอลลีน คือ IA IB และ i ดังนันยี
้ นที่มีมากกว่า 2
แอลลีน ใน 1 โลคัส เรี ยกว่า มัลติเปิ ลแอลลีน (multiple alleles)
ตัวอย่าง พันธุกรรมของ เลือดระบบ ABO ในมนุษย์
IA = สังเคราะห์แอนติเจน A
IB = สังเคราะห์แอนติเจน B
i = ไม่สงั เคราะห์แอนติเจน A และ B
แต่แอลลีน IA และ IB จะแสดงออกร่วมกัน คือ สังเคราะห์แอนติเจนทังสองชนิ
้ ด คือ แอนติเจน A และแอนติเจน B
ดังนัน้
IAIA = จะมีแอนติเจนเพียงชนิด คือ ชนิด A เลือดหมู่ A
IBIB = จะมีแอนติเจนเพียงชนิด คือ ชนิด A เลือดหมู่ B
IAIB = จะมีแอนติเจนเพียงชนิด คือ ชนิด A เลือดหมู่ AB
ii = ไม่มีแอนตจิเจนเลยเพราะ i เป็ นยีนด้ อยไม่สามารถสังเคราะห์ แอนติเจนทังสองชนิ
้ ด เลือดหมู่ O

4. polly gene
ยีนที่กล่าวมาแล้ ว เป็ นพวกที่แสดงลักษณะออกมาอย่างเด่นชัด เช่น ถัว่ ที่มีผิวเมล็ดเรียบหรื อขรุขระ เนื ้อเมล็ดสีเหลือง
หรื อเขียว และการเกิดหมูเ่ ลือดชนิดต่าง ๆ ในคน ลักษณะนี ้จัดเป็ นพวกที่แสดงลักษณะการทางคุณภาพ (qualitative trait)
หรื อลักษณะการไม่ตอ่ เนื่อง (discontinuous trait) คือไม่วา่ จะถูกควบคุมด้ วยจีนเพียงคูเ่ ดียวหรื อหลายคูก่ ็ตาม ผลของการ
ทางานร่วมกันของยีนจะออกมาในรูปของฟี โนไทป์ ใดๆโดยเฉพาะและชัดเจน ไม่มีลกั ษณะกึ่งกลางหรื อต่อเนื่องกัน ทาให้
สามารถจัดกลุม่ ฟี โนไทป์ ได้ สะดวกและแน่นอน และสิง่ แวดล้ อมมีอิทธิพลไปดัดแปลงการแสดงออกของจีนนัน้ ๆ น้ อยหรื ออาจ
ไม่มีเลยก็ได้
ในทางตรงข้ าม จะพบว่าลักษณะกรรมพันธุ์บางอย่างมีความแตกต่างกันเล็กน้ อยอย่างต่อเนื่องจนไม่อาจจัดจาแนก
ออกเป็ นกลุม่ ฟี โนไทป์ อย่างชัดเจน เหมือนอย่างในกรณีแรก ตัวอย่าง เช่น ลักษณะความสูง สติปัญญา สีผิวของคน
ลักษณะดังกล่าวนี ้มีความแปรผันอย่างมาก จึงจัดเป็ นลักษณาทางปริ มาณ (quantitative trait) หรื อลักษณะต่อเนื่อง
(continuous trait) เพราะสามารถวัดหาขนาดหรื อปริ มาณ หรื อวิเคราะห์ในเชิงปริ มาณได้ อย่างเช่น ความสูงของคนส่วนมากก็
มีขนาดใกล้ เคียงกันและลดหลัน่ กันไปตามลาดับ จนกระทัง่ พบว่าคนที่สงู มากหรื อเตี ้ยมากมีจานวนไม่มากนัก ซึง่ ทาให้ ลกั ษณะ
ความสูงของคนมีสภาพการกระจายแบบโค้ งปกติ (normal distribution curve) ลักษณะกรรมพันธุ์เช่นนี ้เกิดจากปัจจัยร่วมกัน
ระหว่างพันธุกรรมและสิง่ แวดล้ อม โดยเฉพาะเกี่ยวกับอาหารที่จาเป็ นสาหรับการเจริ ญเติบโต จึงเป็ นการยากที่จะกล่าวว่า
ปั จจัยใด ๆ มีความสาคัญหรื อมีบทบาทต่อการแสดงออกทางฟี โนไทป์ ได้ มากกว่ากัน
สมมุติฐานที่ใช้ อธิบายการถ่ายทอดลักษณะกรรมพันธุ์แบบต่อเนื่อง คือ มียีน หรื อกลุม่ ยีนหลายคูท่ ี่เรี ยกว่า พอลิยีน
(polygene) ทาหน้ าที่ควบคุมลักษณะเดียวกัน คูย่ ีนเหล่านี ้อาจมีตาแหน่ง ต่างกันภายในโครโมโซมคู่เดียวกัน หรื ออยูบ่ น
โครโมโซมต่างคูก่ นั ก็ได้ โดยยีนแต่ละคูจ่ ะส่งผลต่อการแสดงออกของลักษณะนันเพี ้ ยงเล็กน้ อยเท่านัน้ ในขณะที่สงิ่ แวดล้ อมมี
อิทธิพลช่วยเสริ มการแสดงออกทางฟี โนไทป์ พอสมควร จึงทาให้ ลกั ษณะที่แสดงออกทางฟี โนไทป์ แตกต่างแปรผันอย่างมาก
ทังนี
้ ้ขึ ้นอยูก่ บั องค์ประกอบทางพันธุกรรมและสภาพแวดล้ อม เช่น การถ่ายทอดลักษณะของเมล็ดข้ าวสาลี
11

ที่มา: http://www.vcharkarn.com

เอช. นิลสสัน-เอิล (H. Nilsson-Ehle) (พ.ศ.2452) นักพันธุศาสตร์ ชาวสวีเดน ได้ ศกึ ษาการถ่ายทอดลักษณะสีของ
เมล้ ดข้ าวสาลี ซึง่ เป็ นตัวอย่างการถ่ายทอดลักษณะกรรมพันธุ์แบบต่อเนื่องลักษณะนี ้มียีนที่ควบคุมเพียง 3 คู่
สมมุติวา่ ยีน R1 R2 R3 เป็ นยีนที่ควบคุมให้ เมล้ ดข้ าวสาลีมลี กั ษณะสีแดง และ r1 r2 r3 เป็ นยีนที่ควบคุมให้ เมล็ดข้ าวสาลี
มีสขี าว ก ารผสมพันธุ์ช้าวสาลีทมี่ ีเมล็ดสีแดงเข้ มพันธุ์แท้ กบั เมล็ดข้ าวสาลีสขี าวพันธุ์แท้ พบว่าลูกรุ่น F1 เมล็ดมีสชี มพู เมื่อให้
รุ่น F1 ผสมพันธุ์กนั เองรุ่น F2 ที่ได้ จะมีสแี ตกต่างกัน แบ่งออกเป็ น 7 กลุม่ ตังแต่
้ กลุม่ เมล็ดสีแดงเข้ ม และกลุม่ ที่เมล็ดมีความ
เข้ มของสีแดงลดน้ อยลงตามลาดับ จนถึงกลุม่ ทีม่ ีเมล็ดมีสขี าว
ดังนันเมล็
้ ดข้ าวสาลีที่มีจีโนไทป์ เป็ น R1R1R2R2R3R3 จะแสดงลัดษณะเมล็ดสีแดงเข้ ม ส่วนพวกที่มจี ีโนไทป์ เป็ น
r1r1r2r2r3r3จะมีเมล็ดสีขาว ซึง่ ความเข้ มของสีแดงขึ ้นอยูก่ บั จานวนยีน R หากจีโนไทป์ มีจีนควบคุมให้ มีสแี ดงจานวนมากขึ ้น สี
ของเมล็ดก็จะเข้ มขึ ้นเป็ นลาดับ และจะจาแนกความแตกต่างของจีโนไทป์ ได้ ถึง 7 แบบ ถ้ ามีคขู่ องจีนที่ควบคุมลักษณะเดียวกัน
เพิ่มมากขึ ้นเท่าใด ก็จะได้ จานวนฟี โนไทป์ เพิ่มขึ ้นตามไปด้ วย จนเมื่อดูจากฟี โนไทป์ ไม่อาจทราบได้ วา่ จานวนยีนที่ควบคุมมี
เท่าใด แต่อาจประมาณได้ โดยใช้ หลักเกณฑ์ทางสถิติโดยการหาค่าเฉลีย่ (mean) และค่าของความแปรผัน (Variance) ถ้ าค่า
ของความแปรผันมาก แสดงว่ามียีนที่ควบคุมลักษณะนันน้ ้ อย แต่ถ้าค่าความแปรผันน้ อย แสดงว่ายีนที่ควบคุมมีมาก ลักษณะ
ทางพันธุกรรมทีถ่ กู ควบคุมด้ วยยีนหลายคู่ (multiple gene หรื อ polygenes) เรี ยกว่าเป็ น พอลิจีนิกเทรต (polygenic trait)
12
เป็ นลักษณะทีม่ ีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้ อย และลดหลัน่ กันไป ฟี โนไทป์ จึงมีการกระจายแตกต่างกันเพียงเล็กน้ อย และ
ลดหลัน่ กันไป ฟี โนไทป์ จึงมีการกระจายอย่างต่อเนื่องหรื อกระจายแบบโค้ งปกติ
 sex-linked gene
ในปี พ.ศ. 2453 ทีเอช มอร์ แกน (T.H. Morgan) และคณะ แห่งมหาวิทยาลัย
โคลัมเบีย พบลักษณะพันธุกรรมที่ควบคุมด้ วยยีนบน sex chromosome เป็ นครัง้ แรก ซึง่
แมลงหวีม่ ีโครโมโซม 8 โครโมโซม หรื อ 4 คู่ โดยมี autosome 3 คู่ และ sex chromosome
อยู่ 1 คู่
แมลงหวี่เพศเมีย มีโครโมโซมเพศเป็ น XX
แมลงหวี่เพศผู้มีโครโมโซมเพศเป็ น XY
มอร์ แกนได้ ทดลองนาแมลงหวี่ตาสีขาวผสมกับแมลงหวีตาสีแดง

รุ่น พ่อ แม่ (P) ตาสีขาว x ตาสีแดง


รุ่น F1 ตาสีแดง
รุ่น F2 เพศเมียทุกตัวตาสีแดง
เพศผู้ตาสีแดง : ตาสีขาว = 1 : 1
(ตาสีขาวพบเฉพาะในเพศผู้เท่านัน) ้
จากการทดลองนี ้ทาให้ เราทราบว่า ตาสีแดงเป็ นลักษณะเด่น ตาสีขาวเป็ นลักษณะด้ อย "ทาไม ตาสีขาวจึงพบเฉพาะ
ในเพศผู้ และเพศเมียมีโอกาสตาสีขาวได้ หรื อไม่"
จากการทดลอง มอร์ แกนอธิบายว่า "ลักษณะสีตาของแมลงหวี่เกิดจากยีนทีค่ วบคุมลักษณะสีตา มีตาแหน่งอยูบ่ น
โครโมโซม X โดยแอลลีนที่ควบคุมลักษณะตาสีแดงแสดงลักษณะข่มต่อแอลลีนที่ควบคุมตาสีขาว ส่วนโครโมโซม Y จะไม่มยี ีน
ที่ควบคุมสีตา
การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซมเพศลูกเพศผู้ซมึ่ ีโครโมโซมเพศเป็ น XY ได้ รับโครโมโซม X จากแม่ และรับโครโมโซม Y
จากแม่
ลูกเพศเมียซึง่ มีโครโมโซมเพศเป็ น XX ได้ รับโครโมโซม X จากแม่ และพ่อ
แสดงว่ายีนที่ควบคุมลักษณะสีตาของแมลงหวี่อยูบ่ นโครโมโซมเพศ ซึง่ พิจารณาได้ จากตัวอย่างต่อไปนี ้
กาหนดให้ C เป็ นยีนที่ควบคุมลักษณะตาสีแดง และ c เป็ นยีนที่ควบคุมลักษณะตาสีขาว ซึง่ อยูบ่ นโครโมโซมเพศ
ถ้ านาแมลงหวี่ เพศเมียตาสีแดง x เพศผู้ตาสีขาว
genotype X C XC x X cY
ลูก F1 XC Xc XCY
รุ่น F2 XC XC XC Xc X CY Xc Y
เพศเมียตาสีแดง เพศเมียตาสีแดง เพศผู้ตาสีแดง เพศผู้ตาสีขาว
การถ่ายทอดยีนที่อยูบ่ นโครโมโซมเพศ เรียกว่า ยีนที่เกี่ยวเนื่องกับเพศ (sex-linked gene) ถ้ าอยูบ่ นโครโมโซม X
เรี ยกว่า X-linked gene ถ้ าอยูบ่ นโครโมโซม Y เรี ยกว่า Y-linked gene
13
 X-linked gene/Y-linked gene

X-linked gene
1. ลักษณะตาบอดสีเขียว - แดงในมนุษย์
ตาบอดสี เป็ นลักษณะทีพ่ บมากในประชากรพวกผิวขาว โดยมีชายตาบอดสีชนิดนี ้ 2 ใน 25 คน แต่ในเพศหญิงพบ
น้ อยประมาณ 1 ใน 250 คน ลักษณะตาบอดสี เขียว - แดง นี ้ ผู้มียีนนี ้จะมองเห็นเป็ นสีเดียวคือสีขาวหรื อเทาเท่านัน้ คนปกติ
จะเห็นแสงสีน ้าเงินแดงเขียวผสมกันเป็ นสีขาว บางคนต้ องการเพียงสองสีก็เห็นเป็ นสีขาว แต่บางคนต้ องการเพียงสีเดียวก็เห็น
เป็ นสีขาวได้ แก่พวกตาบอดสีเขียว - แดง เพศหญิงตาปกติอาจจะมีจีนตาบอดสีแฝงมาเป็ นพาหะ (carrier) แต่เป็ นคนถ่ายทอด
จีนตาบอดสีให้ ลกู ซึง่ มักแสดงออกในลูกชายเนื่องจากเอกซ์โครโมโซมเพียงแท่งเดียว ยีนตาบอดสีจงึ แสดงออกได้
2. ลักษณะโรคโลหิตไหลไม่หยุด (hemophilia)
เมื่อเกิดบาดแผลแล้ วทาให้ โลหิตไหลไม่หยุด เนื่องจาก
ร่างกายไม่มีสารที่ช่วยให้ โลหิตแข็งตัว โรคนี ้พบเป็ นมากในเพศชาย
โดยพบในทารกเพศชาย 1 ใน 10,000 คน และหญิงที่เป็ นพาหะพบ ใน
อัตราส่วนเท่ากัน ชายทีเ่ ป็ นโรคนี ้ส่วนใหญ่จะเสียชีวิตก่อนที่จะ
แต่งงาน ส่วนหญิงจะเสียชีวติ ในระยะวัยรุ่นคือมีรอบเดือนเนื่องจาก
สูญเสียโลหิตมาก หญิงที่เป็ นโรคนี ้จะต้ องได้ จีนด้ อยมาจากทังพ่ ้ อและ
แม่ โดยมีแม่ทเี่ ป็ นพาหะแต่งงานกับพ่อซึง่ เป็ นโรคโลหิตไหลไม่หยุด
ถ้ าหญิงปกติแต่งงานกับชายเป็ นโรคจะมีบตุ รชายเป็ นโรคดังแสดงใน
แผนภาพต่อไปนี ้
3. โรคกล้ ามเนื ้อดูเชน (duchenne mucular dystrophy
หรื อ pseudo hypertrophic)
โรคนี ้ไม่คอ่ ยพบมาก เนื่องจากเป็ นจีนด้ อยบนโครโมโซมเพศ
ทารกเพศชายจะเจริ ญเติบโตเป็ นปกติในระยะแรกของวัยเด็ก แต่กล้ ามเนื ้อจะอ่ทีอ่มนแอไม่ เจริ ญต่อไปเป็ นผลให้ เด็กเสียชีวิต เมื่ อ
า: https://kas-kasanapharayat.blogspot.com
เข้ าสูว่ ยั รุ่น ในปั จจุบนั ยังไม่ทราบวิธีปอ้ งกันรักษา เมื่อหญิง
เฮเทโรโซกัส (+d) แต่งงานกับชายปกติ (+Y) จะมีบตุ รในอัตราส่วน 1/4 หญิงปกติ (++) : 1/4 หญิงพาหะ(+d) : 1/4 ชายปกติ
(+Y) :1/4ชายเป็ นกล้ ามเนื ้อดูเชน (dY) และต่อมาชายที่เป็ นโรคนี ้ก็จะตายก่อนอายุ 20 ปี จึงทาให้ อตั ราส่วนเปลีย่ นไปใน
ภายหลัง

Y-linked gene
ลักษณะที่อยูบ่ น Y โครโมโซมมีขนาดเล็กมีสารพันธุกรรมอยูน่ ้ อย จึงพบว่ามีจีนอยูบ่ นวายโครโมโซมน้ อย การ
ถ่ายทอดลักษณะบนวายโครโมโซมเป็ นไปอย่างง่ายๆ ถ้ าพ่อมีลกั ษณะที่อยูบ่ นวายโครโมโซมจะพบจีนนันเฉพาะในลู ้ กชาย
เท่านัน้ เช่น ลักษณะผิวหนังเป็ นเกล็ด (porcupine men) ลักษณะมีพงั ผืดยึดระหว่างนิ ้วเท้ าที่ 2 และ 3 พบในครอบครัวหนึง่ ใน
สหรัฐอเมริ กา ซึง่ พบลักษณะนี ้ในลูกชายจานวน 14 คน ลักษณะมีขนที่ใบหู ลักษณะนี ้มีขนยาวตามใบหูมากกว่าปกติ พบใน
เพศชาย และพบบ่อยในประชากรของอินเดีย
14
 sex-influenced trait หรือลักษณะภายใต้ อิทธิพลของเพศ
เมื่อเปรี ยบเทียบกับลักษณะเฉพาะในเพศซึง่ แสดงเฉพาะเพศใดเพศหนึง่ แล้ ว ลักษณะทีเ่ ป็ น sex-influenced trait หรื อ
ลักษณะภายใต้ อิทธิพลของเพศนี ้ ลักษณะเด่นจะอยูภ่ ายใต้ อิทธิพลของเพศ ถึงแม้ วา่ จะมีจีนอยูบ่ นออโทโซม จีนตัวเดียวกันแต่
แสดงในแต่ละเพศต่างกัน โดยทัว่ ไปเกิดจากสภาวะภายในของสิง่ มีชีวิต อันเนื่องมาจากฮอร์ โมนเพศนัน่ เอง ซึง่ พบลักษณะ
เช่นนี ้ในสัตว์ชนสู
ั ้ งเท่านัน้
ลักษณะบางอย่างในมนุษย์ที่เข้ าใจว่าอาจเป็ นลักษณะ sex-influenced trait เช่น ลักษณะปอยผมด้ านหน้ ามีสขี าว
ปลายนิ ้วมือยาว ลักษณะริมฝี ปากบนแหว่ง เพดานปากโหว่ และการพูดติดอ่าง ลักษณะเหล่านี ้พบในเพศชายมากกว่าเพศ
หญิง อย่างไรก็ตามการถ่ายทอดลักษณะค่อนข้ างซับซ้ อนเพราะมีอิทธิพลของสิง่ แวดล้ อมและพันธุกรรมร่วมกันในการ
แสดงออกของจีนด้ วย
ลักษณะในมนุษย์ที่ศกึ ษากันมาก ว่าเป็ น sex-influenced trait ได้ แก่ ลักษณะศีรษะล้ านเนื่องจากกรรมพันธุ์ ไม่รวม
เอาการหัวล้ านจากโรคภัยไข้ เจ็บ เช่น จากโรคไทฟอยด์ หรื อต่อมไทรอยด์อกั เสบ ลักษณะศีรษะล้ านจากกรรมพันธุ์ มีจีน B
ควบคุม เพศชายฮอมอโลกัส และเฮเทโรไซกัสจะ แสดงลักษณะหัวล้ าน แต่ในเพศหญิงจะแสดงลักษณะล้ านเมื่อเป็ นฮ
อมอโลกัสเท่านัน้ จึงพบมากในเพศชาย การแสดงฟี โนไทป์ จึงเป็ นดังตาราง แสดงลักษณะหัวล้ านในคน

จีโนไทป์ ลักษณะในเพศหญิง ลักษณะในเพศชาย


BB ศีรษะล้ าน ศีรษะล้ าน
Bb ศีรษะไม่ล้าน ศีรษะล้ าน
bb ศีรษะไม่ล้าน ศีรษะไม่ล้าน
เข้ าใจว่าลักษณะหัวล้ านเกิดจากฮอร์ โมนเพศเป็ นตัวสาคัญ ในเพศหญิง Bb ซึง่ หัวไม่ล้านแต่เมื่อเป็ นเนื ้องอกในมดลูก
และถูกตัดมดลูกออก จะกลายเป็ นคนหัวล้ าน ได้

sex-limited trait หรือลักษณะที่ปรากฏจาเพาะเพศ


ลักษณะบางลักษณะแสดงออกในเพศใดเพศหนึง่ ทังนี ้ ้เนื่องจากฮอร์ โมนเพศเป็ นตัวควบคุม โดยทีจ่ ีนนันไม่
้ ได้ อยูบ่ น
โครโมโซมเพศ ตัวอย่างที่เห็นได้ ชดั ได้ แก่ขนของสัตว์ปีก เช่น นก และไก่พนั ธุ์เลกฮอร์ น ตัวผู้ขนยาวปลายแหลม โค้ งงอ ขอบ
หยักสวยงาม ส่วนตัวเมียจะมีขนสัน้ ๆ ตรงปลายมน ขอบเรี ยบไม่สวย เรี ยกว่าขนแบบตัวผู้ (cock- feathered) และขนแบบตัว
เมีย (hen-feathered) ตามลาดับในไก่พนั ธุ์อื่น ๆ เช่น ซีไบท์แบนตัม ทังตั้ วผู้และตัวเมียมีขนแบบตัวเมีย ไก่พนั ธุ์แฮมเบิร์กและ
ไวยันดอต ตัวผู้มีขนทัง้ 2 แบบ ส่วนตัวเมียมีขนแบบตัวเมียมีจีน H ควบคุม และขนแบบตัวผู้มีจีน h ควบคุม แต่ในเพศเมีย
จีน h จะไม่แสดง ดังนันไม่
้ วา่ จะมีจีโนไทป์ อย่างไรก็ตามจะมีขนแบบตัวเมียทังหมด ้ ดังตารางที่ 2.5
ตารางที่ 16.6 แสดงจีโนไทป์ และฟี โนไทป์ ของขนไก่
จีโนไทป์ ลักษณะในเพศเมีย ลักษณะในเพศผู้
HH ขนแบบตัวเมีย ขนแบบตัวเมีย
Hh ขนแบบตัวเมีย ขนแบบตัวเมีย
hh ขนแบบตัวเมีย ขนแบบตัวผู้
15
ถ้ าไก่ตวั เมียถูกตัดรังไข่ทิ ้งจะกลายเป็ น มีขนแบบตัวผู้ได้ ดังนันจี
้ น H จะทาให้ มีขนแบบตัวเมียได้ เมื่อมีฮอร์ โมนเพศเมีย
อยู่ และจะทาให้ เป็ นขนตัวผู้เมือ่ ไม่มีฮอร์ โมนเพศเมียอยู่ ส่วน h ทาให้ เกิดขนแบบตัวผู้เมื่อไม่มฮี อร์ โมนเพศเมียและทาให้ เกิดขน
ตัวเมียถ้ ามีฮอร์ โมนเพศเมียอยู่
ลักษณะเฉพาะเพศในคนที่เห็นชัด ได้ แก่ หนวดเครา ซึง่ มีเฉพาะในเพศชาย ส่วนในเพศหญิงปกติไม่มีหนวดเครา จาก
การศึกษาต่อมสร้ างหนวดเคราปรากฏว่ามีจานวนต่อเนื ้อเยื่อที่ผิวหนังเท่ากัน แตกต่างกันที่การเจริญงอกงามของหนวดเครา
ถ้ าเพศหญิงมีฮอร์ โมนเพศเปลีย่ นไป หนวดเคราจะเจริ ญงอกงามได้ ในกรณีววั นม พ่อแม่พนั ธุ์ววั นม เมื่อผสมกันย่อมให้ จีน
เกี่ยวข้ องกับปริ มาณน ้านม และคุณภาพของนมแก่ลกู วัวทุกตัว แต่จะมีเฉพาะวัวตัวเมียเท่านัน้ ที่สามารถให้ น ้านมในปริมาณ
และคุณภาพที่รับยีนมาจากพ่อแม่ได้

You might also like