You are on page 1of 42

คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยปทุมธานี

พยาธิวิทยาสาธารณสุข PH
2121

พยาธิวิทยาของเซลล์มะเร็ง

Pakpoom Ounhalekjit
นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
Tumor ; เนื้อเยื่อที่เจริญเติบโตแตกต่างจากเนื้อเยื่อที่ปกติ ทำให้เห็นลักษณะเป็น
ตุ่ม ก้อน
Benign tumor ; เซลล์หรือเนื้อเยื่อส่วนใดของร่างกายที่เพิ่มจำนวน แต่ไม่มีการ
แพร่กระจายไปยังอวัยวะข้างเคียงหรือที่อยู่ไกลออกไป
Malignant tumor ; เซลล์ที่เจริญผิดปกติ และมีความสามารถที่ลุกลามและแพร่
กระจายไปยังเนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบได้ โดยกระจายไปตามกระแสเลือด
Gene mutation (การกลายพันธุ์) : ผลสืบเนื่องจากการทำลายหรือทำให้เกิดความ
เสียหายแก่ DNA ซึ่งส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหน้าที่การทำงานของยีน
นิยามคำศัพท์
จีนก่อมะเร็ง (oncogene); จีนที่เกิดความผิดปกติขึ้นแล้ว
ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนำไปสู่การเป็ นโรคมะเร็ง เดิมที
จะอยู่ในรูปก่อนถูกกระตุ้น (proto-oncogene)
จีนต้านมะเร็ง (suppressor gene); ทำหน้าที่ยับยั้งการ
เจริญเติบโตและแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ง
อัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งในประเทศไทย : แบ่งตามกลุ่มโรค
(สถิติจากกระทรวงสาธารณสุข)
พ.ศ. 2535 โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับ 3 (43.5 คนต่อประชากร 100,000 คน)
พ.ศ. 2545 โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับ 1 (73.3 คนต่อประชากร 100,000 คน)
ชนิดของมะเร็ง 6 อันดับแรก :
มะเร็งตับและท่อน้ำดี*
มะเร็งปอดและหลอดลม
มะเร็งปากมดลูก
มะเร็งเต้านม
มะเร็งสมองและระบบประสาท
มะเร็งลำไส้ใหญ่ *
* มีสาเหตุที่เกี่ยวข้องกับอาหาร, สารเคมีปนเปื้อนและสารก่อมะเร็ง
แนวโน้มการเกิดมะเร็งตามความสัมพันธ์กับอายุ
มะเร็ง (Cancer)
กลุ่มอาการความผิดปกติของเซลล์ที่ไม่สามารถควบคุมการ
แบ่งตัวและเพิ่มจำนวนได้ตามปกติ (uncontrolled
proliferation)
รวมทั้งสามารถลุกลามและแพร่กระจายไปยังอวัยวะข้างเคียง
หรือที่อยู่ไกลออกไปได้ นอกจากนี้ยังไปเบียดและทำลาย
เนื้อเยื่อข้างเคียงในอวัยวะที่แพร่กระจายไปถึง
ผลที่ตามมาผู้ป่วยเสียชีวิตในที่สุด ถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่าง
ทันท่วงที
มะเร็งมีหลายชนิดขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่เกิดและลุกลามออกไป
เช่น มะเร็งปอด มะเร็งตับ เป็นต้น
ลักษณะสำคัญของเซลล์มะเร็ง
เกิดจากเซลล์ที่กลายพันธุ์เพียงเซลล์เดียว (Single cell mutation) และเพิ่มจำนวนอย่างไม่หยุดยั้ง (uncontrolled
proliferation)
มีความสามารถในการลุกลาม (invasive) และ แพร่กระจาย(metastasis)

ลักษณะสำคัญของเซลล์มะเร็งต่ออวัยวะข้างเคียง
เป็นเซลล์ที่มีลักษณะพิเศษ ไม่สามารถดำรงชีวิตได้โดยลำพังต้องอาศัยโดยการแย่งอาหารจากเซลล์ปกติที่อยู่รอบๆ
เซลล์มะเร็งมีอัตราเมตาบอลิสมสูงกว่าเซลล์ปกติ มีความต้องการอาหารมากกว่าเพราะต้องใช้พลังงานมากกว่าเซลล์
ปกติจึงทำให้เซลล์ที่เป็นมะเร็งต้องแย่งอาหารจากเซลล์ปกติร่างกาย
Cancer cell VS Normal
cells
Benign tumor VS Malignant tumor
ความแตกต่างระหว่าง Benign และ malignant tumor
Benign tumor Malignant tumor
1. มีการเจริญเติบโตอย่างช้าๆ 1. มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
2. ลักษณะเป็ นก้อนกลมรี 2. แทรกเข้าไปในเนื้อเยื่อด้านข้าง
รูปร่างไม่แน่นอน
3. ไม่แพร่กระจายไปยังอวัยวะ 3. แพร่กระจายผ่านไปตามท่อน้ำ
ข้างเคียง เหลือง เส้นเลือด
4. มีแคปซูลหุ้มที่ก้อนเนื้อเยื่อ 4. ไม่มีแคปซูลหุ้ม
5. ยังคงมีรูปร่าง และนิวเคลียสที่ 5. ลักษณะนิวเคลียส มีรูปร่างที่ผิด
ยังคงปกติ ปกติ เปลี่ยนไป เช่น นิวเคลียสมี
ขนาดใหญ่
6. ไม่มีความสามารถในการสร้าง 6. มีความสามารถในการสร้าง
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็ง

ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
 สารก่อมะเร็ง เช่น สารพิษจากเชื้อรา อะฟลาทอกซิน, สารจากการปิ้งย่างในกลุ่ม
ไฮโดรคาร์บอน เช่น PAH, สารเร่งเนื้อแดง เช่น สารไนโตรซามีน
 รังสีอัลตราไวโอเล็ต
 เชื้อไวรัสบางชนิด เช่น ไวรัสตับอักเสบบี, ฮิวแมนพาพิลโลมา ไวรัส

ปัจจัยจากภายในร่างกาย
 ความผิดปกติทางพันธุกรรม เช่น การกลายพันธ์ของสาย DNA
 จีนมะเร็ง (oncogene)
 tumor-Supressor genes
สาเหตุของการเกิดมะเร็ง
1. สาเหตุจากปัจจัยทางสารเคมี (Chemical Carcinogenesis)
การเกิดการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ปกติจนกลายเป็นเซลล์มะเร็งอันเนื่องจากการได้รับสารเคมีก่อมะเร็ง
ดังนั้นการได้รับสัมผัสสารก่อมะเร็งอย่างต่อเนื่องจึงนับเป็นปัจจัยสำคัญที่เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็ง (cancer risk
factor)
ตัวอย่างปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมที่ทำให้เกิดมะเร็ง
◦ การสูบบุหรี่ : ควันบุหรี่ประกอบด้วยสารเคมีมากกว่า 4,000 ชนิดในจำนวนนั้นพบว่า
กว่า 40 ชนิดมีคุณสมบัติเป็นสารก่อมะเร็ง -- มะเร็งปอด, ช่องปาก, หลอดอาหาร
◦ อัลตราไวโอเลตจากแสงแดด UV -- มะเร็งผิวหนัง
◦ แอลกอฮอล์ -- มะเร็งปาก, หลอดอาหาร
ประเภทสารก่อมะเร็ง
แบ่งตามแหล่งกำเนิดของสารก่อมะเร็ง
1. สารก่อมะเร็งที่เกิดเองในธรรมชาติ (Naturally occurring carcinogens)
รวมทั้งสารก่อมะเร็งที่เกิดจากกระบวนการปรุงอาหาร เช่น
aflatoxins , polycyclic aromatic hydrocarbons (PAH), benzine

2. สารมะเร็งที่เกิดจากการสังเคราะห์หรือกระบวนการทางอุตสาหกรรม (Synthetic or
industrial carcinogens) เช่น สารประกอบไฮโดรคาร์บอนต่างๆ
เบนซีน (Benzene)
ของเหลวไม่มีสี ระเหยเป็นไอรวดเร็ว จุดไฟติด ใช้เป็นตัวทำละลายและสารตั้ง
ต้นในการสังเคราะห์สารเคมีในทางอุตสาหกรรม

ถูกเปลี่ยนแปลงในร่างกายโดยเอ็นไซม์ CYP1E1 ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง


chromosome ในไขกระดูก

ทำให้เกิดมะเร็งเม็ดเลือด (leukemia) โดยเฉพาะ ชนิด AcuteMyeloid


Leukemia (AML)
ภาพถ่ายขยายของ Aspergillus flavus
Aflatoxins (Mycotoxins)
 Aflatoxins เป็นสารพิษที่ถูกสร้างจากเชื้อราในตระกูล
Aspergillus sp. เช่น Aspergillus flavus, Aspergillus
parasiticus
 ในธรรมชาติพบสารอะฟลาทอกซิน 4 ชนิด ได้แก่ B1,
B2, G1, G2 (M1)
 Acute toxicity & Liver cancer (hepatocellular
carcinoma)
 Liver carcinogen in all animal tested
(different range of sensitivity)

ภาพถ่ายฝักข้าวโพดที่ปนเปื้อน
Apergillus flavus
Polycyclic Aromatic Hydrocarbons (PAHs)
เป็นกลุ่มสารที่มีโครงสร้างวงแหวนหลายวงต่อ
กันเป็น planar molecules ประกอบด้วยสาร
มากกว่า 200 ชนิด เกิดจากการเผาไหม้ของ
สารประกอบคาร์บอน
Carcinogenic chemicals : Examples
Chemical Source Cancer type
Aflatoxin B1 Moldy food Liver cancer

Aristolochic acid Chinese herbs Kidney cancer

4-aminobiphenyl Dye/rubber manufacturer, tobacco Bladder cancer


smoke
Benzidine Dye manufacturer Bladder cancer

Benzo[a]pyrene Tobacco smoke, pollution Lung cancer

Butadiene Manufacturer of resins, plastic, etc Leukemia

NKN and NNN Tobacco smoke Lung, head, neck

Procarbazine Chemotherapeutic agents Leukemia

Vinyl chloride Polyvinylchloride manufacturer Liver, angiosarcoma


Radiation
รังสี UV
 รังสี UV ประกอบด้วย UV-A, B และ C

(ความยาวคลื่น 280-400 nm)

 รังสี UV-B ทำให้เกิดการแตกหักของ


สาย DNA strand หรือ DNA bases
ทำให้เกิด thymidine dimers ซึ่งปกติ
จะถูกซ่อมแซมโดย DNA repair system

ถ้าได้รับแสงแดดปริมาณมาก
ติดต่อกัน ทำให้เกิดมะเร็งผิวหนังได้
Mechanism of Action
The main target is the DNA which, when damaged, can lead to
cell death and therefore tumour necrosis
ปั จจัยที่เกี่ยวข้องต่อการเกิดมะเร็งจากการได้รับ
สารเคมี
(Factors Involved Chemical Carcinogenesis)

ขนาดที่ได้รับ (Dose)
ระยะเวลาที่ได้รับ (Duration of exposure)
ระยะเวลาพักตัว (Latency)
ปัจจัยร่วมอื่นๆ (Co-factors)
วิถีทางการได้รับสารก่อมะเร็ง (Routes of Entry)
Genetic Mutation & Cancer Development
2. สาเหตุจากปัจจัยภายในร่างกาย
 เกิดการเปลี่ยนแปลงบนจีน (gene) หลายตำแหน่งบนสาย DNA

Mutated DNA
(sequence change)

mRNA

Mutated RNA

Transcription
Transcription
No protein

Shortened Protein with Normal


Too much protein amount
protein mutation

Translation
Translation

Growth advantage
2. สาเหตุจากปัจจัยภายในร่างกาย(ต่อ)
การกลายพันธ์ของจีนยับยั้งเซลล์มะเร็ง Tumor-Suppressor Genes :
แสดงออกเพื่อยับยั้งการแบ่งเซลล์ ดังนั้นหากหยุดการแสดงออกหรือสูญเสียหน้าที่ไม่
สามารถแสดงออกได้ เซลล์จะแบ่งตัวโดยไม่สิ้นสุด เช่น
1. retinoblastoma gene (RB gene)
2. p53 gene
การกระตุ้นจีนมะเร็ง (Oncogene) บางชนิด
เช่น MYC gene ถ้าถูกกระตุ้นจะทำให้เป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด
Burkit’s lymphoma
Bcr-Abl gene ทำให้เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด CML
Initiation and Promotion
การเกิดมะเร็งตามทฤษฎีของ initiation & promotion
Initiator & Promoter
 Initiator หมายถึง สารที่เหนี่ยวนำให้เกิดเซลล์มะเร็ง
(เซลล์ปกติเปลี่ยนเป็ นเซลล์มะเร็ง) โดยการจับกับ DNA
และเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง DNA
เช่น สารเคมีที่มีฤทธิ์ก่อมะเร็ง เช่น สารหนู เบนซิน PAH
เป็ นต้น
 Promoter หมายถึง สารที่มีคุณสมบัติในการเพิ่มจำนวน
เซลล์ และกระตุ้นให้เซลล์ไม่สามารถพัฒนาไปเป็ นเซลล์ที่
ทำหน้าที่ได้ตามปกติ
การกลายพันธ์ของจีนยังยั้งเซลล์มะเร็ง
ชนิด Retinoblastoma gene

การกลายพันธ์ของจีนยังยั้งเซลล์มะเร็งชนิด Myc gene


Initiation & Promotion
 กระตุ้นให้เกิดการกลายพันธ์ของจีนนำไปสู่การเป็ นเซลล์มะเร็งอย่างถาวร

Malignant cell

Initiator Promoter
เซลล์กลายพันธ์
อย่างถาวร

เซลล์ปกติ กระตุ้นให้เกิดการกลายพันธ์ Promoter induces


ในระดับจีน gene expression

1. สารเคมีต่างๆ เช่น PAH เบนซิน ปัจจัยส่งเสริมการกลายพันธ์ของเซลล์


2. รังสี 1. การกระตุ้นจีนก่อมะเร็ง (oncogene)
3. ไวรัสบางชนิด 2. ยับยั้งจีนกดการทำงานของเซลล์มะเร็ง (tumor supressor
gene)
3. นำไปสู่การกลายพันธ์ของเซลล์อย่างถาวรและเพิ่มจำนวนผิด
ปกติ
การเปลี่ยนแปลงของเซลล์มะเร็ง (Malignant transformation)
เซลล์ปกติ (Normal cell)

เริ่มเกิดการเปลี่ยนแปลงของ DNA และโครโมโซม


(Rare mutation Initiated cell– single
Mutation)
เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและคุณสมบัติ
ของเซลล์ (Pre-neoplasia)

Cancer cell
สรุปการเปลี่ยนแปลงของเซลล์มะเร็ง (multistep carcinogenesis)

INITIATION PROMOTION TRANS FORMATION PROGRESSION

Carcinogen

Genetic Genetic Genetic


change change change

> 10 year > 1 year


Cell multiplication Malignant cell Malignant tumor
การแพร่กระจายของเซลล์มะเร็ง (Cancer
metastasis)
กระบวนการนี้มีความสำคัญที่สุดของโรคมะเร็ง เป็นระยะที่ทำให้ผู้ป่วยถึงแก่ชีวิต ถ้าถึงระยะนี้ ไม่ว่าจะรักษาด้วย
วิธีต่างๆ เช่น การผ่าตัด เคมีบำบัดยากที่จะรักษาให้หายขาด
การแพร่กระจายของเซลล์มะเร็ง (Cancer metastasis)
ระยะแพร่กระจายของเซลล์มะเร็ง แบ่งออกเป็ น 4 ระยะ
1. Invasive; เป็ นระยะที่เซลล์มะเร็งลุกลามและเบียดทำลายเนื้อเยื่อ
2. Cell detachment; เซลล์มะเร็งแทรกตัวผ่านผนังหลอดเลือดฝอย
3. Dissemination; เป็ นระยะที่เซลล์มะเร็งกระจายไปยังอวัยวะต่างๆ ทั่ว
ร่างกายทั้งในกระแสเลือดและท่อน้ำเหลืองในระยะนี้เซลล์มะเร็งจะต้องออก
จากระบบหมุนเวียนเลือดและแทรกเข้าไปยังอวัยวะใหม่ให้ได้
(โอกาสที่เซลล์มะเร็งจะหลุดลอดออกจากระบบหมุนเวียนเลือดและลุกลามไป
ยังอวัยวะใหม่มีเพียง 1/106 เซลล์เท่านั้น)
4. Establishment; เมื่อเซลล์มะเร็งหลุดออกจาระบบไหลเวียนเลือดได้
เซลล์มะเร็งจะรวมกลุ่มกันและแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและแพร่กระจายในอวัยวะ
ใหม่ รวมทั้งสร้างเส้นเลือดฝอยขึ้นมาเพื่อแย่งอาหารจากเซลล์ปกติ
Invasive
Cancer metastasis
1. Invasive
Cell detachment
Dissemination
2. Cell detachment
Establishment
3. Dissemination

4. Establishment
Hepatocellular carcinoma Hodgkin’ s lymphoma

Lung cancer
สรุปคุณสมบัติของเซลล์
มะเร็ง
1. เซลล์มะเร็งจะเพิ่มจำนวนเซลล์โดยไม่สนใจเซลล์รอบข้างหรือสัญญาณ
กระตุ้นระหว่างเซลล์
2. สามารถหลีกหนีจากโปรแกรมการฆ่าตัวตายของเซลล์ได้ (Program cell
death)
3. เซลล์มะเร็งสามารถเพิ่มจำนวนได้อย่างไม่หยุดยั้งและเซลล์เหล่านั้นไม่
สามารถทำหน้าที่ได้ตามปกติ
4. จีนหรือโครโมโซมของเซลล์มะเร็งเกิดการกลายพันธ์ซ้ำซ้อน ไม่มีความเสถียร
5. สามารถหลุดออกจากก้อนเนื้อร้าย (malignant tumor) และบุกรุกและแพร่
กระจายไปยังอวัยวะข้างเคียงได้
6. สามารถสร้างเส้นเลือดฝอยขึ้นมาใหม่ได้ (angiogenesis)
7. สามารถอยู่รอดและเพิ่มจำนวนในอวัยวะใหม่ (Organism) ที่เซลล์สามารถ
ลุกลามไปถึงได้
TYPES OF
CANCER

Carcinoma: Cancer of the skin and the tissues that line


the body. Includes lung cancer, breast cancer, cervical
cancer, head & neck cancer, stomach & bowel cancer etc.
Sarcoma: Cancer of bone and muscle tissue
Lymphoma and Leukemia ( “blood cancer ”) : Cancer
originating from the lymph and bone marrow tissues
ลักษณะอาการที่สำคัญ
ไม่มีอาการแสดงออกของโรค
พบอาการอย่างใดอย่างหนึ่งตามสัญญาณอันตราย 8 ประการ ที่เป็นสัญญาณเตือน ว่าควรไปพบ
มีอาการป่วยของโรคทั่วไป เช่น อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ร่างกายทรุดโทรม ไม่สดชื่น และไม่แจ่มใส
 มีอาการบ่งบอกว่า มะเร็งอยู่ในระยะลุกลาม หรือเป็นมาก ขึ้นอยู่กับว่าเป็นมะเร็ง ชนิดใดและมีการกระจายของโรค
อยู่ที่ส่วนใดของร่างกายที่สำคัญที่สุดของอาการในกลุ่ม นี้ ได้แก่ อาการเจ็บปวด อันเนื่องมาจากการแทรกและลุกลาม
ของเซลล์มะเร็ง
สัญญาณอันตราย 8 ประการที่ทุกคนควรจะจำไว้เพื่อสุขภาพที่ดี ได้แก่

1.มีการเปลี่ยนแปลงของระบบขับถ่ายอุจจาระ และปัสสาวะ เช่น ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ หรือปัสสาวะเป็นเลือด


2. กลืนอาหารลำบาก หรือมีอาการเสียด แน่นท้องเป็นเวลานาน
3. มีอาการเสียงแหบ และไอเรื้อรัง
4. มีเลือดหรือตกขาวที่ผิดปกติ เช่น มีกลิ่นเหม็น
5. แผลซึ่งรักษาแล้วไม่ยอมหาย
6. มีการเปลี่ยนแปลงของหูดหรือไฝตามร่างกาย
7. มีก้อนที่เต้านมหรือส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
8. หูอื้อหรือมีเลือดกำเดาไหล
การรักษามะเร็ง
1. การรักษาโดยใช้ยาเคมีบำบัด (Chemotheraphy)
 ขัดขวางวงจรชีวิตของเซลล์ทำให้ เซลล์ตาย ยาแต่ละตัวออก
ฤทธิ์แตกต่างกันในการรักษา เช่น Alkylating agents เป็ นต้น
 ออกฤทธิ์ต่อเซลล์ที่แบ่งตัวอย่างรวดเร็ว เช่น เซลล์ปลายราก
ผม (hair follicles), เซลล์เยื่อบุกระเพาะอาหาร
(gastrointestinal mucosa) , เซลล์ในไขกระดูก (bone
marrow) เป็ นต้น
อาการข้างเคียง;
มีอาการท้องเดินและท้องผูกอย่างรุนแรง, ผมร่วง, เซลล์
เม็ดเลือดมีจำนวนลดลง รวมทั้งปั สสาวะ อุจจาระ มีเลือดปน
เป็ นต้น
การรักษามะเร็ง (ต่อ)
2. การรักษาด้วยวิธีการฉายแสง
วิธีนี้ใช้ในกรณีที่ที่โรคลุกลามมาก หรือ ลดขนาดของก้อนมะเร็ง มักรักษาร่วมกับการให้เคมีบำบัด
3. การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด
ใช้ในกรณีที่ผู้ป่ วยเป็นมะเร็งระยะเริ่มแรก หรือ กรณีที่เนื้องอกมีขนาดใหญ่ โดยหวังผลในการรักษาคือ
ให้ผู้ป่ วยหายขาดเมื่อได้รับ การผ่าตัด
Treatment
Process

Treatment Process

Used to treat a variety of cancers Maybe combined with


like head & neck Internal radiation , surgery or
cancers, breast cancer, cervical chemotherapy as part of the
cancer, lung cancer, brain cancer. treatment.
THANK YOU

You might also like