You are on page 1of 8

บทบาทของเอนไซม์ไซโตโครมพี 450 ในการร ักษามะเร็ง

Role of Cytochrome P450 Enzymes in Cancer Treatment

นิพนธ์ปริท ัศน์ Review Article

เบญจมาศ คุชนี* Benjamart Cushnie*


คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จ.มหาสารคาม Faculty of Pharmacy, Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand

* ติดต่อผูน
้ พ
ิ นธ์: bwarasiha@yahoo.com * Corresponding author: bwarasiha@yahoo.com

วารสารไทยเภส ัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ 2555;7(1):44-51 Thai Pharmaceutical and Health Science Journal 2012;7(1):44-51

บทค ัดย่อ Abstract


การผลิตยาต้านมะเร็งชนิดใหม่ทม่ี ปี ระสิทธิผลสูงและจําเพาะต่อเซลล์มะเร็งเป็ นสิง่ Novel anticancer agents with improved efficacy and selectivity are urgently
ที่ทางการแพทย์จําเป็ นต้องให้ความสําคัญในการค้นหาและพัฒนาอย่างเร่งด่วน needed. The cytochrome P450 family of enzymes (P450), which is involved
กลุ่มเอนไซม์ cytochrome P450 (P450) ซึง่ มีหน้าทีเ่ ปลีย่ นแปลงสารใน phase I in the Phase I metabolism of a wide variety of compounds, represents an
จัดว่าเป็ นเอนไซม์กลุ่มหนึ่งที่ได้รบั ความสนใจเป็ นอย่างมาก เนื่องจากมีบทบาท interesting target for cancer research. The role and importance of P450
และความสํา คัญ ในการก่ อ ให้เ กิด มะเร็ง และการดํ า เนิ น ของโรค อีก ทัง้ มีก าร enzymes in cancer formation and progression has led to the development
แสดงออกที่จําเพาะต่อเซลล์มะเร็ง ได้แก่ เอนไซม์ CYP1B1 ความรูเ้ กี่ยวกับสาร of cancer therapeutics based on P450 expression and metabolic pathways.
ตัง้ ต้นและกลไกการออกฤทธิของเอนไซม์์ น้ี ได้ถูกนํ ามาประยุกต์ในการพัฒนายา Some P450 enzymes have been identified as having tumor-specific
ใหม่ และ/หรือ ปรับปรุงรูปแบบยาเคมีบําบัดที่ใช้กนั ในปจั จุบนั ให้มปี ระสิทธิผลดี expression, for instance CYP1B1. Knowledge in these enzymes’ substrate
ยิง่ ขึ้น ทัง้ นี้เพื่อจําเพาะต่อเซลล์มะเร็งเท่านัน้ และลดความเป็ นพิษต่อเซลล์ปกติ and mechanism of action in tumor cells has become very useful in the
วัต ถุ ป ระสงค์ข องการทบทวนวรรณกรรมในครัง้ นี้ เ พื่อ รวบรวมข้อ มูล เกี่ย วกับ design of new chemotherapeutics and/or development of more effective
บทบาทของเอนไซม์ P450 ในแนวทางการรักษามะเร็งแบบใหม่ ได้แก่ การยับยัง้ existing anticancer drugs. It can help reduce systemic toxicity and enhance
เอนไซม์ P450 ทีเ่ กี่ยวข้องกับการเกิดมะเร็ง ยาในรูป prodrug และพันธุกรรม specificity to tumor cells. This review aims to outline the applications of
บําบัด เป็ นต้น P450 enzymes in cancer therapy. Applications include inhibition of
enzymes involved in hormone-dependent cancer and vitamin metabolism,
คํา สํา คัญ: เอนไซม์ไซโตโครมพี 450, การรัก ษามะเร็ง , ออกฤทธิแ์ บบมุ่ง
development of prodrugs activated by enzymes, and P450-mediated gene
เป้าหมาย, แสดงออกทีจ่ าํ เพาะต่อเซลล์มะเร็ง
therapy.
Keywords: cytochrome P450 enzymes, cancer treatment, targeted therapy,
tumor-specific expression

บทนํา
เอนไซม์ cytochrome P450 (P450) ถูกค้นพบประมาณเมื่อ pathways) ของสารจํา เป็ น ภายในร่ า งกาย (endogenous
50 กว่ า ปี ท่ี แ ล้ ว เป็ น กลุ่ ม เอนไซม์ ข นาดใหญ่ ท่ี ม ี เ หล็ ก เป็ น compounds) เช่น cholesterol, steroid hormones, bile acids,
องค์ประกอบภายในโมเลกุล (heme-containing protein) สามารถ vitamins และ arachidonic acid และยังเกีย่ วข้องกับเมแทบอลิซมึ
พบได้ในสิง่ มีชวี ติ หลายชนิด เช่น แบคทีเรีย รา พืชและสัตว์ ส่วน (metabolism) สารแปลกปลอมภายนอกร่างกาย (exogenous
ในมนุ ษย์นนั ้ ปจั จุบนั พบว่ามีทงั ้ สิน้ 57 ไอโซฟอร์ม (isoform) จาก compounds หรือ xenobiotics) เช่น ยารักษาโรค สารก่อมะเร็งที่
18 แฟมิล่ี (family) และ 43 แฟมิลย่ี ่อย (subfamily)1 ระบบการ อาจพบปนเปื้อนในอาหารหรือสิง่ แวดล้อม3,4 ดังแสดงในรูปที่ 1
เรียกชื่อเอนไซม์ P450 ขึน้ อยู่กบั ความคล้ายคลึงของลําดับกรดอะ เอนไซม์ P450 โดยส่วนใหญ่แสดงออก (expression) ภายใน
มิโน (amino acid sequence similarity) ถ้าคล้ายคลึงกันร้อยละ ตับ แต่สามารถพบได้ภายนอกตับเช่นกัน ได้แก่ สมอง ปอด เต้า
40 ขึน้ ไป จัดอยู่ในแฟมิลเ่ี ดียวกัน โดยแสดงเป็ นเลขอารบิก เช่น นม ลํ า ไส้ใ หญ่ เป็ น ต้น 3,4 แต่ ม ีส ิ่ง หนึ่ ง ที่น่ า สนใจเกี่ย วกับ การ
CYP1, CYP2, CYP3 แต่ถา้ คล้ายคลึงกันร้อยละ 55 ขึน้ ไป จัดอยู่ แสดงออกของเอนไซม์ P450 นัน่ คือ มีบางไอโซฟอร์มที่มกี าร
ในแฟมิลย่ี ่อยเดียวกัน จะแสดงเป็ นตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ่ แสดงออกทีจ่ ําเพาะต่อเนื้อเยือ่ มะเร็งเมือ่ เปรียบเทียบเนื้อเยือ่ ปกติ
เช่น CYP1A, CYP2B, CYP3A ส่วนไอโซฟอร์มแสดงเป็ นตัวเลข ในคนคนเดียวกัน หรืออาจเรียกว่า ‘tumor-specific expression’
อารบิกอยู่หลังอักษรภาษาอังกฤษ โดยส่วนใหญ่กํากับตามลําดับ ยกตัว อย่ า งเช่ น CYP1B1 มีก ารแสดงออกที่ม ากเกิน
การค้นพบก่อน-หลัง เช่น CYP1A1 ค้นพบก่อน CYP1A22 (overexpression) ในเนื้อเยือ่ มะเร็งหลายชนิด ได้แก่ มะเร็งเต้านม
เอนไซม์ P450 มีบทบาทสําคัญหลายประการ ได้แก่ เกีย่ วข้องกับ มะเร็งรังไข่ มะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนัก เป็ นต้น5-8 นอกจากนี้
วิถกี ารสังเคราะห์และการสลาย (biosynthesis and catalysis ยังพบปรากฏการณ์เช่นนี้ในเอนไซม์ CYP4Z1 และ CYP2W1 ซึง่

ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ ปี 7 ฉบับ 1, มค. – มีค. 2555 44 Thai Pharm Health Sci J Vol. 7 No. 1, Jan. – Mar. 2012
รูปที่ 1 สรุปบทบาทและหน้าทีข่ องเอนไซม์ P450 ทีเ่ กีย่ วข้องกับการเมแทบอลิซมึ ของสารจากภายในและภายนอกร่างกาย

เป็ นไอโซฟอร์มใหม่ทเ่ี พิง่ ค้นพบเมื่อประมาณ 6 ปี ท่แี ล้ว พบการ หรือกลไกการออกฤทธิ ์ (mechanism of action) ของเอนไซม์
แสดงออกของเอนไซม์ CYP4Z1 ทีม่ ากเกินในเนื้อเยื่อมะเร็งเต้า P450 ในเซลล์มะเร็ง ถือได้ว่าเป็ นประโยชน์ อย่างยิง่ ในการ
นมแต่ไม่พบในเนื้อเยื่อเต้านมปกติ อีกทัง้ พบความสัมพันธ์น้ี ใน ออกแบบยาต้านมะเร็งรุ่นใหม่ และ/หรือ การพัฒนายาต้านมะเร็ง
ผูป้ ่วยมะเร็งรังไข่ท่มี กี ารพยากรณ์โรคไม่ด ี (poor prognosis)9 แบบดัง้ เดิมทีใ่ ช้กนั ในทางคลินิกให้มปี ระสิทธิผลในการรักษาดีขน้ึ
ส่วนเอนไซม์ CYP2W1 พบการแสดงออกทีม่ ากเกินในมะเร็งลําไส้ กว่า เดิม โดยที่พ ยายามลดระดับ ความรุ น แรงของอาการไม่พ ึง
ใหญ่แต่ไม่พบในเนื้อเยื่อลําไส้ใหญ่ปกติ10 จากข้อมูลข้างต้นนี้จงึ มี ประสงค์และมีความจําเพาะต่อเซลล์มะเร็งมากยิง่ ขึ้น ดังนัน้ การ
นักวิจยั หลายกลุ่มได้ให้ความสนใจในการพัฒนายาใหม่แบบมุ่ง ทบทวนวรรณกรรมในครัง้ นี้จงึ มีวตั ถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูล
เป้าหมายทีเ่ อนไซม์ P450 เพือ่ หวังผลให้เกิดประสิทธิผลในการ เกีย่ วกับบทบาทของเอนไซม์ P450 ในแนวทางการรักษามะเร็ง
รักษาสูงสุดและเกิดอาการพิษหรืออาการไม่พงึ ประสงค์น้อยทีส่ ุด แบบใหม่ โดยอาจสรุปได้เป็ น 4 กลุ่มใหญ่ คือ5,11-13 (รูปที่ 2)
หรืออีกนัยหนึ่งก็คอื ทําลายเซลล์มะเร็งเท่านัน้ แต่ไม่มผี ลต่อเซลล์
ปกตินนเอง
ั่ 1) การยับยัง้ เอนไซม์ท่เี กี่ยวข้องกับการเกิดมะเร็งที่สมั พันธ์กบั
จากบทบาทและความสําคัญของเอนไซม์ P450 ทีเ่ กีย่ วข้องกับ ฮอร์โมน (hormone-dependent cancer)
ยาต้านมะเร็งหรือมีผลต่อกระบวนการเกิดมะเร็งทีก่ ล่าวข้างต้น จึง 2) การยับยัง้ เอนไซม์ทเ่ี กีย่ วข้องกับวิถเี มแทบอลิซมึ ของวิตามิน
นํามาสูแ่ นวทางการพัฒนายาต้านมะเร็งแบบใหม่ โดยอาศัยความรู้ 3) การออกแบบ prodrugs ทีถ่ ูกกระตุน้ โดยเอนไซม์ทจ่ี าํ เพาะอยู่
ความเข้าใจพืน้ ฐานเกีย่ วกับวิถเี มแทบอลิซมึ ทีม่ ตี ่อสารภายในหรือ ภายในเซลล์มะเร็งเท่านัน้
สารภายนอกร่างกาย หรือแม้แต่การแสดงออกของเอนไซม์ P450 4) พันธุกรรมบําบัด (gene therapy) โดยมุง่ เป้าหมายทีเ่ อนไซม์ท่ี
ที่จํา เพาะต่ อ มะเร็ง นัน้ ๆ ข้อ มูล เกี่ย วกับ สารตัง้ ต้น (substrate) มีความจําเพาะต่อเซลล์มะเร็ง

ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ ปี 7 ฉบับ 1, มค. – มีค. 2555 45 Thai Pharm Health Sci J Vol. 7 No. 1, Jan. – Mar. 2012
รูปที่ 2 สรุปการประยุกต์ใช้เอนไซม์ P450 ในการรักษามะเร็ง

การย ับยงเอนไซม์
ั้ ทเี่ กีย
่ วข้อง receptor) เนื่ องจากยาเหล่านี้ มผี ลยับยัง้ การสร้างเอสโตรเจนใน
ก ับการเกิดมะเร็งทีส ั ันธ์ก ับฮอร์โมน
่ มพ เนื้อเยื่อเป้าหมายและมีผลเพิม่ อัตราการรอดชีวติ ของผูป้ ่วยมะเร็ง
เอนไซม์ CYP17A1 (17alpha-hydroxylase หรือ 17,20- เต้านมระยะลุกลาม (metastatic breast cancer)18,19
lyase) มีก ารแสดงออกที่ต่ อ มอะดรีน อล อัณ ฑะ รกและรัง ไข่
เอนไซม์น้ีมหี น้ าทีส่ ําคัญในการควบคุมกระบวนการสร้างฮอร์โมน การย ับยงเอนไซม์
ั้ ทเี่ กีย
่ วข้อง
แอนโดรเจน (androgen) ซึง่ เป็ นฮอร์โมนเพศชายทีค่ วบคุมการ ึ ของวิตามิน
ก ับวิถเี มแทบอลิซม
เปลี่ย นแปลงทางเพศและลัก ษณะทางกายภาพของร่ า งกาย เอนไซม์ CYP26A1 มีการแสดงออกทัง้ เนื้อเยือ่ ในตับและนอก
อย่างไรก็ตามเชือ่ ว่าฮอร์โมนนี้มบี ทบาทสําคัญในการก่อให้เกิดโรค ตับ (ได้แก่ สมอง และ รก) เอนไซม์น้ีมบี ทบาทเกีย่ วข้องกับการทํา
‘androgen-dependent diseases’ โดยเฉพาะมะเร็งต่อมลูกหมาก ให้ all-trans-retinoic acid (ATRA) หมดฤทธิ ์ (inactivation) จาก
14
ดังนัน้ จึงมีการพัฒนายาทีม่ ฤี ทธิยั์ บยัง้ เอนไซม์ CYP17A1 ได้แก่ ที่ท ราบกัน ดีว่า ATRA เป็ น เมแทบอไลต์ ท่ีม ีฤ ทธิ ์ (active
abiraterone, ketoconazole, VN/124-1 (TOK-001) และ TAK- metabolite) ของวิตามินเอและมีหน้าทีใ่ นการเปลีย่ นแปลงเซลล์
700 ในการรักษาผูป้ ่วยมะเร็งต่อมลูกหมาก ซึง่ พบว่าได้ผลในการ เพือ่ ทําหน้าทีต่ ่างๆ (cell differentiation) และยังเกีย่ วข้องกับการ
รักษาเป็ นอย่างดี เนื่องจากยาเหล่านี้ช่วยลดระดับฮอร์โมนแอนโดร แบ่งตัวของเซลล์ (cell proliferation) โดยเฉพาะในส่วนอีพธิ เี ลียล
เจนและเทสโทสเตอโรน ขณะนี้ มนี ัก วิจยั หลายกลุ่ มได้ให้ความ เซลล์ (epithelial cells) การมองเห็นและระบบสืบพันธุ์20
สนใจในการศึกษาระดับคลินิกเพือ่ พัฒนาประสิทธิผลในการรักษา นอกจากนี้ ยังพบว่า ATRA ทําให้เกิดการเหนี่ยวนํ าการตาย
ต่อไป15,16 แบบอะพอพโทซิส (apoptosis) ในเซลล์มะเร็งหลายชนิด ซึ่งบ่งชี้
เอนไซม์ CYP19A1 (aromatase หรือ estrogen synthase) มี ได้ว่า ATRA อาจใช้เป็ นสารป้องกันการเกิดมะเร็ง (chemo-
การแสดงออกในหลายเนื้อเยือ่ ได้แก่ รังไข่ รก กระดูก เลดิกเซลล์ preventive agent) ได้ต่อไป21 ในขณะเดียวกัน Downie และคณะ
(leydig cells) และเนื้อเยื่อไขมัน (adipose tissue) เอนไซม์ พบระดับการแสดงออกของเอนไซม์ CYP26A1 มากเกินใน
CYP19A1 ทําหน้ าทีเ่ ปลีย่ นแอนโดรเจน (androgen) ไปเป็ น เนื้ อ เยื่อ มะเร็ง รัง ไข่เ มื่อ เปรีย บเทีย บกับ เนื้ อ เยื่อ ปกติ อีก ทัง้ พบ
เอส โตรเจน (estrogen) โดยเปลี่ ย น แอนโดรส ตี น ไดโอน ระดับการแสดงออกของเอนไซม์ CYP26A1 แปรผกผันกับปริมาณ
(androstenedione) ไปเป็ นเอสโตรน (estrone) อีกทัง้ เปลีย่ นเทส ของ ATRA ในเนื้อเยือ่ เป้าหมาย9 จากข้อมูลข้างต้นอาจกล่าวได้วา่
โทสเทอโรน (testosterone) ไปเป็ นเอสตราไดออล (estradiol)17 มี การยับยัง้ เอนไซม์ CYP26A1 มีผลทําให้เพิม่ ปริมาณของ ATRA
หลายงานวิ จ ั ย รายงานว่ า พบการแสดงออกของเอนไซม์ และลดการสลายของ ATRA ซึ่งเป็ นหนึ่งในแนวทางการรักษา
CYP19A1 ที่เ พิ่ม สูง ขึ้น ในเนื้ อ เยื่อ มะเร็ง เต้า นม ดัง นั น้ จึง มีก าร มะเร็ง สารทีม่ ฤี ทธิยั์ บยัง้ เอนไซม์ CYP26A1 ได้แก่ liarozole,
พัฒ นายาที่ม ีฤ ทธิย์ บั ยัง้ การทํ า งานของเอนไซม์ CYP19A1 ซึ่ง R115866 และ R116010 อย่างไรก็ตาม พบว่า liarozole ยังขาด
ได้แก่ letrozole, anastrazole และ exemestane เพือ่ ใช้ในการ คุณสมบัตทิ ่จี ําเพาะต่อเอนไซม์และยังมีความแรงที่ค่อนข้างอ่อน
รั ก ษาผู้ ป่ ว ยมะเร็ ง เต้ า นมที่ ม ี ต ั ว รั บ เอสโตรเจน (estrogen ดังนัน้ จึงไม่ได้รบั การพัฒนาในการใช้เป็ นยาต้านมะเร็งในขัน้ ต่อไป
ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ ปี 7 ฉบับ 1, มค. – มีค. 2555 46 Thai Pharm Health Sci J Vol. 7 No. 1, Jan. – Mar. 2012
ในขณะที่ R116010 มี ค วามแรงที่ ม ากกว่ า และจํ า เพาะต่ อ เพื่อ เตรีย มพร้อ มให้ส ามารถเกิด ปฏิกิร ิย าย้อ นกลับ ในภาวะที่ม ี
CYP26A1 ค่อ นข้า งสูง 22 ซึ่ง ขณะนี้ ได้ถูก นํ า มาทดสอบในระดับ ออกซิเจนได้ (oxygen-sensitive reductase) แนวทางการพัฒนา
ก่อนคลินิก (pre-clinical trial) ในผูป้ ว่ ยมะเร็งทีส่ มั พันธ์กบั ฮอร์โมน ยาใหม่น้ี เป็ นการเน้ นการออกฤทธิที์ ่มุ่งเป้าหมาย (เอนไซม์) ที่
เพศ ได้แก่ มะเร็งต่อมลูกหมากและมะเร็งเต้านม22,23 เซลล์มะเร็งเท่านัน้ แต่ไม่มผี ลต่อเซลล์ปกติ เอนไซม์ P450 เป็ น
เอนไซม์ CYP24A1 (1,25-(OH)2D3-24-hydroxylase) มีการ หนึ่ ง ในเอนไซม์ เ ป้ าหมายที่ม ีผู้ใ ห้ ค วามสนใจศึก ษา 30 AQ4N
แสดงออกในหลายเนื้อเยือ่ ได้แก่ ไต ตับและระบบทางเดินอาหาร (Banoxantrone) เป็ น prodrug ทีถ่ ูกออกแบบให้ออกฤทธิต้์ าน
มีห น้ า ที่สํ า คัญ ในการทํ า ลาย (degradation) วิต ามิน ดี 3 มะเร็งหลังจากถูกกระตุน้ ด้วย CYP1A1, CYP1B1 และ CYP3A4
(cholecalciferol หรือ 1,25-(OH)2D3) ซึง่ เป็ นเมแทบอไลต์ทม่ี ฤี ทธิ ์ ภายใต้ภาวะขาดออกซิเจน โดย AQ4N จะถูกเปลีย่ นเป็ น AQ4 ซึง่
ของวิตามินดีและมีบทบาทในการยับยัง้ กระบวนการแบ่งตัวของ มี ฤ ทธิ ย์ ั บ ยั ง้ การทํ า งานของเอนไซม์ โ ทโพไอโซเมอเรส 2
เซลล์ ส่งเสริมการเปลีย่ นแปลงเซลล์เพือ่ ทําหน้าทีต่ ่างๆ อีกทัง้ ยัง (topoisomerase II) ทีม่ คี วามแรงสูงมาก โดยสอดแทรกเข้าไปใน
เหนี่ยวนํ าการตายแบบอะพอพโทซิส24,25 มีหลายงานวิจยั แสดงให้ สายดีเ อ็น เอของเซลล์ ม ะเร็ง จึง ทํ า ให้เ ซลล์ ม ะเร็ง ตายในที่สุ ด
เห็นว่าการแสดงออกทีม่ ากเกิน (overexpression) ของเอนไซม์ ขณะนี้ AQ4N อยูใ่ นระหว่างการทดสอบในระดับคลินิกขัน้ ที่ 1b/2a
CYP24A1 พบในเนื้ อเยื่อมะเร็งหลายชนิดด้วยกัน ได้แก่ มะเร็ง (phase Ib/IIa clinical trials) ซึง่ มีรายงานว่าผูป้ ว่ ยทนยาได้ดแี ละมี
เต้านม มะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนัก มะเร็งปอด เป็ นต้น ทัง้ นี้ พิษน้อยกว่ายาชนิดอื่นทีอ่ อกฤทธิคล้ ์ ายกัน (เช่น tirapazamine)31
โดยการเปรีย บเทีย บกับ เนื้ อ เยื่อ ปกติ26-28 จึง อาจกล่ า วได้ ว่ า Albertella และคณะ ได้รายงานข้อมูลผลการทดสอบในระดับ
CYP24A1 เป็ น oncogene ชนิดหนึ่ง27 จึงนํ ามาสู่แนวคิดทีว่ า่ การ คลินิ ก ขัน้ ที่ 1 ของ AQ4N ในผู้ป่ ว ยมะเร็ง แบบก้ อ นแข็ง ระยะ
ยับยัง้ การแสดงออกของเอนไซม์ CYP24A1 จะมีผลทําให้เพิม่ ลุกลาม (ได้แก่ มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งกระเพาะ
ปริมาณของวิตามินดี 3 ซึ่งมีฤทธิต้์ านมะเร็ง สารที่มฤี ทธิยั์ บยัง้ ป สั สาวะ และมะเร็ง ศีร ษะและลํ า คอ) จํ า นวน 32 ราย โดยให้
เอนไซม์ CYP24A1 ได้แก่ genestein, QW-1624F2-2 และ AQ4N แก่ผปู้ ่วยเพียงครัง้ เดียวก่อนได้รบั การผ่าตัด ผลการศึกษา
EB1089 ซึ่งสารเหล่านี้ มโี ครงสร้างทางเคมีคล้ายกับวิตามินดี 3 พบว่า AQ4N สามารถแทรกซึมเข้าสู่ก้อนมะเร็งในความเข้มข้นที่
(vitamin D3 analogs) และสามารถยับยัง้ การแสดงออกของ สูงมาก โดยวัดจากปริมาณของ AQ432 จากการศึกษานี้จะเห็นได้
เอนไซม์ CYP24A1 อีกด้วย12 เมื่อไม่นานมานี้ Sundaram และ ว่า AQ4N มีความจําเพาะเจาะจงต่อมะเร็งแบบก้อนแข็งโดยเฉพาะ
ค ณ ะ ไ ด้ แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ว่ า QW-1624F2-2 ส า ม า ร ถ ยั บ ยั ้ง ในส่วนทีข่ าดออกซิเจน ซึง่ จําเป็ นต้องมีการทดสอบในระดับคลินิก
กระบวนการแบ่งตัวของเซลล์และการลุกลามของเซลล์มะเร็งเต้า ขัน้ สูงต่อไป
นมได้เป็ นอย่างดี ดังนัน้ จึงได้รบั ความสนใจในการใช้เป็ นยาต้าน ยาต้านมะเร็งหลายชนิดทีใ่ ช้กนั ในทางคลินิกทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ป็ น
มะเร็งทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงในการรักษามะเร็งเต้านม ซึ่งขณะนี้ได้ prodrug ได้แก่ cyclophosphamide, doxorubicin และ tamoxifen
ถูกนํามาทดสอบในระดับก่อนคลินิก29 ซึ่งต้องการการกระตุ้น (activation) ด้วยเอนไซม์ P450 ให้
เปลีย่ นไปอยู่ในรูปทีอ่ อกฤทธิได้ ์ cyclophosphamide เป็ นยาต้าน
การออกแบบ prodrugs ทีก ่ ระตุน
้ มะเร็งทีใ่ ช้กนั อย่างแพร่หลาย จัดอยู่ในกลุ่ม alkylating agent เป็ น
โดยเอนไซม์ซงึ่ อยูจ
่ ําเพาะ อนุ พนั ธ์ของ nitrogen mustard อยูใ่ นรูปสารทีไ่ ม่ออกฤทธิ ์ เมือ่ เข้า
ภายในเซลล์มะเร็งเท่านน ั้ สู่ร่างกายจะถูกเปลีย่ นแปลงโดยเอนไซม์ CYP2B6 ทีต่ บั ให้ได้สาร
กลุ่ ม เซลล์ใ นส่ ว นแกนที่อ ยู่ ต รงกลางของก้ อ นมะเร็ง (solid ทีอ่ อกฤทธิ ์ คือ phosphoramide mustard สารนี้จะเข้าจับกับ
tumor) ประกอบไปด้วยเซลล์ทต่ี ายแล้ว เนื่องจากเซลล์อยู่ห่างจาก ส่วนประกอบในสายดีเอ็นเอ (DNA) ซึง่ เป็ นสารพันธุกรรมทีส่ ําคัญ
หลอดเลือดฝอย ทําให้เ ซลล์เ หล่ านัน้ อยู่ใ นภาวะขาดออกซิเ จน ทําให้เซลล์มะเร็งมีการเชื่อมสายดีเอ็นเอทีผ่ ดิ ปกติ (DNS cross-
(hypoxic conditions) ในทางคลินิกพบว่าส่วนแกนของก้อนมะเร็ง link) ทําให้เซลล์มะเร็งตาย33 ยา cyclophosphamide แบบดัง้ เดิม
นี้มกั ก่อให้เกิดการดื้อต่อยาเคมีบําบัดและรังสีรกั ษาสูง ทําให้เกิด นัน้ มีพษิ ต่อเนื้อเยือ่ ปกติคอ่ นข้างสูง เพือ่ เป็ นการป้องกันความเป็ น
ความล้ ม เหลวในการรัก ษาผู้ ป่ ว ยมะเร็ง จากข้ อ มู ล เกี่ ย วกับ พิษของยาต่อเนื้อเยื่อปกติ จึงมีการพัฒนาและออกแบบรูปแบบยา
คุณสมบัตทิ จ่ี าํ เพาะของก้อนมะเร็งนี้ ทําให้มนี ักวิจยั จํานวนไม่น้อย cyclophosphamide ที่เราทราบดีว่าถูกกระตุ้นให้มฤี ทธิโดย

เริม่ มีการพัฒนาและออกแบบยาต้านมะเร็งในรูปที่ไม่มฤี ทธิทาง ์ เอนไซม์ CYP2B6 อย่างเจาะจง โดยการนํ ายาและยีนของเอนไซม์
เภสัชวิทยา (prodrug) จนกว่าจะได้รบั การกระตุน้ โดยปฏิกริ ยิ าทาง จากภายนอกร่ า งกายเข้า ไปยัง บริเ วณก้ อ นมะเร็ง ด้ว ยเทคนิ ค
เคมี หรือเอนไซม์ทเ่ี จาะจงต่อการถูกเปลีย่ นแปลง โดยเอนไซม์ท่ี gene-directed enzyme and prodrug therapy (GDEPT)34
พบภายใต้ภาวะขาดออกซิเจนในส่วนแกนของก้อนมะเร็งเท่านัน้ MetXia ประกอบด้วยยีน CYP2B6 ของมนุ ษย์ซง่ึ ต้องฉีดเข้าไปใน
(hypoxia-activated prodrug หรือ bioreductive drugs) prodrug ก้ อ นมะเร็ง โดยตรงเพื่อ ให้เ ซลล์ ม ะเร็ง สร้า งเอนไซม์ CYP2B6
ที่กล่ าวถึง นี้ ถูกออกแบบให้สามารถถูกรีดวิ ซ์อ ย่างน้ อยสองครัง้ ขึน้ มาใช้ในการกระตุน้ ยา ก่อนทีจ่ ะให้ cyclophosphamide ในการ

ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ ปี 7 ฉบับ 1, มค. – มีค. 2555 47 Thai Pharm Health Sci J Vol. 7 No. 1, Jan. – Mar. 2012
รักษาผู้ป่วย ขณะนี้ MetXia อยู่ในระหว่างการทดสอบในผู้ป่วย ฤทธิเช่์ นกัน คือ phortress ซึง่ เป็ น fluorinated benzothiazole
มะเร็งระยะลุกลามขัน้ คลินิกที่ 1 และ 235 ละลายนํ้ าได้ด ี มีฤทธิกระตุ์ ้นตัวรับ aryl hydrocarbon (AhR
Doxorubicin จัดเป็ น antibiotic prodrug ทีน่ ํ ามาใช้รกั ษา agonist) ทีม่ คี วามแรงสูง สารตัง้ ต้น phortress ถูกเปลีย่ นแปลง
มะเร็ง กัน อย่า งแพร่ห ลาย อยู่ใ นกลุ่ ม แอนทราซัย คลิน (anthra- โดย CYP1A1 ให้ได้สารตัวกลางที่มคี วามไวต่อการเกิดปฏิกริ ยิ า
cycline antibiotics) ยานี้อาศัย CYP3A4 ทีต่ บั ในการกระตุน้ ให้ได้ สูง (electrophilic reactive intermediate) จึงส่งผลเหนี่ยวนํ าความ
สารทีอ่ อกฤทธิ ์ methoxymorpholinyl doxorubicin (MMDX) ซึง่ มี ผิด ปกติข องดีเ อ็น เอทําให้เ ซลล์ถูก ทํา ลายและตายในที่สุด เมื่อ
ฤทธิ ย์ ั บ ยั ง้ การทํ า งานของเอนไซม์ โ ทโพไอโซเมอเรส 2 phortress อยูใ่ นเซลล์จะถูก hydrolyse อย่างรวดเร็วเพือ่ เปลีย่ นไป
(topoisomerase II) โดยสอดแทรกเข้าไปในสายดีเอ็นเอของ อยู่ในรูปทีล่ ะลายในไขมันได้ด ี (lipophilic parent drug) จากนัน้ ก็
เซลล์มะเร็ง นอกจากนัน้ ยังทําให้เกิดอนุ มลู อิสระ (free radical) แทรกซึมเข้าสู่เซลล์ทม่ี คี วามไวต่อ AhR แล้วจึงเข้าจับและเคลื่อน
ทําลายดีเอ็นเออีกด้วย36 งานวิจยั ของ Lu และคณะ ได้ศกึ ษาฤทธิ ์ ตัว เข้ า สู่ นิ ว เคลีย ส จึง มีผ ลชัก นํ า การแสดงออกของเอนไซม์
ในการต้านมะเร็งของ MMDX ในเนื้อเยือ่ เพาะเลีย้ งของเซลล์มะเร็ง CYP1A143 มีรายงานวิจยั จากประเทศอังกฤษว่า ขณะนี้ได้มกี าร
เต้านม มะเร็งปอด มะเร็งสมอง และมะเร็งลําไส้ใหญ่ ผลการศึกษา ทดสอบทางคลินิกขัน้ ที่ 1 ของ phortress ในผูป้ ว่ ยมะเร็งเต้านม44
พบว่าเซลล์มะเร็งทีม่ กี ารแสดงออกของ CYP3A4 ระดับตํ่าจะมี อย่างไรก็ตาม Brockdorff และคณะ ได้แสดงให้เห็นว่าการ
ฤทธิในการต้
์ านมะเร็งของ MMDX น้อยลงไปด้วย37 จากการศึกษา แสดงออกของเอนไซม์ CYP1A1 และ CYP1B1 ทีเ่ พิม่ มากขึน้
นี้แสดงให้เห็นว่าการใช้เทคนิคพันธุกรรมบําบัด เพือ่ เพิม่ ปริมาณ สัมพันธ์ต่อการเกิดการดือ้ ต่อยาทําให้ฤทธิต้์ านเอสโตรเจนลดลงใน
ของ CYP3A4 ในก้อนมะเร็งอาจจะมีผลช่วยให้การรักษาผู้ป่วย การเพาะเลี้ยงเซลล์มะเร็งเต้านม45 ดังนัน้ การศึกษาขัน้ ต่อไปใน
ด้วย doxorubicin ได้ผลดียงิ่ ขึน้ เนื้อเยื่อมะเร็งที่ได้จากผูป้ ่วย ควรตระหนักถึงการแสดงออกของ
Tamoxifen จัดเป็ นยาต้านเอสโตรเจนทีน่ ิยมใช้รกั ษาในผูป้ ว่ ย CYP1A1 และ CYP1B1 ในเนื้อเยือ่ มะเร็งเต้านมโดยเปรียบเทียบ
มะเร็งเต้านมที่มตี วั รับเอสโตรเจน เนื่องจากยานี้มฤี ทธิยั์ บยัง้ การ กับงานวิจยั ก่อนหน้านี้ เพือ่ หลีกเลีย่ งปญั หาการดือ้ ยาทีอ่ าจพบได้
จับระหว่างเอสโตรเจนและตัวรับเอสโตรเจน ยาถูกทําให้มฤี ทธิโดย ์ ในผูป้ ว่ ยต่อไป
CYP2D6 เป็ นหลัก โดยเปลี่ยนไปอยู่ในรูป 4-hydroxytamoxifen
ซึ่งมีความแรงในการต้านเอสโตรเจนสูงกว่า tamoxifen 50-100 พ ันธุกรรมบําบ ัด (gene therapy) ที่
เท่า38 อย่างไรก็ตาม สิง่ หนึ่งทีต่ ้องตระหนักเมือ่ ต้องใช้ tamoxifen มุง่ เป้าหมายต่อเอนไซม์ทจ ี่ ําเพาะ
ในการรัก ษาก็ค ือ CYP2D6 มีค วามหลากหลายทางพัน ธุ ก รรม ต่อเซลล์มะเร็ง
(genetic polymorphism) ค่อนข้างสูง ดังนัน้ แพทย์ตอ้ งใช้เกณฑ์ จากการค้นพบการแสดงออกของเอนไซม์ P450 บางชนิดที่
พิจ ารณาในด้ า นตัว บุ ค คลและเชื้อ ชาติใ นการรัก ษาเพื่อ ให้ ไ ด้ จําเพาะต่อเนื้อเยื่อมะเร็ง ได้ถูกนํ ามาประยุกต์ในการรักษามะเร็ง
ประสิทธิผลการรักษาสูงสุด39 แบบภูมคิ มุ้ กันบําบัด (cancer immunotherapy) โดยใช้วคั ซีนจาก
การค้น หาและพัฒนายาต้า นมะเร็ง จากสารธรรมชาติใ นรูป ดีเอ็นเอ (DNA vaccine) เอนไซม์CYP1B1 เป็ นหนึ่งเป้าหมายที่
prodrug เริ่ม ได้ร บั ความสนใจมากขึ้น ตัว อย่ า งเช่ น resveratrol น่ า สนใจในการรัก ษาแบบนี้ เนื่ อ งจากสามารถตรวจพบการ
(3,5,4’-trihydroxy-trans-stilbene) เป็ นเอสโตรเจนทีไ่ ด้จากพืช แสดงออกของโปรตีนเอนไซม์ CYP1B1 แบบมากเกิน (over-
(phytoestrogen) พบในเปลือกองุน่ แดง resveratrol อาศัยเอนไซม์ expression) ในเนื้อเยื่อมะเร็งหลายชนิด ได้แก่ มะเร็งเต้านม
CYP1A1 และ CYP1B1 ในการกระตุน้ ก่อนเปลีย่ นเป็ นสารมีฤทธิ ์ มะเร็งมดลูก และมะเร็งรังไข่ เป็ นต้น แต่ไม่สามารถตรวจวัดได้จาก
piceatannol ซึง่ มีฤทธิต้์ านมะเร็ง40 นอกจากนี้ยงั พบว่าสารนี้มฤี ทธิ ์ เนื้อเยื่อปกติ พบเพียงการแสดงออกของเมสเซนเจอร์อาร์เอ็นเอ
ต้า นอนุ มูล อิส ระและต้า นการอัก เสบ อีก ทัง้ เหนี่ ย วนํ า การตาย (messenger RNA; mRNA) เท่านัน้ 6,46 Zyc300 จัดเป็ น
แบบอะพอพโทซิสและควบคุมการทําหน้ าทีข่ องตัวรับเอสโตรเจน CYP1B1-based DNA vaccine ซึง่ ถูกออกแบบให้เหนี่ยวนํ าระบบ
ในเซลล์มะเร็งเต้านม41 Boocock และคณะ ได้ทําการทดสอบทาง ภูมคิ ุม้ กัน CYP1B1-specific CD8+ T-cell ให้มฤี ทธิต้์ านการ
คลินิกขัน้ ที่ 1 โดยประเมินคุณสมบัตทิ างเภสัชจลนศาสตร์ของ แสดงออกของเอนไซม์ CYP1B1 ในส่วนของเนื้อเยือ่ มะเร็ง ขณะนี้
resveratrol ให้ อ าสาสมั ค รสุ ข ภาพดี 40 คน รั บ ประ ท าน Zyc300 อยู่ในระหว่างการทดสอบทางคลินิกขัน้ ที่ 1 นอกจากนี้ยงั
resveratrol ขนาด 0.5,1.0, 2.5 และ 5.0 กรัม ครัง้ เดียว แล้วทํา พบอีกว่าวัคซีนนี้ช่วยเพิม่ อัตราการรอดชีวติ ของผู้ป่วยมะเร็งอีก
การตรวจวัด เมแทบอไลต์ (metabolite) 6 ชนิ ด ของ resveratrol ด้วย47 ส่วน Gribben และคณะ ได้แสดงให้เห็นว่าการเพิม่ anti-
จากพลาสมาและปสั สาวะ ผลการศึกษาพบว่า resveratrol ขนาด CYP1B1 immunity ในผูป้ ว่ ยมะเร็งระยะลุกลาม (ได้แก่ มะเร็งรัง
สูงสุด (5.0 กรัม) ไม่ก่อให้เกิดอาการพิษแต่อย่างใด อีกทัง้ มีฤทธิ ์ ไข่ มะเร็งลําไส้ใหญ่และทวารหนัก มะเร็งต่อมลูกหมาก และมะเร็ง
ป้องกันมะเร็ง (cancer chemopreventive effect)42 เต้านม เป็ นต้น) ช่วยให้การตอบสนองต่อยาในผูป้ ่วยมะเร็งระยะ
สาร prodrug อีกชนิดหนึ่งที่ได้รบั ความสนใจไม่น้อยกว่า สุดท้าย (salvage therapy) ได้ดมี าก48 ซึง่ อาจกล่าวได้วา่ เป็ นสิง่ ที่
resveratrol และอาศัยเอนไซม์ P450 ในการกระตุน้ ให้ได้สารมี

ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ ปี 7 ฉบับ 1, มค. – มีค. 2555 48 Thai Pharm Health Sci J Vol. 7 No. 1, Jan. – Mar. 2012
ผูว้ จิ ยั ไม่คาดคิดมาก่อนว่าประสิทธิผลในการรักษาในอยู่ในระดับที่ เซลล์ปกติให้น้อยทีส่ ุดหรือไม่มเี ลย ทัง้ นี้เพือ่ ลดระดับความรุนแรง
ดีมากและมีพษิ ตํ่าเช่นนี้ ของอาการไม่พงึ ประสงค์ห รือ พิษของยานัน่ เอง เอนไซม์ P450
Antisense oligonucleotide (ASO) เป็ นอีกหลักการหนึ่งที่ เป็ นกลุ่มเอนไซม์ขนาดใหญ่ทเ่ี ริม่ เข้ามามีบทบาทและเป็ นหนึ่งใน
นํามาประยุกต์ใช้ในพันธุกรรมบําบัด กล่าวโดยย่อ ASO คือ นิวคลี เป้ า หมายสํา คัญ ในการรัก ษามะเร็ง เนื่ อ งจากมีห น้ า ที่เ กี่ย วกับ
โอไซด์สายสัน้ ๆ ประมาณ 20-50 เบส (oligonucleotides) ซึง่ เข้า กระบวนการเมแทบอลิซึม ของสารภายใน (เช่ น วิต ามิน และ
จับคูก่ บั (complimentary) messenger RNA (mRNA) ของยีน ฮอร์โมนเพศ) และภายนอกร่างกาย (เช่น ยาต้านมะเร็งและสารก่อ
เป้าหมายทีต่ ้องการจะยับยัง้ โดยการจับเป็ นแบบจําเพาะเจาะจง มะเร็ง) ซึ่งอาจทําให้สารเหล่านัน้ มีฤทธิเพิ ์ ม่ มากขึ้น (activation)
โดยปกติ ASO มักเข้าจับกับตําแหน่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการควบคุม หรือ ทําให้ห มดฤทธิ ์ (inactivation) ก็ได้ อีก ทัง้ บางไอโซฟอร์มมี
การทําหน้ าที่ของยีน จึงมีผลยับยัง้ การทําหน้ าที่ของยีน รวมถึง การแสดงออกที่จําเพาะในเซลล์มะเร็งเท่านัน้ แต่ไม่พบในเซลล์
ยับ ยัง้ การสร้ า งโปรตี น ของยี น นั ้น ๆ ถ้ า โปรตี น ที่ ถู ก ยับ ยัง้ มี ปกติ เช่น เอนไซม์ CYP1B1 นอกจากนี้ยงั พบเอนไซม์ P450 ใน
ความสําคัญต่อการเจริญเติบโตของเซลล์ จะมีผลทําให้เซลล์นัน้ ส่ว นแกนของก้อ นมะเร็ง ที่ม ีภ าวะขาดออกซิเ จน ซึ่ง เป็ น ส่ ว นที่
ตายได้ ในทางคลินิกเป็ นทีท่ ราบกันดีว่าเอนไซม์ CYP3A4 มี ก่อให้เกิดปญั หาทางคลินิกค่อนข้างบ่อย นัน่ คือ การดือ้ ต่อยาเคมี
บทบาทสํ า คัญ เกี่ย วข้อ งกับ การทํ า ให้ย าต้ า นมะเร็ง อย่ า งเช่ น บําบัดและรังสีบําบัด ทําให้เกิดความล้มเหลวในการรักษาผูป้ ่วย
paclitaxel หมดฤทธิ ์ ดังนัน้ การควบคุมการแสดงออกของเอนไซม์ มะเร็ง ข้อมูลของเอนไซม์ P450 เหล่านี้ จึงนํ าไปสู่แนวทางการ
CYP3A4 ในเนื้อเยื่อมะเร็งมีส่วนสําคัญต่อประสิทธิผลในการ พัฒนายาใหม่โดยมุง่ เป้าหมายทีเ่ อนไซม์ P450 ทีม่ คี วามจําเพาะ
ทําลายเซลล์มะเร็งของยา (cytotoxic efficacy) เป็ นอย่างมาก ต่ อ เซลล์ ม ะเร็ ง ได้ แ ก่ การยั บ ยั ง้ เอนไซม์ ท่ี เ กี่ ย วข้ อ งกั บ
อย่างไรก็ตาม ได้มกี ารพัฒนายาทีเ่ ป็ น ASO เพือ่ ยับยัง้ เอนไซม์ กระบวนการเกิดมะเร็งทัง้ เมแทบอลิซึมของวิตามินและฮอร์โมน
CYP3A4 ทัง้ นี้หวังผลให้ยดื เวลาการออกฤทธิทํ์ าลายเซลล์มะเร็ง ยาในรูป prodrug และพันธุกรรมบําบัด เป็ นต้น จากการทดสอบ
ก่อนทีย่ าจะถูกเปลีย่ นแปลงและขับออกจากร่างกาย แต่สงิ่ หนึ่งที่ ยาใหม่ในระดับคลินิกขัน้ ที่ 1 (เช่น AQ4N, MetXia, resveratrol,
ต้องตระหนักในการมุง่ เป้าหมายการรักษาทีเ่ อนไซม์ CYP3A4 คือ Zcy300) โดยส่วนใหญ่ผปู้ ่วยทนต่อการรักษาได้ด ี พบความเป็ น
เอนไซม์น้ี ไม่ใ ช่ เ อนไซม์ท่ีมคี วามจํา เพาะ (tumor specific พิษในระดับตํ่ามาก อันเป็ นผลเนื่องมาจากยามีความจําเพาะต่อ
enzyme) เช่นเดียวกับเอนไซม์ CYP1B1 อีกทัง้ เป็ นเอนไซม์หลัก เซลล์มะเร็งสูง อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาของตัวอย่างยาใหม่ท่ี
ทีพ่ บในเนื้อเยื่อตับและมีหน้าทีเ่ กีย่ วกับเมแทบอลิซมึ ของยารักษา ได้ ก ล่ า วถึง ในการทบทวนวรรณกรรมในครัง้ นี้ ยัง มีข้อ จํ า กัด
โรคที่ใช้กนั ในทางคลินิกในปจั จุบนั มากกว่าร้อยละ 50 AVI-4557 เกีย่ วกับข้อมูลการทดสอบในระดับคลินิกขัน้ สูง ซึง่ น่ าสนใจในการ
เป็ น oligonucleotide ของ phosphorodiamidate morpholino ซึง่ ติดตามต่อไปในอนาคต และอีกสิง่ หนึ่งทีค่ วรคํานึงถึง นันคื ่ อ ความ
สามารถเข้าจับคู่กบั ส่วน mRNA ของยีนเอนไซม์ CYP3A4 โดย หลากหลายทางพันธุก รรมของเอนไซม์ P450 โดยเฉพาะ
เข้าจับกับตําแหน่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการควบคุมการทําหน้าทีข่ องยีน CYP1A1, CYP1B1, CYP2D6 และ CYP3A4 ซึง่ พบได้คอ่ นข้าง
(เช่น promoter และ enhancer) ส่งผลให้ยบั ยัง้ การแสดงออกของ บ่อย ว่ามีผลกระทบต่ อการตอบสนองต่อการรักษาอย่างไรบ้าง
ยีน เอนไซม์ CYP3A411 ก่ อ นหน้ า นี้ ม ีง านวิจ ยั ที่แ สดงให้เ ห็น ว่ า โดยภาพรวม อาจกล่าวได้ว่าการพัฒนายาใหม่ท่มี ุ่งเป้าหมายที่
AVI-4557 สามารถยับยัง้ การแสดงออกของ CYP3A4 ใน primary เอนไซม์ P450 ก่อให้เกิดอาการไม่พงึ ประสงค์น้อยกว่ายาเคมี
human hepatocyte หลังจากสัมผัสสารนี้ 24 ชัวโมง ่ 49 อย่างไรก็ บําบัดที่ใช้ในปจั จุบนั ซึ่งเป็ นอีกทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจสําหรับ
ตามยังไม่พบข้อมูลรายงานการทดสอบในขัน้ คลินิก การรักษาผูป้ ว่ ยมะเร็งในอนาคต

บทสรุป เอกสารอ้างอิง
เป็ นที่ทราบกันดีว่าขนาดของยาเคมีบําบัดที่ใช้ในปจั จุบนั ใน 1. Nelson DR, Zeldin DC, Hoffman SM, et al. Comparison of cytochrome
การรักษาผูป้ ่วยมะเร็งนัน้ ออกฤทธิทํ์ าลายเซลล์ทม่ี กี ารแบ่งตัวใน P450 (CYP) genes from the mouse and human genomes, including
nomenclature recommendations for genes, pseudogenes and
ร่างกาย โดยไม่สามารถแยกความแตกต่างระหว่างเซลล์ปกติ (เช่น alternative-splice variants. Pharmacogenetics 2004;14(1):1-18.
ไขกระดู ก เซลล์ เ ม็ด เลือ ด เยื่อ บุ ท างเดิน อาหาร เยื่อ บุ อ วัย วะ 2. Nebert DW, Nelson DR, Coon MJ, et al. The P450 superfamily: update
สืบพันธุ์) หรือเซลล์มะเร็งได้ จึงมีความเป็ นพิษสูงและมีช่วงความ on new sequences, gene mapping, and recommended nomenclature.
ปลอดภัยในการรักษาแคบ ทําให้ผูป้ ่วยมีโอกาสเกิดอาการไม่พงึ DNA 1991;10(5):1-14.
3. Guengerich FP, Wu ZL, Bartleson CJ. Function of human cytochrome
ประสงค์จ ากการใช้ย าได้ง่ า ยและอาจเกิด อย่ า งรุ น แรงได้ ทัง้ นี้ P450s: characterization of the orphans. Biochem Bioph Res Co 2005;
ขึ้นอยู่กบั ปจั จัยต่างๆ ของผู้ป่วยในแต่ละราย ดังนัน้ จุดมุ่งหมาย 338(1):465-469.
หลักในการออกแบบและพัฒนายาใหม่ในการรักษาผูป้ ว่ ยมะเร็งนัน้ 4. Nebert DW, Nelson DR. Cytochrome P450 (CYP) gene superfamily. In:
จึงมุ่งหวังให้การออกฤทธิของยาที
์ เ่ ซลล์มะเร็งเท่านัน้ โดยมีผลต่อ Encyclopedia of life sciences. USA. John Wiley & Sons, Ltd., 2005.

ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ ปี 7 ฉบับ 1, มค. – มีค. 2555 49 Thai Pharm Health Sci J Vol. 7 No. 1, Jan. – Mar. 2012
5. Ma J, Ramachandran S, Fiedorek J, Frederick T, et al. Mapping of the 23. Njar VC. Cytochrome p450 retinoic acid 4-hydroxylase inhibitors:
CYP2J cytochrome P450 genes to human chromosome 1 and mouse potential agents for cancer therapy. Mini Rev Med Chem 2002;2(3):
chromosome 4. Genomics 1998;49(1):152-155. 261-9.
6. Murray G, Taylor M, McFadyen M, et al. Tumor-specific expression of 24. Gonzalez FJ, Yu AM. Cytochrome P450 and xenobiotic receptor
cytochrome P450 CYP1B1. Cancer Res 1997;57(14):3026-3031. humanized mice. Annu Rev Pharmacol 2006;46:41-64.
7. McFadyen MCE, Breeman S, Payne S, et al. Immunohistochemical 25. Deeb KK, Trump DL, Johnson CS. Vitamin D signalling pathways in
localization of cytochrome P450 CYP1B1 in breast cancer with cancer: potential for anticancer therapeutics. Nat Rev Cancer 2007;
monoclonal antibodies specific for CYP1B1. J Histochem Cytochem 7(9):684-700.
1999;47(11):1457-1464. 26. Mimori K, Tanaka Y, Yoshinaga K, et al. Clinical significance of the
8. Murray GI, Melvin WT, Greenlee WF, et al. Regulation, function, and overexpression of the candidate oncogene CYP24 in esophageal
tissue-specific expression of cytochrome P450 CYP1B1. Annu Rev cancer. Ann Oncol 2004;15(2):236-241.
Pharmacol 2001;41(1):297-316. 27. Anderson MG, Nakane M, Ruan X, et al. Expression of VDR and
9. Downie D, McFadyen MCE, Rooney PH, et al. Profiling cytochrome CYP24A1 mRNA in human tumors. Cancer Chemoth Pharm 2006;
P450 expression in ovarian cancer: Identification of prognostic 57(2):234-240.
markers. Clin Cancer Res 2005;11(20):7369-7375. 28. González-Sancho JM, Larriba MJ, Ordóñez-Morán P, et al. Effects of
10. Karlgren M, Gomez A, Stark K, et al. Tumor-specific expression of the 1alpha,25-dihydroxyvitamin D3 in human colon cancer cells.
novel cytochrome P450 enzyme, CYP2W1. Biochem Bioph Res Co Anticancer Res 2006;26(4A):2669-2681.
2006;341(2):451-458. 29. Sundaram S, Beckman MJ, Bajwa A, et al. QW-1624F2-2, a synthetic
11. McFadyen MCE, Melvin WT, Murray GI. Cytochrome P450 enzymes: analogue of 1,25-dihydroxyvitamin D3, enhances the response to other
Novel options for cancer therapeutics. Mol Cancer Ther 2004;3(3):363- deltanoids and suppresses the invasiveness of human metastatic
371. breast tumor cells. Mol Cancer Ther 2006;5(11):2806-2814.
12. Bruno RD, Njar VCO. Targeting cytochrome P450 enzymes: A new 30. Denny WA. The design of drugs that target tumour hypoxia. Aust J
approach in anti-cancer drug development. Bioorgan Med Chem 2007; Chem 2004;57(9):821-828.
15(15):5047-5060. 31. McKeown SR, Cowen RL, Williams KJ. Bioreductive drugs: from
13. Purnapatre K, Khattar SK, Saini KS. Cytochrome P450s in the concept to clinic. Clinical oncology importance of radiobiology to
development of target-based anticancer drugs. Cancer Lett 2008; cancer therapy: Current practice and future perspectives. Radiobiol
259(1):1-15. Cancer Ther 2007;19(6):427-442.
14. Schuster I, Bernhardt R. Inhibition of cytochromes p450: existing and 32. Albertella MR, Loadman PM, Jones PH, et al. Hypoxia-Selective
new promising therapeutic targets. Drug Met Rev 2007;39(2-3):481- Targeting by the Bioreductive Prodrug AQ4N in Patients with Solid
499. Tumors: Results of a Phase I Study. Clin Cancer Res 2008;14(4):1096-
15. Moreira VMA, Vasaitis TS, Njar VCO, et al. Synthesis and evaluation 1104.
of novel 17-indazole androstene derivatives designed as CYP17 33. Stoff-Khalili MA, Dall P, Curiel DT. Gene therapy for carcinoma of the
inhibitors. Steroids 2007;72(14):939-948. breast. Cancer Gene Ther 2006;13(7):633-647.
16. Vasaitis TS, Bruno RD, Njar VCO. CYP17 inhibitors for prostate 34. Roy P, Waxman DJ. Activation of oxazaphosphorines by cytochrome
cancer therapy. The Journal of Steroid Biochemistry and Molecular P450: Application to gene-directed enzyme prodrug therapy for cancer.
Biology Targeted Inhibitors for Steroid Transforming Enzymes Toxicol In Vitro 2006;20(2):176-186.
2011;125(1-2):23-31. 35. Braybrooke JP, Slade A, Deplanque G, et al. Phase I Study of MetXia-
17. Payne AH, Hales DB. Overview of steroidogenic enzymes in the P450 Gene Therapy and Oral Cyclophosphamide for Patients with
pathway from cholesterol to active steroid hormones. Endocr Rev Advanced Breast Cancer or Melanoma. Clin Cancer Res
2004;25(6):947-970. 2005;11(4):1512-1520.
18. Gibson LJ, Dawson CK, Lawrence DH, et al. Aromatase inhibitors for 36. Mathijssen RHJ, van Schaik RHN. Genotyping and phenotyping
treatment of advanced breast cancer in postmenopausal women. cytochrome P450: Perspectives for cancer treatment. Eur J of Cancer
Cochrane Syst Rev (Online) 2007;24(1):CD003370. 2006;42(2):141-148.
19. Perez EA. Safety of aromatase inhibitors in the adjuvant setting. 37. Lu H, Waxman DJ. Antitumor activity of methoxymorpholinyl
Breast Cancer Res Tr 2007;105(Suppl 1):75-89. doxorubicin: Potentiation by cytochrome P450 3A metabolism. Mol
20. White JA, Ramshaw H, Taimi M, et al. Identification of the human Pharmacol 2005;67(1):212-219.
cytochrome P450, P450RAI-2, which is predominantly expressed in the 38. Dehal SS, Kupfer D. CYP2D6 catalyzes tamoxifen 4-hydroxylation in
adult cerebellum and is responsible for all-trans-retinoic acid human liver. Cancer Res 1997;57(16):3402-3406.
metabolism. P Natl Acad Sci 2000;97(12):6403-6408. 39. Zanger UM, Klein K, Saussele T, et al. Polymorphic CYP2B6:
21. Osanai M, Petkovich M. Expression of the retinoic acid-metabolizing molecular mechanisms and emerging clinical significance.
enzyme CYP26A1 limits programmed cell death. Mol Pharmacol 2005; Pharmacogenomics 2007;8(7):743-59.
67(5):1808-1817. 40. Piver B, Fer M, Vitrac X, et al. Involvement of cytochrome P450 1A2 in
22. Njar VCO, Gediya L, Purushottamachar P, et al. Retinoic acid the biotransformation of trans-resveratrol in human liver microsomes.
metabolism blocking agents (RAMBAs) for treatment of cancer and Biochem Pharmacol 2004;68(4):773-782.
dermatological diseases. Bioorgan Med Chem 2006;14(13):4323-4340.

ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ ปี 7 ฉบับ 1, มค. – มีค. 2555 50 Thai Pharm Health Sci J Vol. 7 No. 1, Jan. – Mar. 2012
41. Athar M, Back JH, Tang X, et al. Resveratrol: A review of preclinical 46. Yang X, Solomon S, Fraser LR, et al. Constitutive regulation of
studies for human cancer prevention. Toxicol Appl Pharm 2007;224(3) CYP1B1 by the aryl hydrocarbon receptor (AhR) in pre-malignant and
:274-283. malignant mammary tissue. J Cell Biochem 2008;104(2):402-417.
42. Boocock DJ, Faust GES, Patel KR, et al. Phase I Dose Escalation 47. Maecker B, Sherr DH, Vonderheide RH, et al. The shared tumor-
Pharmacokinetic Study in Healthy Volunteers of Resveratrol, a associated antigen cytochrome P450 1B1 is recognized by specific
Potential Cancer Chemopreventive Agent. Cancer Epidem Biomar cytotoxic T cells. Blood 2003;102(9):3287-3294.
2007;16(6):1246-1252. 48. Gribben JG, Ryan DP, Boyajian R, et al. Unexpected association
43. Leong CO, Gaskell M, Martin EA, et al. Antitumour 2-(4- between induction of immunity to the universal tumor antigen CYP1B1
aminophenyl)benzothiazoles generate DNA adducts in sensitive and response to next therapy. Clin Cancer Res 2005;11(12):4430-
tumour cells in vitro and in vivo. Brit J Cancer 2003;88(3):470-477. 4436.
44. Bradshaw TD, Westwell AD. The Development of the antitumour 49. Arora V, Cate ML, Ghosh C, et al. Phosphorodiamidate morpholino
benzothiazole prodrug, Phortress, as a clinical candidate. Curr Med antisense oligomers inhibit expression of human cytochrome P450 3A4
Chem 2004;11(8):1009-1021. and alter selected drug metabolism. Drug Metab Dispos 2002;30(7):
45. Brockdorff BL, Skouv J, Reiter BE, et al. Increased expression of 757-762.
cytochrome P450 1A1and 1B1 genes in anti-oestrogen-resistant
human breast cancer cell lines. Int J Cancer 2000;88:902-906. Editorial note
Manuscript received in original form on October 25, 2011;
accepted in final form on February 7, 2012

ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ ปี 7 ฉบับ 1, มค. – มีค. 2555 51 Thai Pharm Health Sci J Vol. 7 No. 1, Jan. – Mar. 2012

You might also like