You are on page 1of 21

เทคโนโลยี

DNA
TECHNOLOGY DNA
เทคโนโลยี DNA คือ
เป็ นการใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างดีเอ็นเอ
สายผสม หรือ DNA รีคอมบิแนนท์
(recombinant DNA) ซึ่ งสามารถใช้
ดัดแปลง ตัดต่อ เคลื่อนย้าย หรือสร้าง
DNA สายใหม่ เพื่อนำไปดัดแปร
พันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
แล้ว ยีน คืออะไร?
“ยีน” คือรหัสพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
ทุกชนิด มนุษย์เราก็มีรหัสพันธุกรรมนี้
อยู่ในร่างกาย โดยยีนจะควบคุม
ลักษณะการแสดงออกของคนให้มี
ความแตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็ นสีผิว
เส้นผม ความสูง รวมถึงการทำงานของ
อวัยวะต่าง ๆ หรือแม้แต่ความเสี่ยงต่อ
การเกิดโรคก็ล้วนเป็ นผลมาจากยีน
DNA คือไรมาจากไหน?
สารพันธุกรรม หรือดีเอ็นเอ เป็ นกรดนิวคลิอิก
ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมี
ชีวิต ดีเอ็นเอส่วนใหญ่อยู่ในรูปโครโมโซม
วางตัวอยู่ ในส่วนนิวเคลียส ภายในเซลล์ ของ
สิ่งมีชีวิต
การประยุกต์ใช้ในเชิงการแพทย์และเภสัชกรรม

การบำบัดด้วยยีน

การถ่ายยีนปกติ เพื่อใช้ในการทำยีนบำบัด
คือการใช้ไวรัสชนิดหนึ่งเป็ นตัวนำยีนที่
ต้องการถ่ายเข้าสู่เซลล์ คน ซึ่ งยีนของไวรัสที่
เป็ นอันตรายต่อคนจะถูยกทิ้ง แล้วใส่ยีนของ
คนที่ต้องการเข้าไปแทน
การประยุกต์ใช้ในเชิงการแพทย์และเภสัชกรรม
การบำบัดด้วยยีน

Gene Therapy เป็ นการรักษาที่ว่าด้วยการปรับเปลี่ยนและแก้ไขพันธุกรรมบางส่วนใน


ร่างกายเพื่อบรรเทา รักษา หรือป้ องกันโรคที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของพันธุกรรม
ซึ่ งหลักการของ Gene Therapy อาจมีลักษณะดังนี้
ปรับแต่งหรือหยุดการทำงานของพันธุกรรมที่กลายพันธุ์จนนำไปสู่โรคให้กลับมา
เป็ นปกติ
ใส่พันธุกรรมที่ขาดไปให้ครบเพื่อแก้ไขโรคทางพันธุกรรมบางชนิด
เพิ่มพันธุกรรมที่แข็งแรงให้กับร่างกายเพื่อรับมือกับเชื้อโรคและความผิดปกติ
การประยุกต์ใช้ในเชิงการแพทย์และเภสัชกรรม
การบำบัดด้วยยีน
โดย หาก Gene Therapy ผ่านการทดสอบแล้วนำมาใช้จริง อาจเป็ นประโยชน์ ต่อผู้ป่ วย
หลายโรค เช่น
โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (Severe Combined Immunodeficiency Disease: SCID)
ที่ทำให้ร่างกายติดเชื้ออย่างรวดเร็วและรุ นแรง
การติดเชื้อเอชไอวี โรคเอดส์
โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว
โรคทางพันธุกรรมที่พบแต่กำเนิด อย่างโรคเลือดไหลไม่หยุด (Hemophilia) โรค
เลือดจางธาลัสซี เมีย และโรคจอตามีสารสี (Retinitis Pigmentosa: RP) ที่ส่งผลให้
ตาบอด
การประยุกต์ใช้ในเชิงการแพทย์และเภสัชกรรม
การบำบัดด้วยยีน
ซึ่ งในการทำวิธีGene Therapyในทางกลับกัน การบำบัดด้วยพันธุกรรมก็อาจเสี่ยงต่อ
การเกิดปัญหาสุขภาพได้เช่น

กันโรคติดเชื้อจากไวรัสที่เป็ นพาหะ แม้จะเป็ นเชื้อที่ไม่ทำให้เกิดโรค แต่ผู้ที่มีปัญหา


ด้านระบบภูมิคุ้มกันอาจเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้
การอักเสบรุ นแรง เนื่องจากการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันที่มองว่าพาหะและ
พันธุกรรมที่ปรับแต่งเป็ นสิ่งแปลกปลอกหรือเป็ นอันตราย
ความเสี่ยงของโรคมะเร็งและเนื้องอกที่เพิ่มขึ้นจากการใส่พาหะและพันธุกรรมใหม่
เข้าไปผิดตำแหน่ง ซึ่ งกระตุ้นให้เซลล์ มะเร็งหรือเซลล์ เนื้อเยื่อโตขึ้น
การประยุกต์ใช้ในเชิงการแพทย์และเภสัชกรรม

การวินิจฉัยโรค

เอาเทคโนโลยีของ DNA มาใช้ในการ


วินิฉัยโรคที่เกิดจากการติดเชื้อต่างๆ
เช่น เชื้อไวรัสโดยการใช้เทคนิคPCR
เพื่อตรวจสอบว่ามีจีโนมของไวรัสอยู่
ในสิ่งมีชีวิตนั้นหรือไม่

**จีโนม หมายถึง ข้อมูลทางพันธุกรรมทั้งหมดของสิ่งมีชีวิตหนึ่ง ๆ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องประกอบด้วยสารพันธุกรรม โดย


อาจอยู่ในรูปของดีเอ็นเอหรืออาร์เอ็นเอ สำหรับเก็บรหัสเพื่อใช้ในการสร้างโปรตีนต่าง ๆ
การประยุกต์ใช้ในเชิงการแพทย์และเภสัชกรรม

การวินิจฉัยโรค

PCR เป็ นเทคนิคสำหรับเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอโดยอาศัยหลักการ DNA Replication


ซึ่ งเป็ นการสังเคราะห์สายดี เอ็น เอ สายใหม่ จาก ดีเอ็นเอต้นแบบในหลอดทดลอง
ภายในระยะเวลาอันสั้นและได้ดีเอ็นเอสายใหม่เกิดขึ้นเป็ นล้านเท่าด้อย่างเฉพาะ
เจาะจงโดยมีขั้นตอนการทำงานน้อยและใช้เวลาน้อยสามารถนำไปใช้ประโยชน์
ได้ทั้งกับงานวิจัยทางชีวโมเลกุลและพันธุวิศวกรรม เช่น 1.การเพิ่มปริมาณยีน
(gene cloning) 2.การวิเคราะห์ลำดับเบสของยีน (gene sequencing) 3.การ
สร้างDNAติดตาม (DNA probe)
การประยุกต์ใช้ในเชิงการแพทย์และเภสัชกรรม

การสร้างผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม

การประยุกต์เทคโนโลยีเกี่ยวกับ DNA
มาใช้ในเชิงเภสัชกรรมเป็ นการประยุกต์
ใช้ที่มีมาเป็ นเวลาหลายสิบปี อย่างการ
ทดสอบ DNA ของคนก่อนที่จะสั่งจ่ายยา
ทำให้มีความเสี่ยงน้อยลง
การประยุกต์ใช้ในเชิงการแพทย์และเภสัชกรรม

การสร้างผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม

การนำ DNA มาผลิตเป็ นยาในปัจจุบันสามารถทำได้ เนื่องจากรหัสทางพัธุกรรม


ซึ งเปรียบในสูตรตั้งต้นในการสร้างโปรตีนในDNA ด้วยเทคนิคทางดีเอ็นเอ
สายสผม ซึ่ งจะนำDNAไปเพาะเลี้ยง และนำมาสกัดโปรตีนต่อ วิธีนี้สามารถได้
ในปริมาณที่มากและยังปลอดภัย เช่น
> วัคซี นป้ องกันไวรัสตับอักเสบ บี
> สารเพิ่มภูมิคุ้มกัน
> ฮอร์โมนช่วยในการเจริญเติบโต
> สารช่วยให้เลือดแข็งตัว
การประยุกต์ใช้ในเชิงการเกษตร

การปรับปรุ งพันธุ์โดยอาศัยวิธีการของ
molecular breeding

เทคโนโลยี DNA นำมาสู่การสร้างแบคทีเรีย และ


แผนที่เครื่องหมายทางพันธุกรรมต่างๆ นัก
ปรับปรุ งพันธุ์สามารถศึกษาองค์ความรู้ดังกล่าวมา
ใช้ในการปรับปรุ งพันธุ์ แต่วิธีนี้ไม่นิยมใช้แล้ว
การประยุกต์ใช้ในเชิงการเกษตร

การทำฟาร์มสัตว์เพื่อสุขภาพของมนุษย์

ใช้เทคโนโลยี DNA เพื่อปรับปรุ งพันธุ์สัตว์ให้มีลักษณะที่ดี


ขึ้น เช่นเดียวกับเป้ าหมายหนึ่งคือการปรับปรุ งพันธุ์สัตว์ที่อาศัย
การผสมพันธ์ุ และคัดเลือกพันธุ์ดั้งเดิม แต่ด้วยเทคโนโลยี
DNA ทำให้นักวิทยาศาสตร์สามารถหาได้ว่ายีนที่จะทำให้สัตว์มี
ลักษณะตามต้องการ
การประยุกต์ใช้ในเชิงการเกษตร

การทำฟาร์มสัตว์เพื่อสุขภาพของมนุษย์

ใช้เทคโนโลยี DNA เพื่อปรับปรุ งพันธุ์สัตว์ช่วยทำให้สัตว์ที่เราต้องการ


มีประสิทธิภาพมากที่สุด ตรงตามที่เราต้องการมากที่สุด ในภาพรวมแล้ว
รุ่นลูกนั้นควรจะมีลักษณะโดยเฉลี่ยที่ดีกว่ารุ่นพ่อแม่ ถึงจะเรียกได้ว่า
พันธุกรรมที่ได้รับจากการปรับปรุ งให้ดีกว่ารุ่นพ่อแม่
การประยุกต์ใช้ในเชิงการเกษตร

การสร้างพืชดัดแปลงพันธุกรรม

การสร้างพืชดัดแปลงพันธุกรรมเพื่อให้มียีนของลักษณะตาม
ที่ต้องการ เช่น การชะลอการสุกของผลไม้ การทำผลไม้ไร้เมล็ด
การทำให้พืชมีความต้านทานต่อสภาพเเวดล้อม หรือมีการเพิ่ม
ขึ้นของจำนวนสารโภชนาการ
การประยุกต์ใช้ในเชิงการเกษตร

การสร้างพืชดัดแปลงพันธุกรรม

การสร้างพืชดัดแปลงพันธุกรรมเพื่อให้มียีนของลักษณะตาม
ที่ต้องการ เช่น การทำผสมไม่ไร้เมล็อด พืชผักผลไม้พันธุ์ผสม
เพื่อใช้ประโยชน์ ในทางต่างๆ ด้านการค้าขาย ด้านเศรษฐกิจ
ด้านเกษตรกรรม
การประยุกต์ใช้ในเชิงนิติวิทยาศาสตร์

DNA
เป็ นสารพันธุกรรมซึ่ ง DNA ของคนๆ
เดียวกันไม่ว่ามาจากเซลล์ ส่วนใด ของ
ร่างกายจะมีรูปแบบที่เหมือนกันดังนั้น DNA
จึงเป็ นเหมือนสิ่งที่บอกให้รู้ว่าคนๆนั้นเป็ น
ใครและแตกต่างจากคนอื่นอย่างไร เช่น การ
ตรวจลายนิ้วมือผู้ร้าย การตรวจทางนิติเวช ที่
ต้องใช้ DNA เข้ามาเกี่ยวข้อง
การประยุกต์ใช้ในเชิงนิติวิทยาศาสตร์

DNA
DNA เป็ นสิ่งที่บอกให้รู้ว่าคนๆนั้นคือใคร
และยังใช้พิสูจน์ ในคดีอาญาที่รุ นแรงเช่น
ฆาตกรรม ทำร้ายร่างกาย โดยการำสิ่งที่บ่ง
บอกว่ามีผู้ต้องหานั้น เช่น เลือด ลายนิ้วมือ
เส้นผม นำมาตรวจเพื่อหาว่าผู้ต้องหานั้นคือ
ใคร
สรุป
DNA มีอยู่ในทุกสิ่งมีชีวิต ดังนั้นจึงมีการนำ
เทคโนโลยี DNA มาประยุกต์ใช้ให้มีโยชน์ มากมาย
ทั้งเพื่อความต้องการของมนุษย์ เพื่อการหาความ
ยุติธรรมในคดีต่างๆ เพื่อการรักษา และอื่นๆอีก
มากมายแต่ทั้งนี้บางอย่างก็มีข้อเสีย จึงควรเลือกใช้
ให้ถูกต้อง
จบการนำเสนอ

นางสาวณปภัสร์ แจ้งภักดี ม.4/4 เลขที่ 2


นางสาวธัญภา เศรษฐบุตร ม.4/4 เลขที่ 4
นางสาวบัวบูชา สมศรี ม.4/4 เลขที่ 6
นางสาวพราวรุ้ง วรางค์เดช ม.4/4 เลขที่ 8
นางสาวแพรวพรรณ ศิริโสภณพัฒนกุล ม.4/4 เลขที่ 37

You might also like