You are on page 1of 29

เทคโนโลยี DNA

ครู นิ ภาพร จะชานรัมย์


รายวิชาเพิ่มเติมชีววิทยา 2
Outline
#1. พันธุวิศวกรรมและ #2. การหาขนาดของ DNA และการ
การโคลนยีน หาลำดับนิวคลีโอไทด์

#3. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี #4. เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอกับ


ความปลอดภัยทางชีวภาพ
ทางดีเอ็นเอ และชีวจริยธรรม
พันธุวิศวกรรม
และ
การโคลนยีน
เทคโนโลยีทาง DNA

เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ เป็นการใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างดีเอ็นเอสายผสม หรือ DNA รีคอมบิแนนท์


(recombinant DNA) ซึ่งสามารถใช้ดัดแปลง ตัดต่อ เคลื่อนย้าย หรือสร้าง DNA สายใหม่ เพื่อนำ
ไปดัดแปรพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต

พันธุวิศวกรรม
พันธุวิศวกรรม หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงหรอดัดแปลงสารพันธุกรรม (genetic
material; DNA) ของสิ่งมีชีวิต โดยการถายทอดยีนที่ต้องการจากสิ่งมีชีวิตหนึ่ ง เข้าสู่อีกสิ่งมีชีวิต
หนึ่ ง เพื่อสร้างสิ่งมีชีวิตชนิ ดใหม่ที่มีลักษณะตามต้องการ
ตัวอย่างสิงมีชีวิตที่ถูกดัดแปลงพันธุ กรรม (GMOs)

ปลาม้าลายเรืองแสง มะละกอต้านไวรัสโรคใบด่างวงแหวน
ตัวอย่างสิงมีชีวิตที่ถูกดัดแปลงพันธุ กรรม (GMOs)

ปลาแซลมอนและหนูที่ถูกตัดต่อยีน สร้างฮอร์โมน
ควบคุมการเจริญเติบโต (Growth Hormone)
ข้าวสีทอง (Golden Rice)

พันธุ์ข้าวทองนั้ นถูกสร้างขึ้นโดย
ตัดต่อยีน สังเคราะห์เบต้าแคโรทีน
ไพโตนซินเตส (phytoene
synthase) จากต้นแดฟโฟดิล
(daffodil) และ ซีอาร์ทีหนึ่ ง (crt1)
จาก แบคทีเรีย Erwinia uredovara
เข้าไปในจีโนมของข้าวตรงส่วนที่
เกี่ยวข้องกับเอนโดสเปิร์ม จึงทำให้
ข้าวที่ได้มีเบต้าแคโรทีน อยู่ใน
เอนโดสเปิร์ม
กระบวนการและ
ขั้นตอนของ
พันธุวิศวกรรม
ขั้นตอนการตัดต่อทางพันธุกรรม

1.การสร้าง DNA สายผสม (Recombinant DNA)

สิ่ งที่ต้องใช้
1. ชิ้นส่วน DNA หรือยีนที่เราสนใจ (foreign DNA)
2. DNA พาหะ (DNA vector)
3. เอ็นไซม์
3.1 เอ็นไซม์ตัดจำเพาะ (restriction enzyme) : ตัด
3.2 เอ็นไซม์ DNA ligase : ต่อ
นำ foreign DNA ที่
ตัดออกมาไปเชื่อมกับ
DNA พาหะ (vector)
เพื่อสร้างเป็น DNA
สายผสม
DNA พาหะ (Vector DNA)

เป็น DNA ที่จะนำพา DNA ที่เราสนใจเข้าสู่เซลล์เจ้าบ้าน และช่วยให้ DNA


ที่พามาเพิ่มปริมาณและแสดงลักษณะได้

Vector ที่นิยมใช้ได้แก่
พลาสมิด (plasmid)
Ti plasmid
ฟาจ (bacteriophage)
คอสมิด (cosmid)
พลาสมิด (Plasmid)

DNA วงกลมที่อยู่นอก โครโมโซมของ bacteria


มักมียีนที่ทำให้ bacteria มีลักษณะเฉพาะ เช่น ยีนต้านยาปฏิชีวนะ
ใช้เป็นพาหะในการถ่ายยีนหรือ DNA เข้าสู่เซลล์เจ้าบ้าน
ใช้ในการเพิ่มปริมาณ DNA ที่ต้องการ
DNA cloning (การโคลน DNA)

เป็นการเพิ่มปริมาณ (copy) DNA หรือยีน


ที่เราต้องการให้มีจำนวนมากขึ้น
1. การโคลนยีนโดยใช้ Plasmid
2. การโคลนยีนโดยวิธี PCR
การโคลนยีนหรือDNA โดยใช้ Plasmid
การโคลน DNA หรือยีนโดยวิธี PCR
PCR: Polymerase Chain Reaction (ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรส)

สิ่ งที่ต้องใช้
1. DNA ต้นแบบที่ต้องการโคลน
2. DNA primer
3. Nucleotide ทั้ง 4 ชนิ ด (dATP, dGTP, dCTP, dTTP)
4. DNA polymerase (Taq polymerase)
5. เครื่อง Thermocycler
การโคลน DNA หรือยีนโดยวิธี PCR
คำถาม
จำนวนรอบของ PCR และจำนวนโมเลกุล DNA ที่ได้มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
และถ้าเริ่มต้นปฏิกิริยาจาก DNA 1 โมเลกุล เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยารอบที่ 10
จะได้ DNA กี่โมเลกุล
การหาขนาด DNA
และการหาลำดับ
นิวคลีโอไทด์
การวิเคราะห์ DNA และการศึ กษา genome โดย gel electrophoresis
ตัวอย่างใน sample B มีแถบโมเลกุล
DNA กี่แถบ และแต่ละแถบมีขนาด
ประมาณเท่าใด
เทคนิ คการใช้เครื่องมือเจลอิเล็กโตรโฟรีซิส (Agarose gel electrophoresis)

https://www.youtube.com/watch?v=n9Ti31JAwGo
Genetic marker (เครื่องหมายทางพันธุ กรรม)
ใช้บอกความเหมือนหรือแตกต่างทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต โดยอาศัย
ลายพิมพ์ DNA (DNA fingerprint) ได้แก่ เทคนิ ค RFLP (Restriction
Fracment Length Polymorphism)
การวิเคราะห์ DNA โดยเทคนิ ค RFLP
การหาลำดับนิ วคลีโอไทด์ (DNA sequencing)

You might also like