You are on page 1of 6

ที่ คำศัพท์ ความหมาย

1 Chromosome เป็นที่เก็บของหน่วยพันธุกรรม
2 Chromatid ส่วนของโครโมโซมทีเ่ กิดจากการแบ่งตัวตามยาวออกเป็นสองส่วน แต่ยังไม่หลุดออกจาก
กันเกิดในระยะโปรโฟสของการแบ่งเซลล์
3 Chromatin สายของดีเอ็นเอ(DNA)สายยาวเพียงสายเดียวที่พันตัวรอบโปรตีนทีช่ ื่อ“ฮิสโตน
(histone)”
4 Centromere เป็นบริเวณที่โครมาทิดสองเส้นยึดติดกัน
5 Metacentric chromosome เป็นโครโมโซมที่มีจดุ centromere อยู่บริเวณกลางๆ แขนทั้งสองข้างจึงมีขนาดเท่า ๆ
กัน
6 Submetacentric chromosome เป็นโครโมโซมที่มี centromere ค่อนข้างไปทางด้านใดด้านหนึ่งทำให้แขนของ
โครโมโซมยาวไม่เท่ากันด้านหนึ่งยาวด้านหนึ่งสั้น
7 Acrocentric chromosome เป็นโครโมโซมที่มี centromere ตั้งอยู่ใกล้ปลายสุดของด้านใดด้านหนึ่งมาก
8 Telocentric chromosome เป็นโครโมโซมที่มีเซนโทรเมียร์อยูป่ ลายสุดทางปลายใดปลายหนึ่ง
9 Nucleosome หน่วยย่อยของโครโมโซม ประกอบด้วย DNA ที่รวมอยู่กับโปรตีนฮีสโตน (histone)
10 Histone โปรตีนที่ พบอยู่ในนิวเคลียสของยูแคริโอต จับแน่นอยู่กับดีเอ็นเอได้เป็นโครมาทินในนิ
วคลีโอโซม
11 Nucleotide เป็นโครงสร้างพื้นฐานของกรดนิวคลีอิก
12 Pentose sugar น้ำตาลคาร์บอน 5 อะตอม
13 Ribose น้ำตาลคาร์บอน 5 อะตอม ที่เป็นองค์ประกอบของ RNA
14 Deoxyribose น้ำตาลคาร์บอน 5 อะตอม ที่เป็นองค์ประกอบของ DNA
15 Nitrogenous base เบสที่มีโครงสร้างประกอบด้วยวงแหวนที่มีอะตอมของคาร์บอนและไนโตรเจน
16 Purine เบสพิวรีน โครงสร้างประกอบด้วยวงแหวนที่มีอะตอมของคาร์บอนและไนโตรเจนแบบ
วงแหวน 2 วงติดกัน
17 Pyrimidine เบสไพริมิดีน โครงสร้างประกอบด้วยวงแหวนที่มีอะตอมของคาร์บอนและไนโตรเจน
แบบวงแหวน 1 วง
18 Adenine เบสอะดีนีน
19 Guanine เบสกวานีน
20 Cytosine เบสไซโทซีน
21 Thymine เบสไทมีน
22 uracil เบสยูราซิล
23 Phosphate group หมู่ฟอสเฟส
24 Phosphodiester bond เป็นพันธะทีเ่ ชื่อมระหว่าง นิวคลีโอไทด์
25 Polynucleotide สารประกอบชนิด nucleic acid ที่ประกอบด้วย nucleotide หลายโมเลกุลมาสร้าง
พันธะเชื่อมต่อกัน
26 Double helix โครงสร้างของ DNA ที่มีลักษณะเป็นเกลียว เวียนขวา
27 Antiparallel การจัดวางของสาย polynucleotide 2 สายที่มีการจัดเรียงตัวในทิศทางตรงกันข้ามกัน
28 Complementary base เบสคูส่ ม : การจับคู่กันของเบสบนสาย DNA ที่เบส A จับคู่กับเบส T และเบส C จับคู่
กับเบส G
ที่ คำศัพท์ ความหมาย
29 DNA replication กระบวนการจำลอง DNA
30 Semi conservative replication model การจำลองตัว DNA แบบกึ่งอนุรักษ์
31 Conservative replication model การจำลองตัว DNA แบบอนุรักษ์
32 Dispersion replication model การจำลองตัว DNA แบบกระจัดกระจาย
33 DNA template DNA สายแม่แบบ
34 Daughter DNA DNA สายใหม่ที่สังเคราะห์ขึ้น
35 Origin of replication จุดเริม่ ต้นของสารสังเคราะห์ DNA
36 Replication bubble ลักษณะการโป่งพองบนสาย DNA ในตำแหน่งที่มกี ารสังเคระห์ DNA
37 Leading strand DNA สายที่มีการสังเคราะห์แบบต่อเนื่อง
38 Lagging strand DNA สายที่มีการสังเคราะห์แบบไม่ต่อเนื่อง
39 Okazaki fragment ชิ้นส่วนของ DNA ที่สร้างขึ้นบน Lagging strand
40 DNA polymerase เอนไซม์ที่นำ nucleotide ของ DNA มาเรียงต่อกันให้เป็นสาย polynucleotide
41 RNA primase เอนไซม์ที่นำ nucleotide ของ RNA มาเรียงต่อกันเพื่อสร้าง RNA primer
42 RNA primer ตำแหน่งที่ให้ DNA polymerase นำ nucleotide มาต่อเพื่อสังเคราะห์ DNA
43 Topoisomerase เอนไซม์ที่ช่วยในการคลายเกลียวบนสาย DNA
44 DNA Helicase เอนไซม์ที่เข้าสลายพันธะไฮโดรเจนบน DNA เพื่อแยก DNA ออกจากกัน
45 Singer strand blinding protein (SSBPs) โปรตีนที่เข้ามาจับกับ DNA หลังจากที่ DNA Helicase แยกสาย DNA ออกจากกันเพื่อ
ป้องกันไม่ให้ DNA ที่แยกกลับไปเข้าคู่กันอีก
46 Replication fork ตำแหน่งที่เกิดการแยกของ DNA เกิดจากการทำงานของ DNA Helicase
47 DNA ligase เอนไซม์ที่เชื่องชิ้นส่วน Okazaki fragment เข้าด้วยกัน
48 Transcription กระบวนการถอดรหัส
49 RNA polymerase เอนไซม์ที่นำ nucleotide ของ RNA มาเรียงต่อกันเพื่อสังเคราะห์ RNA
50 Messenger RNA : mRNA RNA ทีท่ ำหน้าทีค่ ัดลอกรหัสพันธุกรรมจาก DNA เพื่อนำออกไปนอกนิวเคลียสควบคุม
การสังเคราะห์โปรตีนของไรโบโซม
51 Transfer RNA : tRNA RNA ที่นำกรดอะมิโนที่จำเพาะเข้ามาต่อเป็นสายพอลิเพปไทด์ที่
ไรโบโซมระหว่างการแปลรหัส
52 Ribosomal RNA : rRNA RNA ทีเ่ ป็นองค์ประกอบสำคัญของไรโบโซม ที่มีหน้าทีส่ ังเคราะห์โปรตีนภายในเซลล์
53 Translation กระบวนการแปลรหัส
54 Ribosome ออร์แกแนลภายในเซลล์ที่ทำหน้าที่สังเคราะห์โปรตีน
55 Small subunit หน่วยย่อยขนาดเล็กของไรโบโซม
56 Large subunit หน่วยย่อยขนาดใหญ่ของไรโบโซม
57 RNA processing กระบวนการตัด - ต่อ RNA
58 Intron รหัสพันธุกรรม (ลำดับเบส) บน mRNA ที่ไม่ได้ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม
59 Extron รหัสพันธุกรรม (ลำดับเบส) บน mRNA ที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม
60 Spliceosome เอนไซม์ที่ทำหน้าทีต่ ัด Intron และเชื่อม Extron เข้าด้วยกันในกระบวนการ RNA
processing
61 Codon รหัสพันธุกรรมบน mRNA โดย 1 codon จะประกอบด้วย 3 เบส
ที่ คำศัพท์ ความหมาย
62 Start codon รหัสเริ่มต้น : AUG
63 Stop codon รหัสสิ้นสุด : UAA , UAG , UGA
64 Anticodon รหัสพันธุกรรมบน tRNA ที่เข้าคู่กบั codon บน mRNA
65 Genetic code รหัสพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
66 Triplet code รหัสพันธุกรรมที่ประกอบด้วยเบส 3 ตัว
67 Mutation การกลาย
68 Mutagen สิ่งทีช่ ักนำให้เกิดการกลาย
69 Physical mutagen สิ่งชักนำให้เกิดการกลายทางกายภาพ เช่น รังสี แรง
70 Chemical mutagen สิ่งชักนำให้เกิดการกลายทางเคมี เช่น สารเคมีต่างๆ
71 Gene mutation การกลายในระดับยีน
72 Base-pair substitution กระบวนการแทนที่คู่เบส
73 Silent mutation การเปลี่ยนแปลงของ base-pair บน gene ที่ทำให้ mRNA codon ถูกแปลงรหัสเป็น
amino acid ตัวเดิมอยู่
74 Missense mutation การเปลี่ยนแปลงของ base-pair บน gene ที่ทำให้ mRNA codon ถูกแปลงรหัสเป็น
amino acid ที่เปลี่ยนไปจากเดิม
75 Nonsense mutation การเปลี่ยนแปลงของ base-pair บน gene ที่ทำให้ mRNA codon ถูกแปลงรหัสเป็น
amino acid เปลี่ยนไปเป็น stop codon ; UAG,UAA หรือ UGA
76 Insertion of nucleotide การเพิ่ม base pair ใน DNA
77 Deletion of nucleotide การขาดหายไปของ base pair ใน DNA
78 Frameshift mutation การ ลด-เพิม่ ของเบส ทำให้มีการจัดลำดับโคดอนใหม่ ส่งผลให้โปรตีนที่สังเคราะห์ได้
เกิดการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
79 Chromosome mutation การกลายในระดับโครโมโซม
80 Deletion การขาดหายไปของชิ้นสวนโครโมโซม
81 Duplication การเพิ่มขึ้นของชิ้นสวนโครโมโซม
82 Translocation การตอกลับทิศทางของชิ้นสวนในโครโมโซม
83 Inversion การแลกเปลี่ยนชิ้นสวนระหว่างโครโมโซมที่ไม่ได้เป็นคูกัน
84 Nondisjunction โครโมโซมคู่หนึ่งไม่แยกตัวออกจากกันไปยังขั้วเซลล์ในกระบวนการแบ่งเซลล์
85 Diploid (2n) เซลล์ที่มีจำนวนโครโมโซม 2 ชุด
86 Haploid (n) เซลล์ที่มีจำนวนโครโมโซม 1 ชุด
87 Polyploid เซลล์ที่มีจำนวนโครโมโซมมากกว่า 2 ชุดขึน้ ไป
88 Euploidy ภาวะที่มีจำนวนโครโมโซมเปลี่ยนแปลงไปเป็นชุด
89 Aneuploidy ภาวะที่มีจำนวนโครโมโซมเปลี่ยนแปลงไปไปเพียงบางส่วนของชุด
90 Recombination DNA DNA ลูกผสม
91 DNA cloning การเพิ่มจำนวน DNA
92 Genetic engineering พันธุวิศวกรรม : กระบวนการตัดต่อพันธุกรรม
93 Restriction enzyme เอนไซม์ตัดจำเพาะ
94 Restriction site ตำแหน่งตัดจำเพาะ
ที่ คำศัพท์ ความหมาย
95 Sticky end ปลายเหนียว : ชิ้นส่วนของ DNA ที่ถูกตัดด้วยเอนไซม์ตัดจำเพาะแล้วมีลำดับนิวคลีโอ
ไทด์สายหนึ่งยื่นออกมามากกว่าอีกสายหนึ่ง
96 Blunt end ปลายทู่ : ชิ้นส่วนของ DNA ที่ถูกตัดด้วยเอนไซม์ตัดจำเพาะแล้วมีลำดับนิวคลีโอไทด์
เหลือเท่ากัน
97 Plasmid โครโมโซมดีเอ็นเอนอกโครโมโซมที่มีขนาดเล็ก อยูภ่ ายในเซลล์ที่แยกออกจากดีเอ็นเอใน
โครโมโซม พบใน prokaryote
98 Polymerase chain reaction : PCR กระบวนการสังเคราะห์ชิ้นส่วนดีเอ็นเอในหลอดทดลอง
99 Genetically modification organism : GMOs สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม
100 Gene therapy การรักษาด้วยวิธีการใช้ยีนบำบัด
101 DNA fingerprint ลายพิมพ์ DNA
102 Gel electrophoresis เทคนิคที่ใช้แยกสารพวกโปรตีน กรดนิวคลีอิค หรือ macromolecule โดยอาศัย หลักการ
เคลื่อนที่ของสารบนเจลภายใต้สนามไฟฟ้า
103 Bioethics ชีวจริยกธรรม
104 Homologous chromosome โครโมโซมคู่เหมือน
105 Dominance trait ลักษะเด่น
106 Recessive trait ลักษณธด้อย
107 Gene หน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
108 Allele รูปแบบของยีน(gene)ที่แสดงออกในแบบลักษณะต่างๆในลักษณะของทางพันธุกรรมหนึ่ง
109 Dominance allele แอลลีลเด่น
110 Recessive allele แอลลีลด้อย
111 Locus ตำแหน่งของ gene บน chromosome
112 Genotype ลักษณะของ allele หรือรูปแบบของ gene ที่ปรากฏเป็นคู่ ๆ
113 Homozygous genotype รูปแบบของ gene หรือ ลักษณะของ allele ทีม่ ีลักษณะเหมือนกัน
114 Homozygous dominance รูปแบบของ gene หรือ ลักษณะของ allele เด่น 2 allele อยู่ด้วยกัน
115 Homozygous recessive รูปแบบของ gene หรือ ลักษณะของ allele ด้อย 2 allele อยู่ด้วยกัน
116 Heterozygous genotype รูปแบบของ gene หรือลักษณะของ allele ที่มี allele เด่น อยู่กับ allele ด้อย
117 Phenotype ลักษณะทีเ่ ป็นผลมาจาก genotype ของสิ่งมีชีวิต
118 Gamete เซลล์สืบพันธุ์
119 Parental generation รุ่นพ่อ - แม่
120 Frist filial generation (F1) รุ่นลูก
121 Second filial generation (F2) รุ่นหลาน
122 Law of segregation กฎการแยก “ลักษณะของสิ่งมีชีวิตถูกควบคุมด้วยยีน และยีนจะปรากฏเป็นคู่ ๆ เสมอ ซึ่ง
ยีนจะแยกจากกันเมื่อมีการสร้างเซลล์สืบ พันธุ์ โดยเซลล์สืบพันธุ์ แต่ละเซลล์จะได้รับเพียง
แอลลีลใดแอลลีล หนึ่ง”
123 Law of independent assortment กฎการรวมกลุ่มกันอย่างอิสระ “ยีนที่แยกออกจากยีนที่เป็นคู่กันจะจัดกลุ่มอย่างอิสระ
กับยีนอื่นที่แยกออกจากคู่กันเช่นกันในการเข้าไปอยู่ในเซลล์สืบพันธุ์”
124 Monohybrid cross การผสม 1 ลักษณะ
125 Dihybrid cross การผสม 2 ลักษณะ
ที่ คำศัพท์ ความหมาย
126 Complete dominance ลักษณะทางพันธุกรรมแบบข่มสมบูรณ์
127 Incomplete dominance ลักษณะทางพันธุกรรมแบบข่มไม่สมบูรณ์
128 Codominance ลักษณะทางพันธุกรรมแบบข่มร่วมกัน
129 Multiple alleles ลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วย allele มากกว่า 2 allele
130 Polygene ลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วย gene มากกว่า 2 gene
131 Discontinuous variation trait ลักษณะทางพันธุกรรมที่แรผันแบบไม่ต่อเนื่อง เช่น ลักยิม้
132 Continuous variation trait ลักษณะทางพันธุกรรมที่แรผันแบบต่อเนื่อง เช่น สีผิว
133 Autosome โครโมโซมร่างกาย
134 Sex chromosome โครโมโซมเพศ
135 Sex-linked gene ลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วย gene บนโครโมโซมเพศ
136 Pedigree พันธุประวัติ
137 Linked gene ลักษณะทางพันธุกรรมที่อยู่บนโครโมโซมเดียวกัน
138 Sex-influenced trait ลักาณะทางพันธุกรรมขึ้นกับอิทธิพลเพศ : การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุม
ด้ ว ย gene ที ่ อ ยู ่ บ น autosome มี ก ารแสดงออกในเพศหนึ ่ ง มากกว่ า อี ก เพศหนึ่ ง
เนื่องจากอิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
139 Sex limited trait ลักษณะทางพันธุกรรมจำกัดเพศ : การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วย
gene ที่อยู่บน autosome มีการแสดงออกเฉพาะในเพศใดเพศหนึ่งเท่านั้น เนื่องจาก
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
140 Crossing over เป็นกระบวนการที่ทาให้เกิดการแลกเปลีย่ นชิ้นส่วนของ non sister chromatids ของ
คูh่ omologous chromosome
141 Testcross การผสมทดสอบ : การนำสิ่งมีชีวิตที่สงสัยว่าเป็นลักษณะเด่นหรือไม่ไปผสมกับลักษณะ
ด้อยของสิ่งมีชีวิตนั้น (tester) แล้วสังเกตุอัตราส่วนของลูกที่ได้
142 Backcross การผสมกลับ : การนำลูกผสมกลับไปผสมกับพ่อหรือแม่ เพื่อเป็นการเพิ่มลักษณะที่
ต้องการ
143 Genetic population พันธุศาสตร์ประชากร : คือการศึกษาประชากรโดยเน้นเรื่องความถี่ของยีน (Gene
frequency) และความถีจีโนไทป์ (Genotypic frequency)
144 Population size ขนาดประชากร
145 Gene pool กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูร่ วมกันในพื้นที่หนึ่งๆและมีการใช้แหล่งพันธุกรรมร่วมกัน
146 Genotypic frequency สัดส่วนของจำนวนของสิ่งมีชีวิตทีม่ ี genotype ที่สนใจต่อจำนวนของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด
ของประชากร
147 Gene frequency or allele frequency สัดส่วนของจำนวนของสิ่งมีชีวิตทีม่ ี gene หรือ allele ที่สนใจต่อจำนวน gene หรือ
allele ทั้งหมด ณ locus นั้นของประชากร
148 Phenotypic frequency สัดส่วนของจำนวนของสิ่งมีชีวิตทีม่ ี phenotype ที่สนใจต่อจำนวนของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด
ของประชากร
149 Random mating การผสมพันธ์แบบอาศัยเพศแบบสุม่
150 Selection การคัดเลือก
151 Non-overlapping generation การตัดขาดจากกันของแต่ละรุ่นของสิ่งมีชีวิต
152 Hardy – Weinberg Equilibrium : HWE ภาวะสมดุลของฮาร์ดี้ - ไวน์เบิร์ก
ที่ คำศัพท์ ความหมาย
153 Migration การอพยพ / การโยกย้ายถิ่นฐาน
154 Natural selection การคัดเลือกโดยโดยธรรมชาติ
155 Artificial selection การคัดเลือกโดยมนุษย์
156 Random genetic drift การเปลี่ยนแปลงความถี่ของแอลลีลที่เกิดขึ้นในประชากรที่มีขนาดเล็ก ไม่ได้เกิดจากการคัดเลือกโดย
ธรรมชาติ ทำให้บางแอลลีลไม่มีโอกาสถ่ายทอดไปยังรุ่นลูกได้
157 Genetic variation ลักษณะที่แตกต่างกัน เนื่องจากพันธุกรรมที่ไม่เหมือนกัน และสามารถถ่ายทอดไปสู่รุ่น
ลูกได้
158 Evolution วิวัฒนาการ
159 Taxonomy การศึกษาเกี่ยวกับการจัดจำแนกสิง่ มีชีวิต
160 Kingdom อาณาจักร
161 Division/Phylum หมวด/กลุ่ม/ไฟลัม/ดิวิชัน
162 Class ชั้น
163 Order อันดับ
164 Family วงศ์
165 Genus สกุล
166 Species ชนิด
167 Evolution evidence หลักฐานทางวิวัฒนาการ
168 Paleontology บรรพชีวินวิทยา : วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับซากดึกดำบรรพ์
169 Fossil ซากดึกดำบรรพ์
170 Comparative anatomy กายวิภาคเปรียบเทียบ
171 Homologous structure ลักษณะของโครงสร้างของสิ่งมีชีวิตในกลุ่มที่มาจากจุดกำเนิดเดียวกัน แต่ทำหน้าที่
ต่างกัน เช่น แขนคน กับ ปีกค้างคาว
172 Analogous structure ลักษณะโครงสร้างของสิ่งมีชีวิตที่มาจากจุดกำเนิดต่างกัน แต่ทำหน้าที่เหมือนกัน เช่น
ปีกนก กับ ปีกแมลง
173 Comparative embryology การศึกษา เปรียบเทียบลักษณะการเจริญของเอ็มบริโอ (embryo) ระยะต่างๆ ของสัตว์
ทั้งสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังและ สัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลัง เพื่อหาความสัมพันธืทาง
วิวัฒนาการ
174 Molecular biology การศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้าง และการทำงานของหน่วยพันธุกรรม ในระดับโมเลกุล เป็น
สาขาที่คาบเกี่ยวกันระหว่างชีววิทยาและเคมี โดยเฉพาะสาขาพันธุศาสตร์และชีวเคมี
175 Biogeography การศึกษาเกี่ยวกับการกระจายของสปีชีส์และระบบนิเวศในพื้นที่ทางภูมิศาสตร์รวมถึง
ธรณีกาล สิ่งมีชีวิตและกลุม่ ทางชีววิทยามักมีความแตกต่างกันไปตามลักษณะทาง
ภูมิศาสตร์

You might also like