You are on page 1of 75

รัชนีกร กัลล์ประวิทธ์

2557
Protein synthesis
2

 Translation

 คล ้ายคลึงกันทัง้ ใน prokaryote และ eukaryote

 สารตัง้ ต ้น คือ กรดอะมิโน 20 ชนิด

 ่ งั เคราะห์ ถูกกำหนดโดย mRNA


ชนิดของโปรตีนทีส

 การสงั เคราะห์โปรตีนเริม
่ จากจุดเริม
่ ต ้นทางด ้าน NH2-terminal
ไปสนิ้ สุดที่ COOH-terminal

 ในมนุษย์สามารถพบการสงั เคราะห์โปรตีนได ้ทัง้ ใน cytosol,


RER และ mitochondria

ปั จจัยทีใ่ ชในการส งั เคราะห์โปรตีน
3

 L-amino acid

 t-RNA

 Genetic code

 Aminoacyl-tRNA synthetase

 ribosome
Amino acid
4
Transfer RNA (tRNA)
5

 มีประมาณ 50 ชนิด โดยกรดอะมิโนบางชนิดมี tRNA ทีเ่ ป็ นคู่


มากกว่า 1 ชนิด

 Clover leaf หรือ L-shape

 tRNA จะมีเบส 3 ตัวที่ complementary กับ codon บน mRNA


เรียกเบส 3 ตัวนีว้ า่ anticodon

 Wobble position
Transfer RNA (tRNA)
6
Wobble position
7

 Wobble position (base) คือ เบสทีอ ่ ยูตำ


่ แหน่ง 3’ ของ codon
และเบสตำแหน่ง 5’ ของ anticodon ซงึ่ โดยทั่วไป การจับคูก ่ น

ของเบสคูน
่ อ
ี้ าจไม่เป็ นไปตามกฎทั่วไปของการจับคู่

 การมี wobble base ทำให ้ tRNA 1 ชนิด จับกับ codon ของ


mRNA ได ้มากกว่า 1 codon

5’ base of anticodon 3’ base of codon


C G
A U
U A or G
G C or U
I U or C or A
Genetic code
8

Second position
U C A G
UUU UAU Tyr UGU Cys U
U UUC Phe UCU
UCC Ser UAC UGC C
UUA Leu UCA UAA STOP UGA STOP A
UUG UCG UAG UGG Trp G
CCU CAU His CGU U
First position

CUU

Third position
C CUC Leu CCC Pro CAC CGC C
CUA CCA CAA Gln CGA Arg A
CUG CCG CAG CGG G
ACU AAU Asn AGU U
lle ACC Thr AAC AGC Ser C
A AAA Lys AGA
AUG Met ACA
ACG AAG AGG Arg
A
G
GCU GAU Asp GGU U
G GUC Val GCC Ala GAC Gly C
GCA GAA Glu GGA A
GCG GAG G
Genetic code
9

 รหัสพันธุกรรม

 แต่ละรหัสประกอบด ้วย nucleotide 3 ตัว เรียงต่อกัน เรียกว่า triplet


code หรือ codon

 สงิ่ มีชวี ต
ิ ทุกชนิด ทัง้ prokaryote และ eukaryote ใช ้ genetic
code เดียวกัน (ยกเว ้นใน mitochondria ของมนุษย์มรี หัสบางรหัส
ต่างออกไป) จึงอาจเรียกว่า universal genetic code

 Genetic code บน mRNA จะมีแต่ละ codon เรียงต่อกันไป โดยไม่ม ี



การเว ้นวรรค (commaless) และไม่ซอนกั
น (non-overlapping)
Genetic code
10

 รหัสพันธุกรรมมีทงั ้ หมด 64 รหัส (43 = 64) โดย 61 รหัสจะเป็ นรหัส


สำหรับกรดอะมิโน 20 ชนิด ทีเ่ หลือ 3 รหัส เป็ นรหัสสำหรับหยุดการ
สงั เคราะห์โปรตีน
 กรดอะมิโนสว่ นใหญ่จะมีรหัสพันธุกรรมมากกว่า 1 รหัส เรียก degenerate
 มีกรดอะมิโน 2 ชนิด (methionine และ tryptophan) ทีม ่ รี หัสพันธุกรรม
รหัสเดียว

 AUG เป็ นรหัสพันธุกรรมสำหรับ methionine และเป็ นรหัสเริม


่ ต ้นการ
สงั เคราะห์โปรตีน เรียกว่า initiation codon

 ่ ยุดการสงั เคราะห์โปรตีน เรียกว่า


UAA, UAG และ UGA เป็ นรหัสทีห
nonsense (stop) codon
Gene mutation & protein synthesis
11

 Regulatory element mutation : ทำให ้การเกิด transcription


เปลีย
่ นแปลง (เพิม ้ /ลดลง) สง่ ผลให ้ปริมาณของโปรตีนเปลีย
่ ขึน ่ นไป

 Structural gene mutation : ทำให ้เกิดการเปลีย


่ นแปลงต่าง ๆ ดังนี้
 Missense mutation
 Nonsense mutation
 Chain termination (sense) mutation
 Splicing mutation
 Silent mutation
 Frameshift mutation
Structural gene mutation
12

 Missense mutation : โปรตีนมีกรดอะมิโนเปลีย


่ นไป
CAU (His) CAG (Gln)

 ั ้ ลง (truncated polypeptide
Nonsense mutation : โปรตีนสน
chain)
CGA (Arg) UGA (stop)

 Sense mutation : โปรตีนยาวขึน



UAA (stop) UAC (Tyr)
Structural gene mutation
13

 Silent mutation
AAA (Lys) AAG (Lys)

 Frameshift mutation
Pro Gln Trp Ser Arg His

Normal 5' CCA CAG UGG AGU C GA C A U U 3′

Mutant 5' CCA CAG UGG A AG U CG A CAU 3′


(base insertion )

Pro Gln Trp Lys Ser Thr


Aminoacyl-tRNA synthetase
14

 ทำหน ้าทีจ่ ับคูก


่ รดอะมิโนกับ tRNA ทีเ่ ป็ นคูก
่ น
ั (cognate tRNA)
เรียกขัน
้ ตอนนีว้ า่ activation of amino acid

amino acid + ATP + tRNA aminoacyl-tRNA + AMP + PPi

PPi 2Pi

ขบวนการนีอ ั Mg2+ เป็ น cofactor และต ้องการ ATP (2 ATP)


้ าศย

 เอนไซม์นม
ี้ ี 20 ชนิด แต่ละชนิดจำเพาะกับกรดอะมิโนแต่ละตัว
Aminoacyl-tRNA synthetase
15

 การจับกันของกรดอะมิโนกับ tRNA เกิดจาก α-COOH group ของ


กรดอะมิโนกับ 3’-OH group ของ tRNA จับกัน เกิดเป็ น high
energy ester bond ซงึ่ พลังงานของพันธะนีจ ้
้ ะใชในการส งั เคราะห์
peptide bond ต่อไป

 เอนไซม์นย ี้ ังสามารถ proofreading ตรวจสอบ aa-tRNA ทีเ่ กิดขึน



โดยถ ้า aa-tRNA มีโครงสร ้างทีผ
่ ด
ิ เอนไซม์จะสลาย aa-tRNA
กลับเป็ นกรดอะมิโนและ tRNA
Ribosome
16

 ตำแหน่งทีเ่ กิดการสงั เคราะห์โปรตีน

 ประกอบด ้วย 2 subunits (small & large subunit)

 large subunit ประกอบด ้วย


 P site : เป็ นบริเวณทีเ่ กิดสาย polypeptide
 A site : เป็ นบริเวณที่ aa-tRNA มาเกาะ

 Prokaryotic ribosome : 70S (50S & 30S)

 Eukaryotic ribosome : 80S (60S & 40S)


Process of translation
17

 Initiation

 Elongation

 Termination
Initiation
18

 การ identify จุดเริม


่ ต ้นของ coding sequence บน mRNA
(ซงึ่ ก็คอ
ื codon AUG ตัวแรกจากด ้าน 5’)

 ้ น
ปั จจัยทีใ่ ชในขั ้ ตอน initiation
 mRNA
 Met-tRNA (ใน prokaryote ใช ้ formyl methionyl-tRNA)
 ribosome
 initiation factors (IF)
 GTP
 ATP
Process of initiation (eukaryotes)
19

 eIF2a จับกับ GTP และ Met-tRNAi ได ้เป็ น ternary complex

 Ribosome แยกเป็ น 2 subunit โดย 40S subunit รวมกับ


eIF3, ternary complex และ eIF4c ได ้เป็ น eIF2a.Met-
tRNAi.GTP, eIF3.40S, eIF4c complex

 complex นีจ ้ ะจับ mRNA ทางด ้าน 5’ ได ้เป็ น preinitiation


complex ซงึ่ ต ้องอาศย
ั ATP และ IF ในการอ่านรหัสจากด ้าน
5’ ไปด ้าน 3’ จนถึง codon AUG ชุดแรก
Process of initiation (eukaryotes)
20

 anticodon ของ tRNA เกิด base pairing กับ AUG ของ


mRNA ทำให ้ GTP ถูกเปลีย
่ นเป็ น GDP

 IF ต่าง ๆ และ GDP ถูกปล่อยออกมา และ 60S subunit ของ


ribosome เข ้ามารวม เกิดเป็ น initiation complex
21
Process of initiation (prokaryotes)
22

 มีลำดับของพิวรีนนิวคลีโอไทด์ทเี่ รียกว่า Shine-Dalgarno


sequence อยูป่ ระมาณ 10 นิวคลีโอไทด์ ทางด ้าน upstream
ของ AUG

 IF ต่าง ๆ น ้อยกว่า ใน eukaryote

AUG
5' 3' mRNA

Prok. Shine-Dalgarno sequence ( 10 nt. upstream ของ AUG )


initiation complex อยูท
่ ี่ P site ของ ribosome
Elongation
23

 เกิดขึน
้ หลังการเกิด initiation complex

 ribosome จะต่อสาย peptide ให ้ยาวขึน


้ โดยการอ่าน codon
บน mRNA ไปเรือ่ ย ๆ จนถึง termination codon

 ปั จจัยทีใ่ ช ้ คือ
 initiation complex
 aminoacyl-tRNA ทีร่ วมกับ eEF1α และ GTP เป็ น complex
 elongation factors (EF)
 GTP
Process of elongation
24

 eEF-1α ทีจ
่ ับกับ GTP จะพา aa-tRNA ไปรวมกับ initiation
complex ที่ A site

 เกิด base pairing ระหว่าง base ของ codon บน mRNA กับ


anticodon บน aa-tRNA ทำให ้ eEF-1α กับ GTP เปลีย
่ นเป็ น
GDP. eEF-1α ต่อมา GDP หลุดออกจาก ribosome ปล่อย aa-
tRNA ไว ้ที่ A site ของ ribosome

 peptidyl transferase ใน ribosome สลาย ester bond ระหว่า


งกรดอะมิโนกับ tRNA ที่ P site แล ้วนำ α-COOH group มาต่อ
กับ α-NH2 group ของกรดอะมิโนอีกตัวที่ A site
Process of elongation
25

 เกิด translocation ย ้าย peptidyl-tRNA จาก A site มาที่ P


site โดยอาศย ั eEF-2 (translocase) และ GTP

 deacylated tRNA จะเคลือ


่ นทีจ
่ าก P site ไป E site

 เมือ
่ A site ว่าง aa-tRNA ตัวใหม่จะเข ้ามาจับ และเกิด
ขบวนการต่าง ๆ ดังทีก ่ ล่าวมาใหม่
Process of elongation
26
Termination
27

 ่ ribosome สงั เคราะห์ peptide จนมาถึง termination


เกิดเมือ
codon (UAA, UAG หรือ UGA)

 eRF และ GTP จะจับที่ A site


 ปล่อย deacylated tRNA จาก E site
 ่ งั เคราะห์ได ้ออกจาก ribosome
ปล่อย peptide ทีส
Process of termination
28
Energy requirement for protein
29
synthesis
 Aminoacylation of tRNA
ATP AMP + Ppi

 Binding of Met-tRNAi to P site

 Aminoacyl-tRNA binding to A site

 Translocation

 Termination
Polyribosome (polysome)
30

 mRNA สายเดีย
่ วแต่ม ี ribosome เกาะอยูห
่ ลายกลุม

 เกิดจากเมือ
่ ribosome เริม ่ สงั เคราะห์โปรตีนไปแล ้ว ribosome
่ สงั เคราะห์โปรตีนอีกโมเลกุลได ้โดยไม่ต ้องรอให ้
ตัวใหม่จะเริม
ribosome ตัวแรกสงั เคราะห์โปรตีนจนจบสายก่อน

 การมี polyribosome ทำให ้เซลล์สงั เคราะห์โปรตีนได ้เร็วขึน



Polyribosome
31
Inhibitors of protein synthesis
32

 affect on prokaryotes : streptomycin, tetracycline,


chloramphenicol & erythromycin

 affect on eukayotes : cycloheximide & diphtheria toxin

 affect both prokaryotes & eukaryotes : puromycin


Inhibitors of protein synthesis
33

Inhibitors Mechanism of action


streptomycin binds to 30 s ribosomal subunit,
preventing formation of the initiation complex
tetracycline binds to 30 s ribosomal subunit,
inhibits binding of aa-t RNA to A site
chloramphenicol inhibits peptidyl transferase activity of 50s
ribosomal subunit
erythromycin binds to 50 s ribosomal subunit,
prevents translocation
cycloheximide inhibits peptidyl transferase in eukaryotes
diphtheria toxin inhibit translocation of peptidyl-tRNA from A to
P site
puromycin prematurely terminates synthesis
Protein folding
34

 การสงั เคราะห์โปรตีน ทำให ้เกิด 1°


structure ของโปรตีน
 สำหรับการเกิด 2° และ 3° structure
โปรตีนบางชนิดสามารถเกิดได ้เอง
(self-assembly) แต่โปรตีนบางชนิด
ั โปรตีนชนิดอืน
ต ้องอาศย ่ เป็ นตัวชว่ ย
เชน ่

 molecular chaperone (heat


shock protein) ป้ องกันการเกิด
โครงสร ้างทีไ่ ม่ต ้องการ และทำให ้
โปรตีนเสถียร
 prolyl isomerase เปลีย ่ น cis-trans
isomer ของ proline ในโปรตีน
Protein folding
35

 mutation บางชนิด ทำให ้การเกิด protein folding ผิดปกติไป


และทำให ้โปรตีนดังกล่าวไม่สามารถถูกสง่ ออกจาก ER ได ้

 ่ mutation ของ α1-antiprotease (ทำหน ้าทีเ่ ป็ น


ตัวอย่างเชน
elastase inhibitor)
abnormal folding of α1-antiprotease

retention of α1-antiprotease within hepatocyte

elastase activity ในปอดสูงขึน


lung destruction
Protein translocation (protein targeting)
36

 การเคลือ
่ นย ้ายโปรตีนจากบริเวณทีส่ งั เคราะห์ไปยังบริเวณที่
โปรตีนทำงาน แบ่งได ้เป็ น 2 กลุม

1. Post-translational translocation

2. Cotranslational translocation
Post-translational translocation
37

 การเคลือ ่ นย ้ายโปรตีนทีเ่ กิดหลังจากการสงั เคราะห์โปรตีน


ิ้
เสร็จสน

 เกิดที่ free ribosome

 พบในการสงั เคราะห์โปรตีนเพือ ้ nucleus, cytosol,


่ ใชใน
mitochondria และ peroxisome
Cotranslational translocation
38

 การเคลือ ่ ารสงั เคราะห์โปรตีนยังไม่สน


่ นย ้ายโปรตีนทีเ่ กิดขณะทีก ิ้ สุด

 พบในการสงั เคราะห์โปรตีนทีเ่ ป็ นสว่ นประกอบของ membrane และ


่ โปรตีนใน ER, Golgi body, lysosome
secretory protein เชน

 โปรตีนในกลุม
่ นีจ
้ ะมี signal sequence ทีด
่ ้าน N-terminus

 ขัน
้ ตอนการเกิด cotranslational translocation
 Signal sequence จะจับกับ signal recognition particle (SRP)
 SRP จะพาโปรตีนและ ribosome ไปจับกับ SRP receptor (docking protein)
ที่ ER และโปรตีนจะถูกสง่ เข ้าไปใน lumen ของ ER
 เมือ่ สงั เคราะห์โปรตีนเสร็จ singal sequence จะถูกตัดออก
 โปรตีนใน lumen ถูกสง่ ไป Golgi body และเกิด exocytosis
Cotranslational translocation
39
Secretion
40

 เป็ นขบวนการสง่ โปรตีนทีส ่ งั เคราะห์ออก



ไปใชนอกเซลล์ แบ่งได ้เป็ น 2 ประเภท

 Constitutive secretion
 ่ การสง่ plasma protein ออก
ตัวอย่างเชน
นอกเซลล์

 Regulated excretion
 โปรตีนทีส่ งั เคราะห์จะถูกเก็บไว ้ใน
secretory vesicle
 เมือ
่ เซลล์ถก ู กระตุ ้น โปรตีนจะถูกปล่อย
ออกมาโดยวิธ ี exocytosis
Intracellular protein
41
degradation
 โดยทั่วไปโปรตีนแต่ละ
ชนิดจะมี half-life ต่างกัน
เชน่ ในเซลล์ตบั เอนไซม์
ทีค
่ วบคุม metabolism
จะสลายเร็วกว่าโปรตีนอืน ่

 โปรตีนทีม ่ ี PEST
sequence (proline-
glutamate-serine-
threonine) มากจะมี
half-life สน ั้
Intracellular protein
42
degradation
การสลายโปรตีนในเซลล์

 ATP dependent proteolysis เกิดขึน ั


้ ใน proteasomes โดยอาศย
โปรตีน ubiquitin

 Lysosome degradation
 Other proteolytic systems
- Apoptosis หรือทีเ่ รียกว่า programmed cell death
อาศยั เอนไซม์ caspases
- Calcium-dependent thiol proteases ทีเ่ รียกว่า
calpains
Ubiquitin-ATP dependent pathway
43

 ทำหน ้าทีส
่ ลายโปรตีนทีผ
่ ด
ิ ปกติ หรือหมดอายุการใชงาน ้ เชน่
regulatory protein และ protein ทีเ่ กีย
่ วข ้องกับการแบ่งตัว
ของเซลล์

 ubiquitin จะจับกับ NH3+ group ของ lysine ของโปรตีน


ต ้องการสลาย โดยอาศย ั E1, E2 และ E3

 จากนัน
้ protease complex จะสลายโปรตีนและปล่อย
้ ้ใหม่
ubiquitin ออกไปใชได
44

Ubiquitin-ATP
dependent
protein
degradation
Lysosome degradation
45

เป็ นการสลายโปรตีนโดย protease ของ lysosome ทีเ่ รียกว่า


cathepsins ซงึ่ แบ่งออกตามหน ้าทีไ่ ด ้ดังนี้

 Exocytosis เป็ นการสง่ เอนไซม์ออกไปสลายโปรตีนนอกเซลล์

 Autophagic เป็ นการสลาย organelle ภายในเซลล์

 Phagocytosis เป็ นการสลายโปรตีนทีเ่ ข ้ามาในเซลล์

 Autolysis of cell เป็ นการสลายตัวเองของเซลล์


Lysosome degradation
46
Posttranslational processing
47

 โปรตีนบางชนิดหลังจากสงั เคราะห์เสร็จแล ้ว จะมีการ


เปลีย
่ นแปลงภายในโมเลกุลของมันก่อน จึงจะทำงานได ้ตามปกติ

 ขบวนการเปลีย
่ นแปลงนี้ ได ้แก่
 proteolytic cleavage : การเปลีย
่ น zymogen หรือ prohormone ให ้
เป็ น active form
 covalent modification : γ-carboxylation, hydroxylation, N-
methylation, phosphorylation, acylation และ prenylation
Proteolytic cleavage
48

 การเปลีย
่ น zymogen เป็ น enzyme ทีอ
่ อกฤทธิไ์ ด ้
trypsinogen trypsin

factor XII factor XIIa

 การเปลีย
่ น prohormone เป็ น hormone
proinsulin insulin

pro-opiomelanocortin ACTH + MSH +


(POMC) β-endorphin
γ-carboxylation
49

 เกิดที่ glutamate บางตัวของโปรตีนทีเ่ กีย


่ วข ้องกับการแข็งตัวของเลือด

 ปฏิกริ ย
ิ านีต ั vitamin K
้ ้องอาศย
Hydroxylation
50

 การเติม –OH ที่ side chain ของกรดอะมิโนบางตัว

 ่ hydroxylation ของ proline และ lysine ใน


ตัวอย่างเชน
collagen โดยเอนไซม์ proline hydroxylase และ lysyl
hydroxylase ได ้เป็ น hydroxyproline และ hydroxylysine
ตามลำดับ

 ขบวนการนีจำ
้ เป็ นต่อการเกิด H-bond ระหว่างสาย collagen

 ปฏิกริ ย
ิ านีต ั vitamin C
้ ้องอาศย
Phosphorylation
51

 ้
การเติมหมู่ phosphate จาก ATP โดยใชเอนไซม์ protein
kinase
ATP + protein phosphoprotein + ADP

 ขบวนการนีเ้ ป็ นวิธท ้
ี เี่ ซลล์ใชควบคุ
ม activity ของเอนไซม์และ
โปรตีน

 กรดอะมิโนทีถ
่ ก
ู เติมหมู่ phosphate ได ้ คือ serine, threonine
และ tyrosine
Glycosylation
52

 เป็ นการเติมน้ำตาลที่ side chain ของกรดอะมิโน โดยเอนไซม์


glucosyltransferase
 เกิดขึน
้ ใน ER และ Golgi body
 แบ่งเป็ น 2 ชนิด
 N-linked glycosylation
 O-linked glycosylation
 การเติมน้ำตาลทำให ้โปรตีนจับกับ receptor ทีจำ
่ เพาะได ้ ( cell
recognition)
 ทำให ้โปรตีนมี solubility สูงขึน

 ป้ องกันไม่ให ้โปรตีนถูกสลายได ้ง่าย
Glycosylation
53

้ lysosome จะมี
เอนไซม์ทใี่ ชใน
mannose-6-phosphate จับทีส่ ว่ นปลาย

ทำให ้เอนไซม์จับกับ receptor และเข ้า lysosome ได ้

ถ ้าไม่ม ี mannose-6-phosphate

เอนไซม์จะถูกสง่ ออกนอกเซลล์ lysosome จึงไม่มเี อนไซม์

เกิดการคัง่ ของสารใน lysosome (inclusion body) เรียก I-cell disease


(mucolipidosis II) ซงึ่ เป็ น lysosomal storage disease ชนิดหนึง่
N-linked glycosylation
54

 เป็ นการเติม dolichol phosphate บน amide group ของ asparagine

 เกิดที่ membrane ของ ER

 มีผลต่อการเกิด protein folding

 ถูกยับยัง้ ด ้วย bacitracin และ tunicamycin


N-linked glycosylation
55

High mannose complex hybrid


O-linked glycosylation
56

 เป็ นการเติมน้ำตาลเข ้ากับ –OH group ของ serine หรือ threonine

 เป็ น post-translational process โดยเกิดขึน


้ หลังจากทีโ่ ปรตีนไปถึง
Golgi body

 ่ ABO blood group antigen


ตัวอย่างเชน

H antigen A antigen B antigen


Prenylation
57

 เป็ นการเติม lipid


ให ้แก่โปรตีน ทำให ้
โปรตีนสามารถจับ
กับ membrane ได ้
โดยการเติม
farnesyl group
(C-15) หรือ
geranylgeranyl
group (C-20) บน
cysteine ทางด ้าน
C-terminal ของ
Ras protein
58 Collagen synthesis
Collagen
59

 โปรตีนทีม
่ ป
ี ริมาณมากทีส
่ ด ั ว์เลีย
ุ ในสต ้ งลูกด ้วยนม

 โครงสร ้างหลักของเนือ
้ เยือ
่ เกีย ่ ผิวหนัง,
่ วพันหลายชนิด เชน
กระดูก

 ชนิดของ collagen
 Type I : 90% ของ collagen ในร่างกาย
 Type II : พบมากในกระดูกอ่อน
 Type III : พบมากในหลอดเลือด
 Type IV : สว่ นประกอบสำคัญของ basement membrane
Collagen synthesis
60

 ยีน collagen ในมนุษย์ มีมากกว่า 30 ยีน

 ื่ ยีน
การเรียกชอ
 COL1A2 : ยีนที่ code 2-chain ทีเ่ ป็ นสว่ นประกอบของ type I collagen
 COL2A1 : ยีนที่ code 1-chain ทีเ่ ป็ นสว่ นประกอบของ type II collagen

 ื่ สาย collagen
การเรียกชอ
 1(I) : 1-chain ทีเ่ ป็ นสว่ นประกอบของ type I collagen
 1(III) : 1-chain ทีเ่ ป็ นสว่ นประกอบของ type III collagen
Collagen synthesis
61

 Collagen fibril ประกอบด ้วย monomer คือ tropocollagen


หลายโมเลกุลทีเ่ ชอื่ มกันโดยการเกิด cross-link

 Tropocollagen แต่ละโมเลกุลประกอบด ้วย -chain 3 สาย


พันกันเป็ น triple helix

 ชนิดของ -chain ใน collagen type ต่างๆ


 Type I : 1(I)-chain 2 สาย และ 2(I)-chain 1 สาย
 Type II : 1(II)-chain 3 สาย (homotrimer)
 Type III : 1(III)-chain 3 สาย (homotrimer)
Biosynthesis of collagen
62

 Nuclear event
 Transcription : ได ้ primary transcript (hnRNA)
 RNA processing : ได ้แก่การเกิด 5’ capping, 3’ polyadenylation
และ splicing ได ้เป็ น mRNA

 Translation
 เกิดบน membrand-bound ribosome ได ้ prepro -chain ทีม ่ ี
signal sequence อยูท่ างด ้าน N-terminus เพือ ้
่ ใชในการเกิ

cotranslational translocation
Biosynthesis of collagen
63

 Posttranslational modification
 Signal sequence จะถูกตัดออกจาก prepro -chain กลายเป็ น pro
-chain

 Hydroxylation of prolyl and lysyl residues : เกิดเป็ น hydroxy


-proline (สำคัญต่อ thermal stability) และ hydroxylysine (สำคัญต่อ
้ ตอนนีใ้ ช ้ vitamin C (ascorbate) เป็ น
tissue tensile strength) ขัน
coenzyme

 O-linked glycosylation : เป็ นการเติม galactose หรือ glucose ใน


hydroxy lysine

 N-linked glycosylation : เป็ นการเติม mannose-rich CHO ที่


C-terminal ของ pro -chain
Collagen synthesis
64

hydroxylation

glycosylation
Collagen synthesis
65
Biosynthesis of collagen
66

 Posttranslational modification
 Procollagen triple helix formation : เกิดการรวมกันของ pro -chain
และพันกันเป็ นเกลียว ทิศทางการเกิดเริม
่ จาก C-terminus ไป N-
terminus เรียก triple helix molecule ทีไ่ ด ้นีว้ า่ procollagen
Amino-terminal Carboxyl-terminal
propeptide propeptide
Telopeptide
Biosynthesis of collagen
67

Procollagen = triple helical domain + nonhelical part

Nonhelical part = amino-terminal propeptide + telopeptide


+ carboxyl-terminal propeptide
Biosynthesis of collagen
68

 Posttranslational modification
 Modification beyond RER : procollagen ถูกสง่ ไปยัง Golgi body และ
สง่ ออกจากเซลล์ในรูปของ secretory vesicle

 Extracellular events
 amino-terminal propeptide และ carboxyl terminal propeptide
จะถูกตัดออกโดย procollagen N-protease และ procollagen C-
protease ตามลำดับ เรียกโมเลกุลทีไ่ ด ้ว่า tropocollagen ซงึ่ มีความ
สามารถในการละลายลดลง 100 เท่า
Biosynthesis of collagen
69

 Extracellular events
 Tropocollagen จะจัดเรียงตัวขนานกันและเหลือ
่ มกัน 1 ใน 4 ของ
ความยาวของโมเลกุล

 ื่ มระหว่าง tropocollagen โดยเอนไซม์ lysyl


เกิด cross-link เชอ
oxidase
Mutation of collagen genes
70

 Dominant negative effect : การทีม ่ ี tropocollagen ทีเ่ กิดจาก


mutant collagen gene เข ้ามารวมในโมเลกุล collagen fibril ทำให ้
collagen fibril นัน
้ เกิดความผิดปกติไปด ้วย

 Procollagen suicide : abnormal pro -chain (จาก mutant allele)


รวมกับ normal pro -chain เกิดเป็ น product ทีถ
่ ก
ู สลายไปทัง้ หมด
ก่อนสง่ ออกนอกเซลล์
Diseases due to abnormal collagen
71

 Osteogenesis imperfecta (brittle bone disease)


 Bone fragility
 Mutation ของ type I collagen สว่ นใหญ่มค ี วามผิดปกติของ gene
COL1A1 หรือ COL1A2
 Type I : mutation ทีข ่ ด
ั ขวางการ splicing และการสร ้าง
proprocollagen mRNA ทำให ้ร่างกายสงั เคราะห์ collagen ปกติลด
ลง
 Type II, III และ IV : point mutation ของ glycine codon ซงึ่ จะ
ยับยัง้ การเกิด normal helix
Diseases due to abnormal collagen
72

Osteogenesis imperfecta
Diseases due to abnormal
73
collagen
 Ehler-Danlos syndrome
 Skin fragility, skin hyperextensibility และ joint hypermobility
 Type VI : ความผิดปกติของการเกิด hydroxylation ของ lysine
 Type VII : ความปกติในการตัด amino-terminal propeptide ออก
 Type IX : ความผิดปกติในการเกิด cross-linked
Diseases due to abnormal collagen
74

 Lathyrism
 Skin fragility, skeletal deformities และ severe blood vessel
weakness
 สารพิษจากเมล็ดของ sweet pea มีฤทธิย ์ ับยัง้ เอนไซม์ (lysyl
oxidase) ทีค ่ วบคุมการเกิด cross-linked แบบ irreversible

 Scurvy
 Vitamin C deficiency
 Hydroxylation เกิดได ้ไม่ด ี จึงมีปริมาณ hydroxylysine และ
hydroxyproline ใน pro -chain ลดลง ทำให ้ collagen stability
และ tensile strength น ้อยลง
75 ANY QUESTIONS?
THE END

You might also like