You are on page 1of 74

Gene Expressions

and
Gene Regulations

อ.เนรัฐชลา สุ วรรณคนธ์
SC2301
การแสดงออกของยีน
การแสดงออกของยีน (gene expression) คือการ
แสดงออกของจีโนไทป์ ให้ ปรากฏออกมาเป็ นฟี โน
ไทป์

ประกอบด้วย 2 กระบวนการ
Transcription : DNA=>RNA
Translation : RNA=> Protein
Gene expression (การแสดงออกของยีน)

one gene - one Enzyme concept.

one gene - one Polypeptide concept.


Gene expression
โครงสร้ างของยีน
- Structural gene ; เป็ นบริ เวณ DNA ที่ก ำหนดลำดับ amino acid (aa) ใน
โปรตีน เรี ยกว่า transcriptional region ประกอบด้วย
*5/ untranslated region, exon, intron (intervening sequenc) and
3/ untranslated region
- Regulatory element ; เป็ นบริ เวณที่ควบคุมการเกิด transcription ประกอบ
ด้วย
* ่อpromoter,
**เมื กำหนดให้ นิวคลีtranscription
โอไทด์ ตัวแรกของบริelements (enhancer,
เอ็นเอสายที่เป็ นsilencer)
เวณเริ่มต้ นของดี coding strand เป็ น +1 และนิวคลีโอไทด์
ตัวที่สองเป็ น +2 เพราะฉะนั้นนิวคลีโอไทด์ ที่อยู่ข้างหน้ าบริเวณเริ่มต้ นจะเป็ น –1

+1 +34
-10 ATG

Up stream Strat Down stream


Gene

Promoter Transcription region Terminator


Transcription
5UTR
AUG UAA
mRNA
ATG
RNA start site Transcription termination site
Ribosome binding site

Regulatory element Structural gene


Transcription
+ การสังเคราะห์ RNA เป็ นขั้นตอนแรกในการในขบวนการแสดงออกของยีน (gene
expresstion) โดยเป็ นการถอดข้อความทางพันธุกรรมจาก DNA เป็ น RNA
+ การแสดงออกของยีนที่ควบคุมการสร้างโปรตีนชนิดต่างๆ ชึ่งอยูบ่ น chrom. ต้องผ่าน
กระบวนการ transcription และ translation
Transcription
+ การเกิด transcription ต้ องมี DNA เป็ นแม่ แบบ 1 สาย เรียกว่ า
DNA template หรือ antisense strand ส่ วน DNA อีกสายหนึ่งทีไ่ ม่
ได้ เป็ นแม่ แบบแต่ DNA สายนีม้ ลี ำดับเบส (sequence) เหมือนกับสาย
RNA เพียงแต่ ในสาย RNA มีเบส U แทนเบส T และลำดับเบสบน
สาย RNA ทีไ่ ด้ จะเป็ นเบสคู่สม (complementary base) กับสาย DNA
template เรียกว่ า sense strand
+ ขั้นตอนในการเกิด transcription ในพวก prok. และ euk. มีความ
คล้ายคลึงกันแต่ ใน euk. มีการควบคุมการเกิด transcription และการ
เกิด RNA processing ทีซ่ ับซ้ อนมากกว่ า
ปัจจัยสำคัญสำหรับการเกิด transciption
+ RNA polymerase : เป็ น enzyme ที่ช่วยเร่ งการสร้าง
phosphodiester bond ระหว่างปลาย 3/ OH ของ nucleotide ตัวแรก
กับปลาย 5/ PO4 ของ nucleotide ตัวถัดมา เพื่อเชื่อมต่อเป็ น RNA ที่
มีสายยาวขึ้น
- RNA pol. ต้องการ ribonucleotide (ATP, GTP, CTP, UTP)
และสัญญาณที่จ ำเพาะบนสาย DNA template (specific initiation
point) ในการเริ่ มต้นการเกิด transcription เรี ยกบริ เวณนี้ วา่
promoter site ซึ่ งเป็ นบริ เวณที่ RNA pol. เข้ามาจับก่อนเริ่ มการ
ถอดรหัส (transcription)
RNA polymerase:
Holoenzyme
* RNA pol. ในพวก prok. ประกอบด้วย หน่วยย่อย คือ 2, ,,/
และ  โดย RNA pol. สามารถสังเคราะห์ RNA ได้ท้ งั 3 ชนิด คือ messenger
RNA (mRNA), transfer RNA (tRNA) และ ribosomal RNA (rRNA)
* RNA pol. ในพวก euk. มี RNA pol. 3 ชนิด คือ RNA pol. I -> rRNA ,
RNA pol. II -> mRNA, RNA pol. III -> tRNA, small nuclear RNA (snRNA)
+ Promoter site : เป็ นบริ เวณที่ให้ RNA pol. เข้ามาจับ โดยมีล ำดับ
เบสก่อนถึงจุดเริ่ มต้น transcription (อยูท่ างด้านปลาย 5/)
- บริ เวณนี้มีการอนุรักษ์ไว้สูงมาก (conserved หรื อ consensus
sequence) ในสมช. แต่ละชนิดมีความคล้ายคลึงกัน
* Prok. มีต ำแหน่งของ promoter siteที่ต ำแหน่ง -10
เรี ยกว่า pribnow box โดยมีล ำดับเบสใน sense strand คือ TATAAT
และที่ต ำแหน่ง -35 มีล ำดับเบส คือ TTGACA
* Euk. มี TATA box หรื อ Hogness-Goldberg box มีล ำดับเบสคือ
TATAAA อยูต่ รงตำแหน่งที่ -25 และที่ต ำแหน่งที่ -40 ถึง -110 มี
CAAT box และ GC box
+ Transcription factor : เป็ นโปรตีนที่มีความจำเป็ นสำหรับ
RNA pol. ของ euk. โดยถ้าขาด transcription factor ทำให้ RNA
pol. ไม่สามรถจับกับบริ เวณ promoter site และไม่สามารถเริ่ มต้น
การเกิด transcription ได้
Prokaryote promoter

Eukaryote promoter
ขั้นตอนการเกิด transcription
* ในการเกิด transcription จะเริ่ มจากปลาย 5/ ไปสิ้ นสุ ดทางด้าน
ปลาย 3/ โดย
1. Initiation of transcription ; เริ่ มการสังเคราะห์ สาย RNA โดย
เอ็นไซม์ RNA pol. ที่รวมกันเป็ น holoenzyme (2 ; เป็ น
เอนไซม์ที่สมบรู ณ์สามารถทำงานได้) เข้ามาจับยังบริ เวณ promoter
site โดยการนำของ หน่วยย่อย  (sigma protein) ทำให้ สาย DNA
บริ เวณนั้นโป่ งและแยกออกเป็ น single strand ชัว่ คราว holoeenzyme
เข้ามาจับและเริ่ มต้นในการสังเคราะห์ RNA เมื่อ holoenzyme
เคลื่อนที่มายังจุดเริ่ มต้นในการสังเคราะห์
2. Elongation of transcription ; เมื่อมีการสังเคราะห์ สาย RNA ได้ประมาณ
8-10 nucleotide แล้ว  protein ก็จะหลุดออกจาก holoenzyme (เหลือเฉพาะ
core enzyme : 2 ) ทำหน้าที่ในการช่วยเพิ่มความยาวของสาย RNA ต่อ
ไปเรื่ อยๆ จนสิ้ นสุ ดการสังเคราะห์
3. Termination of transcription ; เป็ นระยะที่หยุดการสร้างสาย RNA โดยมี
วิธีการหยุดสร้างได้ 2 แบบ
3.1 การหยุดแบบใช้ rho factot หรื อ  protein : โดย  protein จะเข้าไป
ดึงให้สาย RNA แยกตัวออกจาก RNA pol. และ DNA template
3.2 การหยุดแบบไม่ใช้  protein ; เป็ นการหยุดโดยพบสัญญาณหยุด
(terminal signal) ที่บริ เวณทางด้านปลาย 3/ ของสาย RNA ซึ่ งมีเบส G กับ C
มาก และมีเบส U เรี ยงกันประมาณ 8-10 ตัว ทำให้สาย RNA บริ เวณนั้นพันและ
จับคู่กนั เป็ นรู ปกิ๊บติดผม (hairpin loop)
ความแตกต่ างของ euk. และ prok. ในการเกิด transciption
• ใน prok. สามารถสังเคราะ RNA และโปรตีน ได้บริ เวณเดียวกัน ส่ วนใน
euk. การสังเคราะ RNA เกิดใน nucleus และการสังเคราะห์โปรตีนเกิดใน
cytoplasm
• RNA pol. ใน prok.สามารถ สังเคราะห์สาย RNA ได้ท้ งั 3 ชนิด แต่ใน euk.
ต้องใช้ RNA pol. คนละชนิดกัน และต้องอาศัย transcription factor ในการ
สังเคราะห์ดว้ ย
• สาย mRNA ใน prok. มีลกั ษณะเป็ น polycistronic คือสายหนึ่งของ
mRNA สามารถแปลเป็ นโปรตีนได้หลายชนิด ส่ วนใน euk. มีลกั ษณะเป็ น
monocistronic หนึ่งสายของ mRNA ถูกแปลเป็ นโปรตีนได้เพียงชนิดเดียว
การเปลีย่ นแปลง mRNA (mRNA processing)
* สาย RNA ที่จะเป็ นแม่แบบในการสังเคราะห์ โปรตีน คือ mRNA
หลังจากที่เกิด transcription แล้วสาย RNA ที่ได้จะยังไม่สมบรู ณ์
เรี ยกว่า heterogeneous nuclear RNA (hnRNA) ต้องมีการผ่าน
กระบวนการ RNA processing ก่อนจึงเป็ นสาย mRNA ที่สมบรู ณ์
1. Capping ; ที่ปลาย 5/ ของสาย RNA มีการเติม 7- methyl-
guanosine ที่ nucleotide ตัวแรกของสาย RNA ด้วยพันธะ 5/-5/
triphosphate bridge จากนั้นมีการเติม methyl group ในโมเลกุลของ
น้ำตาลที่ nucleotide ตัวถัดมา ซึ่งจะเกิดก่อนที่มีการสังเคราะสาย
RNA เสร็ จ
2. การเกิด poly adenylation ; มีการเติมเบส A ประมาณ 200
nucleotide ที่ปลาย 3/ ของสาย RNA และก่อนเติมจะมีการตัดใน
บริ เวณ nucleotide ที่ 12 ซึ่งอยูถ่ ดั จาก ลำดับเบส AAUAAA
3. การตัดส่ วนทีเ่ ป็ น intron ออก (RNA splicing) ; ในยีนของ euk. มี
ลำดับเบสที่มีมีการแปลออกมาเป็ น amino acid เรี ยกว่า intron
ก่อนที่สาย RNA จะเกิดการแปลรหัส (translation) ต้องมีการตัด
ส่ วน intron ออกและเชื่อมส่ วนที่เป็ น exon ในกระบวนการ
splicing ต้องอาศัยลำดับเบสที่จ ำเพาะในการตัด intron คือ ที่
ปลาย 5/ เป็ น GU และที่ปลาย 3/ เป็ น AG
Protein synthesis or translation
ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้ องกับการสั งเคราะห์ โปรตีน
ไรโบโซมเป็ นนิวคลิโอโปรตีน (nucleoproetein) ประกอบไปด้ วยส่ วนทีเ่ ป็ นโปรตีน
และส่ วนทีเ่ ป็ นอาร์ เอนเอ (rRNA) มีหน้ าทีใ่ นการสั งเคราะห์ โปรตีน
Ribosome locations
โครงสร้ างของไรโบโซม
Ribosome ประกอบด้ วย 2 subunit มี 3 sites
• A site หรือ Aminoacyl site สำหรับ aminoacyl-tRNA
• P site หรือ Peptidyl site สำหรับ tRNA ทีมี peptide
• E site หรือ Exit site สำหรับ free tRNA
ทีว่ ่ างเปล่ าพร้ อมทีจ่ ะออกจาก
ribosome
Genetic code (รหัสพันธุกรรม)
+ รหัสพันธุกรรม เป็ นลำดับของนิวคลีโอไทด์ที่พบบนสาย
mRNA ที่ก ำหนดลำดับและชนิดของกรดอะมิโน
+ เป็ นรหัสสากล (universal code) ในสมช.ทุกชนิดใช้รหัส
พันธุกรรมเดียวกันหมด ยกเว้น ใน mitochondria ของคน มีเบส
บางตัวแตกต่างไปจาก universal code
+ รหัสพันธุกรรมบางตัวเป็ น multiple codon หรื อ degenerate มี
amino acid บางตัวมีรหัสพันธุกรรมมากกว่า 1 codon
• Genetic code (รหัสพันธุกรรม)
+ เป็ นลำดับของ nucleotide บนสาย mRNA ที่ถ่ายทอดข้อความทาง
พันธุกรรมมาจาก DNA หรื อ gene ให้ออกมาเป็ นลำดับของ amino acid ใน
สายโปรตีน
• รหัสพันธุกรรมประกอบด้วยเบส 3 ตัว (triple) เรี ยกว่า codon หรื อ triplet
code ซึ่ งมีท้ งั หมด 64 codon (4x4x4)
* 61 codon จะเป็ นรหัสพันธุกรรมสำหรับแปลเป็ น amino acid 20 ชนิด
* 3 codon เป็ นรหัสสัง่ ให้หยุดการสังเคราะห์โปรตีน เรี ยกว่า stop codon
or nonsense codon ( รหัสหยุด ; UAA, UAG, UGA)
+รหัสที่เป็ นสัญญาณการเริ่ มต้น (start codon or initiation codon) คือ
AUG ซึ่ งเป็ น codon ของ amino acid ชนิด methyonine ใน euk. ส่ วน prok.
เป็ น N-formyl -methyonine
การอ่ านรหัสพันธุกรรม
1. รหัสพันธุกรรม (triplet หรือ codon) 1 รหัส ประกอบด้วยลำดับเบส 3 ตัว
เรี ยงติดต่อกันบนสายเอ็มอาร์เอ็นเอ
2. ไม่ มกี ารเว้ น (commaless) ไรโบโซม (ribosome) จะอ่านรหัสพันธุกรรม
อย่างต่อเนื่องครั้งละ 3 นิวคลีโอไทด์ โดยไม่มีการเว้น (commaless) หรื อข้าม
นิวคลีโอไทด์
3. รหัสพันธุกรรมไม่ มกี ารเหลือ่ มซ้ อนกัน (non overlapping) ในกระบวน
แปลรหัส พบว่ารหัสพันธุกรรมจะถูกอ่านเรี ยงต่อกันอย่างเป็ นลำดับๆ ละ 3 เบส
นับตั้งแต่จุดเริ่ มต้นโดยไม่มีการอ่านการเหลื่อมซ้อนกันของเบสที่อยูต่ ่างรหัส
พันธุกรรมกัน
การถอดและการแปล Codons

28
• สารตั้งต้ นในการสั งเคราะห์ โปรตีน
* amino acid มี 20 ชนิด
+ tRNA เป็ นตัวนำ amino acid มายัง ribosome เพื่อสังเคราะห์
polypeptide หรื อ protein
+ amino acid มาเกาะยังทางด้านปลาย 3/ ของ tRNA เป็ น
aminoacyl tRNA
• tRNA
+ เป็ น RNA ที่มีหน้าที่ในการนำ amino acid มายังสาย mRNA
+ โมเลกุลของ tRNA มี ลำดับเบสที่เข้าคู่กนั (complementary) กับ
codon 3 ตัวบนสาย mRNA เรี ยกว่า anticodon
Amino acid
(กรดอะมิโน)
Wobble base
การจับกันระหว่ าง Codon (mRNA) กับ Anticodon (tRNA)
• tRNAs decode คำสัง่ ใน mRNA โดยการจับคู่ของ base ระหว่าง
complementary bases ระหว่าง tRNA และ mRNA
• Francis Crick (1966) พบว่า
– จากปลาย 5 มีเบสใน nucleotide ตัวที่ 2 และ 3 ของ
anticodon จับอย่าง complement กับ codon
– จากปลาย 5 ที่ base ตัวที่ 1 ของ anticodon อาจจับ
non-complementary กับ base ตัวที่ 3 ของ codon
+ nucleotide ตำแหน่ งที่ 3 จากปลาย 5/ ของ codon บนสาย mRNA สามารถจับ
อย่ างไม่ complementary กับ nucleotide ตำแหน่ งที่ 1 จากปลาย 5/ ของ
anticodon บนสาย tRNA ได้ เรียกตำแหน่ งนีว้ ่ า wobble position มักพบเบสที่
นอกเหนือจาก A,T,C,G คือเบส inosine (I) ซึ่งสามารถจับกับเบส C,U,A ได้
การจับกันระหว่ าง Codon (mRNA) กับ Anticodon (tRNA)
+ การที่เบส I สามรถจับกับเบสได้หลายตัว ทำให้ tRNA 1 ชนิด
สามารถจับกับ codon ได้หลาย codon จากการศึกษาพบมี tRNA
เพียง 50 ชนิด
เบสตัวที่ 1 ของ anticodon จากปลาย 5 เป็ น wobble’s base
เบสตัวที่ 3 ของ codon จากปลาย 5 เป็ น wobble’s base
ทีต่ ำแหน่ ง wobble นี้ เบสมีการสร้ างพันธะไฮโดรเจนอย่ างอ่ อน การจับคู่ของ
เบสในตำแหน่ งนีไ้ ม่ เป็ นไปตามกฎการเข้ าคู่กนั ของเบส ทำให้ tRNA 1 ตัว ซึ่ง
นำ amino acid ชนิดเดียวสามารถ จับกับ หลาย codons ได้ เรียกปรากฏการนี้
ว่ า Wobble Effect
การเข้ าคู่กนั ของเบสทีต่ ำแหน่ ง wobble
การแปลรหัส (Translation)
แหล่งการสั งเคราะห์ โปรตีน
เกิดขึน้ ใน cytoplasm ของ cellโดยอาศัย ribosome

ในการสั งเคราะห์ โปรตีนจะเริ่มจาก 5/ 3/ ของ mRNA เสมอ


หรือสร้ างจากปลาย N-terminal ไปยัง C-terminal
mRNA แต่ ละโมเลกุลอาจเกาะกับ ribosome
หลายๆ ribosome = polyribosome
ทำให้ เกิดการสั งเคราะห์ polypeptide หลายสาย
พร้ อมกันได้
ขั้นตอนการเกิด translatiom
+ การสังเคราะโปรตีนเริ่ มจาก start codon หรื อ initiaton codon
คือ AUG โดยการเกิด translation เริ่ มจากทางด้านปลาย 5/ ไปหา
3/ เมื่อเจอรหัสหยุด ก็จะสิ้ นสุ ดการสังเคราะห์โปรตีน การ
สังเคราะห์โปรตีนเริ่ มจากปลาย amino (NH2 ; N-terminal) ไปยัง
ปลาย carboxyl (COOH ; C-terminal)
1. Initiation of translation : เป็ นการเริ่ มต้นการสร้างสายโปรตีน
ขั้นแรก small ribosomal subunit และ large ribosomal subunit จะยัง
ไม่รวมตัวกัน โดย small ribo. sub. จะรวมตัวกับ tRNAmet (euk.)
หรื อ tRNAfmet (prok.) ก่อนที่เข้ามาจับยัง AUG บนสาย mRNA
Initiation of translation
2. Elongation of translation : เป็ นการเพิ่มความยาวของสายโปรตีน มี 3ขั้น
ตอน คือ
2.1 การจับกันของ aminoacyl tRNA ที่บริ วณ A site ; เมื่อเสร็ จขั้นตอนแรก
มี tRNAmet จับอยูบ่ ริ เวณ P site โดยบริ เวณ A site ยังว่าอยู่ ทำให้ aminoacyl
tRNA ตัวใหม่ซ่ ึ งมีล ำดับเบสของ nucleotide เป็ นเบสคู่สมกับ codon ที่อยู่
บน A site เข้ามาจับยังบริ เวณ A site ได้ โดยที่โปรตีนช่วยเหลือในการ
เพิม่ ความยาวของสายโปรตีนจับกับ aminoacyl tRNA ก่อน เมื่อเข้ามาจับยัง
A-site แล้วโปรตีนช่วยเหลือก็จะหลุดไป
2.2 การสร้าง peptide bond ระหว่าง amino acid บริ เวณ P site และ A site
โดยอาศัยการทำงานของเอ็นไซม์ peptidyl transferase ช่วยในการเร่ งการ
สร้าง peptide bond ระหว่างหมู่ COOH ของ aa. ที่อยูบ่ ริ เวณ P site กับหมู่
NH2 ของ aa. ที่อยูบ่ ริ เวณ A site ทำให้ tRNA บริ เวณ P site ไม่มี aa. จับอยู่
2. Elongation of translation : เป็ นการเพิ่มความยาวของสายโปรตีน มี 3 ขั้น
ตอน คือ
2.3 การเคลื่อนที่ของ ribosome บนสาย mRNA ; ribosome เคลื่อนที่บนสาย
mRNA ได้ ต้องอาศัยโปรตีนช่วยเหลืออีกเช่นกัน (แต่ละขั้นตอนเป็ นคนละ
ชนิดกัน) เมื่อ ribosome เคลื่อนที่ไป ก็จะมีการเปลี่ยนแปลงของบริ เวณ P
site และ A site คือบริ เวณที่เป็ น P site เดิม เลื่อนออกไปจาก ribosome
ทำให้บริ เวณที่เป็ น A site เลื่อนมาเป็ น P site แทน และก็จะมีบริ เวณ A site
ที่วา่ ง aminoacyl tRNA นำ aa ตัวต่อไปที่มี anticodon ตรงกับ codon บริ เวณ
A site มายัง mRNA จากนั้น ก็จะเกิดตามขั้นตอนต่างๆ อีกครั้งไปเรื่ อยๆ
โดย ribosome เคลื่อนที่จากปลาย 5/ ไปยัง ปลาย 3/ ของ mRNA
3. Termination of translation : เมื่อ ribosome เคลื่อนที่ไปพบรหัส
หยุด (stop codon ; UAAUAG, UGA, ) ตัวใดตัวหนึ่งที่บริ เวณ A site
จะทำให้หยุดการเพิม่ ความยาวของสายโปรตีน เนื่องจากไม่มี
anticodon ของ tRNA ตัวใดมาจับกับ codon ทั้ง 3 นี้ที่บริ เวณ A site
และมี releasing factor เข้ามาจับแทน เกิดการสลายพันธะของสาย
โปรตีนกับ tRNA ทำให้ ribosome กับสายโปรตีนเกิดการแยกออก
จาก mRNA โดยที่ ribosome มีการแยกเป็ น 2 หน่วยย่อยเหมือนเดิม
และเพื่อกลับเข้ามาในการสังเคราะห์โปรตีนต่อไป
** ribosome หลายๆ อันสามารถมาจับบน mRNA สายเดียวกันได้
เพื่อสังเคราะห์โปรตีนให้ได้หลายๆ สาย เรี ยกลักษณะนี้ วา่
polyribosome หรือ polysome
Translation
Polyribosome or Polysome

** ribosome หลายๆ อันสามารถมาจับบน mRNA สายเดียวกันได้เพื่อสังเคราะห์


โปรตีนให้ได้หลายๆ สาย
Gene expression
การควบคุมการแสดงออกของยีน (Gene regulation)

โปรคาริโอตมีพนั ธุกรรมทีไ่ ม่ ซับซ้ อน กระบวนการสั งเคราะห์ RNA


และโปรตีนเกิดขึน้ ในเวลาทีไ่ ล่เลีย่ กัน ดังนั้นการควบคุมการผลิตโปรตีน
ในเซลล์โปรคาริโอตจึงเป็ นระบบ 'เปิ ด-ปิ ด' ทั้งนีเ้ พือ่ ให้ สามารถเปลีย่ น
กลับไป-มาได้ ง่ายในเวลาสั้ นๆ ดังนั้นการควบคุมการแสดงออกของยีนใน
โปรคาริโอตทีส่ ำคัญจะเกิดในขั้นถอดรหัส (transcription) ส่ วนในยูคารี
โอตนั้นมีการควบคุมการแสดงออกของยีนทีซ่ ับซ้ อนมากกว่ า
การควบคุมการแสดงออกของยีน
(Regulation of gene expression)
สามารถแบ่งได้ เป็ น 2 กลุม่ คือ

1. Unregulated enzyme production (Constitutive หรือ Housekeeping


gene)
คือโปรตีนหรือผลผลิตยีน ถูกควบคุมด้ วยยีนทีม่ กี ารแสดงออกอย่ าง
สม่ำเสมอในขณะทีย่ งั ดำรงชีวติ อยู่ เรียกยีนเหล่านีว้ ่ า constitutive gene
หรือ housekeeping gene ตัวอย่ างของยีนเหล่านี้ คือ ยีนทีท่ ำหน้ าที่
สั งเคราะห์ องค์ ประกอบต่ างๆ ของไรโบโซม และเอนไซม์ ชนิดต่ างๆ ที่
จำเป็ นต่ อการสั งเคราะห์ โปรตีน รวมทั้งเอนไซม์ ทจี่ ำเป็ นต่ อกระบวนการเม
ตาบอลิซึมของน้ำตาลกลูโคส (glucose) เป็ นต้ น
การควบคุมการแสดงออกของยีน
(Regulation of gene expression)

2. Regulated enzyme production


เป็ นยีนทีเ่ กีย่ วข้ องกับการสั งเคราะห์ โปรตีนหรือเอนไซม์ เพือ่ ตอบ
สนองความต้ องการของเซลล์ทอี่ ยู่ในสภาพแวดล้อมหนึ่ง โดย
เอนไซม์ ดงั กล่ าวจะทำหน้ าทีเ่ กีย่ วข้ องกับการเจริญเติบโตและการแบ่ ง
เซลล์ เช่ น เอนไซม์ β–galactosidase จะถูกสั งเคราะห์ ขนึ้ มาเมือ่ ภายใน
เซลล์แบคทีเรียมี น้ำตาลแลกโตส (lactose) เรียกยีนทีเ่ กีย่ วข้ องกับการ
สั งเคราะห์ เอนไซม์ regulated enzyme ว่ า regulated gene
Regulated enzyme production
2.1 Inducible enzyme
เป็ นยีนที่ควบคุมการสังเคราะห์ เอนไซม์ ท่ เี กี่ยวข้ องกับกระบวนการย่ อย
สลายซับสเตรต (degradation pathway; catabolism) ซึ่งยีนในกลุ่มนีจ้ ะแสดงออก
ก็ต่อเมื่อภายในเซลล์ มีตัวเหนี่ยวนำ (inducer หรือ substrate) เช่ น β–
galactosidase จะถูก
สังเคราะห์ ขนึ ้ เพื่อย่ อยน้ำตาล lactose ให้ เป็ นน้ำตาล glucose และกาแลกโตส
(galactose) เป็ นต้ น
2.2 Repressible enzyme
เป็ นยีนที่ควบคุมการสังเคราะห์ เอนไซม์ ท่ เี กี่ยวข้ องกับกระบวนการ
สังเคราะห์ สารที่จำเป็ นภายในเซลล์ (biosynthetic pathway; anabolism) เช่ น
เอนไซม์ ท่ เี กี่ยวข้ องกับการสังเคราะห์ ฮีสติดีน และทริปโตเฟน เป็ นต้ น
กลไกการควบคุมแสดงออกของยีนในโปรคารีโอต
กลไกการควบคุมแสดงออกของยีนในโปรคารีโอตนั้นจะเกีย่ วข้ องกับการ
ทำงานของยีนทีอ่ ยู่รวมกันเป็ นกลุ่ม ทีเ่ รียกว่ า operon โดย F. Jacob และ J.
Monod (1961) ได้ เสนอแบบจำลองของ operon (the operon model) เพือ่
อธิบายกลไกการแสดงออกของยีนทีค่ วบคุมการสั งเคราะห์ เอนไซม์ ต่างๆ

      ในโปรคาริโอต ยีนของโปรคาริโอตสำหรับสร้ างโปรตีนทีเ่ กีย่ วข้ องในวิถเี มทาบอ


ลิซึมเดียวกัน ส่ วนใหญ่ จะอยู่ตดิ กันเป็ นชุดและอยู่ภายใต้ ตวั ควบคุมชุดเดียวกัน รวม
เรียกว่ าโอเปอรอน (operon) ซึ่ง แบ่ งเป็ นยีนควบคุม (regulator gene) ยีนส่ งเสริม
(promoter gene) ยีนดำเนินการ (operator gene) และยีนโครงสร้ าง (structural
gene) สำหรับสร้ างโปรตีนหรือเอนไซม์
องค์ ประกอบของโอเปรอน (Operon)
1. Regulator gene (i) เป็ นยีนทีม่ ตี ำแหน่ งอยู่ใกล้ หรือห่ างออกไปจากยีนโครงสร้ าง ยีน
โปรโมเตอร์ และยีนโอเปอเรเตอร์ โดยยีน i ทำหน้ าทีส่ ั งเคราะห์ โปรตีนทีเ่ รียกว่ า repressor
protein ซึ่งทำหน้ าทีค่ วบคุมการทำงานของยีนโปรโมเตอร์ (1100 นิวคลีโอไทด์ , 360 กระอะมิ
โน)
2. Promoter region (p) คือยีนทีม่ ตี ำแหน่ งอยู่ใกล้ หรืออาจมีตำแหน่ งเหลือ่ มซ้ อน (overlapping)
กับยีนโอเปอเรเตอร์ ซึ่งยีน p มีหน้ าทีค่ วบคุมการทำงานของยีนโอเปอเรเตอร์ โดยลำดับเบสบน
ยีนโปรโมเตอร์ จะเป็ นตำแหน่ งจดจำการเข้ าเกาะของ RNA polymerase
3. Operator region (o) เป็ นยีนทีม่ ตี ำแหน่ งอยู่ด้านหน้ าติดกับยีนโครงสร้ าง ทำหน้ าทีค่ วบคุม
การแสดงออกของยีนโครงสร้ าง โดยยีนโอเปอเรเตอร์ จะมีตำแหน่ งจดจำของ repressor protein
เพือ่ เข้ าจับกับยีนโอเปอเรเตอร์ จะมีผลทำให้ ยนี โครงสร้ างไม่ สามารถลอกรหัสออกมาได้ เนื่องจาก
ไปขัดขวางไม่ ให้ เอนไซม์ RNA polymerse เข้ าจับกับตำแหน่ งยีนโปรโมเตอร์ ได้ นั่นเอง
4. Structural gene หรือยีนโครงสร้ าง เป็ นยีนทีท่ ำหน้ าทีค่ วบคุมการสั งเคราะห์ โปรตีน หรือ
เอนไซม์ ชนิดต่ างๆ ซึ่งยีนโครงสร้ างนีอ้ าจมีเพียงยีนเดียว (monocistronic gene) หรืออาจมีหลาย
1. Inducible operon แล็คโอเปอรอน (lac operon)
เป็ นโอเปอรอนที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์เอนไซม์ที่ใช้สำหรับเมทาบอลิซึมของน้ำ
ตาลแล็คโตส
ส่ วนของดีเอนเอที่ท ำหน้าที่ควบคุมแล็คโอเปอรอน จะอยูต่ อนต้นของยีนโครงสร้าง โดย
ประกอบด้วยโปรโมเตอร์ (P) ซึ่งเป็ นบริ เวณที่เอนไซม์ RNA polymerase เข้าจับเพื่อเริ่ มต้นการ
ถอดรหัส และโอเปอเรเตอร์ (O) ซึ่งเป็ นบริ เวณที่โปรตีนกดดัน (repressor) เข้าจับ โดยใน
สภาวะที่เซลล์ไม่มีแล็คโตส แบคทีเรี ย E. coli ไม่จ ำเป็ นต้องใช้กลุ่มเอนไซม์ในแล็คโอเปอรอน
ดังนั้นการสังเคราะห์ mRNA สำหรับเอนไซม์ในแล็คโอเปอรอน จะถูกยับยั้งด้วยโปรตีนแล็ครี
เพรสเซอร์ (lac repressor) ซึ่งสังเคราะห์มาจากยีนควบคุม (I) โดยแล็ครี เพรสเซอร์จะเข้าจับกับ
โอเปอเรเตอร์ และยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ RNA polymerase ในภาวะที่มีน ้ำตาลแล็คโตส
จะมีการกระตุน้ แล็กโอเปอรอนให้มีการสังเคราะห์กลุ่มเอนไซม์ที่จ ำเป็ นในการใช้แล็กโตส โดย
โมเลกุลของแล็กโตสจะเข้าจับกับแล็ครี เพรสเซอร์ ทำให้โมเลกุลของแล็ครี เพรสเซอร์เกิดการ
เปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ไม่สามารถจับกับโอเปอเรเตอร์ได้อีกต่อไป ส่ งผลให้เซลล์สามารถ
สังเคราะห์กลุ่มเอนไซม์ที่จ ำเป็ นในการใช้แล็กโตสได้ ซึ่งในกรณี น้ ี จะเรี ยกแล็กโตสว่าเป็ นตัว
เหนี่ยวนำ (inducer)
Lac operon
I regulator  -  makes repressor protein      
    P   promoter  -  binds RNA polymerase            
    O  operator   -  binds repressor protein           
    S   structural -  make enzyme proteins            

I P O S

Lactose
metabolism

INDUCIBLE operon
(ต้ องมี inducer)
ภาวะที่ไม่มี lactose; Negative control
• ไม่มี inducer
• Active repressor เข้ าจับที่ operator
• RNA pol เข้ าจับที่ promoter ไม่ได้ , operon OFF
ภาวะที่มี lactose และ glucose
• มี inducer → Inactive repressor
• ไม่มี cAMP (Adenylyl cyclase ไม่ทำงาน)
• ไม่มี Activator เข้ าจับที่ promoter  RNA pol ไม่ทำงาน
ภาวะที่มี lactose, ขาด glucose; Positive control
• มี inducer → Inactive repressor
• สลาย ATP  cAMP โดย Adenylyl cyclase
• cAMP จับกับ CRP (cAMP receptor protein) = Activatorเข้ าจับที่
promoter  RNA pol ทำงานได้ ดี, operon ON
2. Repressible operon ทริปโตเฟนโอเปอรอน (tryptophan operon)

มีลกั ษณะคล้ายกับ lac operon คือ มี regulatory gene ( trp R) ที่อยูห่ ่าง
ไกลออกไป Trp R สร้าง repressor protein ที่ยงั ทำงานไม่ได้เรี ยกว่า
aporepressor(repressor protein ที่ inactive) เมื่อเซลล์สงั เคราะห์
tryptophanแล้วมันจะทำหน้าที่เป็ น corepressor จับกับ aporepressor เพื่อให้
repressor protein สามารถทำงานได้โดยกลไกเหมือน lac operon ดังนั้น
ปริ มาณ trp จึงกำหนดระดับการแสดงออกของจีนกลุ่ม trp operon
(คือ ถ้า trp มาก อัตราการสังเคราะห์ mRNA ก็จะน้อยแต่ถา้ trp น้อย ก็
ตรงข้ามกัน
เป็ นโอเปอรอนที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์กลุ่มของเอนไซม์ท่ใี ช้ใน
การสังเคราะห์กรดอะมิโนทริปโตเฟน (tryprophan)
Trp Operon (Tryptophan synthesis)
• Repressible operon (turned off by end product)

ขาด Trp ON

มี Trp OFF

Trp Repressor Trp operon

- Inactive ไม่จ ับที่ operator ON


+ Active จ ับที่ operator OFF
การควบคุมการแสดงออกของยีนในยูคารีโอต

การสั งเคราะห์ โปรตีนพิเศษในระยะทีส่ ิ่ งมีชีวติ ชั้น


สู งมีการเปลีย่ นสภาพหรือกำลังเจริญเติบโตนั้น เซลล์
จะต้ องมีการจัดตั้งระบบการทำงานของยีนให้ แม่ นยำ
เกีย่ วกับเวลา และลำดับขั้นตอนของการแสดงออกมา
การควบคุมการแสดงออกของยีนเกิดขึน้ ได้ หลายแห่ ง
การควบคุมการแสดงออกของยีนใน Eukaryote
Gene

Transcription

Translation
Post-translation

63
แบบฝึ กหัดการวิเคราะห์ พนั ธุประวัติ

X-linked dominant inheritance


Autosomal recessive inheritance
Autosomal dominant inheritance
Mitochondrial inheritance
การบ้ าน
1. What is pictured above in the DNA
replication process?
A. Replication fork
B. origin of replication
C. Leading strand
D. Lagging strand
E. Ligase
2. The enzymes that break hydrogen bonds and unwind DNA are:
……………
A. Primers
B. Forks
C. Helicases
D. Polymerases
การบ้ าน
 3. During replication, what enzyme adds complimentary bases?
A. Helicase B. Synthesase
C. Replicase D. Polymerase
E. Nuclease
4. What is the name of the fragments of the lagging strand pictured above?
A. Binding proteins
B. Fragmenting lagging strand
C. Okazaki segments
D. Coding strands
5. What enzyme will solve this problem in the lagging strand? (Pay
attention to the red section in the picture).
A. Ligase
B. Binding proteins
C. Helicase
D. Polymerase I
การบ้ าน

7. จากรู ปด้านบน ให้เติมคำตอบให้ถูกต้องในแต่ละข้อ เรี ยงตามหมายเลขที่ก ำกับไว้


1 DNA Polymerase
2 DNA Ligase
3 RNA Primer
4 Primase
5 Lagging
6 Okazaki fragment
7 Leading
8 DNA Polymerase
9 Helicase
10 Single strand binding proteins
11 Topoisomerase
การบ้ าน
1. จากรู ปด้ านล่ าง จงเติมคำในช่ องว่ างให้ ถูกต้ อง
3.1...............
.........
3.3.............. 3.2............... 3.5...............
.......... .........
3.4.............. .........
..........

2. จงอธิบายเหตุการณ์ ทเี่ กิดขึน้ ตามภาพ A และ B

A B
3. จากรู ปด้ านล่ างจงเติมคำในช่ องว่ างให้ ถูกต้ อง

3.1............ 3.2............ 3.3............


.......... .......... ..........

3.4............
..........
การบ้ าน
4. จากลำดับ mRNA ด้ านล่าง จงตอบคำถามต่ อไปนี้
4.1 ลำดับ nucleotide ของโมเลกุล DNA ทั้งสองสายเป็ นอย่ างไร
4.2 Polypeptide chain ทีไ่ ด้ มลี ำดับ amino acid เป็ นอย่ างไร

5 3
5. จากรู ปด้ านล่ าง จงเติมคำในช่ องว่ างให้ ถูกต้ อง

5.1.................... 5.3..................
5.2.................. .........
........
..

5.4.....................
..............

5.5..................
................

You might also like