You are on page 1of 33

DNA Technology

รายวิชา ชีววิทยาเข้มข้น 1
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เรียนโดย
________________________
ชั้น ม.4/… เลขที่ ….

สอนโดย ครูกุลธิดา ไชยยงค์


Biotechnology
หัวข้อบทที่ 6
6.1 พันธุวิศวกรรมและการโคลนยีน
6.2 การหาขนาดของ DNA และการหาลาดับนิวคลีโอไทด์
6.3 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทาง DNA
6.4 เทคโนโลยีทาง DNA กับความปลอดภัยทางชีวภาพ
และชีวจริยธรรม
Biotechnology
•Biotechnology เป็นการใช้
เทคโนโลยีเพื่อทาให้สิ่งมีชีวิต
หรือองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต
มีสมบัติตามที่ต้องการ
Biotechnology
• เทคโนโลยีชีวภาพในอดีต เช่น การหมัก
แอลกอฮอล์ ปลาร้า การทาซีอิ๊ว การทา
เต้าเจี้ยว การปรับปรุงพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์
เช่น การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การถ่ายฝาก
ตัวอ่อน การผสมเทียม
Biotechnology
• เทคโนโลยีชีวภาพในปัจจุบัน
• พันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering) เป็นการใช้เทคโนโลยี
เกี่ยวกับ DNA เพื่อสร้าง Recombinant DNA ระหว่างยีนที่
สนใจกับยีนของสิ่งมีชีวิตที่เป็นโฮสต์ (host)
• GMO (genetically modified organism) คือ สิ่งมีชีวิตดัดแปร
พันธุกรรมทาให้ได้สิ่งมีชีวิตที่มีสมบัติตามต้องการหรือมีลักษณะ
เปลี่ยนไปจากเดิม
Biotechnology
• การเพิ่มจานวน DNA ที่เหมือนๆกัน เรียกว่า DNA cloning
ถ้าบริเวณนั้นเป็นยีน เรียกว่า Gene cloning สามารถทาได้ใน
สิ่งมีชีวิต เช่น จุลินทรีย์ พืช สัตว์ แบ่งเป็น
•การโคลนยีนโดยใช้ Plasmid ของแบคทีเรีย
•การเพิ่มจานวน DNA ด้วยเทคนิค PCR
Gene Cloning
• คือ การเพิ่มจานวนของ DNA
ที่มียีน ทาให้ได้ยีนที่เหมือนกันทุก
ประการเป็นจานวนมาก
• การโคลนยีนที่นิยมคือ อาศัยการ
ฝากไว้กับพลาสมิดของแบคทีเรีย
หรือ DNA พาหะ (DNA Vector)
Gene Cloning
• Plasmid คือ DNA วงแหวนสายคู่ที่อยู่นอกโครโมโซมของ
แบคทีเรีย อาจมีขนาด 1,000–200,000 คู่เบส มียีนที่สร้าง
เอนไซม์ต้านยาปฏิชีวนะ
• Recombinant DNA หรือ DNA สายผสม คือ DNA ที่ได้จาก
การตัดต่อทางพันธุวิศวกรรมเพื่อให้ได้สิ่งมีชีวิตตามต้องการ
Gene Cloning
• การสร้าง Recombinant DNA อาศัยส่วนประกอบสาคัญดังนี้
1. ชิ้นส่วน DNA ที่มียีนที่ต้องการ
2. DNA พาหะ หรือ Vector นิยมใช้ Plasmid ของแบคทีเรีย
3. เอนไซม์ DNA ligase
4. เอนไซม์ตัดจาเพาะ (Restriction enzyme)
Gene Cloning
ขั้นตอนการโคลนยีนโดยอาศัย Plasmid ของแบคทีเรีย
1. DNA restriction เป็นการตัดยีนที่ต้องการศึกษา จากสาย DNA
ด้วยเอนไซม์ตัดจาเพาะ
2. Recombination เป็นการเชื่อมชิ้นส่วน DNA กับพลาสมิด ได้เป็น
DNA recombinant
3. Transformation เป็นการถ่ายโอน recombinant DNA เข้าสู่เซลล์
เจ้าบ้าน คือ แบคทีเรีย
4. DNA cloning นามาเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อที่มียาปฏิชีวนะผสมอยู่
Gene Cloning
Restriction Enz.
• เป็นเอนไซม์ที่สามารถตัด DNA โดยจะจดจาลาดับเบสบนสาย
DNA แล้วตัดบริเวณที่มีเบสจาเพาะ
Restriction Enz.
Restriction Enz.
การโคลนโดย PCR
• Polymerase Chain Reaction ; PCR เป็นการโคลน
DNA ในหลอดทดลอง โดยอาศัยเครื่องมือที่เรียกว่า
Thermocycler ซึ่งเป็นเครื่องมือที่สามารถควบคุมอุณหภูมิได้
การโคลนโดย PCR
• ต้องอาศัยส่วนประกอบดังนี้
1. DNA ต้นแบบ
2. DNA Primer
3. Nucleotide ทั้ง 4 ชนิด
4. เอนไซม์ DNA Polymerase
การโคลนโดย PCR
การโคลนยีนด้วยเทคนิค PCR มีขั้นตอนดังนี้
1. Denaturation เป็นกระบวนการแยกสาย DNA เกลียว
คู่ออกจากกัน ในขั้นตอนนี้ใช้อุณหภูมิประมาณ 94 องศา c เพื่อ
ทาให้พันธะไฮโดรเจน ระหว่าง DNA สายคู่ถูกทาลาย
2. Annealing เป็นขั้นตอนที่ใช้ DNA Primer ที่อุณหภูมิ
ประมาณ 30-60 องศา c จับกับ DNA แม่แบบบริเวณที่มี
ลาดับเบสคู่สมกัน ซึ่ง DNA ที่สังเคราะห์ได้จะมีขนาดสั้นๆ
เรียกว่า Primer
การโคลนโดย PCR
3. Extension เป็นขั้นตอนการสร้าง DNA สายใหม่ต่อจาก
ไพรเมอร์ ในขั้นตอนนี้ใช้อุณหภูมิ 72 องศา c เพื่อให้เอนไซม์ DNA
Polymerase ทางานและเกิดการจาลอง DNA ต้นแบบ
จาก DNA แม่แบบ 1 โมเลกุล เมื่อผ่านไป 1 รอบ จะได้
DNA 2 โมเลกุล ผ่านไป 2 รอบได้ 4 โมเลกุล ผ่านไป 3 รอบได้
8 โมเลกุล

ดังนั้นโมเลกุล DNA ที่เพิ่มขึ้นหาได้จาก


n
2; n=จานวนรอบ
Cloning
การหาขนาดของ DNA
สามารถทาได้หลายเทคนิค เช่น
1. Gel electrophoresis
2. DNA sequencing (การหาลาดับเบสบน DNA)
Gel electrophoresis
• เป็นเทคนิคที่ใช้ในการแยกชิ้นส่วนของ DNA บนแผ่นตัวกลาง
ที่เป็นเจล (agarose gel หรือ polyacrylamide gel)
• เจลอยู่ในสารละลายบัฟเฟอร์และมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
• DNA ซึ่งมีประจุลบ จะเคลื่อนไปยังขั้วบวก อีกด้านของแผ่นเจล
ทาให้เห็นเป็นแถบ (Band)
• DNA ที่มีขนาดเล็กจะเคลื่อนที่ได้เร็วและผ่านเนื้อเจลได้ดีกว่า
DNA ขนาดใหญ่
Gel electrophoresis
DNA sequencing
• การหาลาดับเบสบน DNA เป็นการวิเคราะห์ลาดับเบส หรือ
ลาดับนิวคลีโอไทด์ โดยใช้เทคนิคที่เรียกว่า DNA sequencing
• ทาได้โดยใช้เครื่อง automated sequencer ซึ่งอาศัยหลักการ
พื้นฐานการแยกโมเลกุลของ gel electrophoresis แต่พัฒนา
เทคนิคและซอฟแวร์ ทาให้สามารถอ่านผลในรูปแบบของลาดับ
เบสได้อย่างแม่นยาและรวดเร็ว
DNA sequencing
การประยุกต ์ใช ้
• ด้านการแพทย์และเภสัชกรรม
• การสร้างผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์และเภสัชกรรม
• การวินิจฉัยโรค
• การบาบัดด้วยยีน
• ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม
• การตรวจหาเครื่องหมายโมเลกุล
• ด้านนิติวิทยาศาสตร์
• การวิเคราะห์ STR
STR (short tandem repeat)
• คือ บริเวณที่มีการซ้าซ้อนกันของลาดับเบสสั้นๆ ต่อเนื่องกันพบ
กระจายทั่วไปในจีโนมของสิ่งมีชีวิต
• STR ในตาแหน่งเดียวกัน จะมีความยาวต่างกันในแต่ละอัลลีล
• เมื่อทา PCR เพื่อตรวจสอบ STR ในหลายๆ ตาแหน่งจะทาให้
เกิดเป็นรูปแบบเฉพาะบุคคล เรียกว่า ลายพิมพ์ DNA (DNA
fingerprint)
DNA fingerprint
• เป็นรูปแบบของแถบ DNA ที่เป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคล
โดยใช้เทคนิค PCR เพื่อเพิ่มจานวน DNA แล้วมาตัดด้วย
เอนไซม์ตัดจาเพาะ
• ใช้เทคนิค gel electrophoresis เพื่อแยกขนาดโมเลกุล DNA
ตามลาดับ ทาให้ลายพิมพ์ DNA ใช้แยกความแตกต่างของบุคคล
ได้ เช่น พิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล พิสูจน์ความสัมพันธ์ทาง
สายเลือดระหว่างพ่อแม่ลูก
DNA fingerprint
DNA fingerprint
DNA fingerprint
GGA 6 11
ACGCT 6 6

You might also like