You are on page 1of 25

สื่อประกอบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1

โดย นางสาวอุทยั รัตน์ รื่นจิตร


พาลินโดรม( palindrome )
คาหรื อวลีที่สามารถเขียนตัวอักษรเรี ยงย้ อนกลับจากหลังไปหน้ า หรื อจากขวาไป
ซ้ าย แล้ วยังคงอ่านออกเสียงได้ เหมือนเดิม เช่น กก กนก ยาย นาน บวบ DAD
MOM EYE เรี ยกว่า พาลินโดรม คาว่าพาลินโดรมเป็ นภาษากรี ก แปลว่าวิ่งกลับไป
ที่เดิมอีก (running back again)

ในทางคณิตศาสตร์ พาลินโดรม เป็ นจานวนนับที่เมื่อเขียนเลขโดดเรี ยงย้ อนกลับ


จากหลังไปหน้ าหรื อจากขวาไปซ้ าย แล้ วได้ จานวนเดิม เช่น 8, 22, 101 และ 252
พาลินโดรมที่มีหนึง่ หลัก ได้ แก่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, และ 9
พาลินโดรมที่มีสองหลัก ได้ แก่ 11, 22, 33, 44, 55, 66, 77, 88 และ 99
ให้ นกั เรี ยนเขียน  ล้ อมรอบจานวนที่เป็ นพาลินโดรม

5 35 2112 1414 325 717 424


500 3344 99 58785 101 3242 25
87978 32032 494 999 3553 4848
575 3773 13413 880 347843 454
737 4994 12312 4959 1818
738 5577 6666 83438 363
222 = 484 112 = 121
2022 = 40804 1012 = 10201
20022 = 4008004 10012 = 1002001
200022 = 400080004 100012 = 100020001
2000022 = 40000800004 1000012 =
10000200001
20000022 10000012
=……………………………….. =……………………….……………………
2000000022= 100000012 =
………………………………. ……………….……………………….
1000000012
=…………………………………………
สร้ างพาลินโดรม
วิธีสร้ างพาลินโดรมทางคณิตศาสตร์ ที่ร้ ูจกั กันแพร่หลายคือ เมื่อนาจานวนนับที่มีสอง
หลักมาบวกกับจานวนที่ได้ จากการเขียนเลขโดดเรี ยงย้ อนกลับจากหลังไปหน้ าของ
จานวนเดิมถ้ าผลลัพธ์ยงั ไม่เป็ นพาลินโดรม ให้ นาผลลัพธ์นนไปบวกกั
ั้ บจานวนที่ได้
จากการเขียนเลขโดดเรี ยงย้ อนกลับจากหลังไปหน้ าของผลลัพธ์นนอี ั ้ ก ทาเช่นนี ้ไป
เรื่ อยๆ จนกว่าจะได้ พาลินโดรม
ตัวอย่าง สร้ างพาลินโดรมจาก 14 ได้ ดงั นี ้
14 + 41 = 55 เป็ นพาลินโดรม
ตัวอย่าง สร้ างพาลินโดรมจาก 97 ได้ ดงั นี ้
ครัง้ ที่ 1 97 + 79 = 176 ไม่เป็ นพาลินโดรม
ครัง้ ที่ 2 176 + 671 = 847 ไม่เป็ นพาลินโดรม
ครัง้ ที่ 3 847 + 748 = 1595 ไม่เป็ นพาลินโดรม
ครัง้ ที่ 4 1595 + 5951 = 7546 ไม่เป็ นพาลินโดรม
ครัง้ ที่ 5 7546 + 6457 = 14003 ไม่เป็ นพาลินโดรม
ครัง้ ที่ 6 14003 + 30041 = 44044 เป็ นพาลินโดรม
ลาดับฟิ โบนักชี ( fibonacci sequence )
ลาดับเลข ฟี โบนักชี (Fibonacci numbers) เป็ นลาดับ
เลขที่มีชื่อเสียงมากที่สดุ แบบหนึ่งในประวัติศาสตร์ ซึง่
ถูกคิดค้ นขึ ้นโดยนักคณิตศาสตร์ ชาวอิตาเลียนชื่อ
เลโอนาร์ โด ฟี โบนักชี (Leonardo Fibonacci)
แห่งเมื่องปิ ซา ซึง่ มีชีวิตอยูใ่ นคริสต์ศกั ราช 1170 – 1250

เป็ นผู้นาระบบตัวเลขฮินดูอารบิกมาใช้ อย่างแพร่หลายในยุโรป ด้ วยการเขียนหนังสือ


เกี่ยวกับการคิดคานวณชื่อ The Book of Abacus ในหนังสือเล่มนี ้มีโจทย์ปัญหาข้ อ
หนึง่ ซึง่ มีชื่อเสียงมาก คือ ปั ญหาจานวนกระต่ายในทุง่ หญ้ า ปั ญหานี ้ทาให้ ได้ แบบรูป
จานวนชุดหนึง่ ซึง่ เรี ยงเป็ นลาดับดังนี ้คือ 1, 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, 34, 55, 89,n-2, n-
1, n , …
ลาดับดังกล่าวรู้จกั กันกว้ างขวางต่อมาว่า ลาดับฟี โบนักชี
(ตัวเลขตาแหน่งที่ n เท่ากับ ตัวเลขตาแหน่งที่ n-1 บวกกับตัวเลขตาแหน่งที่ n-2
เมื่อนักเรี ยนพิจารณาจานวนที่เรี ยงกันในลาดับฟิ โบนักชี 1, 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, 34, 55,n-
2, n-1, n , … จะสังเกตเห็นแบบรูปของจานวนเป็ นดังนี ้
จานวนที่หนึง่ คือ 1
จานวนที่สอง คือ 1
จานวนที่สาม คือ 2 ซึง่ เท่ากับผลบวกของจานวนที่หนึง่ กับจานวนที่สอง
จานวนที่สี่ คือ 3 ซึง่ เท่ากับผลบวกของจานวนที่สองกับจานวนที่สาม
จานวนที่ห้า คือ 5 ซึง่ เท่ากับผลบวกของจานวนที่สามกับจานวนที่สี่
จานวนที่หก คือ 8 ซึง่ เท่ากับผลบวกของจานวนที่สี่กบั จานวนที่ห้า
จานวนที่เจ็ด คือ 13 ซึง่ เท่ากับผลบวกของจานวนที่ห้ากับจานวนที่หก
. .
. .
. .

จานวนที่ n คือ ซึง่ เท่ากับผลบวกของจานวนที่ n-2 กับจานวนที่ n-1


เมล็ดของดอกทานตะวัน ในวงที่มีเกลียวการ
หมุนตามเข็มนาฬิกา มีจานวนทังสิ้ ้น 55 เมล็ด
(เครื่ องหมายสีแดง) ในขณะที่วงที่มีเกลียว การ
หมุนทวนเข็มนาฬิกา มีจานวนทังสิ ้ ้น 89 เมล็ด
(เครื่ องหมายสีเขียว)
ต้ นตะบองเพชรที่มีลกั ษณะการจัดเรี ยงตัวของ
ปุ่ มหนามสอดคล้ องกับเลขฟี โบนักชี โดยมีวง
เกลียวของปุ่ มหนามที่หมุนตามเข็มนาฬิกา 3 วง
(เส้ นสีแดง) และมีวงเกลียวที่หมุนทวนเข็ม
นาฬิกาจานวน 5 วง (เส้ นสีเหลือง) โดยที่ 3 และ
5 ก็คือลาดับเลขฟี โบนักชี
ความยาวของกระดูกนิ ้วมือ
แต่ละข้ อจะมีอตั ราส่วนเรี ยง
ตามลาดับเลขฟี โบนักชี
ถ้ า F(n) เป็ นจานวนที่ n ในลาดับฟิ โบนักชี ให้ ตอบคาถามต่อไปนี ้

1) F(15) = 610 และ F(16) = 987 จงหา F(20) = ………………


2) F(21) = 10,946 และ F(22) = 17,711 จงหา F(23) = ……………
3) F(24) = 46,368 และ F(26) = 121,393 จงหา F(25) = …………

4) F(27) = 196,418 และ F(28) = 317,811 จงหา F(26) = ………

5) F(30) = 832,040 และ F(31) = 1,346,269 จงหา F(32) = ………

6) F(30) = 832,040 และ F(31) = 1,346,269 จงหา F(29) = ………


ข่ายงานมีวิวฒ
ั นาการมาตังแต่
้ คริ สต์ศตวรรษที่สิบแปด
โดยเลออนฮาร์ ด ออยเลอร์ นักคณิตศาสตร์ ชาวสวิส

ข่ายงานเป็ นแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ ที่สร้ างขึ ้นเพื่อหารูปแบบในการแก้ ปัญหา


ความรู้เกี่ยวกับงานข่ายจะช่วยวางแผนจัดเส้ นทางการขนส่งเพื่อให้ ประหยัดเงินและ
เวลามากที่สดุ
ในปี ค.ศ. 1736 เลออนฮารด์ ออยเลอร์ (Leonhard Euler) ซึง่ เป็ นนักคณิตศาสตร์ ชาวสวิส ได้ แก้ ปัญหาที่มีชื่อว่า “ปั ญหา
สะพานเคอนิกส์เบิร์ก” (Konigberg Bridge Problem) เป็ นปั ญหาที่กล่าวถึงสะพาน 7 สะพานในเมืองเคอนิกส์เบิรก์ สะพาน
เหล่านี ้ใช้ เกาะสองเกาะและแผ่นดิน ดังรูป

ปั ญหานี ้มีคาถามว่า “เป็ นไปได้ หรื อไม่ว่า ถ้ าเริ่มต้ น ณ ที่แห่งหนึ่ง (บนแผ่นดิน) แล้ วเดินข้ ามสะพานทั ้งเจ็ดสะพาน โดยผ่าน
สะพานแต่ละสะพานเพียงครัง้ เดียวเท่านั ้นแล้ วกลับมายังจุดเริ่มต้ นได้ ”
ออยเลอร์ ได้ แปลงปั ญหาดังกล่าวเป็ นกราฟ โดยให้ แผ่นดินแทนด้ วยจุดยอดและสะพานแทนด้ วยเส้ นเชื่อมของกราฟ ดัง
รูป

ปั ญหานี ้มีคาถามว่า “เป็ นไปได้ หรื อไม่ว่า ถ้ าเริ่มต้ น ณ ที่แห่งหนึ่ง (บนแผ่นดิน) แล้ วเดินข้ ามสะพานทั ้งเจ็ดสะพาน โดยผ่าน
สะพานแต่ละสะพานเพียงครัง้ เดียวเท่านั ้นแล้ วกลับมายังจุดเริ่มต้ นได้ ”
ออยเลอร์ ได้ แปลงปั ญหาดังกล่าวเป็ นกราฟ โดยให้ แผ่นดินแทนด้ วยจุดยอดและสะพานแทนด้ วยเส้ นเชื่อมของกราฟ ดังรูป
ข่ายงาน ประกอบด้ วย จุดยอด ซึง่ มีการเชื่อมระหว่างจุดด้ วยเส้ นเชื่อม

ตัวอย่าง ข่ายงานที่มีจดุ A, B, C และ D เป็ นจุดยอด

ตัวอย่าง ข่ายงานที่เส้ นเชื่อมอาจเกิดที่จดุ เดียว ซึง่ เรี ยกเส้ นเชื่อมลักษณะนี ้ว่า รูปบ่วง (Loop)
จุดยอดของข่ายงานมี 2 ชนิด คือ
จุดยอดคู่ หมายถึง จานวนเส้ นเชื่อมที่มาพบกัน ณ จุดยอดนันเป็
้ นจานวนคู่
จุดยอดคี่ หมายถึง จานวนเส้ นเชื่อมที่มาพบกัน ณ จุดยอดนันเป็
้ นจานวนคี่
A B
จุดใดต่อไปนี ้เป็ นจุดยอดคี่หรื อจุดยอดคู่

D C
A A D
C

E E A
B D B C B
E
B
B D C
A C C
A

D F D
F
G E
E
ข่ายงานที่สามารถลากตามเส้ นเชื่อมทุกเส้ นได้ โดยตลอดอย่างต่อเนื่อง
และไม่ซ ้าเส้ นเดิม เรี ยกว่า “ข่ายงานที่ผา่ นได้ ”
ข่ายงาน จะเป็ นข่ายงานที่ผา่ นได้ ก็ต่อเมื่อจานวนของจุดคี่ในข่ายงานนันเป็
้ น 0 หรื อ 2

ถ้ าจานวนจุดยอดคี่เป็ น 0 จะเริ่ มต้ นลากเส้ นจากจุดยอดใดก็ได้ และจะไปสิ ้นสุดที่จดุ ยอดเดิม


ถ้ าจานวนจุดยอดคี่เป็ น 2 จะเริ่ มต้ นลากเส้ นจากจุดยอดคี่ใดก็ได้ และจะไปสิ ้นสุดที่จดุ ยอดคี่อีกจุดหนึง่
A B C D e7 e8
จงพิจารณาว่าเป็ น A B
e3
ข่ายงานที่ผา่ นได้ e1 e2 e4 e
5
หรื อไม่ A
G F E D e6 C
B
E C
C B C
D A
A B
F D
A
D
C
A E
B A
e1 e2 e4
e3
D
B e7 C e6 D e5 E B
E
C D
A B V2 V1 V2
V1 V3
C
V4 V3
D V6
E
V5 V4

A B
F C
b
E D d
c
a e

g f
C A
e5
e2 e3 B E
B
e4 e7
e1 A C D
e6
D
D
A E
F C
B
C F
G
D
A E D

A B B C

You might also like