You are on page 1of 12

เ ยน เส ม เอง

ทฤษฎีกราฟ:
บทที่ 1 ความร้พู ้ นื ฐาน
1.1 บทนิยามและตั วอย่าง
ผศ.ดร.เฉลิมพงศ์ วรวรรโณทั ย
ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลั ยศลิ ปากร
ขี
ริ
ทฤษฎีกราฟ

็ กษาโครงสร้างทีป่ ระกอบไปด้วย “สิง่ ของ” และ “ความสั มพั นธ์ทวิภาคระหว่างสิง่ ของ”


เปนการศึ
Example
มานีชอบกินกล้วยและส้ม มานะชอบกินมะละกอและส้ม ปติิ ชอบกินกล้วย
สิง่ ของในทีน่ ้ ี คือ มานี มานะ ปติิ กล้วย ส้ม มะละกอ ความสั มพั นธ์ทวิภาคบ่งบอกว่าใครชอบกินผลไม้อะไร
เราอาจขีดเส้นเชือ่ มสิง่ ของสองสิง่ ทีม่ คี วามสั มพั นธ์กันดั งรูป

มา มา นะ

ก วย ม มะละกอ
ปิ
นี
ส้
ล้
ติ
ต้นกำเนิดกราฟ

ปริศนาสะพานข้ามแม่น้ำเมือง Konigsberg
จงหาวิธกี ารเดินจากจุด ๆ หนึง่ ผ่านสะพานแต่ละแห่งจำนวนหนึง่ ครั้ งพอดีและกลั บมายั งจุดเริม่ ต้น


# ¢
.
.

! ในป ี 1736 Leonhard Euler ได้คดิ ค้นแนวคิดของทฤษฎีกราฟขึ้นเพือ่ แสดงว่าไม่มที างเดินตามปริศนานี้


! แต่ในขณะนั้ นเขาเรียกมั นว่า “เรขาคณิตของตำแหน่ง (geometry of positions)”
! ต่อมาในป ี 1891 นั กคณิตศาสตร์ชาวเดนมาร์กชือ่ Julius Petersen ได้บัญญั ตคิ ำว่า “กราฟ” ขึ้น
กราฟคืออะไร
Definition
กราฟ G คือ สามสิง่ อั นดั บทีป่ ระกอบไปด้วยเซตของจ ุด V(G) เซตของเส้ น E(G) และความสั มพั นธ์ทรี่ ะบุวา่ เส้นแต่ละเส้นมี
็ ุดปลาย
สองจุดใดเปนจ
! จุด = vertex/vertices, เซตของจุด = vertex set
! เส้น = edge, เซตของเส้น = edge set
! เราสามารถวาดแผนภาพแทนกราฟลงบนกระดาษได้โดยการวาดจุดในตำแหน่งทีต่ า่ งกั นและวาดเส้นเชือ่ มจุดปลายข
องแต่ละเส้น
Example

ให้ G เปนกราฟที ่ V(G) = {a, b, c, d} และ E(G) = {e1 , e2 , e3 , e4 , e5 } โดยที่
่ มจุด a และ b
! เส้ น e1 เชือ a


! เส้ น e2 เชือ่ มจุด a และ b a
d ห อ •

่ มจุด b และ c

! เส้ น e3 เชือ

! เส้ น e4 เชือ ่ มจุด a และ c


e.
! เส้ น e5 เชือ ่ มจุด c และ c

Remark
! กราฟ ๆ หนึง่ มีวธิ วี าดได้หลายวิธ ี
! ตำแหน่งของจุดและลั กษณะการวาดเส้นไม่ได้มคี วามสำคั ญ
! สิง่ สำคั ญคือจุดต่าง ๆ มีการเชือ่ มต่อกั นอย่างไร
! การทีเ่ ส้นตั ดกั นไม่ได้ทำให้เกิดจุดใหม่
?⃝ฐื๊
ฑิ๋
รื
Definition
! ็ ดปลายของเส้นในกราฟ เราจะกล่าวว่า u และ v ประชิดกั น (adjacent)
เมือ่ u และ v เปนจุ 9

! ็ ดเดียวกั น eg
บ่ วง (loop) คือ เส้นทีจ่ ดุ ปลายทั้ งสองเปนจุ ยาย 2

r
! เส้ นขนาน (parallel edges) คือ เส้นตั้ งแต่สองเส้นขึ้นไปทีเ่ ชือ่ มจุดปลายคูเ่ ดียวกั น •
b •
c
! กราฟอย่ างง่ าย (simple graph) คือ กราฟทีไ่ ม่มบี ว่ งและไม่มเี ส้นขนาน
การ •


กราฟทีเ่ ราจะศึกษาในวิชานี้สว่ นใหญ่เปนกราฟอย่
างง่าย d
gd }
nmvmnn
VC G) =
{a b
Remark , ,

E (G) { ab ad bgcd }
สำหรั บกราฟอย่างง่าย
=

, ,

! เนือ่ งจากจุดคูห่ นึง่ ๆ จะมีเส้นเชือ่ มอย่างมากหนึง่ เส้น เส้นแต่ละเส้นจึงถูกกำหนดโดยคูจ่ ดุ ปลายของมั น


! เรานิยมเขียนแทนเส้ นทีเ่ ชือ ่ มจุด u และ v ด้วย {u, v} หรือย่อเปน็ uv
กราฟบริบรู ณ์ (Complete Graph)
Definition
! กราฟบริบ ูรณ์ (complete graph) คือ กราฟอย่างง่ายทีจ่ ดุ ทุกคูป่ ระชิดกั น
! เราเขียนแทนกราฟบริบรู ณ์ทมี่ ี n จุดด้วย Kn
• • •
• • •

Ki Kz
• •
• •

K K
3 4
กราฟสองส่วน (Bipartite Graph)
Definition
! ็
กราฟสองส่ วน (bipartite graph) คือ กราฟอย่างง่ายทีส่ ามารถแบ่งเซตของจุดออกเปนสองเซตย่ อย โดยจุดภายใน
เซตย่อยหนึง่ ๆ ไม่มเี ส้นเชือ่ มกั น
! เราเรียกเซตย่อยดั งกล่าวว่าเซตแบ่ งกั้ น (partite sets) ของกราฟ
! กราฟสองส่ วนบริบ ูรณ์ (complete bipartite graph) คือ กราฟสองส่วนทีค่ ขู่ องจุดทีอ่ ยูต่ า่ งเซตแบ่งกั้ นกั นประชิด
กั นทั้ งหมด
! เราเขียนแทนกราฟสองส่วนบริบรู ณ์ทเี่ ซตแบ่งกั้ นมีขนาด m และ n ด้วย Km,n

๏โg•้
ไy
เ นกราฟสอง วนบ ร
° • •
0
นวน ด

0
• •
• • m
k 2,2
ส่
จุ
จำ
ป็
ริ
บู
ณ์
ม่
กราฟ k ส่วน (k-partite Graph)
Definition
! กราฟ k ส่ วน (k-partite graph) คือ กราฟอย่างง่ายทีส่ ามารถแบ่งเซตของจุดออกเปน็ k เซตย่อย โดยจุดภายในเซต
ย่อยหนึง่ ๆ ไม่มเี ส้นเชือ่ มกั น
! เราเรียกเซตย่อยดั งกล่าวว่าเซตแบ่ งกั้ น (partite sets) ของกราฟ
! กราฟ k ส่ วนบริบ ูรณ์ (complete k-partite graph) คือ กราฟ k ส่วนทีค่ ขู่ องจุดทีอ่ ยูต่ า่ งเซตแบ่งกั้ นกั นประชิดกั น
ทั้ งหมด
! เราเขียนแทนกราฟ k ส่วนบริบรู ณ์ทเี่ ซตแบ่งกั้ นมีขนาด m1 , m2 , . . . , mk ด้วย Km ,m ,...,mk
1 2

① ๏
°

๏๏
0 • • • Kา 2,3
,
กราฟวิถ ี (Path) และกราฟวั ฏจั กร (Cycle)
Definition
! ็ นตรงโดยจุดสองจุดประชิดกั นก็ตอ่ เมือ่ มั นอยูใ่ น
กราฟวิถี (path) คือ กราฟอย่างง่ายทีส่ ามารถจั ดลำดั บจุดเปนเส้
ลำดั บทีต่ ดิ กั น
! เราเขียนแทนกราฟวิถที มี่ ี n จุดด้วย Pn
! ็
กราฟวั ฏจั กร (cycle) คือ กราฟอย่างง่ายทีส่ ามารถจั ดลำดั บจุดเปนวงกลมโดยจุ
ดสองจุดประชิดกั นก็ตอ่ เมือ่ มั นอยูใ่ น
ลำดั บทีต่ ดิ กั น
! เราเขียนแทนกราฟวั ฏจั กรทีม่ ี n จุดด้วย Cn


b• • c a b c d e
> • • • • •
e •
b

d Pg
• •
a

a b c d e
• •
d
• • • • •
hl c
C
ไ เ น กราฟ 5
ฏั๋
วิ
ป็
ม่
ถี
กราฟย่อย (Subgraph)
Definition
! กราฟย่ อย (subgraph) ของกราฟ G คือ กราฟ H ที่ V(H) ⊆ V(G) และ E(H) ⊆ E(G) และคูข่ องจุดปลายของแต่ละ

เส้นของ H เปนแบบเดียวกั บของ G
! เราเขียนแทนด้วย H ⊆ G
a b a a
• • • •

• • • • • •
d c d c
d c

G H, H2

H EG Hz ¢G
,
กราฟทีถ่ อดแบบกั น (Isomorphic Graphs)
Definition
! ็
กราฟอย่างง่าย G และ H เปนกราฟที ถ่ อดแบบกั น (isomorphic) ถ้ามีฟงั ก์ชันหนึง่ ต่อหนึง่ f จาก V(G) ไปทั ว่ ถึง
่ ่
V(H) โดยที uv ∈ E(G) ก็ตอ่ เมือ f(u)f(v) ∈ E(H)
! เราเขียนแทนด้วย G ∼
=H

Remark
! ็
กราฟ G และ H เปนกราฟที ถ่ อดแบบกั นถ้าสามารถวาดแผนภาพแทนกราฟทั้ งสองด้วยรูปเดียวกั นได้
! กราฟทีถ่ อดแบบกั นจะมีสมบั ตเิ หมือนกั นทุกประการ อาจจะต่างกั นเพียงการกำหนดชือ่ จุดและเส้น
ลใ น

b u v
a ตรง
t
(☐

%
• • •
=

• •

a. c •
×

w
G H GEH
บํ
กั
ห้
พู
ยู

You might also like