You are on page 1of 22

ชื่อ………………………………………………………………ชั้น……………เลขที่…………………………

เอกสารประกอบการสอน
บทที่ 4 เรื่ อง การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต คือ การเคลื่อนไหวของรู ปเรขาคณิ ตโดยการเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุนของ
รู ป ๆ หนึ่ง ซึ่งพบได้ในสิ่ งแวดล้อมรอบตัวเรา หรื อการเคลื่อนไหวของสิ่ งต่าง ๆ ก็จาํ ลองออกมาในการแปลง รวมทั้งงาน
ศิลปะต่าง ๆ ได้
4.1 การเลื่อนขนาน
การเลื่อนขนาน เป็ นการแปลงแบบหนึ่งที่จุดทุกจุดของรู ปต้นแบบเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกันเป็ นระยะทางเท่า ๆ กัน
พิจารณารู ปต่อไปนี้

จากรู ปจะเห็นว่า มีการเลื่อนจุด A ไปที่จุด A′ เลื่อนจุด B ไปที่จุด B′ และเลื่อนจุด C ไปที่จุด C′


ในทิศทางเดียวกันเป็ นระยะทางเท่ากัน
คุณสมบัติของการเลื่อนขนานเป็ นดังนี้
1. ภาพที่ได้จากการเลื่อนขนานกับรู ปต้นแบบเท่ากันทุกประการ
2. จุดแต่ละจุดที่สมนัยกันบนภาพที่ได้จากการเลื่อนขนานกับรู ปต้นแบบจะมีระยะห่างเท่ากัน
3. ภายใต้การเลื่อนขนาน จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างและขนาดของรู ปต้นแบบ

ตัวอย่ าง จงหาภาพที่ได้จากการเลื่อนขนาน  ABCD ด้วย CC ′

A
B
D

C C′
2
การเลื่อนขนานในระบบพิกดั ฉาก
สําหรับการเลื่อนขนานบนพิกดั ฉาก สามารถเขียนลําดับ ( a, b ) หรื อ 
a

b 
โดยที่ a หมายถึง การเลื่อนในแนวนอน , b หมายถึง การเลื่อนในแนวตั้ง
และกําหนดให้ การเลื่อนไปทางขวาหรื อขึน้ บนมีเครื่ องหมายเป็ นบวก และการเคลื่อนที่ไปทางซ้ ายหรื อลงล่างมี
เครื่ องหมายเป็ นลบ
( ) ( ) ( ) ( )
EX รู ปสี่ เหลี่ยมจุตรัส PQRS มีจุดยอด P 0,3 , Q 2,1 , R 4,3 , S 2,5 จงเขียนรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส PQRS
และรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส P′Q′R′S ′ ที่เลื่อนขนานด้วย ( −3,5)
3
EX ถ้าสามเหลี่ยม ABCD มีจุดยอด A ( -4, 0 ) , B (1, 2 ) , C ( -2,5) จงเขียนสามเหลี่ยม ABC แล้วเขียนรู ป
สามเหลี่ยมที่เกิดจากการเลื่อนขนานสามเหลี่ยม ABCไปทางขวา 3 หน่วยและลงล่าง 4 หน่วย
4
EX กําหนดรู ปสามเหลี่ยม ABCD มีจุดยอดที่ ( 2,1) , ( 7,1) , ( 6,4 ) , ( 3,4 ) ตามลําดับ ให้นกั เรี ยนเขียนภาพที่เกิด
8
จากการเลื่อนขนาน รู ปสี่ เหลี่ยม ABCD ภายใต้การเลื่อนขนาน  
5
5
EX กําหนดรู ปสี่ เหลี่ยมรู ปหนึ่งมีจุดยอดที่ ( 0, 0 ) , ( 5,1) , (10,5) , ( 7,8) ให้นกั เรี ยนเขียนภาพที่เกิดจากการเลื่อนขนาน
 −5 
รู ปสี่ เหลี่ยมที่กาํ หนดภายใต้การเลื่อนขนาน  
 −7 

ภายใต้การเลื่อน 
6
EX จงเลื่อนขนานรู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนาน ABCD ที่มีจุด A ( 2,1) , B ( 6,1) , C ( 7, 4 ) , D ( 3, 4 ) 
3
6
วิธีทาํ เลื่อนขนานรู ปไป   หมายถึง เลื่อนไปตามแกน X ด้านขวามือ 6 หน่วย และ เลื่อนไปตามแกน Y ด้านบน
3
ขึ้นไป 3 หน่วย
จุด a ( 2,1) เลื่อนเป็ น จุด A′ …………………………………
จุด B ( 6,1) เลื่อนเป็ น จุด B′ …………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
6
4.2 การสะท้ อน
การสะท้อน เป็ นการแปลงที่จุดทุกจุดของรู ปต้นแบบเคลื่อนที่ขา้ มเส้นตรงเส้นหนึ่ง ซึ่ งเปรี ยบเสมือนกระจกเงา
หรื อเรี ยกว่า เส้ นสะท้ อน โดยที่เส้นนี้จะแบ่งครึ่ งและตั้งฉากกับส่ วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดแต่ละจุดบนรู ป
ต้นแบบกับจุดแต่ละจุดบนรู ปสะท้อนที่สมนัยกัน
การเขียนรู ปสะท้ อน
1. หาจุดสะท้ อน โดยลากเส้นตรงผ่านจุดบนรู ปต้นแบบและตั้งฉากกับเส้นสะท้อน หาจุดบนเส้นตรงที่อยูค่ นละ
ข้างของจุดบนรู ปต้นแบบ โดยห่างจากเส้นสะท้อนเท่ากัน จุดนั้นเป็ นจุดสะท้อน
2. หารูปสะท้ อน เมื่อเราได้จุดที่เกิดจากการสะท้อนครบทุกจุดจากข้อ 1 ให้นกั เรี ยนลากเส้นเชื่อมจุดทุกจุดที่เกิด
จากการสะท้อนก็จะได้รูปตามต้องการ
ตัวอย่ าง จงหาภาพที่ได้จากการสะท้อนของรู ปต่อไปนี้

C
เส้นสะท้อน
การสะท้ อนบนระนาบพิกดั ฉาก
การสะท้อนบนระนาบพิกดั ฉากกล่าวถึงเฉพาะเส้นสะท้อนที่เป็ นแกน X และแกน Y
การสะท้ อนข้ ามแกน X
แกน X ทําหน้าที่เป็ นเส้นสะท้อน หาจุดที่เกิดจากการสะท้อนข้ามแกน X ได้จาก ให้จุด A มีพิกดั ( x, y ) จะได้
ว่าพิกดั ของ A′ ทีเ่ กิดจากการสะท้ อนจุดด้ วยแกน X มีพกิ ดั เป็ น ( x, − y )
การสะท้ อนข้ ามแกน Y
แกน Y ทําหน้าที่เป็ นเส้นสะท้อน หาจุดที่เกิดจากการสะท้อนข้ามแกน Y ได้จาก ให้จุด A′ มีพิกดั ( x, y ) จะ
ได้วา่ พิกดั ของ A′′ ทีเ่ กิดจากการสะท้ อนจุดด้ วยแกน Y มีพกิ ดั เป็ น ( − x, y )
สมบัติของการสะท้ อน
1. สามารถเลื่อนรู ปต้นแบบทับภาพที่ได้จากการสะท้อนได้สนิทโดยต้องพลิกรู ปหรื อกล่าวว่า รู ปต้นแบบและภาพที่ได้
จากการสะท้อนเท่ากันทุกประการ
2. ส่ วนของเส้นตรงบนรู ปต้นแบบและภาพที่ได้จากการสะท้อนของส่ วนของเส้นตรงนั้นไม่จาํ เป็ นต้องขนานกันทุกคู่
3. ส่ วนของเส้นตรงที่เชื่อมจุดแต่ละจุดบนรู ปต้นแบบกับจุดที่สมนัยกันบนภาพที่ได้จากการสะท้อนของเส้นขนานกันไม่
จําเป็ นต้องยาวเท่ากัน
7
EX จงสะท้อนรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า PQRS ข้ามแกน X เมื่อจุด ยอดคือ P ( -3, 4 ) , Q ( 2, 4 ) , S ( -3,1) , R ( 2,1)
8
EX กําหนดให้ ( )
A ( -3, 4 ) , B ( 2, 4 ) , C ( -3,1) , D ( 2,1) , E 3,5 จงเขียนจุดสะท้อนข้ามแกน Y และ ข้ามแกน
X และข้ามเส้นตรง x =1
9
EX จงสะท้อนรู ปห้าเหลี่ยม ABCDE ที่กาํ หนดให้ต่อไปนี้ขา้ ม แกน Y และ ข้ามแกน X เมื่อจุดยอดคือ
(
A ( -5, −5 ) , B ( −1, −5 ) , C ( -1, −3) , D ( −4, −1) , E −5, −2 )
10
4.3 การหมุน
การหมุนเป็ นการแปลงรู ปเรขาคณิ ตที่จุดทุกจุดถูกหมุนไปเป็ นมุมเท่ากันที่จุดคงที่จุดเดียวกัน ซึ่ งจุดนีเ้ รียกว่าจุด
ศูนย์ กลางของการหมุน หรื อ จุดหมุน
ต่อไปนี้เป็ นตัวอย่างการหมุนที่มีจุด O เป็ นจุดหมุน
กรณีที่ 1 จุด O อยูบ่ นรู ปต้นแบบ หมุนตามเข็มนาฬิกา 60 องศา
A

O
กรณีที่ 2 จุด O ไม่อยูบ่ นรู ปต้นแบบ หมุนตามเข็มนาฬิกา 60 องศา
A
B

C
•O

สมบัติของการหมุนเป็ นดังนี้
1. รู ปต้นแบบกับภาพที่ได้จากการหมุนเท่ากันทุกประการ
2. ส่ วนของเส้นตรงบนรู ปต้นแบบและภาพที่ได้จากการหมุนของส่ วนของเส้นตรงนั้นไม่จาํ เป็ นต้องขนานกันทุกคู่
11
ตัวอย่ าง จงหมุนรู ปสามเหลี่ยม ABC ที่มีจุด A ( 3,3) , B ( 5,3) , C ( 5, 6 ) รอบจุดกําเนิด ดังนี้
1. ตามเข็มนาฬิกา 90 องศา
2. ตามเข็มนาฬิกา 180 องศา
12
แบบฝึ กหัด
1. กําหนดรู ปสี่ เหลี่ยม ABCD มีจุดยอดที่ A ( 2,1) , B ( 4, 2 ) , C ( 3, 4 ) , D (1, 2 )
1. จงเขียนรู ปที่ได้จากการเลื่อนขนานรู ปสี่ เหลี่ยม ABCD ตามแกน X เป็ นระยะทาง 4 หน่วย
2. จงเขียนรู ปที่ได้จากการสะท้อนในข้อ 1 ข้ามแกน Y

3. กําหนด AB มีจุด A ( 2,3) และจุด B ( 5,5) เป็ นจุดปลาย ถ้า A′B′ เป็ นภาพที่ได้จากการเลื่อนขนาน AB
และมี A′ ( −3, 2 ) , B′ ( 0,5) เป็ นจุดปลาย เวกเตอร์ของการเลื่อนขนาน คือ………………………………………...
4. กําหนด A ( −3, −4 ) จุด A′ เป็ นภาพที่ได้จากการเลื่อนขนานจุด A ไปทางซ้ายตามแนวแกน X 5 หน่วย แล้ว
เลื่อนไปตามแนวแกน Y 7 หน่วย จงหาพิกดั ของจุด A′ …………………………
13
5. กําหนดสามเหลี่ยม ABC มีจุด A (1,1) , B ( 6, 2 ) , C ( 5, 6 ) เป็ นจุดยอดมุม และมี  A′B′C ′ เป็ นภาพที่ได้จาก
การเลื่อนขนาน สามเหลี่ยม ABC จุด A′ มีพิกดั เป็ น ( −5, −5)
จงหาพิกดั ของจุด B′ และ C ′

พิกดั ของจุด B′ คือ……………………… และ C ′ คือ……………………….


14
6. จงเขียนภาพที่เกิดจาการสะท้อนบนรู ป สี่ เหลี่ยม ABCD มีพิกดั A ( −4,1) , B (1−,1) , C ( −2,3) , D ( −4,5 ) โดยที่
1. แกน y เป็ นแกนสะท้อน
2. แกน x เป็ นแกนสะท้อน
3. เส้นตรง x=2 เป็ นแกนสะท้อน
15
7. จงสะท้อนรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า PQRS ข้ามเส้นตรง X=2 เมื่อจุด ยอดคือ P ( -3, 4 ) , Q ( 2, 4 ) , S ( -3,1) , R ( 2,1)
16
8. จงหมุนรู ปต่อไปนี้ (กําหนดให้จุด O เป็ นจุดหมุน)
7.1 ตามเข็มนาฬิกา 60 องศา A
B

7.2 ทวนเข็มนาฬิกา 90 องศา


A
B

C
•O
17
9. จงเขียนภาพที่เกิดจาการหมุนของรู ป สี่ เหลี่ยม ABCD มีพกิ ดั A ( −4,1) , B (1−,1) , C ( −2,3) , D ( −4,5 ) ตามเข็ม
นาฬิกา 90 องศา และ 180 องศา
18
เพิม่ เติม การหมุน
การหมุนในระบบพิกดั ฉาก
การหมุนทีม่ ีจุดหมุน อยู่ทจี่ ุด ( 0,0 ) ซึ่งเรียกว่า จุดกําเนิด
1. การหมุนรอบจุดกําเนิดด้ วยมุม 90 องศา
- หมุนตามเข็มนาฬิกา
ถ้าจุด A มีพิกดั ( x,y ) จะได้ A′( y, − x )
- หมุนทวนเข็มนาฬิกา
ถ้าจุด B มีพิกดั ( x,y ) จะได้ B ( − y,x )

2. การหมุนรอบจุดกําเนิดด้ วยมุม 180 องศา


- หมุนตามเข็มนาฬิกาและทวนเข็มนาฬิกา
ถ้าจุด C มีพิกดั ( x,y ) จะได้ C′( −x, − y )
ตัวอย่ าง จงเขียนภาพที่เกิดจาการหมุนของรู ป สามเหลี่ยม ABC มีพิกดั A ( −3,1) , B ( −5,8 ) , C ( −9,1) ตามเข็มนาฬิกา
90 องศา และ 180 องศา รอบจุดกําเนิด
19
ตัวอย่ าง จงเขียนภาพที่เกิดจาการหมุนของรู ป สามเหลี่ยม ABC มีพิกดั A ( −3,1) , B ( −5,8 ) , C ( −9,1) ทวนเข็ม
นาฬิกา 90 องศา และ 180 องศา รอบจุดกําเนิด

ตัวอย่ าง จงหมุนรู ปต่อไปนี้ ตามเข็มนาฬิกา 90 องศา โดยจุด o เป็ นจุดหมุน

A
B

O
20
แบบฝึ กหัดเพิม่ เติม เรื่ อง การหมุน
1. จงหมุนรู ปต่อไปนี้ (โดยกําหนดให้จุด O เป็ นจุดหมุน )
1.1 หมุนตามเข็มนาฬิกา 60 องศา

A
B

1.2 หมุนทวนเข็มนาฬิกา 90 องศา

C
•O

1.3 หมุนตามเข็มนาฬิกา 90 องศา


A

B
•O
21
2. จงเขียนภาพที่เกิดจาการหมุนของรู ป สามเหลี่ยม ABC มีพิกดั A ( 0, 0 ) , B ( −4,1) , C ( −2,3) ทวนเข็มนาฬิกา 90
องศา และ 180 องศา รอบจุดกําเนิด
22
3. จงเขียนภาพที่เกิดจาการหมุนของรู ป สี่ เหลี่ยม ABCD มีพิกดั A ( 0,3) , B ( 4,5 ) , C ( 6, 4 ) , D ( 2,1) ทวนเข็มนาฬิกา
90 องศา และ 180 องศา รอบจุดกําเนิด

You might also like