You are on page 1of 60

(รศ. ดร.

อภินันท์ ลิ้มมงคล)
ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์
Mail: apinunl@nu.ac.th
STARCH
STARCH

(1,4)-glycosidic linkages

(1,6)-glycosidic linkages

(1,4)-glycosidic linkages
เนื้อหา
1. การย่อยและการดูดซึม
2. ขบวนการเมตาบอลิซมึ
▪ Glucose metabolism
• Glycolysis
• TCA cycle
• Electron Transport Chain
▪ Glycogen metabolism
▪ Gluconeogenesis
▪ Pentose phosphate pathway
เนื้อหา
1. การย่อยและการดูดซึม
2. ขบวนการเมตาบอลิซมึ
▪ Glucose metabolism
• Glycolysis
• TCA cycle
• Electron Transport Chain
▪ Glycogen metabolism
▪ Gluconeogenesis
▪ Pentose phosphate pathway
ตับอ่อนหลั่ง insulin
เพื่อนากลูโคสเข้าไปใช้ในเนื้อเยื่อ
เนื้อหา
1. การย่อยและการดูดซึม
2. ขบวนการเมตาบอลิซมึ
▪ Glucose metabolism
• Glycolysis
• TCA cycle
• Electron Transport Chain
▪ Glycogen metabolism
▪ Gluconeogenesis
▪ Pentose phosphate pathway
In Cytosol

In Mitochondria
เกิดขึ้นใน cytoplasm
การสลายกลูโคส 1 โมเลกุล
❖ 2 pyruvate
❖ 2 ATP
❖ 2 NADH

เป้าหมายเพื่อสังเคราะห์ ATP และชีวโมเลกุลเล็ก ๆ


เมื่อเซลล์มีพลังงานและสารต้นเพียงพอแล้ว
อัตราเร็วในการเปลี่ยน กลูโคสเป็นไพรูเวทจะถูกควบคุม
Glycolysis
Enzyme
1. Hexokinase
2. Phosphoglucose isomerase
3. Phosphofructokinase
4. Aldolase
5. Triosephosphate isomerase
Enzyme
6. Glyceraldehyde 3-phosphate
dehydrogenase
7. Phosphoglycerate kinase
8. Phosphoglycerate mutase
9. Enolase
10. Pyruvate kinase
พลังงานจากการสลายกลูโคส
โดยวิถี glycolysis

4 ATP – 2 ATP

= 2 ATP

ผลผลิต
2 pyruvate
2 ATP
2 NADH
ภาวะ anaerobic conditions ภาวะ aerobic conditions
pyruvate ถูกเปลี่ยนเป็น lactate เกิดการ oxidation ของ NADH
หรือ alcohol ทาให้ได้พลังงานมากขึ้น
เนื้อหา
1. การย่อยและการดูดซึม
2. ขบวนการเมตาบอลิซมึ
▪ Glucose metabolism
• Glycolysis
• TCA cycle
• Electron Transport Chain
▪ Glycogen metabolism
▪ Gluconeogenesis
▪ Pentose phosphate pathway
In Cytosol

In Mitochondria
การเปลี่ยน pyruvate ให้เป็น acetyl CoA

❖ เกิดที่บริเวณ matrix ของ mitochondria


❖ pyruvate จาก glycolysis pathway ต้องผ่านเข้าสู่
mitochondria
❖ pyruvate ถูกเปลี่ยนเป็น acetyl CoA
pyruvate
dehydrogenase
Pyruvate + CoA + NAD+ acetyl-CoA + NADH + H+ + CO2
Citric acid cycle
Krebs cycle

❖ เกิดที่ matrix ของ mitochondria


KREBS CYCLE
KREBS CYCLE

Yield
❖ 3 NADH
❖ 1 FADH2
เนื้อหา
1. การย่อยและการดูดซึม
2. ขบวนการเมตาบอลิซมึ
▪ Glucose metabolism
• Glycolysis
• TCA cycle
• Electron Transport Chain
▪ Glycogen metabolism
▪ Gluconeogenesis
▪ Pentose phosphate pathway
Electron transport chain

glycolysis TCA cycle

NADH
FADH2

Electron transport chain

ATP

Electron transport chain เกิดที่ inner membrane ของ mitochondria


เอนไซม์ 4 กลุ่ม
1. NADH dehydrogenase complex (complex I)
(NADH reductase)
2. Succinate dehydrogenase (complex II)
3. Cytochrome bc1 complex (complex III)
(Cytochome c reductase)
4. Cytochrome c oxidase (complex IV)

Ubiquinone Q
Cytochrome C
MITOCHONDRIAL ELECTRON TRANSPORT CHAIN
การส่งผ่านอิเลคตรอน

❖ โปรตอน (H+) ถูกปล่อยออกมาที่ intermembrane


space
❖ เกิด electrochemical potential
(proton motive force)
❖ H+ ถูกส่งกลับเข้า matrix
❖ ผ่าน ATP synthase complex (F0-F1/ATPase)
ที่ inner membrane
Figure 7.12 A Chemiosmotic Mechanism Produces ATP

Cytochrome c Cytochrome c
reductase oxidase
NADH-Q
reductase Ubiquinone Cytochrome c
Intermembrane
space IV

III
I

II
Mitochondrial Succinate
matrix dehydrogenase

2H + 1/2
การส่งผ่านอิเลคตรอน

❖ โปรตอน (H+) ถูกปล่อยออกมาที่ intermembrane


space
❖ เกิด electrochemical potential
(proton motive force)
❖ H+ ถูกส่งกลับเข้า matrix
❖ ผ่าน ATP synthase complex (F0-F1/ATPase)
ที่ inner membrane
MECHANISM OF OXIDATIVE PHOSPHORYLATION
NADH ให้ 3 ATP
FADH2 ให้ 2 ATP
ATP yield citric acid cycle

Citric acid cycle Oxidative phosph.

3 NADH 3x3 9
1 FADH2 1x2 2
------------------------------
1 GTP 1x1 1

Acetyl-CoA yields 12 ATP


KREBS CYCLE

Yield
❖ 3 NADH
❖ 1 FADH2
การนา NADH จาก
cytoplasm เข้าสู่
mitochondria

E glycolysis
ขนส่ง
T
S NADH
การนา NADH จาก cytoplasm เข้าสู่ mitochondria
มี 2 วิธี คือ
1. Glycerol phosphate shuttle
2. Malate aspartate shuttle

E glycolysis
ขนส่ง
T
S NADH
พลังงานจากการเผาผลาญกลูโคส

ได้พลังงาน 36 หรือ 38 ATP

❖ ส่ง NADH ผ่าน glycerol phosphate shuttle ได้ 36 ATP


❖ ส่ง NADH ผ่าน malate aspartate shuttle ได้ 38 ATP
เนื้อหา
1. การย่อยและการดูดซึม
2. ขบวนการเมตาบอลิซมึ
▪ Glucose metabolism
• Glycolysis
• TCA cycle
• Electron Transport Chain
▪ Glycogen metabolism
▪ Gluconeogenesis
▪ Pentose phosphate pathway
GLYCOGEN METABOLISM
 Glycogenesis

▪ การสังเคราะห์ glycogen เก็บไว้


ที่ตับ
▪ เกิดในภาวะที่มีน้าตาลในเลือด
มากเกินพอ

 Glycogenolysis

▪ การสลาย glycogen
▪ เกิดในภาวะที่น้าตาลในเลือดลด
ต่าลง
GLYCOGEN
Glycogenesis

การสังเคราะห์ glycogen เกิดที่ตับ

• เริ่มต้นเปลี่ยน Glucose ให้อยู่ในรูป


glucose-6-phosphate
• เปลี่ยนต่อไปเป็น glucose-1-
phosphate
• จากนั้นจะรวมตัวกับ UTP ได้ (UDP-
glucose, UDPG)
เอนไซม์ UDP-glucose pyrophosphorylase
เร่งปฏิกิริยาการรวมตัวของ glucose-1-phosphate กับ UTP
ได้ uridine diphosphate glucose (UDP-glucose, UDPG)
การสังเคราะห์ glycogen

เอนไซม์ glycogen synthase

นาเอา UDPG มาเชื่อมต่อด้าน nonreducing end ของสายไกลโคเจนเดิม


ทาให้ได้สายยาวของสายคาร์โบไฮเดรต
เมื่อปริมาณน้าตาลกลูโคสในเลือดลดลง
จะเกิดการสลายไกลโคเจนที่สะสมไว้ที่ตับ
GLYCOGEN METABOLISM
 Glycogenesis

▪ การสังเคราะห์ glycogen เก็บไว้


ที่ตับ
▪ เกิดในภาวะที่มีน้าตาลในเลือด
มากเกินพอ

 Glycogenolysis

▪ การสลาย glycogen
▪ เกิดในภาวะที่น้าตาลในเลือดลด
ต่าลง
Glycogenolysis
การสลายไกลโคเจนให้ได้น้าตาลอาศัยการทางานของเอนไซม์

Glycogen phosphorylase
• สลาย α-1,4 bond ได้น้าตาลในรูป glucose 1-phosphate ทีละตัว จาก
ปลาย nonreducing
การควบคุม Glycogen metabolism

เอนไซม์ที่ถูกควบคุม
1. Glycogen synthase
2. Glycogen phosphorylase
เนื้อหา
1. การย่อยและการดูดซึม
2. ขบวนการเมตาบอลิซมึ
▪ Glucose metabolism
• Glycolysis
• TCA cycle
• Electron Transport Chain
▪ Glycogen metabolism
▪ Gluconeogenesis
▪ Pentose phosphate pathway
เมื่อปริมาณน้าตาลกลูโคสในเลือดลดลง
และไกลโคเจนที่สะสมไว้ที่ตับเริ่มหมดลง
Gluconeogenesis

การสังเคราะห์กลูโคสจากสารประกอบที่ไม่ใช่คาร์โบไฮเดรต

lactate amino acid


amino acid pyruvate glucose
lactate
Pyruvate
glycerol glycerol Glycerol-3-phosphate glucose
Gluconeogenesis
เกิดขึ้นที่ตับและไตในภาวะ fasting
วัตถุประสงค์เพื่อรักษาระดับน้าตาลในเลือด

สารต้นคือ
pyruvate, lactate, alanine, glycerol,
oxaloacetate

การสังเคราะห์จาก pyruvate
ใช้ปฏิกิริยาย้อนกลับของ glycolysis
การสังเคราะห์จาก pyruvate ใช้ปฏิกิริยาย้อนกลับของ glycolysis

ยกเว้น
1. Pyruvate carboxylase
2. Phosphoenolpyruvate carboxykinase
3. Fructose bisphosphatase
4. Glucose-6-phosphatase
วิถีกลูโคนีโอจินิซสิ จาก
Glyceraldehyde-3-phosphate
วิถีกลูโคนีโอจินิซสิ จาก Pyruvate ไป ไปเป็น Glucose
เป็น Glyceraldehyde-3-phosphate
ยกเว้น
Cytosol 1. Pyruvate carboxylase
2. Phosphoenolpyruvate
carboxykinase
3. Fructose bisphosphatase
4. Glucose-6-phosphatase

Pyruvate carboxylase in
mitochondria
เนื้อหา
1. การย่อยและการดูดซึม
2. ขบวนการเมตาบอลิซมึ
▪ Glucose metabolism
• Glycolysis
• TCA cycle
• Electron Transport Chain
▪ Glycogen metabolism
▪ Gluconeogenesis
▪ Pentose phosphate pathway
Pentose phosphate pathway

เริ่มต้นที่ G6P
(glucose-6-phosphate)
1. ผลิต NADPH 2. ผลิต ribose-5-phosphate
❖ สังเคราะห์กรดนิวคลิอิค ❖ สังเคราะห์กรดอะมิโน
❖ สังเคราะห์กรดไขมัน ❖ สังเคราะห์กรดนิวคลีอิค
❖ รีดิวซ์ glutathione
NADPH ทาหน้าที่รีดิวซ์ oxidized glutathione (GS-SG)

เป็นพิษ

ลดความเป็นพิษของ reactive oxygen species (ROS)


NADPH PRODUCING REACTIONS

Glucose-6-P dehydrogenase
(G6PD)

G6PD deficiency
➢ ขาด glucose 6-phosphate dehydrogenase
➢ NADPH ลดลง
➢ การสังเคราะห์ glutathione (GSH) ลดลง
➢ เม็ดเลือดแดงเปราะและแตกง่าย
➢ เกิดโรค hemolytic anemia
Glycogen

Glycogenolysis Glycogenesis
Galactose
Fructose
Glucose
Pyruvate Mannose
Lactate
Amino acid Glycolysis
Glycerol
TCA cycle
Electron transport chain

Pentose phosphate
pathway
การคานวณพลังงาน

NADPH
ribose Energy

You might also like