You are on page 1of 6

วิตามิน (Vitamin)

ปจจุบันประชาชนไดหันมาเอาใจใสในเรื่องของการดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น
และในทองตลาดมีการจําหนายผลิตภัณฑเสริมอาหารตาง ๆ รวมทั้งวิตามินออกมามากมาย
ทําใหหลายคนอาจสงสัยวาวิตามินจําเปนตอรางกายเพียงใด ถาขาดแลวจะมีผลตอรางกาย
หรือไม ในที่นี้จึงขอกลาวถึงขอมูลเกี่ยวกับวิตามินเพื่อเปนประโยชนสําหรับทุกทานใน
การเลือกรับประทาน

ความหมายของวิตามิน

วิตามิน (Vitamin) มาจากคําวา Vita ซึ่งหมายถึง ชีวิต กับคําวา Amin ซึ่งหมายถึง


สารประกอบเคมีหรือสารอินทรีย ดังนั้น Vitamin จึงหมายถึง สารอินทรียที่สําคัญตอชีวิต
วิตามินเปนสารอาหารที่รางกายตองการในปริมาณนอย แตไมสามารถขาดได ถาขาดจะ
ทําใหระบบตาง ๆ ของรางกายผิดปกติ หรือเกิดโรคตาง ๆ ได

ประเภทของวิตามิน

วิตามิน แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก


1. วิตามินที่ละลายในไขมัน ไดแก วิตามินเอ วิตามินดี วิตามินอี และวิตามินเค
2. วิตามินที่ละลายในน้ํา ไดแก วิตามินซี และวิตามินบีรวม

รายละเอียดวิตามินประเภทตาง ๆ

วิ ต ามิ น เป น สารที่ ร า งการสร า งเองไม ไ ด จึ ง จํ า เป น ต อ งได รั บ จากอาหารที่


รับประทานเขาไปในแตละวัน หากไดรับวิตามินในปริมาณนอย จะทําใหรางกายขาด
วิตามินได ซึ่งจะมีผลทําใหระบบของรางกายผิดปกติ
รายละเอียดวิตามินประเภทตาง ๆ แสดงดังตาราง

สาขาเคมี สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)


ประเภทของ อันตรายจาก
ชื่อทางเคมี ประโยชน แหลงที่พบ
วิตามิน การขาดวิตามิน
วิตามินเอ Retinol - ชวยบํารุงสายตา และแก - ผักและผลไมที่มีสีเหลือง - ทําใหมองเห็นไดยากใน
โรคตามัวตอนกลางคืน สม แดง และเขียวเขม เวลากลางคืน
- ชวยใหกระดูก และฟน - ตับ - ทําใหผิวพรรณขาด
แข็งแรง - เนย ความชุมชื้น
- ชวยสรางความตานทาน - ไขแดง - ทําใหติดเชื้อไดงาย
ใหระบบหายใจ - นมสด
- ชวยลดการอักเสบของสิว - หอยนางรม
และชวยลบจุดดางดํา
วิตามินบี 1 Thiamin - ชวยในการเจริญเติบโต - ธัญพืช ขาวซอมมือ - เหนื่อยงาย
ของรางกาย - ถั่วตาง ๆ - เบื่ออาหาร
- ชวยในการทํางานของ - งา - ปวดกลามเนื้อ
ระบบประสาท หัวใจ - ขนมปงขาว - เปนตะคริว
และกลามเนื้อ - เปนโรคเหน็บชาตามมือ
- ชวยเพิ่มการเผาผลาญ และเทา
คารโบไฮเดรต
วิตามินบี 2 Roboflavin - ชวยในการเผาผลาญ - ยีสต - เหนื่อยงาย
ไขมัน - ไข - เบื่ออาหาร
- ชวยในการเผาผลาญ - นมสด - เปนแผลที่มุมปากหรือ
กรดอะมิโนทริปโตเฟน - เนย โรคปากนกกระจอก
- เปนสวนประกอบสําคัญ - เนื้อสัตว
ของสีที่เรตินาของลูกตา - ผักใบเขียว
วิตามินบี 3 Niacin - ชวยรักษาโรคไมเกรน - เนื้อหมู เนื้อวัว - เกิดความผิดปกติของ
- ชวยลดความดันโลหิตสูง - ขนมปงโฮลมีล ระบบทางเดินอาหาร
- ชวยในการเผาผลาญ - ไข และระบบประสาท
คารโบไฮเดรต - เนย
- ชวยรักษาโรคเกี่ยวกับ
ความผิดปกติทางสมอง

สาขาเคมี สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)


ประเภทของ อันตรายจาก
ชื่อทางเคมี ประโยชน แหลงที่พบ
วิตามิน การขาดวิตามิน
วิตามินบี 5 Pantothenic - ชวยสรางฮอรโมนจาก - เครื่องในสัตว - เหนื่อยงาย ออนเพลีย
acid ตอมหมวกไต และ - ตับ - เบื่ออาหาร
ภูมิคุมกัน - งา - นอนไมหลับ
- ชวยใหบาดแผลหายเร็ว - ถั่วลิสง
- ชวยในการเปลี่ยนไขมัน
เปนน้ําตาล
วิตามินบี 6 Pyridoxine - ชวยสรางเซลลเม็ดเลือด - เนื้อสัตว - เหนื่อยงาย ออนเพลีย
- ชวยรักษาสภาพผิวหนัง - ตับ - เปนโรคหลอดเลือด
ใหเปนปกติ - กลวย อุดตัน
- ชวยรางกายสรางน้ํายอย - ผักตาง ๆ - เปนโรคโลหิตจาง
ในกระเพาอาหาร - ปลา
- ชวยในการเผาผลาญ
โปรตีน
วิตามินบี 12 Cobalamin - ชวยสรางเม็ดเลือดแดง - เนื้อสัตว - เหนื่อยงาย ออนเพลีย
- ชวยการทํางานของระบบ - ตับ - เปนโรคโลหิตจาง
ประสาท - ไข - เกิดความบกพรองของ
- ชวยในการเจริญเติบโต - นม เนย ระบบประสาท
วิตามินซี Ascorbic - ชวยสรางคอลลาเจน - ผลไม - เหนื่อยงาย ออนเพลีย
acid - ชวยในการดูดซึมธาตุ - ผักสด - เบื่ออาหาร
เหล็ก - มะเขือเทศ - เปนโรคเลือดออกตาม
- ชวยในการสรางผิวหนัง - สม ไรฟน
กระดูก และฟน - ติดเชื้อไดงาย
วิตามินดี Calciferol - ชวยดูดซึมแคลเซียม - ไข - ปวดขอและกระดูก
- ควบคุมปริมาณแคลเซียม - ปลา - ปวดเมื่อย
ในรางกาย - แสงแดด - กระดูกหักงาย
- ชวยในการสรางกระดูก - น้ํามันตับปลา
และฟน - นม เนย

สาขาเคมี สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)


ประเภทของ อันตรายจาก
ชื่อทางเคมี ประโยชน แหลงที่พบ
วิตามิน การขาดวิตามิน
วิตามินอี Tocopherol - ชวยการทํางานของระบบ - น้ํามันพืช - มีผลตอระบบประสาท
ประสาท ระบบสืบพันธุ - เมล็ดทานตะวัน - เปนโรคโลหิตจาง
และกลามเนื้อ - ถั่วตาง ๆ
- ชวยปองกันการแตก - ผักสีเขียวปนเหลือง
สลายของเยื้อหุมเซลล - มันเทศ
วิตามินเอช Biotin - ชวยในการยอย - ถั่วลิสง อัลมอนด - เหนื่อยงาย ออนเพลีย
คารโบไฮเดรตใหเปน - ไขแดง - ซึมเศรา
กลูโคส - ตับ - มีผื่นขึ้นตามรางกาย
- ชวยใหระบบประสาท - เมล็ดงา
ทํางานปกติ - เนย
- ชวยบํารุงผิวหนัง เสนผม
ตา และปาก
วิตามินเค Phytonadione - ชวยในการแข็งตัวของ - บรอกโคลี - เลือดไหลไมหยุด
เลือด - ผักกะหล่ํา - มีผลตอระบบการดูดซึม
- เปนองคประกอบสําคัญ - ไขแดง ในรางกาย
ของกระดูก - น้ํามันถั่งเลือง
- น้ํามันตับปลา
วิตามินเอ็ม Folic acid - เปนสวนประกอบสําคัญ - ธัญพืช - ระบบยอยอาหาร
ในการสรางสาร - ตับ ผิดปกติ
พันธุกรรม - ผักกาดหอม - เสี่ยงตอการเปน
- สรางเม็ดเลือดแดง - ถั่วลิสง โรคหัวใจ

สาขาเคมี สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)


ปริมาณวิตามินที่ควรไดรับในแตละบุคคล

ปริมาณสารอาหารอางอิงที่ควรไดรับประจําวัน (Dietary Reference Intake (DRI) :


ปริมาณวิตามินที่แนะนําสําหรับแตละบุคคล แสดงดังตาราง

วิตามิน
กลุมตาม
เอ บี 1 บี 2 บี 3 บี 6 บี 12 ซี ดี อี เอช เค
อายุและเพศ
μg/วัน mg/วัน mg/วัน mg/วัน mg/วัน μg/วัน mg/วัน μg/วัน mg/วัน μg/วัน μg/วัน
ทารก
6-11 เดือน 400 0.3 0.4 4 0.3 0.5 35 5 5 6 2.5
เด็ก
1-3 ป 400 0.5 0.5 6 0.5 0.9 40 5 6 8 30
4-5 ป 450 0.6 0.6 8 0.6 1.2 40 5 7 12 55
6-8 ป 500 0.6 0.6 8 0.6 1.2 40 5 7 12 55
วัยรุนผูชาย
9-12 ป 600 0.9 0.9 12 1.0 1.8 45 5 11 20 60
13-15 ป 600 1.2 1.3 16 1.3 2.4 75 5 15 25 75
16-18 ป 700 1.2 1.3 16 1.3 2.4 90 5 15 25 75
วัยรุนผูหญิง
9-12 ป 600 0.9 0.9 12 1.0 1.8 45 5 11 20 60
13-15 ป 600 1.0 1.0 14 1.2 2.4 65 5 15 25 75
16-18 ป 600 1.0 1.0 14 1.2 2.4 75 5 15 25 75
ผูใหญผูชาย
19-30 ป 700 1.2 1.3 16 1.3 2.4 90 5 15 30 120
31-50 ป 700 1.2 1.3 16 1.3 2.4 90 5 15 30 120
51-70 ป 700 1.2 1.3 16 1.7 2.4 90 10 15 30 120
> 71 ป 700 1.2 1.3 16 1.7 2.4 90 10 15 30 120

สาขาเคมี สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)


วิตามิน
กลุมตาม
เอ บี 1 บี 2 บี 3 บี 6 บี 12 ซี ดี อี เอช เค
อายุและเพศ
μg/วัน mg/วัน mg/วัน mg/วัน mg/วัน μg/วัน mg/วัน μg/วัน mg/วัน μg/วัน μg/วัน
ผูใหญผูหญิง
19-30 ป 600 1.1 1.1 14 1.3 2.4 75 5 15 30 90
31-50 ป 600 1.1 1.1 14 1.3 2.4 75 5 15 30 90
51-70 ป 600 1.1 1.1 14 1.5 2.4 75 10 15 30 90
> 71 ป 600 1.1 1.1 14 1.5 2.4 75 10 15 30 90
หญิงตั้งครรภ
ไตรมาสที่ 1 200 0.3 0.3 4 0.6 0.2 10 0 0 0 0
ไตรมาสที่ 2 200 0.3 0.3 4 0.6 0.2 10 0 0 0 0
ไตรมาสที่ 3 200 0.3 0.3 4 0.6 0.2 10 0 0 0 0
หญิ ง ให น ม
บุตร
0-5 เดือน 375 0.3 0.5 3 0.7 0.4 35 0 4 5 0
6-11 เดือน 375 0.3 0.5 3 0.7 0.4 35 0 4 5 0

ที่มา : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข (เว็บไซต http://nutrition.anamai.moph.go.th/rda%20041103.htm

จากที่กลาวมาแลว จะเห็นวาถาขาดวิตามินจะมีผลตอระบบของรางกายอยางมาก
ดังนั้นเราจึงควรรับประทานอาหารใหครบทั้ง 5 หมู เพื่อใหไดรับสารอาหารที่จําเปนครบ
ทุกประเภท และการรับประทานผลิตภัณฑเสริมอาหารก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่ชวยใหรางกาย
ไดรับสารอาหารครบถวน และเพียงพอตอความตองการของรางกาย

---------------------------------------------------

สาขาเคมี สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)

You might also like