You are on page 1of 67

2.

ระบบหมุน เวียนโลหิ ต

วิทยาศาสตรเพื่อสุขภาพ (Science for Health)


เลือดคืออะไร

เปนของเหลวสีแดงที่ไหลเวียนอยูภายในหลอดโลหิตใน
รางกาย โดยกําลังสูบฉีดของหัวใจ
ในรางกายมนุษย (ผูใหญ) จะมีโลหิตประมาณ 4,000-
5,000 มิลลิลิตร(ซี.ซี.) หรือสามารถคํานวณงายๆ คือ
น้ําหนักตัวสุทธิ x 80 = ปริมาณโลหิตที่มีในรางกาย
โดยประมาณ (หนวยเปนมิลลิลิตร)
องคประกอบของระบบไหลเวี ยนโลหิต

ระบบไหลเวียนโลหิต เปรียบเสมือนระบบขนสงในรางกาย โดยการสง


สารอาหาร กาซออกซิเจน น้ํา และสิ่งมีประโยชนอ่น
ื ๆ ไปใหเซลลทก ุ
เซลลในรางกาย แลวนําของเสียจากเซลลไปยังสวนที่มีหนาที่ขบ
ั ออก
จากรางกาย
องคประกอบที่สาํ คัญในระบบไหลเวียนโลหิต ไดแก
1. โลหิตหรือเลือด
2. เสนเลือดและหลอดเลือด
3. หัวใจ
4. น้ําเหลืองและหลอดน้ําเหลือง
1. โลหิตหรือเลือด

เปนเนื้อเยื่อชนิดหนึ่งทําหนาที่ลาํ เลียงสารอาหารตางๆ ในรางกาย


ซึ่งประกอบดวย น้ําเลือด
เม็ดเลือดสามารถแบงออกเปน 3 ชนิด คือ
1.1 เม็ดเลือดแดง เปนเม็ดเลือดขนาดเล็กมากและเปนเม็ด
เลือดที่มปี ริมาณมากที่สุด ทําหนาที่ขนสงกาซออกซิเจนจากปอดไป
ยังเนื้อเยื่อสวนตางๆ ของรางกาย
1.2 เม็ดเลือดขาว มีขนาดใหญกวาเม็ดเลือดแดง ทําหนาที่
ทําลายเชื้อโรคที่เปนอันตรายตอรางกาย รวมทั้งสรางภูมคิ ุมกันโรค
1.3 เกล็ดเลือด ชวยทําใหเลือดแข็งตัว เพื่อปดปากแผล เมื่อ
เกิดบาดแผลขึ้น
2. เสนเลือดและหลอดเลือด

แบงออกเปน 3 ชนิด ดังนี้


2.1 เสนเลือดแดง
2.2 เสนเลือดดํา
2.3 เสนเลือดฝอย
3. หัวใจ
หัวใจเปนอวัยวะที่ประกอบดวยกลามเนื้อทั้งหมด
มีขนาดเทากับกําปนของเจาของ
ตั้งอยูในทรวงอกระหวางปอดทั้ง 2 ขาง
สวนของหัวใจจะอยูดานซายของรางกาย
รอบๆ หัวใจมีเยื่อบางๆ หุมอยู เรียกวา เยื่อหุมหัวใจ
4. น้ําเหลืองและทอน้ําเหลือง

น้ําเหลือง (Lymph) เปนของเหลวที่ซึมผานเสนเลือดฝอย


ออกมาหลอเลี้ยงอยูรอบๆ เซลล ประกอบดวย กลูโคส
อัลบูมิน ฮอรโมน เอนไซม กาซ เซลลเม็ดเลือดขาว
ทอน้ําเหลือง (Lymph vessel) มีหนาที่ลําเลียงน้ําเหลือง
ทั่วรางกายเขาสูเสนเวนใหญใกลหัวใจ (Subclavian vein)
ปนกับเลือดที่มีออกซิเจนนอย มีอัตราการไหลชามาก
ประมาณ 1.5 มิลลิเมตรตอนาที
วงจรของระบบหมุนเวี ยนโลหิ ต

เปนเสนทางลําเลียงกาซ O2 ไปสูเซลล แลวลําเลียงกาซ


CO2 ไปกําจัดที่ปอดและระบบขับถาย ตามลําดับ
นอกจากนั้นระบบการไหลเวียนเลือดยังมีบทบาทในการ
ควบคุมสมดุลของเกลือและน้ําในรางกายอีกดวย
วงจรของระบบหมุนเวียนโลหิ ต

ในรางกายของสิ่งมีชีวิตระบบหมุนเวียนโลหิตมีอยู 3 ระบบ คือ ระบบเสนเลือดแดง


(arterial system) ระบบเสนเลือดดํา (venous system) และระบบเสนเลือดฝอย
(capillary system)

1. เสนเลือดแดง (artery) เปนเสนเลือดที่นําเลือดดีออกจากหัวใจ เพื่อนําไปยัง


เซลล เนื้อเยื่อ อวัยวะตางๆ ทั่วรางกาย
2. เสนเลือดดํา (vein) เปนเสนเลือดทีน
่ ําเลือดเสียเขาสูหวั ใจ โดยเปนเลือดที่มา
จากสวนตางๆ ของรางกาย

3. เสนเลือดฝอย (capillary) เปนหลอดเลือดที่เชื่อมตอระหวางหลอดเลือดแดง


และหลอดเลือดดําสานเปนรางแหแทรกอยูตามเนื้อเยื่อตางๆ ของรางกายเปนแหลงที่มี
การแลกเปลี่ยนแกสและสารตางๆ ระหวางเลือดกับเซลล
วงจรของระบบหมุนเวียนโลหิ ต
เปนอวัยวะที่สําคัญที่สุดในระบบไหลเวียนโลหิต ทําหนาที่สูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงรางกาย

หัวใจหองบนซาย (Left atrium) มีหนาที่ รับเลือดที่ผานการฟอกที่ปอด


หัวใจหองลางซาย (Left ventricle) มีหนาที่ สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงสวนตาง ๆ ของรางกาย
หัวใจหองบนขวา (Right atrium) มีหนาที่ รับเลือดที่รางกายใชแลว
หัวใจหองลางขวา (Right ventricle) มีหนาที่ สูบฉีดเลือดไปฟอกที่ปอด
วงจรของระบบหมุนเวียนโลหิ ตในรางกาย
ระบบน้ําเหลือง

สารตางๆ ในเซลลจะถูกลําเลียงกลับเขาสูหลอดเลือดดวย
ระบบน้ําเหลืองโดยสัมพันธกับการไหลของเลือดในหลอด
เลือดฝอย
ระบบน้ําเหลืองมีสวนประกอบ ดังนี้
1. อวัยวะน้ําเหลือง
2. ทอน้ําเหลือง (lymph vessel)
3. น้ําเหลือง (lymph)
ระบบน้ําเหลือง

1. อวัยวะน้ําเหลือง เปนศูนยกลางผลิตเซลลตอ ตานสิ่งแปลกปลอม


ไดแก ตอมน้ําเหลือง ตอมทอนซิล มาม และตอมไทมัส มีหนาที่ผลิต
สารตอตานเชื้อโรค และสิ่งแปลกปลอมที่เขาสูรา งกาย
2. ทอน้ําเหลือง (lymph vessel) มีหนาที่นําน้ําเหลืองเขาสูหลอด
เลือดดําในระบบหมุนเวียนของเลือด
3. น้ําเหลือง (lymph) มีลก
ั ษณะเปนของเหลวใสอาบอยูรอบๆ เซลล
สามารถซึมผานเขาออกผนังหลอดเลือดฝอยได มีหนาที่เปนตัวกลาง
แลกเปลี่ยนสารระหวางหลอดเลือดฝอยกับเซลลได
ความดันเลือด (BLOOD PRESSURE)

ความดันในหลอดเลือดแดง
เกิดจากบีบตัวของหัวใจที่ดันเลือดใหไหลไปตามหลอด
เลือด
ความดันของหลอดเลือดแดงที่อยูใกลหัวใจจะมีความดัน
สูงกวาหลอดเลือดแดงที่อยูไกลหัวใจ
สวนในหลอดเลือดดําจะมีความดันต่ํากวาหลอดเลือดแดง
เสมอ
ความดันเลือดมีหนวยวัดเปนมิลลิเมตรปรอท (mmHg)
เปนตัวเลข 2 คาคือ
ความดันเลือด (BLOOD PRESSURE)

คาความดันเลือดขณะหัวใจบีบตัว และคาความดันเลือดขณะ
หัวใจคลายตัว เชน 120/80 มิลลิเมตรปรอท
 คาตัวเลข 120 แสดงคาความดันเลือดขณะหัวใจบีบตัวให
เลือดออกจากหัวใจ เรียกวา ความดันระยะหัวใจบีบตัว
(Systolic Pressure)
 คาตัวเลข 80 แสดงความดันเลือดขณะหัวใจคลายตัว เพื่อรับ
เลือดเขาสูหัวใจ เรียกวา ความดันระยะหัวใจคลายตัว
(Diastolic Pressure)
ความดันเลือด (BLOOD PRESSURE)

ความดันเลือดสูงสุดขณะหัวใจบีบตัวใหเลือดออกจากหัวใจมีคา 100+
อายุ
ความดันเลือดขณะหัวใจรับเลือดไมควรเกิน 90 มิลลิเมตรปรอท ถาเกิน
จะเปนโรคความดันเลือดสูง
สาเหตุของโรคความดันสูง เชน หลอดเลือดตีบตัน คลอเลสเตอรอลใน
เลือดสูง โกรธงายหรือเครียดอยูเปนประจํา พบมากในผูสงู อายุหรือผูที่มี
จิตใจอยูในสภาวะเครียด
นอกจากนี้ยงั เกิดจากอารมณโกรธทําใหรางกายผลิตสารชนิดหนึ่ง
ออกมา ซึ่งสารนี้จะมีผลตอการบีบตัวของหัวใจโดยตรง
ชีพจร

การหดตัวและการคลายตัวของหลอดเลือดแดง ซึ่งตรงกับจังหวะ
การเตนของหัวใจคนปกติหวั ใจเตนเฉลี่ยประมาณ 72 ครั้งตอนาที
การเตนของชีพจรแตละคนจะแตกตางกัน
ปกติอต
ั ราการเตนของชีพจรในเพศชายจะสูงกวาเพศหญิง
เลือด

ประกอบดวย
 น้ําเลือด (plasma)
 เม็ดเลือดแดง (erythrocyte)
 เม็ดเลือดขาว (leucocyte)
 เกล็ดเลือด (blood platelet)
น้ําเลือด (PLASMA)
น้ําเลือดมีสารอยูในปริมาณตางๆ กัน ซึ่งแตละอยางก็มี
หนาที่สําคัญโดยสรุปคือ
1. น้ํา
 ชวยรักษาระดับปริมาณของเลือดและความดันโลหิตให
คงที่
 เปนตัวกลางในการลําเลียงสารตางๆ
 เปนตัวละลายเกลือแรบางอยางและทําใหเซลเปยกชื้น
อยูเสมอ
น้ําเลือด (PLASMA)

2. เกลือแร
 ชวยรักษาระดับของ osmotic pressure, pH
 ชวยรักษาสมดุลระหวางน้ําเลือด กับน้ําเหลืองและ
เซลล
น้ําเลือด (PLASMA)
3. plasma protein มีหลายชนิดแตทก ุ ชนิดทําหนาที่ชว ยรักษาระดับ
ของ osmotic pressure และ pH นอกนั้นก็มห ี นาที่เฉพาะของแตละ
ชนิด คือ - fibrinogen , prothrombin เกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด
-albumin ควบคุมปริมาณน้ําในรางกาย
-globulin ควบคุมปริมาณน้ํา ควบคุม pH ทําหนาที่เปน antibody และ
globulin บางชนิดยังชวยลําเลียงสารและเกลือแรบางอยางดวย
เม็ ดเลื อดแดง
เปนเซลลกลมแบน ตรงกลางเวา ไมมี Nucleus
ภายในเม็ดเลือดแดง มี Haemoglobin ซึ่งเปนสารทําใหเลือดมีสีแดง
ในคนปกติจะมี Haemoglobin ประมาณ 10-16 กรัมตอเลือด 100 ซีซี
ทําหนาที่นาํ ออกซิเจนที่ปอดหายใจเขาไปใหแกเซลลตา งๆ ทั่วรางกาย
และนําคารบอนไดออกไซดที่เกิดจากการหายใจของเนื้อเยื่อออกสู
ภายนอกรางกาย
เม็ ดเลื อดแดง

เม็ดเลือดแดงสรางจากไขกระดูก (Bone Narrow)


แตในขณะที่เปนตัวออนอยูในครรภมารดา อวัยวะที่สราง
เม็ดเลือดแดงคือ ตับ มาม ตอมน้ําเหลือง
เม็ดเลือดแดงมีอายุ 19-120 วัน และถูกทําลายโดยตับ
และมาม
เม็ ดเลื อดขาว
เปนเซลลทม
ี่ น
ี ิวเคลียส
ไมมี Haemoglobin
มีหนาที่ทาํ ลายเชื้อโรค และสิ่งแปลกปลอม ที่เขาสูรางกายและชวย
ซอมแซมเนื้อเยื่อที่ถกู ทําลาย
การสรางเม็ดเลือดขาวมีตลอดเวลา
เม็ดเลือดขาวมีอายุไมแนนอน ประมาณ 13 วัน
เกล็ดเลือด
เปนเซลลที่มขี นาดเล็กที่สุด
รูปรางมีหลายแบบ สวนใหญจะกลมหรือรี
ไมมี Nucleus อาจอยูเดี่ยวๆ หรืออยูรวมกันเปนกลุม
เกล็ดเลือดมีหนาที่ชวยใหเลือดแข็งตัว ซึ่งเปนกลไกการปองกันการ
เสียเลือดของรางกาย
เกล็ดเลือดสรางจากไขกระดูกมีอายุประมาณ 3-4 วัน
ระบบหมูเลือด ABO
เปนหมูเลือดที่สาํ คัญที่สุดในการใหเลือด (blood transfusion)
การกระจายของหมูเลือดในคนไทย
 A 22 %
 B 33 %
 AB 8 %
 O 37 %
ระบบหมูเลือด ABO
จําแนกหมูโ ลหิตในระบบ ABO
หมูโลหิต A คือ หมูโลหิตที่มแี อนติเจน - เอ (Antigen-A) อยูที่ผวิ
ของเม็ดโลหิตแดงและมีแอนติบอดี - บี (Antibody-B) อยูใน
น้ําเหลือง
หมูโลหิต B คือ หมูโลหิตที่มแี อนติเจน - บี (Antigen-B) อยูท่ผ
ี ิว
ของเม็ดโลหิตแดง และมีแอนติบอดี - เอ (Antibody-A) อยูใน
น้ําเหลือง
หมูโลหิต O คือ หมูโลหิตที่ไมมแี อนติเจน - เอ (Antigen-A) และ
แอนติเจน - บี (Antigen-B) อยูที่ผวิ ของเม็ดโลหิตแดง แตมี
แอนติบอดี - เอ (Antibody-A) และแอนติบอดี - บี (Antibody-B)
อยูในน้ําเหลือง
หมูโลหิต AB คือ หมูโลหิตที่มแี อนติเจน - เอ (Antigen-A) และ
แอนติเจน - บี (Antigen-B) อยูที่ผวิ ของ เม็ดโลหิตแดงแตใน
น้ําเหลืองไมมแี อนติบอดี - เอ (Antibody-A)และแอนติบอดี - บี
(Antibody-B)
การให และการรับเลือดในหมูเลือด

1. คนเลือดกรุป Rh-ve ตองรับจาก Rh-ve เทานั้น (หากคน


เลือดกรุป Rh-ve รับเลือดจาก Rh+ve อาการขางเคียงจะยิ่งรุนแรง
มากขึ้น ในครั้งถัดๆไป)
2. คนเลือดกรุป O รับไดจาก O เทานั้น แตใหกับกรุปอื่นได
ทุกกรุป
3. เลือดกรุป AB รับไดจากทุกกรุป แตใหคนอื่นไดเฉพาะคนที่
มีกรุป AB
4. คนเลือดกรุป A รับจาก A, O ใหไดกับ A, AB
5. คนเลือดกรุป B รับไดจาก B, O ใหไดกบั B, AB
หมูเลือดของพอ-แม-ลูก
พอ A + แม A = มีโอกาสไดลก
ู เปนหมูเลือด A , O
พอ B + แม B = มีโอกาสไดลกู เปนหมูเลือด B , O
พอ AB + แม AB = มีโอกาสไดลก ู เปนหมูเลือด A , AB , B
พอ O + แม O = มีโอกาสไดลก ู เปนหมูเลือด O เทานั้น
พอ A + แม B = มีโอกาสไดลก ู เปนหมูเลือด A , B , AB , O
พอ A + แม AB = มีโอกาสไดลูกเปนหมูเลือด A , AB , B
พอ B + แม AB = มีโอกาสไดลูกเปนหมูเลือด A , AB , B
พอ AB + แม O = มีโอกาสไดลูกเปนหมูเลือด A , B
พอ A + แม O = มีโอกาสไดลก ู เปนหมูเลือด A , O
พอ B + แม O = มีโอกาสไดลก ู เปนหมูเลือด B , O
ลั กษณะนิสัยตามหมูเลือด
3. ระบบขับ ถ า ยและหายใจ

วิทยาศาสตรเพื่อสุขภาพ (Science for Health)


ระบบขับถาย
รางกายมนุษยมีกลไกตางๆ คลายเครื่องยนต
รางกายตองใชพลังงานการเผาผลาญพลังงานจึงเกิดของเสีย
ของเสียที่รา งกายตองกําจัดออกไปมีอยู 2 ประเภท
1. สารที่เปนพิษตอรางกาย
2. สารที่มีปริมาณมากเกินความตองการ
ระบบขับถาย

ระบบการขับถาย เปนระบบที่รางกายขับถายของ
เสียออกไป
 ของเสียในรูปแกสคือลมหายใจ
 ของเหลวคือเหงื่อและปสสาวะ
 ของเสียในรูปของแข็งคืออุจจาระ
ระบบขับถาย

อวัยวะที่เกี่ยวของกับการขับถายของเสียในรูปของแข็งคือ ลําไสใหญ
อวัยวะที่เกี่ยวของกับการขับถายของเสียในรูปของแกสคือ ปอด
อวัยวะที่เกี่ยวของกับการขับถายของเสียในรูปของเหลวคือ ไต และ
ผิวหนัง
 อวัยวะที่เกี่ยวของกับการขับถายของเสียในรูปปสสาวะ ไดแก ไต
หลอดไต กระเพาะปสสาวะ
 อวัยวะที่เกี่ยวของกับการขับถายของเสียในรูปเหงื่อ คือผิวหนัง ซึ่งมี
ตอมเหงื่ออยูในผิวหนังทําหนาที่ขับเหงื่อ
การขับถายของเสียทางลําไสใหญ

การยอยอาหารซึ่งจะสิ้นสุดลงบริเวณรอยตอระหวางลําไสเล็กกับ
ลําไสใหญ
ลําไสเล็กยอยอาหารแลวจะเปนของเหลว
ลําไสใหญครึ่งแรกคือดูดซึมของเหลว น้ํา เกลือแรและน้ําตาล
กลูโคสที่ยงั เหลืออยูในกากอาหาร
ลําไสใหญครึ่งหลังจะเปนที่พักกากอาหารซึ่งมีลักษณะกึ่งของแข็ง
ลําไสใหญจะขับเมือกออกมาหลอลื่นเพื่อใหอุจจาระเคลื่อนไปตาม
ลําไสใหญไดงายขึ้น
การขับถายของเสียทางลําไสใหญ

ถาลําไสใหญดูดน้ํามากเกินไป จะทําใหกากอาหาร
ตกคางอยูในลําไสใหญหลายวัน จะทําใหกากอาหารแข็ง
เกิดความลําบากในการขับถาย ซึ่งเรียกวา ทองผูก
สาเหตุ ของอาการทองผูก

1. กินอาหารที่มีกากอาหารนอย
2. กินอาหารรสจัด
3. การถายอุจจาระไมเปนเวลาหรือกลั้นอุจจาระติดตอกันหลายวัน
4. ดื่มน้ําชา กาแฟ มากเกินไป
5. สูบบุหรี่จัดเกินไป
6. เกิดความเครียด หรือความกังวลมาก
โดยปกติกากอาหารผานเขาสูลาํ ไสใหญประมาณวันละ 300-
500 cm3 ซึ่งจะทําใหเกิดอุจจาระประมาณวันละ 150 กรัม
การขับถายของเสียทางปอด

ปอด คืออวัยวะที่ทําหนาที่แลกเปลี่ยนน้ํา และกาซ


คารบอนไดออกไซด ซึ่งเปนสิ่งที่รางกายไมตองการแลวจะออก
จากเซลลแพรเขาไปในเสนเลือด แลวลําเลียงไปยังปอดเกิดการ
แพรของน้ําและกาซคารบอนไดออกไซดเขาสูถุงลมปอดแลว
เคลื่อนผานหลอดลมออกจากรางกายทางจมูก
การขับถายของเสียทางไต

ไต มีลักษณะคลายเมล็ดถั่ว มีอยู 2 ขาง ติดอยูกับ


ดานหลังของชองทองยาวประมาณ 11 cm กวาง 6 cm
และหนา 3 cm ตรงกลางเวาเปนกรวยไต มีหลอดไตตอไป
ยังกระเพาะปสสาวะ
ระบบการหมุนเวียนโลหิต เลือดทั้งหมดในรางกาย
จะตองหมุนเวียนผานไตโดยนําสารทั้งที่ยังมีประโยชน
และสารที่ไมมีประโยชนแลวมาที่ไต ของเสียจะถูกไตกําจัด
ออกมาในรูปปสสาวะ
การขับถายของเสียทางไต
เริ่มจากหลอดเลือดที่นาํ เลือดมาจากหัวใจ เลือดและสารที่มากับ
เลือดจะถูกสงเขาหนวยไต หนวยไตจะกรองสารที่มีอยูในเลือด สารที่ยัง
มีประโยชนจะถูกหนวยไตดูดซึมกลับคืนมา สวนของเสียอื่นๆ จะถูก
สงไปตามหลอดไตลงสูกระเพาะปสสาวะ
กระบวนการขับถาย

ในวันหนึ่งๆ คนเราจะขับถายปสสาวะออกมา
ประมาณ 1-1.5 ลิตร ปริมาณการขับถายในแตละวันจะ
มากหรือนอยขึ้นอยูกับสิ่งตอไปนี้
- ปริมาณน้ําที่รางกายไดรับ
- ชนิดของอาหารและเครื่องดื่ม เชน แตงโม เหลา ทําให
การขับถายปสสาวะมากขึ้น
- การเสียน้ําของรางกายทางอื่น
การขับถายของเสียทางผิวหนัง

ในผิวหนังของคนเราสามารถขับถายของเสียออก
จากรางกายทางรูขมุ ขน ซึ่งสิ่งที่ถูกขับออกมาคือ เหงื่อ
การขับถายของเสียทางผิวหนั ง

เหงื่อประกอบดวยน้ําประมาณ 99% สารอื่นๆ อีก 1%


เปนพวกเกลือโซเดียมคลอไรด สารอินทรีย พวกยูเรีย
แอมโมเนีย กรดแลคตริก และกรดอะมิโน
ประโยชนของการระเหยของเหงื่อ คือ เปนการปรับระดับ
อุณหภูมิของรางกาย โดยระบายความรอนไปกับเหงื่อที่
ระเหย ปริมาณเหงื่อที่ถูกขับออกมาจะเกิดขึ้นไดดีท่ี
อุณหภูมิประมาณ 32 องศาเซลเซียส
การปฏิบัติตนเพื่ อดู แลรัก ษาอวัยวะใน
ระบบขับถ าย
1. ดื่มน้ําสะอาดวันละมากๆ รับประทานอาหารที่สุกใหมๆ
2. ไมกลั้นอุจจาระและปสสาวะเปนเวลานาน ๆ
3. ควรอาบน้ําชําระรางกายทุกวัน
4. ออกกําลังกายอยางเหมาะสม
5. ถามีอาการผิดปกติตองรีบปรึกษาแพทย
โครงสรางของระบบหายใจ
ประกอบดวย
ทางเดินหายใจสวนตน เริ่มตั้งแตรูจมูกถึงสายเสียง
หนาที่
1. ปรับความชื้นและความอบอุนแกอากาศที่หายใจเขาใหเหมาะสมกับอุณหภูมริ างกาย
2. กรองสิ่งแปลกปลอมและเชื้อโรค โดยใชขนกวัด
3. เปนทางนําอากาศเขาสูรางกาย รับกลิ่น และทําใหเกิดเสียงพูด
4. โพรงไซนัส ทําหนาที่ปรับเสียงพูดใหกองกังวาน

ทางเดินหายใจสวนปลาย เริ่มตั้งแตสายเสียงถึงปอด
หนาที่
1.เปนทางลําเลียงอากาศ
2.การแลกเปลี่ยนกาซ
ระบบหายใจ
ระบบที่รางกายแลกเปลี่ยนแกส โดยรางกายจะรับแกสออกซิเจน
(O2) ที่อยูภายนอกเขาสูรางกาย และขับแกสคารบอนไดออกไซด (CO2)
ออกจากรางกาย
อวัยวะที่สาํ คัญในระบบนี้ไดแก จมูก หลอดลม ปอด กลามเนื้อกระ
บังลม และกระดูกซี่โครง
จมูก

ทําหนาที่ในการนําอากาศเขาสูรางกายและรับรูกลิ่น
ภายในจมูกจะมีขนเล็กๆ ทําหนาที่กรองฝุนละออง
มีเยื่อเมือกหนาบุอยู คอยดักจับเชื้อโรค
มีกลุมประสาทสัมผัสกลิ่นคอยรับกลิ่น
อากาศที่สูดหายใจเขาไปเมื่อผานโพรงจมูกแลวจะลงสูคอหอย ลิ้นไก จะชวยปด
โพรงจมูกและชองปากเพื่อมิใหอากาศไหลกลับ
หลอดลม
จะทอดลงไปในชองอก ปลายแยกเปนขั้วปอดทั้งสองขาง
เปนทอทางผานของอากาศและออกจากปอดที่ใหญที่สุด
ปอด

เปนอวัยวะที่มีลักษณะคลายฟองน้ํา
ประกอบดวยถุงลมเล็กๆ เปนจํานวนมาก ถุงเหลานี้
ยืดหยุนและหดตัวได
ปอดจะตั้งอยูภายในทรวงอกทั้งสองขาง ตรงกลางระหวาง
ขั้วปอดเปนที่ตั้งของหัวใจ
อากาศที่ผา นทางจมูกจะเขาสูหลอดลมใหญและหลอดลมเล็กแยกเขาสูขั้วปอดซายขวา

โดยหลอดลมดานขวาสั้นกวาดานซาย ทําใหเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมตกลงไปหลอดลม
ดานขวามากกวาดานซาย

ดังนั้นจึงพบวาปอดดานขวามักเกิดการติดเชื้อมากกวาปอดดานซาย
ปอดอยูในชองทรวงอก มีลักษณะยืดหยุนคลายฟองน้ํา แบงเปนปอดขวาและปอดซาย
โดยปอดขวามี 3 กลีบ และปอดซายมี 2 กลีบ
ปอดแตละขางหุมดวยเยื่อหุมบางๆ สองชั้น โดยเยื่อชั้นในยึดติดกับเนื้อปอดและเยื่อ
ชั้นนอกยึดติดกับผนังทรวงอก
ชองวางระหวางเยื่อทั้งสองชั้นเรียกวา ชองเยื่อหุมปอดซึ่งภายในมีของเหลวใสเคลือบอยู
ปอดแตละกลีบประกอบดวยปอดกลีบเล็กๆ หลายกลีบ
แตละกลีบเล็กๆ ประกอบดวย แขนงของหลอดลมฝอย 1 อัน และถุงลมหลายๆ อัน
บริเวณถุงลมจะมีหลอดเลือดฝอยกระจายอยูทั่วๆ ไป หลอดเลือดฝอยเหลานี้จะรับ
เลือดดําจากหัวใจ และเลือดดําจะรับออกซิเจนจากถุงลมเปลี่ยนเปนเลือดแดง
เลือดแดงจะไหลออกจากปอดกลับเขาสูหัวใจและไปยังสวนตางๆ ของรางกาย
กระบังลมและซี่โครง
เปนกลไกในการหายใจ ขณะที่ปริมาณแกสคารบอนไดออกไซดใน
กระแสเลือดมีปริมาณมาก สมองจะสั่งงานมายังกระบังลมและ
ซี่โครง ใหกระบังลมหดตัวและซี่โครงเคลื่อนตัวสูงขึ้นทําใหเกิดการ
หายใจเขา หรือ ขณะที่กระบังลมขยายตัว และซี่โครงเคลื่อนตัว
ต่ําลงทําใหเกิดการหายใจออก
การหายใจ

คนปกติจะมีอัตราการหายใจประมาณ 14-18 ครั้งตอนาที


การหายใจเปนไปโดยอัตโนมัติ
เราไมสามารถกลั้นหายใจไดเกิน 1 นาที
อัต ราการหายใจจะเร็วหรือช าขึ้น อยู
กับป จจัยตอไปนี้
1. อายุ
- เด็กทารกหายใจประมาณ 30–40 ครั้งตอนาที
- ผูใหญ หายใจประมาณ 12-16 ครั้งตอนาที
2. ภาวะของรางกาย
- ขณะที่ออกกําลังกายหรือเปนไข การหายใจจะเร็วหรือแรงเพื่อให
รางกายไดรับกาซออกซิเจนมาก
- ขณะนอนหลับ รางกายจะทํางานนอยลง จึงตองการกาซ
ออกซิเจนนอยกวาปกติ การหายใจจะชาลง
การปฏิบัติตนเพื่ อดู แลรัก ษาอวัยวะ
ภายในระบบหายใจ
1. พยายามอยูในที่ที่มีอากาศบริสท
ุ ธิ์ เพื่อปอดจะไดรบ
ั กาซออกซิเจน
เพียงพอ
2. ไมสวมเสื้อผาหรือเข็มขัดที่รด
ั ตึงจนเกินไป เพราะปอดจะขยายตัว
ไมสะดวก
3. สวมเสื้อผาใหอบอุนอยูเสมอ ในขณะที่อากาศเย็น
4. ไมสบ
ู บุหรี่ และไมคลุกคลีกบ
ั ผูปวยที่เปนไขหวัดหรือวัณ
โรค เพราะอาจจะติดเชื้อได
5. ยืนหรือนั่งตัวตรง เพื่อใหปอดทํางานไดสะดวก
6. ควรออกกําลังกายอยูเสมอ

You might also like