You are on page 1of 215

Infographic Book & Augmented Reality

หนังสือสงเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา

หนังสือสงเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


ศาสนา และวัฒนธรรม

สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
กิจการโทรคมนาคมแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
o o k & A u gmen
ih c B ted
p

Re
gra

ality
Info

หนังสือสงเสริมประสิทธิภำพกำรเรียนรู
กลุมสำระกำรเรียนรูสังคมศึกษำ
ศำสนำ และวัฒนธรรม

ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกิจกำรกระจำยเสียง ส�ำนักวิชำกำรและมำตรฐำนกำรศึกษำ
กิจกำรโทรคมนำคมแหงชำติ ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
Infographic Book & Augmented Reality
หนังสือสงเสริมประสิทธิภำพกำรเรียนรู
กลุมสำระกำรเรียนรูสังคมศึกษำ ศำสนำ และวัฒนธรรม
จ�ำนวนพิมพ ๔๐,๐๐๐ เล่ม
พิมพครั้งแรก พุทธศักราช ๒๕๖๑
ลิขสิทธิ์
ส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ผูจัดพิมพ
กลุ่มพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ส�านักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
ส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ถนนราชด�าเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๓๕
โทรสาร ๐ ๒๒๘๘ ๕๙๑๙
www.http://academic.obec.go.th
ผูพิมพ
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย
๗๙ ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว
เขตจตุจักร กรุงเทพฯ ๑๐๙๐๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๕๖๑ ๔๕๖๗
โทรสาร ๐ ๒๕๗๙ ๕๑๐๑

ขอมูลทำงบรรณำนุกรมของหอสมุดแหงชำติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
กระทรวงศึกษาธิการ. ส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
หนังสือส่งเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู ้ กลุม่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม.-- กรุงเทพฯ :
ส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, 2561.
216 หน้า.

1. สังคมศึกษา--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา). I. ชื่อเรื่อง.

300.7
ISBN 978-616-395-932-4
ค�ำน�ำ

หนังสือส่งเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นหนังสือที่ส�ำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานจัดท�ำขึน้ โดยน�ำเนือ้ หาส�ำคัญของวิชาภูมศิ าสตร์
เศรษฐศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ไทย ประวัตศิ าสตร์สากล และอาเซียน ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย มาออกแบบข้อมูลของเนื้อหาเป็นภาพ Infographic ในรูปแบบต่างๆ
ในแต่ละเนื้อหาที่แตกต่างกันอย่างสร้างสรรค์
นอกจากนี้ ได้น�ำเทคโนโลยี Augmented Reality (AR) หรือการสร้างภาพ
สามมิติเสมือนจริง มาผสมผสานกับการออกแบบข้อมูลเป็นภาพ Infographic ด้วย
ซึง่ การสือ่ สารด้วยภาพ Infographic และภาพเคลือ่ นไหว Augmented Reality (AR)
จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถจดจ�ำและเข้าใจเนื้อหาสาระและองค์ความรู้ที่ซับซ้อน
ได้ง่าย รวดเร็ว และแม่นย�ำ มากกว่าการอ่านหนังสือปกติ
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ขอขอบคุณคณะกรรมการจัดท�ำ
ต้นฉบับหนังสือส่งเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู้ ให้สำ� เร็จลุลว่ งด้วยดี รวมทัง้ ขอขอบคุณ
ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)
ที่ได้สนับสนุนงบประมาณในการจัดพิมพ์หนังสือ และหวังว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็น
ประโยชน์แก่สถานศึกษา ครูผสู้ อน ผูเ้ รียน และผูส้ นใจ ได้นำ� ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
ให้เกิดประสิทธิภาพและบรรลุวตั ถุประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑

(นายบุญรักษ์ ยอดเพชร)
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สารบัญ
เศรษฐศำสตร
• เศรษฐศาสตร์ ๖๔
• ระบบเศรษฐกิจ ๖๖
• กลไกราคา ๖๙
• บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคา ๗๐
• ตลาด ๗๒
• สหกรณ์ ๗๔
• แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ๗๖
• ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาประเทศ ๗๘
• นโยบายการเงินการคลังของรัฐบาล ๘๐
• การค้าและการเงินระหว่างประเทศ ๘๖
• ประเทศไทย ๔.๐ ๙๒

ภูมิศำสตร
• เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ๑๐
• ลักษณะทางกายภาพของโลก ๑๔
• ทรัพยากรธรรมชาติ ๒๐
• ภัยพิบัติธรรมชาติ ๒๒
• การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ๓๐
• วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม ๓๔
• ปฏิสมั พันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อม
ทางกายภาพกับกิจกรรมของมนุษย์ ๔๔
• มาตรการปองกันและแก้ไขปญหา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ๕๒
ประวัติศำสตรไทย
• ประวัติศาสตร์และวิธีการศึกษา ๙๖
• การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย ๑๐๘
• สถาบันพระมหากษัตริย์ไทย ๑๑๔
• วิเคราะห์เหตุการณ์ส�าคัญ ๑๑๖
• ๒๐ บุคคลส�าคัญของไทย
ที่ได้รับการยกย่องจากยูเนสโก ๑๒๒
• วัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย ๑๒๖

ประวัติศำสตรสำกล
• อารยธรรมโลกยุคโบราณ ๑๓๒
• การติดต่อระหว่างโลกตะวันออก
กับโลกตะวันตกในสมัยโบราณ ๑๔๔
อำเซียน • เหตุการณ์ส�าคัญของโลกในสมัยกลาง ๑๔๖
• เหตุการณ์ส�าคัญของโลกสมัยใหม่ ๑๔๗
• ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน ๑๗๔
• เหตุการณ์ส�าคัญของโลกสมัยปจจุบัน ๑๖๒
• อัตลักษณ์และความหลากหลาย ๑๗๘
• เชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น ๑๘๘
• ความเสมอภาคและความยุติธรรม ๑๙๔
• ร่วมมือกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน ๒๐๒
ภูมิศาสตร์
(Geography)

8
ภูมิศาสตร์ 9

๑. เครื่องมือทางภูมิศาสตร์

๒. ลักษณะทางกายภาพของโลก

๓. ทรัพยากรธรรมชาติ

๔. ภัยพิบัติทางธรรมชาติ

๕. การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ

๖. วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

๗. ปฏิสมั พันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมทางกายภาพกับกิจกรรมของมนุษย์

๘. มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม

แผนที่
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
สิ่งที่แสดงถึงลักษณะของพื้นผิวโลก หรือสิ่งที่ปรากฏบนพื้นโลกทั้งที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ
และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น มีการย่อส่วนข้อมูลเหล่านั้นลงบนวัตถุที่มีผิวเรียบ และมีการแทน
ลักษณะของข้อมูลเหล่านั้นด้วยสัญลักษณ์

ประเภทของแผนที่ แผนที่ภูมิประเทศ
แผนที่ที่แสดงรายละเอียดของ
แผนที่ภูมิประเทศ ภูมิประเทศ ทั้งแนวราบและแนวดิ่ง
แผนที่เฉพาะเรื่อง หรืออาจแสดงให้เห็นเป็น ๓ มิติ

องค์ประกอบของแผนที่

10
ภูมิศาสตร์ 11

แผนที่เฉพาะเรื่อง
แผนที่ที่สร้างขึ้นจากแผนที่พื้นฐานเพื่อแสดงรายละเอียดเฉพาะอย่าง
ประเภทแผนที่เฉพาะเรื่อง
แผนที่แสดงด้วยจุด แผนที่แสดงด้วยเส้น
๑) แผนที่จุด : แสดงต�าแหน่งที่ตั้ง ๑) แผนที่เส้น : แสดงโครงข่ายของข้อมูล
และการกระจายหรือมูลค่าของข้อมูล

แผนที่เสนทางการบิน
แผนที่การกระจายประชากร ภายในประเทศ

๒) แผนที่สัญลักษณ์สัดส่วน : แสดงข้อมูล ๒) แผนที่ไหลเวียน : แสดงข้อมูลเชิงปริมาณ


เชิงปริมาณด้วยจุดที่มีขนาดที่แตกต่างกัน ด้วยเส้นที่มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด

แผนที่จํานวนประชากรของเมืองระดับโลก แผนที่การคาทาสขามมหาสมุทรแอตแลนติก

แผนที่แสดงด้วยพื้นที่
๑) แสดงต�าแหน่งที่ตั้ง และการกระจายของข้อมูล ๒) แสดงข้อมูลเชิงปริมาณที่มีการแบ่งชั้นบนพื้นที่
ทางกายภาพเพียงชนิดเดียว

แผนที่เขตภูมิอากาศ แผนที่จํานวนผูใช Facebook


คือ รูปถ่ายของลักษณะภูมิประเทศพื้นผิวโลกจากการถ่ายรูปในระยะไกล
รูปถ่ายทางอากาศ
ด้วยกล้องถ่ายรูปที่ติดกับเครื่องบินในการถ่ายภาพ แบ่งได้เปน ๓ ประเภท

ประเภทของรูปถ่ายทางอากาศ

รูปถ่ายแนวดิ่ง รูปถ่ายเฉียงต�่า รูปถ่ายเฉียงสูง

• ได้จากกล้องถ่ายรูปที่ติดตั้ง • ก�าหนดให้แกนกล้องท�ามุมกับ • ก�าหนดให้แกนกล้องท�ามุมกับ


ให้แนวแกนกล้องถ่ายรูป แนวดิ่ง แนวดิ่งโดยมีมุมเอียงที่มาก
ขนานกับแนวดิ่ง • ไม่ปรากฏแนวขอบฟ้าบนรูปถ่าย • ปรากฏแนวขอบฟ้าบนรูปถ่าย
• นิยมใช้อย่างกว้างขวาง เช่น
งานรังวัดจากรูปถ่าย
และงานแปลความหมาย
ในกิจการต่างๆ

ตัวอยางภาพจากดาวเทียม

ภาพถ่ายช่วงคลื่นตามองเห็น
และอินฟราเรดใกล้

ภาพจาก
ดาวเทียม
คือ ภาพเชิงเลข
ที่แสดงข้อมูลพื้นผิว ภาพถ่าย
ภูมิประเทศ ด้วยเทคนิค ช่วงคลื่น
อินฟราเรด
การรับรู้จากระยะไกล ความร้อน
โดยอาศัยดาวเทียม
ในการบันทึกข้อมูล
เพื่อการส�ารวจ
ทรัพยากรธรรมชาติ ภาพถ่ายช่วงคลื่นไมโครเวฟ

12
ภูมิศาสตร์ 13

เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
บุคลากร ซอฟต์แวร์

GIS ข้อมูล

วิธีการ
ฮาร์ดแวร์

การบูรณาการความรู้และเทคโนโลยีทางด้าน ระบบข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ เชื่ อ มโยงกั บ


การรับรู้จากระยะไกล (Remote Sensing [RS]) ค่าพิกดั ภูมศิ าสตร์และรายละเอียดของ
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information วัตถุบนพืน้ โลก โดยใช้คอมพิวเตอร์ที่
System [GIS]) และระบบดาวเทียมน�าหนของโลก ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
(Global Navigation Satellite System [GNSS]) เพื่อการน�าเข้า จัดเก็บ ปรับแก้ แปลง
เพื่อประยุกต์ใช้งานในด้านต่างๆ ให้เป็นไปอย่าง วิเคราะห์ข้อมูล และแสดงผลลัพธ์ใน
มีประสิทธิภาพ รูปแบบต่างๆ

การรับรู้จากระยะไกล (RS) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ระบบดาวเทียมน�าหนของโลก (GNSS)

วิทยาศาสตร์และศิลปะของการ
ได้มาซึ่งข้อมูล เกี่ยวกับวัตถุ พื้นที่
หรือปรากฏการณ์ จากเครื่องมือ
บันทึกข้อมูล โดยปราศจากการ
เข้าไปสัมผัสวัตถุเป้าหมายแต่ใช้
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นสื่อในการ
ได้มาของข้อมูล เทคโนโลยีในการก�าหนดต�าแหน่งและน�าหนบนพื้นโลกโดย
อาศัยดาวเทียม สถานีภาคพื้นดิน และเครื่องรับสัญญาณ

ธรณีภาค
ลักษณะทางกายภาพของโลก
เปลือกโลก ธรณีภาค
โครงสร้างภายในโลก หนา 0-100 กม.
ฐานธรณภี าค
(เปลือกโลกและ
เนื้อโลกส่วนบน)


เนื้อโล
เนื้อโลก 2,900 กม.

d
แก่นโลกชั้นนอก liqui

ก ล
5,100 ก

แก่นโ
ม.
แก่นโลกชั้นใน solid

6,378 กม.

แผ่นเปลือกโลกหลัก พื้นสมุทร และพื้นทวีป ๑๕ แผ่น

N
การเคลื่อนที่ของแผนอินเดีย
Ocean ridge
เขาหาแผนยูเรเซีย

การเคลื่อนที่ของแผนเปลือกโลกเขาหากัน N

14
ภูมิศาสตร์ 15

ลักษณะภูมิประเทศของโลก

ที่ราบดินดอนสามเหลี่ยม ที่ราบน�้าท่วมถึง ที่ราบสูงระหว่างเขา

ที่ราบลุ่ม ที่ราบสูง ภูเขาสูงปานกลาง


ที่ราบ ภูเขา ภูเขาสูง

ทะเลทราย ภูเขาไฟ ภูเขาหินคดโค้ง

ชายฝงยกตัว ชายฝงจมตัว เกาะปะการัง


อุทกภาค
วัฏจักรน�้า

กระแสน�้าในมหาสมุทร
Warm
Cold

กระแสน�้าในมหาสมุทรเป็นการเคลื่อนที่ของ กระแสน�า้ ในมหาสมุทรอาจไหลเป็นระยะทาง


น�า้ ในมหาสมุทรทีค่ อ่ นข้างถาวร ต่อเนือ่ ง และมีทศิ ทาง หลายพันกิโลเมตร และมีส่วนก�าหนดภูมิอากาศของ
ซึ่งเกิดจากการหมุนรอบตัวเองของโลก ลมประจ�า ทวีปโดยเฉพาะอุณหภูมิ ในซีกโลกเหนือกระแสน�้า
ความแตกต่างของความร้อนที่ได้รับจากดวงอาทิตย์ ไหลเวียนตามเข็มนาฬิกา ส่วนในซีกโลกใต้ไหลทวนเข็ม
ความเค็ม และความหนาแน่นของน�้า นาฬิกา
16
ภูมิศาสตร์ 17

บรรยากาศภาค
ส่วนประกอบของบรรยากาศ ระบบลมบนพื้นโลก
สัมพันธ์กับแนวความกดอากาศจากเส้นศูนย์สูตร
ไปยังขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้
Oxygen
Nitrogen 20.9%
78% Argon gases
0.90%
Other gases
0.17%
Carbon dioxide
0.03%
ชั้นบรรยากาศ

เขตละติจูดตามปจจัยของภูมิอากาศ
Latitude; scale
Proportional to area: Latitude zones:
North polar
Arctic
Subartic
Arctic Circle North Pole Midlatitude

Subtropical

โทรโพสเฟียร์ เป็นชั้นที่ติดกับพื้นผิวโลก มีความ Tropical


Tropic of Cancer 23 ½
หนาแน่ น มาก อุ ณ หภู มิ ข องอากาศลดลงตาม
Equator Equatorial
ความสูงของพื้นที่ มีความสัมพันธ์กับโลกมากที่สุด
Tropic of Capricorn 23 ½
โดยเฉพาะด้านอุตุนิยมวิทยา
Tropical

Subtropical
Antarctic Midlatitude
Circle South Pole
Subantarctic
Antarctic
South polar
เขตภูมิอากาศของโลก
• เขตภูมิอากาศจ�าแนกโดยใช้ข้อมูลค่าเฉลี่ยอุณหภูมิและหยาดน�้าฟ้า
• ภูมิอากาศแตกต่างกันตามละติจูด ลักษณะภูมิประเทศ ระยะใกล้ไกลจากทะเล และกระแสน�้า

เขตภูมิอากาศของโลกจัดตาม เคิปเพิน-ไกเกอร์
A ภูมิอากาศชื้นแบบศูนย์สูตร C ภูมิอากาศอบอุ่นชื้น E ภูมิอากาศหนาวแบบขั้วโลก
ไม่มีฤดูแล้ง ไม่มีฤดูแล้ง ทุนดราและน�้าแข็ง
ฤดูแล้งสั้น ฤดูแล้งสั้น H ภูมิอากาศแบบที่สูง
a = ฤดูร้อนร้อน
ฤดูหนาวแห้งแล้ง ฤดูหนาวแห้ง b = ฤดูร้อนเย็นสบาย ที่สูงทั่วไป
B ภูมิอากาศแห้งแล้ง D ภูมิอากาศหนาวชื้น c = ฤดูร้อนสั้นและเย็นสบาย
d = ฤดูหนาวหนาวจัด
กึ่งแล้ง h = ร้อน ไม่มีฤดูแล้ง
แล้ง k = หนาว ฤดูหนาวแห้ง ดัดแปลงจาก H.J. de Blij, P.O. Muller, and John Wiley & Sons, Inc., 2012

Aw Cfa Cfb Cs

BWh

กราฟภูมิอากาศ (climograph) แสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภูมิอากาศ เส้นกราฟแสดงอุณหภูมิ


เฉลี่ยรายเดือน กราฟแท่งแสดงปริมาณฝนเฉลี่ยรายเดือน

18
ภูมิศาสตร์ 19

ชีวภาค
ชีวนิเวศ (biome) คือ พื้นที่ที่มีภูมิอากาศ ลักษณะทางกายภาพ
และลักษณะของกลุ่มสิ่งมีชีวิต (พืชและสัตว์) ที่คล้ายคลึงกัน

ป่าสน (taiga) ป่าไม้พุ่มเตี้ย (chaparral) ป่าฝนเขตร้อน (tropical rainforest)

เส้นศูนย์สูตร

ป่าฝนเขตร้อน ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น ภูเขาสูง


ทุ่งหญ้าสะวันนา ป่าไม้ใบกว้างเขตอบอุ่น เขตน�้าแข็งขั้วโลก
ทะเลทราย ป่าสน
ป่าไม้พุ่มเตี้ย ทุนดรา แผนที่เขตชีวนิเวศ

ทะเลทราย (desert) ทุ่งหญ้าสะวันนา (savanna) ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (steppe)


๓ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีประโยชน์
และสามารถตอบสนองต่อความต้องการ
ในการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ได้

ทรัพยากรทดแทนได้
เป็นทรัพยากรที่เกิดขึ้นทดแทนได้ทัน
กับการใช้ของมนุษย์ เช่น น�้ำ ดิน ป่าไม้ ทรัพยากรทดแทนไม่ได้
ใช้แล้วหมดไปหรือเกิดขึ้นใหม่ได้ช้าจนท�ำให้
ไม่เพียงพอต่อความต้องการของมนุษย์
เช่น เชื้อเพลิงฟอสซิล แร่

ทรัพยากรน�้ำ
ส�ำคัญต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์
ทรัพยากร
แบ่งได้เป็น ๒ ประเภท ธรรมชาติ
น�้ำผิวดิน เกิดจากหยาดน�้ำฟ้า หรือน�้ำในบรรยากาศ และไหลบ่า
หรืออาจถูกกักเก็บบนพื้นผิวของโลก ได้แก่ แม่น�้ำ ล�ำธาร
ที่ส�ำคัญ
คลอง หนอง บึง ทะเลสาบ และพื้นที่ชุ่มน�้ำ

น�้ำใต้ดิน แทรกตัวอยู่ในช่องว่างใต้ผิวดินและชั้นหิน
น�้ำใต้ดินที่อยู่ในเขตอิ่มน�้ำเรียกว่า “น�้ำบาดาล”

ทรัพยากรดิน
เกิดจากการแปรสภาพ และการผุพังของหินและแร่
ผสมกับอินทรียวัตถุที่เน่าเปื่อย เมื่อมีอากาศและ
น�้ำในปริมาณที่เหมาะสม ดินจะเป็นแหล่งค�้ำจุนและ
เป็นแหล่งอาหารที่ส�ำคัญของพืช
20
ภูมิศาสตร์ 21

ทรัพยากรป่าไม้
เป็นแหล่งวัตถุดิบของปัจจัยสี่ และรักษาสมดุลของสิ่งแวดล้อม
• ป่าไม้เนื้อแข็งเขตร้อน อยู่ใกล้เขตศูนย์สูตร ได้รับแสงแดดสม�่ำเสมอ
และมีปริมาณฝนตกชุกอุณหภูมิสูงสม�่ำเสมอ ๒๐ - ๓๕ องศาเซลเซียส
• ป่าไม้เนื้อแข็งเขตอบอุ่น อยู่ระหว่างละติจูด ๒๓ - ๕๘ องศาเหนือและใต้
• ป่าไม้เนื้ออ่อน อยู่ตั้งแต่ละติจูด ๕๘ องศาเหนือขึ้นไปถึงขั้วโลก

ทรัพยากรแร่
เป็นธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
มีโครงสร้างและส่วนประกอบที่แน่นอน มีสมบัติต่างๆ เฉพาะตัว
แบ่งได้เป็น ๒ ประเภท คือ แร่ประกอบหิน กับแร่เศรษฐกิจ
• แร่โลหะ เช่น เหล็ก ดีบุก ทองค�ำ ตะกั่ว อะลูมิเนียม
• แร่อโลหะ เช่น ซิลิกา ก�ำมะถัน หินเกลือ ไมกา ดินขาว

เชื้อเพลิงฟอสซิล
เป็นทรัพยากรพลังงานประเภททดแทนไม่ได้ เกิดจากการทับถม
และแปรสภาพของซากสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ ได้แก่ น�้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ
และถ่านหิน

พลังงานทดแทน
ใช้ทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล
• พลังงานทางเลือก (alternative energy) เช่น หินน�้ำมัน (oil shale)
ทรายน�้ำมัน (tar sand)
• พลังงานหมุนเวียน (renewable energy) ได้จาก แสงอาทิตย์ น�้ำ
ลม คลื่น และพลังงานความร้อนใต้พิภพ

องค์ประกอบที่ส�ำคัญ ได้แก่ แร่ น�้ำ อากาศ และอินทรียวัตถุที่เหมาะสม


• ดินเหนียว มีเนื้อละเอียด ยืดหยุ่นสูงเมื่อเปียกน�้ำ อุ้มน�้ำได้ดี
• ดินร่วน มีเนื้อค่อนข้างละเอียด ยืดหยุ่นพอควร ระบายน�้ำได้ดีปานกลาง
• ดินทราย มีเนื้อเกาะกันไม่แน่น ระบายน�้ำและอากาศได้ดีมาก อุ้มน�้ำได้น้อย
๔ ภัยพิบัติธรรมชาติ
อันตรายหรือหายนะที่เกิดจากธรรมชาติ มีความรุนแรง
และกอใหเกิดความเสียหายตอชีวิตและทรัพยสิน
ในพื้นที่ตั้งแตระดับชุมชน ประเทศ หรือภูมิภาค

ards
เขตภัยพิบัติธรรมชาติประเภทตางๆ ของโลก
เขตแผนดินไหว เขตพายุหมุนเขตรอน เขตพายุหมุนนอกเขตรอน
เขตภูเขาไฟปะทุ ชายฝงที่เกิดสึนามื

H az
เขตที่มีคลื่นสูงมากกวา ๕ เมตร

al
และคลื่นพายุซัดฝง

ภัยพิบัติดานธรณีภาค
N atur แผนดินไหวตื้น 0 - 70 กม.
แผนดินไหวลึกปานกลาง 70 – 300 กม.
แผนดินไหวลึกมาก >300 กม.
แผนดินไหว Ocean trench
การสั่นสะเทือนของแผนดินบนพื้นผิวโลก (convergence)

Shallow earthquakes
Deep earthquakes
(mainly thrust faulting)
รอยเลื่อนมีพลัง (active fault)
22 จุดเหนือศูนยแผนดินไหว (epicenter)
ศูนยเกิดแผนดินไหว (focus)
ไฟไหม
ภูมิศาสตร์ 23

การสั่นไหวของแผนดิน

earthquake
ประเภทแผนดินไหว (types of earthquake) ตามขนาดแผนดินไหว
ขนาดเล็กมาก (micro earthquake) มีขนาด ๐ – ๓.๐
ขนาดเล็ก (minor earthquake) มีขนาด ๓.๐ – ๓.๙
ขนาดเบา (light earthquake) มีขนาด ๔.๐ – ๔.๙
ขนาดปานกลาง (moderate earthquake) มีขนาด ๕.๐ – ๕.๙
ขนาดรุนแรง (strong earthquake) มีขนาด ๖.๐ – ๖.๙
ขนาดรุนแรงมาก (major earthquake) มีขนาด ๗.๐ – ๗.๙
ขนาดใหญมาก (great earthquake) มีขนาด ๘.๐ และ >
รอยแตกบนพื้นดิน

การทำใหดินเหลว แผนดินถลม

สึนามิ
volcanic eruption
การปะทแุ บบ
สต
การปะทุแบบพิเนียน

รอม
ภูเขาไฟปะทุ

โบเลยี น
ลักษณะที่แมกมาใตพื้นผิวโลกแทรกดัน
หรือปะทุขึ้นมาตามรอยแยก
แผนธรณีภาค หรือปลองภูเขาไฟ
จนพนพื้นผิวแผนดิน ภูเขาไฟ
มีพลังสวนใหญกระจายอยูบริเวณ
ขอบแผนธรณีภาค มีทั้งที่อยูบนแผนดินทวีป
เกาะ และใตมหาสมุทร

ภัยพิบัติจากภูเขาไฟปะทุ
จะมีผลกระทบ
เกิดตามมาแตกตางกัน
การปะ

ขึ้นอยูกับขนาดความรุนแรง
และลักษณะรูปแบบการปะทุ
ทุแ

บฮ ของภูเขาไฟแตละลูก

าวาย ภัยพิบัติหลัก ที่เกิดจาก


เ อีย น ภูเขาไฟปะทุ ประกอบดวย
ฝุนภูเขาไฟ เถาธุลี กรวด และพัมมิซ
CO2 H2O
กาซ SO2
ทีฟรา หินตะกอนภูเขาไฟหลาก
(gas) (tephra) (pyroclastic flow)
บอมบภูเขาไฟ
แผนดินถลม
ฝนกรด ลาฮาร (landslide)
(lahar)
เนื้อหาที่สามารถเปิดแอปพลิเคชันดูได้

ลาวาหลาก
(lava flow)
24
ภูมิศาสตร์ 25

การเคลื่อนที่ของมวลวัตถุ เภทการเคลอื่ น
เศษหิน ดินหรือหินฐาน เคลื่อนที่ตามความลาดชันภายใต ระ
ป ุ แตกตา งกนั ที่

อิทธิพลแรงดึงดูดของโลก วตั


ของมว
การเคลื่อนที่
ของวัตถุใน
สภาพแหง
และสภาพมีน้ำ
ตามความเร็ว
ในการเคลื่อนที่

สภาพแหง สภาพมีน้ำ
ประเภทการเคลื่อนที่ของมวลวัตถุ
ชา

ชา
การเคลื่อน
ถลมแนวดิ่ง
ดินคืบ
การไหลลงของดิน
อัตราการเคลื่อนที่

การเลื่อนถลมหมุน
หรือการเลื่อนไถล
ดินไหล

หินพัง เศษหินดินถลม โคลนไหล


เร็ว

เร็ว

สภาพแหง สภาพมีน้ำ

mass
movement
tsunami
สึนามิ แผนดินไหว ภูเขาไฟ
ไมรูสาเหตุ
10%
แผนดินถลม
ใตทะเล
8%
การเกิดชุดคลื่นที่กอตัวเปนคลื่นสูง ใตทะเล ปะทุใตทะเล
75% 5%
เหมือนกำแพงน้ำขนาดใหญ อุกกาบาต
เมื่อเคลื่อนเขาสูเขตน้ำตื้นใกลชายฝง ตกลงใน 2%
มหาสมุทร
คลื่นจะซัดไหลทวมชายฝงอยางรวดเร็ว


ึน า ม
เกิดจากมวลน้ำในทะเลและมหาสมุทร ิ

ดส

ถูกรบกวนอยางรุนแรง จากสาเหตุตางๆ ส า เ ห ตุก า รเ
คลื่นที่ไหลทวมชายฝงจะมีพลังทำลาย
และสรางความสูญเสียตอชีวิต ทรัพยสิน
เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม
ในบริเวณชายฝงทะเลที่เกิด

Motion of fault block


เสนทางอพยพภัยสึนามิ แผนดินไหวรุนแรงใตทะเล
เหตุการณสึนามิที่สำคัญ ที่เกิดขึ้นในชวง พ.ศ. ๒๕๓๓ - ๒๕๕๔
(ประเทศที่เกิด ปที่เกิด ความสูงคลื่นสึนามิ (เมตร) และจำนวนผูเสียชีวิต)
Indian Ocean Indonesia Mindoro
Nicaragua ป ๒๕๔๗ ป ๒๕๓๙ ป ๒๕๓๗ Japan
ป ๒๕๓๕ ความสูง >๑๐ ม. ความสูง ๓.๔ ม. ความสูง ๗ ม. Japan
Mexico ความสูง ๑๐ ม. ผูเสียชีวิต ๒๘๐,๐๐๐ คน ผูเสียชีวติ ๙ คน ผูเสียชีวิต ๔๙ คน ความสู๒๕๓๖
ป
ง ๓๑ ม. ป ๒๕๕๔
ป ๒๕๓๘ ผูเสียชีวิต ๑๗๐ คน ผูเสียชีวิต ๒๓๙ คน ความสูง ๑๐ ม.
ความสูง ๑๑ ม. ผูเสียชีวิต ๑๕,๘๙๔ คน
ผูเสียชีวิต ๑ คน
Irian Jaya
ป ๒๕๓๙
ความสูง ๘ ม.
ผูเสียชีวิต ๑๖๑ คน
New Guinea
Atlantic ป ๒๕๔๑
ocean pacific
ocean ความสูง ๑๕ ม.
pacific ผูเสียชีวิต ๒,๒๐๐ คน
ocean indian Samoa
Peru ocean ป ๒๕๕๒
ป ๑๕๓๙ ความสูง ๑๐ ม.
ความสูง ๕ ม. ผูเสียชีวิต ๑๐๐ คน
ผูเสียชีวิต ๑๒ คน Chile
ป ๒๕๕๓ Indonesia Indonesia Indonesia
ความสูง ๖ ม.+ ป ๒๕๔๙ ป ๒๕๒๗ ป ๒๕๓๕
ผูเสียชีวิต ๖๐ คน ความสูง ๒ ม.+ ความสูง ๑๔ ม. ความสูง ๒๖ ม.
ผูเสียชีวิต ๖๕๐ คน ผูเสียชีวิต ๒๓๘ คน ผูเสียชีวิต ๑,๐๐๐ คน

เขตพื้นที่ เกิดอยูในบริเวณ
26 เปราะบาง ชายฝง มหาสมุทร
และเสี่ยงตอ แปซิฟก
การเกิดสึนามิ
ภูมิศาสตร์ 27

ภัยพิบัติดานอุทกภาค
อุทกภัย
การไหลลนของน้ำเขาทวมแผกวาง
บนแผนดินที่ปกติแหง เกิดจากฝนตกหนัก น้ำทวม
จากแมน้ำ น้ำทวมฉับพลัน
หรือหิมะละลาย หรือคลื่นทะเลสูง (river flood) หรือน้ำปา
พัดขึ้นฝง หรือเขื่อนพัง การไหลลน (flash flood)
ของน้ำเขาทวมจะเกิดขึ้นได
ทั้งอยางรวดเร็ว และเกิดขึ้นอยางชาๆ
มีคาบเวลาที่ใชเวลาหลายวัน
หรือหลายสัปดาห หรือเปนเดือน
อุทกภัยที่เกิดขึ้นสวนใหญจะมีความสัมพันธ
เกี่ยวของกับภัยดานกาลอากาศที่รุนแรง

ภัยแลง
เกิดจากการ
มีฝนตกนอยกวาปกติ
หรือไมตกตองตามฤดูกาล
ทำใหขาดแคลนน้ำ

SOURCE : GIEC

d
การกระจายของพื้นที่ภัยแลง

-4 -2 0 2 4
ขาดแคลนน้ำ น้ำมีมากเกิน
ภัยพิบัติดานบรรยากาศภาค

บริเวณที่เกิด เสนทาง และระดับความรุนแรงพายุหมุนเขตรอน


TD TS 1 2 3 4 5
ดีเปรสชั่น พายุโซนรอน
มาตรวัดระดับความรุนแรงพายุเฮอรริเคน

พายุไตฝุน ไตฝุนที่แรงมาก ไตฝนุ ทีร่ นุ แรงมาก ซูเปอรไตฝุน


พายุไซโคลน ไซโคลนที่แรงมาก ไซโคลนที่รุนแรงมาก ซูเปอรไซโคลน
ไซโคลนที่แรง

>322 km/h

267-322 km/h

218-266 km/h

178-217 km/h

138-177 km/h

105-137 km/h
เนื้อหาที่สามารถเปิดแอปพลิเคชันดูได้

EF0
EF0 EF1
EF1 EF2EF2 EF3
EF3 EF4
EF4 EF5
EF5
28
๒๘
กำลังออน
วิชาสังคม
กำลังแรง รุนแรงมาก
ทอรนาโดไมไดเกิดจากพายุ ทอรนาโดเกิดจากพายุ
ฝนฟาคะนองซูเปอรเซลล ความเร็วลมและระดับความเสียหาย ฝนฟาคะนองซูเปอรเซลล
ภูมิศาสตร์ 29
ภัยพิบัติดานชีวภาค

ไฟพื้นดิน ไฟพื้นผิว ไฟเรือนยอด


(ground fire) (surface fire) (crown fire)
ไฟปาที่เผาไหม ไฟปาที่เผาไหมเชื้อเพลิง ไฟปาที่เผาไหม
เชื้อเพลิงที่ทับถมอยูในดิน ที่อยูบนพื้นปา เรือนยอดของตนไม
หัวไฟ
พฤติกรรมไฟปา
ที่เผาไหมจะรุนแรงนอยหรือมาก
ธรรมชาติไฟปา ขึ้นอยูกับ 3 องคประกอบ
จะประกอบดวย
ไฟดานขาง

ไฟ ๓ สวน คือ
ไฟดานขาง

หัวไฟ ไฟดานขาง
และหางไฟ

หางไฟ

สังคมพืช ดิน น้ำ อากาศ สัตวปา ความสวยงาม


ของธรรมชาติ

wildfire
๕ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ปรากฏการณเรือนกระจก
• บรรยากาศที่หอหุมโลกรักษาอุณหภูมิของพื้นผิวโลกใหอยูในระดับที่มนุษยสามารถดำรงชีวิตอยูได
• การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกเกิดขึ้นทั้งตามธรรมชาติและจากกิจกรรมของมนุษย
ความรอน ความรอน
กลับไปสูอวกาศ กลับไปสูอวกาศ
มากขึ้น นอยลง
ดวงอาทิตย ดวงอาทิตย
ย
การแ ความรอน ความรอน าทติ
ที่แผซ้ำมีนอยลง ที่แผซ้ำมีมากขึ้น


ีจ ากดวง
ผร งั ส

ลบั
ควา ม ร อ น


จี า ก ด ว

รอ น ทสี่ ะทอ น


CO
ที่

รัง ส
N 2O ง อา 
สะท

รแผ
อ นกลบั

าม
คว
ก 2

กา
4

ติ ย
CH

าซ

ระจ

เรอื
CH 4 จกมมี ากขนึ้
อื นก

นกร

ากา


กา ซเร

บรรย

N 2O
CO2

๙ %
มีเทนคงอยูในอากาศ ๖%
ในชวงเวลาที่สั้นกวา ไนตรัสออกไซดคงอยูในอากาศ
คารบอนไดออกไซด ไดประมาณ ๑๒๐ ป
แตกักเก็บความรอนไวมากกวา สัดสวนของ มีพิษมากกวาคารบอนไดออกไซด
กาซเรือนกระจก และมีเทน
๓ %
๘๒ % กาซกลุมฟลูออริเนตเปนสารเคมีที่มนุษยสรางขึ้น
มีพิษมากกวาคารบอนไดออกไซด
คารบอนไดออกไซด
เคลื่อนเขา–ออกจากอากาศ
ทางวัฏจักรคารบอน ๖%
๖๕ % ๑๖ % ไนตรัสออกไซด

สัดสวน คารบอนไดออกไซด
จากการเผาไหมเชื้อเพลิง
มีเทน
การปลอยกาซ ฟอสซิลและกระบวน ๑๑ % ๒%
เรือนกระจก การผลิตใน คารบอนไดออกไซด
จากการทำปาไม
กาซกลุมฟลูออริเนต

30 ของโลก อุตสาหกรรมตางๆ และการใชที่ดินอื่นๆ


ภูมิศาสตร์ 31

ผลของภาวะโลกรอน
อันเนื่องจาก
การเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศ


ทำใหโลกอบอุน
จากการกักเก็บ
ทำใหอุณหภูมิ
ของพื้นดินและพื้นผิว
มหาสมุทรสูงขึ้น
หรือโลกรอนขึ้น
ความรอนไว

ภาวะโลกรอน พายุเฮอรริเคน
บริเวณที่มี ระดับน้ำ
ทำให ทะเลทราย หิมะปกคลุมและ ทะเลสูงขึ้น
ขยายตัว และพายุหมุน น้ำแข็งทะเล น้ำทวมชายฝง
เกิดอะไรบาง รุนแรงขึ้น ลดลง
การแผรังสีที่เจาะผานชั้นบรรยากาศ
สะทอนกลับ
ดูดซับ ขอบบรรยากาศ

การแผรังสี
ที่กาชเรือนกระจก
CFCS ดูดซับไว
เครื่องยนตที่ใชน้ำมัน
การทำลาย
ปาไม

การลดการปลอยกาชเรือนกระจก
จะสามารถตอตานภาวะโลกรอนได
ความเขมขนของ
โอโซนผันแปรตามความสูง

รูโหว
ความเขมขนสูงสูด
(เฉลี่ย ๘ โมเลกุลของโอโซน
ตอ ๑ ลาน
ใน ช อโ
ซน
โอโซน คือ โมเลกุลในบรรยากาศ)

ั้ น โ กาซที่ประกอบดวย
ออกซิเจน ๓ อะตอม (O3)
เกิดขึ้นตามธรรมชาติเปนปริมาณ
อยูที่ระดับ ๓๐-๓๕ กิโลเมตร
เหนือพื้นผิวโลก

นอยในบรรยากาศ
ชั้นสแตรโทสเฟยร
(๑๐-๕๐ กิโลเมตร
เหนือพื้นผิวโลก)
100

80
ปจจัยที่ทำใหเกิดรูโหวใน
ชั้นโอโซน คือ การใชสารเคมี 60
ความสูง (กม.)

กลุมคลอโรฟลูออโรคารบอน เมโซสเฟยร
(ซีเอฟซี) เปนสารทำความเย็น 40
และตัวทำละลาย เมื่อซีเอฟซี
แตกตัวจะปลอยอะตอมของ
20
คลอรีนออกมาทำลาย สแตรโทสเฟยร
โมเลกุลของโอโซนไดมากกวา โทรโพสเฟยร
๑๐๐,๐๐๐ โมเลกุลโอโซนตอ 0
0 3 6 9
๑ โมเลกุลคลอรีน
ความเขมของโอโซน (สวนตอลานสวน)

รูโหวในชั้นโอโซนเหนือทวีปแอนตารกติกา ณ วันที่ ๑๖ กันยายน


พ.ศ. ๒๕๒๘ พ.ศ. ๒๕๓๓ พ.ศ. ๒๕๔๓ พ.ศ. ๒๕๔๘ พ.ศ. ๒๕๕๓ พ.ศ. ๒๕๕๘

ภาพสีเท็จของโอโซนรวม เหนือทวีปแอนตารกติกา สีมวงและสีน้ำเงินแสดงบริเวณที่มีปริมาณโอโซนต่ำสุด


สีเหลืองและสีแดงแสดงบริเวณที่มีปริมาณโอโซนสูงสุด เปรียบเทียบตั้งแต พ.ศ. ๒๕๒๘ 0 100 200 300 400 500 600 700
เมื่อมีการคนพบรูโหวในชั้นโอโซนเปนครั้งแรก https://ozonewatch.gsfc.nasa.gov/Scripts/big_image. Total Ozone (Dobson units)

เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ สหประชาชาติไดประกาศใหวันที่ ๑๖ กันยายนของทุกป


เปนวันสากลแหงการอนุรักษชั้นโอโซน (International Day for the Preservation of the Ozone Layer)
เพื่อระลึกถึงการลงนามในพิธีสารมอนทรีออลวาดวยสารที่ทำลายชั้นโอโซน

การยกเลิกการผลิตสารที่ทำลายโอโซน
32
ทำใหการปกปองชั้นโอโซนมีความหวังมากขึ้น
ภูมิศาสตร์ 33

ระบบธารน้ำแข็ง
อินพุต : หิมะและฝน
กระบวนการ : การถอนหลุดของหิน
การครูดถู การเสียดกรอน การสะสมตัว
และ การเคลื่อนยาย
เอาตพุต : น้ำจากหิมะละลาย
และ กองตะกอนธารน้ำแข็ง
{
การสะสมตัวของธารน้ำแข็ง การเคลื่อนที่
{ ของน้ำแข็ง
การครูดถู (การละลาย)
ของธารน้ำแข็ง

ธารน้ำแข็งสำคัญอยางไร
• เปนตัวชี้วัดที่สำคัญของภาวะโลกรอนและการเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศ การละลายของพืดน้ำแข็งอยางตอเนื่อง
มีสวนทำใหระดับน้ำทะเลสูงขึ้น
• เมื่อพืดน้ำแข็งในทวีปแอนตารกติกาและเกาะกรีนแลนด
ละลายนอกจากจะทำใหระดับน้ำในมหาสมุทรสูงขึ้นแลว
ยังเปนการเพิ่มน้ำจืดใหมหาสมุทรทุกวัน
วีดิทัศนธารน้ำแข็งละลายที่แอนตารกติกา ค.ศ. 2002 - 2016

พืดน้ำแข็ง

ธารน้ำแข็ง
รูปอัฒจันทรโคง

ธารน้ำแข็งหุบเขา
เนื้อหาที่สามารถเปดแอปพลิเคชันดูได้

ธารน้ำแข็ง
๖ วิกฤตการณ
ดานทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม
ทวีความรุนแรงมากขึ้น จนสงผลตอชีวิตความเปนอยูของประชาชน
และการพัฒนาของประเทศตางๆ ทั่วโลก

ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ าสารพษิ ตกคา งในด


ญ ห นิ
ทะเลและมหาสมุทร


เปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณทั้ง พืช สัตว แร ในปจจุบัน
ระบบนิเวศทางทะเลกำลังถูกคุกคามจากกิจกรรมตางๆ ของมนุษย
ทะเลอารัลเปนตัวอยางหนึ่งที่ถูกคุกคามอยางหนัก

Aral Sea
ะเลอารลั
นท
อื ใ
ซากเร

ปญหาของทะเลอารัล พ.ศ. ๒๕๓๐ พ.ศ. ๒๕๕๗


เดิมเปนทะเลปดที่ใหญเปนอันดับ ๔ ของโลก
ปจจุบันปริมาณน้ำทะเลลดลงอยางรุนแรง
เพราะแมน้ำอามูดารยา และแมน้ำเซียรดารยา
ที่นำน้ำไหลลงสูทะเลอารัลเปลี่ยนเสนทาง
เนื่องจากโครงการชลประทาน
ซึ่งเปนสวนหนึ่งของแผนการสงเสริมการปลูกฝาย
ทำใหประเทศอุซเบกิสถานกลายเปนผูสงออกฝาย
ใหญที่สุดประเทศหนึ่งของโลก

34
ภาพจากดาวเทียมแสดงความแตกตางของทะเลอารัล
ภูมิศาสตร์ 35

ความเสื่อมโทรมของดิน

หนาดินไปใชประโยชนอื่นๆ
า ร ขุด
ปญหาดิน

ัย ก
โคร

ูอาศ
า ง ท การ ี่
งสร

็ง

อย
างธ แข เผา ล ะท
รณี ร น้ ำ และ ำก ิน แ
• ภูม • ธา ตัด ไ ม
ิอ า ก า ศ •
ล ม • หิม ะ • แ ม
น้ำ ทำลายปาเพื่อขยายพื้นที่ท

ชั้นดินเยือกแข็งคงตัว ดินเค็ม ดินเปรี้ยว


ผิวดินหนาตั้งแต ดินมีปริมาณเกลือ เกิดจากการทับถมของ
๓๐ ซ.ม – ๑,๐๐๐ เมตร ที่ละลายน้ำไดมากเกินไป ตะกอนน้ำกรอยซึ่งเคย
ปกคลุมพื้นที่ประมาณ ทำใหดินขาดน้ำจนเปน ถูกน้ำทะเลทวมถึงมากอน
๑ ใน ๕ ของดินในโลกมี อันตรายตอพืช และเกิดจากการใชปุยเคมี
อุณหภูมิใตจุดเยือกแข็ง ดินเค็มมักเห็นขุยเกลือ เปนระยะยาว สวนใหญ
เชนบริเวณพื้นที่ขั้วโลก ขึ้นตามผิวดิน เชน มักพบในบริเวณที่เปนลุมน้ำ
เหนือและใต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีน้ำแชขังหลายๆ เดือน
ของประเทศไทย เนื้อดินเปนดินเหนียว
เมื่อขุดลงไปพบ
สารสีเหลืองคลายกำมะถัน
ำลายปา ไมใ น
ปาไม การท ลมุ

นำ้ แ
อมะซ
ของโลกเหลือเพียง

อน
มีแนวโนมลดลงเรื่อยๆ

ปญหาปาไมในลุมน้ำ
แอมะซอน
เปนสาเหตุของการเพิ่มขึ้น
ของกาซเรือนกระจก

ปญหาภัยแลงทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น
ระดับน้ำในแมน้ำลดลงต่ำสุด
พ.ศ. ๒๔๙๓ พ.ศ. ๒๕๒๘ พ.ศ. ๒๕๔๓ ในรอบ ๑๐๙ ป

เกิดไฟปา เกิดควัน ปกคลุมทั่วพื้นที่ปา


พ.ศ. ๒๕๔๘ พ.ศ. ๒๕๕๓ พ.ศ. ๒๕๖๓

ระบบนิเวศถูกทำลาย
ความหลากหลายทางชีวภาพ
พื้นที่ปาไมบนเกาะบอรเนียว ถูกผลกระทบอยางรุนแรงมาก
ที่สุดแหงหนึ่งของโลก
ปญหาปาไมในเกาะบอรเนียว
พื้นที่ปาฝนที่อุดมสมบูรณที่สุดแหงหนึ่งของโลก
ตองสูญเสียพื้นที่ไปอยางรวดเร็วจากการรุกพื้นที่ปา
เพื่อการปลูกปาลมน้ำมัน และการทำเหมืองถานหิน
เปนนโยบายการขยายพื้นที่ปลูกปาลมของรัฐบาล
เพื่อใหเปนสวนปาลมขนาดใหญที่สุดของโลก

36
พลังงาน
ภูมิศาสตร์ 37

น้ำมัน ถานหิน กาซธรรมชาติ


ปจจุบันกาซธรรมชาติ
ถูกนำมาใช
36.5%
ของพลังงานที่ใช

ความตองการใชน้ำมัน ถานหิน
ของมนุษยสูงมากขึ้นเรื่อยๆ
แตความสามารถในการผลิต
ยังคงเทาเดิม
โลกใชอยู
วิกฤตการณ


น้ำมันเกิดจาก
ความไมสมดุล
27%
ของความตองการ
ในการใชน้ำมันกับ
ปริมาณน้ำมัน
เหลือใชไดอีก

ที่มีอยูอยางจำกัด
ปญหาการเมือง
ภายในประเทศและ
ระหวางประเทศ
155 ป
ของผูผลิตน้ำมัน

กาซธรรมชาติ
วิกฤตการณทางสิ่งแวดลอม
มลพิษทางน้ำ
สาเหตุ
ฝนตกจากบรรยากาศ
ที่มีสภาพเปนกรด ฝุนละออง
โลหะหนัก สารมลพิษจาก
ภูเขาไฟปะทุ ไฟไหมปา
พัดพาเถาควันมากับลม
ปญหาขยะในแหลงน้ำทำให
ออกซิเจนต่ำกวามาตรฐาน
มีแบคทีเรียและ
สารตะกั่วเกินมาตรฐาน
น้ำเสียที่ปลอยลงแมน้ำโดยไมมีการบำบัดกอน
จากอาคารบานเรือน โรงงานอุตสาหกรรม
พื้นที่ทำการเกษตร
ที่ใชสารเคมีประเภทตางๆ
กากอุตสาหกรรม
สภาพของเสียจากแมน้ำที่ไหลลงสูทะเล
การบุกรุกปาชายเลน
การถายเทน้ำจากการเลี้ยงกุง
การทิ้งเทขยะ

38
ภูมิศาสตร์ 39

มลพิษ
ทางอากาศ
ฝนกรด

เกิดจากการกระทำของมนุษย
มลพิษจากทอไอเสียของรถยนต
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โรงงานอุตสาหกรรม
เชน ฝุนละอองจากลมพายุ รวมทั้งกระบวนการผลิต
ภูเขาไฟปะทุ แผนดินไหว จากกิจกรรมดานการเกษตร
ไฟไหมปา จากการระเหยของกาซบางชนิด
ซึ่งเกิดจากขยะมูลฝอย

การละลาย
และพัดพาปุย
ลงสูแหลงน้ำ
หมอกควันพิษ

การทำลายสิ่งปลูกสราง
ทางประวัติศาสตร
มลพิษทางดิน สาเหตุ
การทิ
การทิ ้งขยะ้งขยะ
มลพิษทางดินมีผลเสียสำคัญตอระบบนิเวศ
ทำใหมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของดิน
ทำใหพืชดูดซึมสารพิษจึงเจริญเติบโตชาลง
เกิดการตกคางของสารพิษในพืช สงผลให
อัตราการสรางคลอโรฟลลลดลง
ใบพืชแหงเหี่ยว ไมมีดอก ไมมีผล
จำนวนพืชคอยๆ ลดลง
สภาวะฝนกรด
การปลอยน้ำเสีย
จากกระบวนการผลิต
การใชปุย
วิทยาศาสตร
ที่ติดตอกัน
ิด ปนเปอ น
น เปนเวลานาน

การใชสารเคมี
กำจัดศัตรูพืช
ก ซึ่งสวนใหญ
ดนิ เปน รด ทำลายสิ่งมีชีวิต
รวมทั้งมนุษยดวย

40
ภูมิศาสตร์ 41

การขยายตัว
ของทะเลทราย
ปจจุบันทะเลทรายมีการขยายตัวอยางรวดเร็ว
เริ่มจากดินเสื่อมคุณภาพ เพราะกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจของมนุษย ทำเกษตรกรรมเกินตัว
หักรางถางพง ตัดไมทำลายปา การใชหญาเลี้ยงสัตว
มากเกินไปจนหญาไมสามารถขึ้นมาทดแทนไดทัน
สหประชาชาติคาดการณวาภายใน
เวลา ๑๐ ปขางหนาการขยายอาณาเขต
ของทะเลทรายจะสงผลรายใหประชาชน แผนที่แสดงเขตทะเลทราย
ไรที่อยูอาศัย แหลงทำมาหากิน
ประชาชนตองอพยพยายถิ่นฐาน
จำนวนมากถึง ๕๐ ลานคนทั่วโลก
สาเหตุ
การลักลอบ
ตัดไมทำลายปา

การหักรางถางพง
การทำลายพืชคลุมดิน

สภาวะ
อากาศเปลี่ยนแปลง
ภาวะโลกรอน

ทะเลทรายคุมทัก
ขยายตัวเขาไป
เขตเมืองตุนหวาง
ผลกระทบของวิกฤตการณดา นทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

การขาดแคลนอาหาร
ประชากรโลกเพิ่มอยางรวดเร็ว
ปจจุบันประชากรโลกมีถึง ๗,๓๐๐ ลานคน
และเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง
สาเหตุ พื้นที่เพาะปลูก
การขาดแคลน มีปริมาณเพิ่มขึ้น
อาหาร ไมมากนักในบางพื้นที่
และลดลงในบางพื้นที่

ภูมิอากาศโลกเปลี่ยนแปลง
มีผลตอผลผลิตทางการเกษตร
กิ า และการผลิตอาหารทั่วโลก
ฟร
แอ

ความเสื่อมโทรมของดิน
พื้นที่เกษตรกรรมประมาณ
รอยละ ๔๐ ของโลก
ดอยคุณภาพลงอยางรุนแรง
ปญหาภัยแลง
เอเ
ชยี
ใต

42
ภูมิศาสตร์ 43

สุขภาพ (โรคติดเชื้อ) มลพษิ


ทา

งอา
ปญหาสุขภาพ

กาศ
ที่เกิดจากมลพิษ
ทางสภาพแวดลอม

โรคทางเดินหายใจเฉียบพลัน
โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง
กของเสยี ขยะมลู โรคปอด
จา ฝ โรคภูมิแพ
พษิ หืดหอบ
อย
มล

ไขฟาง
โรคเยื่อจมูกอักเสบ
โรคผิวหนัง
ฯลฯ

มลพษิ ทางนำ้ สารม



พษิ
โรคทางเดินหายใจ ทางน
โรคภูมิแพ
หืดหอบ
ำ้

โรคเยื่อจมูกอักเสบ
โรคฉี่หนู
โรคผิวหนัง
อหิวาตกโรค
โรคทางเดินอาหาร ไทฟอยด
ฯลฯ โรคบิด
อหิวาตกโรค
โรคฉี่หนู
ฯลฯ

ปญหาสุขภาพที่เกิดจากสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการ ไขเลือดออก
แพรกระจายของโรคที่เกิดจากแมลง โรคเทาชาง
ยุงเปนพาหะนำโรคที่เปนภัยคุกคาม โรคชากาส
สุขภาพของมนุษยมากที่สุดและ มาลาเรีย
มีความสำคัญระดับโลก
๗ ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
สภาพแวดล้อม
ทางกายภาพกับกิจกรรม
ของมนุษย์
ประชากรและการตั้งถิ่นฐาน

สภาพแวดล้อมทาง
ประชากรกระจุกตัว
กายภาพมีอิทธิพลต่อ ซีกโลกเหนือมีประชากร
ในบริเวณที่ราบ ที่ราบลุ่มแม่นํ้า
กิจกรรมของมนุษย์ มากกว่าซีกโลกใต้
และชายฝงของเขตร้อน
ทั้งการตั้งถิ่นฐาน เนื่องจากซีกโลกเหนือ
และเขตอบอุ่น
และการประกอบ มีพื้นที่มากกว่า
ประชากรเบาบางบนที่สูง
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ

ความหนาแน่นของประชากรโลก

ประชากรหนาแน่นมาก ประชากรหนาแน่นปานกลาง ประชากรเบาบาง

44
ภูมิศาสตร์ 45

ความสัมพันธ์ระหว่าง
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
กับการดํารงชีวิตของมนุษย์

น ไทย
ยูเคร


เนปา
บอตสวา


โกเลีย
อรุ ุกวยั

มอ ง

ญี่ปุ่น ลนด์
ไอซแ์
เกษตรกรรม : แหล่งกําเนิดและ
ความหลากหลายของพืชอาหาร

ยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียกลาง

ยุโรปตะวันตกเฉียงใต้ ยุโรปเหนือ

อเมริกาเหนือ
เอเชียตะวันตก เอเชียตะวันออก
เมดิเตอร์เรเนียนใต้และตะวันออก

แคริบเบียน
อเมริกากลางและเม็กซิโก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

แอฟริกาตะวันตก เอเชียใต้
แอนดีส ภูมิภาคแปซิฟก

อเมริกาใต้เขตร้อน แอฟริกากลาง
แอฟริกาตะวันออก
แอฟริกาตอนใต้
อเมริกาใต้เขตอบอุ่น

• อัลฟัลฟา • ถั่วลันเตา • โคลเวอร์ • มะเขือม่วง • ฮอปส์ • เมล่อน • แพร์ • ข้าวเจ้า • ทานตะวัน


• อัลมอนด์ • บลูเบอร์รี • เมล็ดโกโก้ • ถั่วปากอ้า • กีวี • ข้าวฟ่างเมล็ดเล็ก • ถั่วตระกูลลันเตา • ข้าวไรย์ • มันเทศ
• แอปเปล • กะหล�่าปลี • มะพร้าว • มะเดื่อฝรั่ง • ต้นหอมญี่ปุ่น • ข้าวโอต • ถั่วมะแฮะ • งา • เผือก
• เอพริคอต • แคร์รอต • กาแฟ • กระเทียม • เลมอนและมะนาว • มะกอก • สับปะรด • ข้าวฟ่าง • ชา
• อาร์ทิโชก • มันส�าปะหลัง • น�้ามันเมล็ดฝ้าย • ขิง • ถั่วเลนทิล • หอมใหญ่ • พลัม • ถั่วเหลือง • มะเขือเทศ
• หน่อไม้ฝรั่ง • เชอร์รี • ถั่วฝักยาว • เกรปฟรุต • ผักกาดแก้ว • ส้ม • มันฝรั่ง • ปวยเล้ง • วานิลลา
• อาโวคาโด • ถั่วลูกไก่ • แครนเบอร์รี • องุ่น • ข้าวโพด • ปาล์มน�้ามัน • ฟักทอง • สตรอว์เบอร์รี • แตงโม
• กล้วยและกล้าย • พริกและพริกไทย • แตงกวา • ถั่วลิสง • มะม่วง • มะละกอ • คีนัว • หัวผักกาดหวาน • ข้าวสาลี
• ข้าวบาร์เลย์ • อบเชย • อินทผลัม • เฮเซิลนัต • มาเต (ชาบราซิล) • พีช และ เน็กทารีน • ผักกาดก้านขาว • อ้อย • มันเทศ
และเมล็ดมัสตาร์ด

46
ภูมิศาสตร์ 47

เกษตรกรรม :
ความหลากหลายของการเลี้ยงสัตว์

รัสเซีย
ยูเครน
แคนาดา
สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น
สหรัฐอเมริกา
ตุรกี อิหร่าน จีน เกาหลี
แอลจีเรีย ซาอุดอี าระเบีย
อินเดีย
อียิปต์

ปากีสถาน มาเลเซีย อินโดนีเซีย


เม็กซิโก

บราซิล บังกลาเทศ

โค
เซาท์แอฟริกา สุกร ออสเตรเลีย
อุรุกวัย สัตว์ปก
ชิลี แกะ แพะ

อาร์เจนตินา นิวซีแลนด์

การผลิตเนื้อสัตวของโลกเฉลี่ยระหวาง พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๕๕


(ลานตัน)
อุตสาหกรรมการผลิต

การกระจายของอุตสาหกรรมการผลิตของโลก พ.ศ. ๒๕๕๙

48
ภูมิศาสตร์ 49

การแปรรูปวัตถุดิบที่จับต้องได้ให้เป็นสินค้า
ที่มีมูลค่าเพิ่มซึ่งต้องกระทําที่จุดผลิต (โรงงาน)
ต้องใช้แรงงานมนุษย์บางส่วน
และต้องผลิตสินค้า
มาตรฐานเดียวกันเป็นจํานวนมาก

อาหาร/เครื่องดื่ม

โลหะ/แร่

โลหะมีค่า/แร่

ผลิตภัณฑ์ไม้

น�้ามัน

สิ่งทอ/เครื่องนุ่งห่ม

เครื
่องจักร/อุปกรณ์การขนส่ง
และชิ้นส่วน
อิเล็กทรอนิกส์

อื่นๆ
ตลาดการท่องเที่ยวหลักจาก พ.ศ. ๒๕๖๐
แหล่งท่องเที่ยวแต่ละภูมิภาค จีน สหรัฐอเมริกา และรัสเซีย
เป็นตลาดการท่องเที่ยวหลัก

ยุโรป เอเชีย
5.0 14.9 11.3 7.1
8.1 % 2.1 % 2.7 % 3.5 %
0.4 0.3 0.3 0.2
จีน ไต้หวัน ฮ่องกง มาเกา
รัสเซีย สหราชอาณาจักร เยอรมนี ฝรั่งเศส
261.2 7.9 19.2

อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
44.4
สหรัฐอเมริกา 4.8 %
2.0

24.9
แคนาดา 1.0 %
0.2

20.2
เม็กซิโก 4.3 %
0.8 แอฟริกา แปซิฟก
0.4 0.2 12.0
-0.4 % 15.0 % 5.4 %
จํานวนรวมของนักท่องเที่ยวนานาชาติ อัตราการขยายตัว ๒๕๖๐/๒๕๕๙ -0.001 0.003 0.5
ไปยังภูมิภาคเอเชียแปซิฟก
พ.ศ. ๒๕๖๐ (ล้านคน) % จํานวน (ล้านคน) เซาท์แอฟริกา ลิเบีย ออสเตรเลีย
630.2 5.9 35.1

50
ภูมิศาสตร์ 51

การท่องเที่ยวเป็นกิจกรรมสร้างรายได้ ค่ายานพาหนะและเชื้อเพลิง
ค่าอาหาร ค่าที่พัก ค่ามัคคุเทศก์
การรักษาความปลอดภัย ค่าซักรีด
ค่าของที่ระลึกกับสินค้าอื่นๆ
ค่าโทรศัพท์ ค่าอินเทอร์เน็ต
ค่าเก็บขยะ

เส้นทางของรายได้ นักท่องเที่ยว
$฿€£¥
จากการท่องเที่ยว ชําระเงิน
โดยตรงไปยัง
บริษัทเดินเรือ ธนาคาร
รถไฟ ยานยนต์ สายการบิน
การบริการต่างๆ รถทัศนาจร เพื่อการท่องเที่ยว ร้านอาหาร
ซึ่งกลายเป็น
ศูนย์การประชุม ค่าจ้างแรงงาน
วัตถุดิบ ที่พัก รถยนต์เช่า เงินเดือน กําไร ภาษี
สนามกีฬา
กิจกรรมบันเทิง เชื้อเพลิง ร้านค้า

บริษัทท่องเที่ยว สวนสนุก
อันจะเป็นรายได้เพื่อ
โรงมหรสพ การสื่อสาร
ธนาคาร

โรงเรียน
การบริการต่างๆ สัตว์เลี้ยง
อสังหาริมทรัพย์ ร้านค้า
โรงพยาบาล
ฟาร์ม
วัตถุดิบ
การคมนาคม
เทคโนโลยี
โครงสร้างพื้นฐาน

นักท่องเที่ยวที่ใช้จ่ายมากที่สุด ๕ อันดับแรก พ.ศ. ๒๕๖๐


จีน 261 พันล้านเหรียญสรอ.
สหรัฐอเมริกา 122 พันล้านเหรียญสรอ.
เยอรมนี 81 พันล้านเหรียญสรอ.
สหราชอาณาจักร 64 พันล้านเหรียญสรอ.
ฝรั่งเศส 41 พันล้านเหรียญสรอ.
๘ มาตรการป้องกัน
และแก้ไขปญหา
ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
องค์กรด้านสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ

ส�านักงานโครงการสิ่งแวดล้อม
แห่งสหประชาชาติ [UNEP]
ท�าหน้าที่ประสานงานและร่วมมือกับองค์กรอื่นๆ
ในสหประชาชาติทั้งภาครัฐและเอกชน
กองทุนสัตว์ป่าโลก [WWF]
ท�างานอนุรักษ์ ๓ ด้าน คือ ทรัพยากรป่าไม้
ทรัพยากรน�้าจืด ทรัพยากรทะเลและชายฝัง

กรีนพีซ (Greenpeace)
เกิดจากการรวมกลุ่มของคน
ในเมืองแวนคูเวอร์ ประเทศแคนาดา
ดูแลด้านสิ่งแวดล้อม
52
ภูมิศาสตร์ 53

กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ
อนุสัญญาเวียนนาเพื่อการพิทักษ์ชั้น อนุสัญญารอตเตอร์ดัมว่าด้วย
โอโซนและพิธีสารมอนทรีออลว่าด้วย กระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมี
สารทําลายชัน้ โอโซน พิทกั ษ์ชนั้ โอโซนใน ล่วงหน้า สําหรับสารเคมีอันตราย
บรรยากาศและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม และสารเคมีป้องกันกําจัดศัตรูพืช
ที่เกิดจากรูโหว่ของโอโซน และสัตว์บางชนิดในการค้า
ระหว่างประเทศ [PIC] ควบคุม
พิธีสารเกียวโต การน�าเข้าและการส่งออกสารเคมี
ลดปริมาณการปล่อยกาซเรือน
กระจกของประเทศจากประเทศ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ
อุตสาหกรรมที่พัฒนาแล้ว เรือนกระจก เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
[UNFCCC] ลดปริมาณการปล่อย
อนุสัญญาบาเซิลว่าด้วยการ กาซเรือนกระจกลงโดยเฉลี่ยร้อยละ ๕
ควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดน ภายใน พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๕
ของของเสียอันตรายและการ ในพิธีสารเกียวโต
กําจัด แก้ปัญหาการลักลอบน�า
ของเสียอันตรายไปทิ้งหรือก�าจัด
ท�าลายในประเทศด้อยพัฒนา
ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ
อนามัยของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยความหลากหลาย
ทางชีวภาพ [CBD] อนุรักษ์ความหลากหลาย
อนุสัญญาแรมซาร์ [Ramsar] ของชนิดพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต และเพื่อให้เกิด
อนุรักษ์แหล่งที่อยู่อาศัย การแบ่งปันผลตอบแทนอย่างเป็นธรรม
ที่เป็นพื้นที่ชุ่มน�้า และเท่าเทียมกัน

อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ
ซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะ
สูญพันธุ์หรือไซเตส [CITES])
เพื่อป้องกันการสูญพันธุ์
องค์กรด้านสิ่งแวดล้อมในไทย

มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย
แหล่งศึกษาวิจัยองค์ความรู้ด้าน
สิ่งแวดล้อม
มู ล นิ ธิ โ ลกสี เ ขี ย ว
พัฒนาจิตส�านึกและ
พฤติกรรมของมนุษย์
ต่อสิ่งแวดล้อม

มูลนิธิสิ่งแวดล้อมศึกษา
เพื่อการพัฒนาอย่าง
ยั่งยืน (ประเทศไทย)
[FEED] อนุรักษ์ธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมเพื่อการ
พัฒนาอย่างยั่งยืน

54
ภูมิศาสตร์ 55

มูลนิธิสืบนาคะเสถียร
รณรงค์ให้มีการรักษาป่า
อนุรักษ์ และเผยแพร่ความรู้

มูลนิธิช้างแห่งประเทศไทย
ถ่ายทอดปัญหาและวิธีการ
ช่วยเหลือช้าง
มาตรา ๕๐ (๘)
กฎหมายสิ่งแวดล้อม ร่ ว มมื อ และสนั บ สนุ น การอนุ รั ก ษ์ แ ละ
คุ้มครองสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ความหลากหลายทางชี ว ภาพ รวมทั้ ง
พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้กําหนดบทบัญญัติ มรดกทางวัฒนธรรม
ที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

มาตรา ๗๒
มาตรา ๕๗ (๒) รัฐพึงด�าเนินการเกีย่ วกับทีด่ นิ ทรัพยากรน�า้ และพลังงาน
อนุ รั ก ษ์ คุ ้ ม ครอง บ� า รุ ง รั ก ษา ฟื  น ฟู บริ ห าร ดังต่อไปนี้
จัดการ และใช้หรือจัดให้มีการใช้ประโยชน์จาก (๑) วางแผนการใช้ที่ดินของประเทศให้เหมาะสมกับ
ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม ความหลากหลาย สภาพของพื้นที่และศักยภาพของที่ดินตามหลักการ
ทางชี ว ภาพ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ อ ย่ า งสมดุ ล และ พัฒนาอย่างยั่งยืน
ยั่งยืน โดยต้องให้ประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น (๒) จัดให้มีการวางผังเมืองทุกระดับและบังคับการให้
ที่ เ กี่ ย วข้ อ งมี ส ่ ว นร่ ว มด� า เนิ น การและได้ รั บ เป็นไปตามผังเมืองอย่างมีประสิทธิภาพรวมตลอดทัง้
ประโยชน์ จ ากการด� า เนิ น การดั ง กล่ า วด้ ว ย พัฒนาเมืองให้มีความเจริญโดยสอดคล้องกับความ
ตามที่กฎหมายบัญญัติ ต้องการของประชาชนในพื้นที่
(๓) จัดให้มีมาตรการกระจายการถือครองที่ดินเพื่อให้
ประชาชนสามารถมี ที่ ท� า กิ น ได้ อ ย่ า งทั่ ว ถึ ง และ
มาตราที่ ๔๓ (๒) เป็นธรรม
จัดการบ�ารุงรักษา และใช้ประโยชน์ (๔) จั ด ให้ มี ท รั พ ยากรน�้ า ที่ มี คุ ณ ภาพและเพี ย งพอ
จากทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม ต่อการอุปโภคบริโภคของประชาชน รวมทั้งการ
และความหลากหลายทางชีวภาพ ประกอบเกษตรกรรม อุตสาหกรรมและการอื่น
อย่างสมดุลและยั่งยืนตามวิธีการที่ (๕) ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงานและการใช้พลังงานอย่าง
กฎหมายบัญญัติ คุม้ ค่า รวมทัง้ พัฒนา และสนับสนุนให้มกี ารผลิตและ
การใช้พลังงานทางเลือกเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง
ด้านพลังงานอย่างยั่งยืน

มาตรา ๕๘
การด� า เนิ น การใดของรั ฐ หรื อ ที่ รั ฐ จะอนุ ญ าตให้
ผู ้ ใ ดด� า เนิ น การ ถ้ า การนั้ น อาจมี ผ ลกระทบต่อ
ทรั พ ยากรธรรมชาติ คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม สุ ข ภาพ
อนามัย คุณภาพชีวิตหรือส่วนได้เสียส�าคัญอื่นใดของ
ประชาชนหรือชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง รัฐ
ต้องด�าเนินการให้มีการศึกษาและประเมินผลกระทบ
ต่ อ คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มและสุ ข ภาพของประชาชน
หรือชุมชน และการจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของ
ผู้มีส่วนได้เสียและประชาชนและชุมชนที่เกี่ยวข้องก่อน
เพื่อน�ามาประกอบการพิจารณาด�าเนินการหรืออนุญาต
ตามที่กฎหมายบัญญัติ
56
ภูมิศาสตร์ 57

พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑
เป็นกฎหมายที่ก�ำหนดให้มีคณะกรรมการ เป็ น กฎหมายเกี่ ย วกั บ การจั ด ท� ำ รายงาน
สิง่ แวดล้อมแห่งชาติ โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ให้สอดคล้องกับ
จัดตั้งกองทุนสิ่งแวดล้อม การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
การควบคุมมลพิษ มาตรการส่งเสริม ความรับผิด พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๕๘ และมาตรา ๒๗๘
ทางแพ่งซึ่งเจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่งก�ำเนิด
มลพิษต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือค่า
เสียหาย และบทก�ำหนดโทษผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ
ตามค�ำสั่ง

๑ ๒
พระราชบัญญัติรักษาความสะอาด พระราชบัญญัติรักษาความสะอาด
และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
พ.ศ. ๒๕๓๕ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
เ ป ็ น ก ฎ ห ม า ย ที่ ก� ำ ห น ด ก า ร รั ก ษ า เป็นกฎหมายทีใ่ ห้อำ� นาจราชการส่วนท้องถิน่
ความสะอาด การดู แ ลรั ก ษาต้ น ไม้ การห้ า มทิ้ ง ในการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยและก�ำหนดอัตรา
สิ่งปฏิกูลมูลฝอยในที่สาธารณะและสถานสาธารณะ ค่าธรรมเนียมการให้บริการ รวมทัง้ ก�ำหนดให้ราชการ
การรั ก ษาความเป็ น ระเบี ย บเรี ย บร้ อ ยโดยทั่ ว ไป ส่วนท้องถิน่ มีอำ� นาจน�ำสิง่ ปฏิกลู และมูลฝอยทีจ่ ดั เก็บ
และบทก�ำหนดโทษผู้ที่ฝ่าฝืน ได้ไปใช้ประโยชน์หรือหาประโยชน์ได้
พระราชบัญญัติที่คุ้มครองและอนุรักษ์สัตว์ป่าทุกชนิด สตั วป์ ่าสงวน
๑. พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
พ.ศ. ๒๕๓๕
๒. พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๖
๓. พระราชบัญญัติสงวนและ
คุ้มครองสัตว์ป่า (ฉบับที่ ๓)
พ.ศ. ๒๕๕๗

สมเสร็จ มีอยู่ ๑๕ ชนิด ได้แก่ นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร


แรด กระซู่ กูปรีหรือโคไพร ควายป่า ละองหรือละมั่ง
สมันหรือ เนื้อสมัน เลียงผา หรือเยือง หรือกูร�า หรือโคร�า
สัตว์ป่าคุ้มครอง กวางผา นกแต้วแร้วท้องด�า นกกระเรียน
แมวลายหินอ่อน สมเสร็จ เก้งหม้อ
และพะยูนหรือหมูน�้า โดยสัตว์ป่าสงวนห้ามล่า
และห้ามมีไว้ในครอบครอง
ไกฟา
๑. สัตว์ป่าคุ้มครอง
สัตว์ป่าคุ้มครอง มี ๗ ประเภท ได้แก่ ๑) สัตว์ป่าจ�าพวก
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จ�านวน ๒๐๒ ชนิด ๒) สัตว์ป่าจ�าพวกนก
จ�านวน ๙๕๒ ชนิด ๓) สัตว์ป่าจ�าพวกสัตว์เลื้อนคลาน จ�านวน ๙๒ ชนิด
๔) สัตว์ป่าจ�าพวกสัตว์สะเทินน�้าสะเทินบก จ�านวน ๑๒ ชนิด
ชะมด
๕) สัตว์ป่าไม่มีกระดูกสันหลัง : แมลง จ�านวน ๒๐ ชนิด
๖) สัตว์ป่าจ�าพวกปลา จ�านวน ๒๖ ชนิด ๗) สัตว์ป่าไม่มีกระดูกสันหลังอื่นๆ
จ�านวน ๑๒ ชนิด รวมทั้งสิ้น ๑,๓๑๖ ชนิด
๒. สัตว์ป่าคุ้มตรองชนิดที่เพาะพันธ์ุได้ นกอีลุม
สัตว์ป่าคุ้มครองชนิดที่เพาะพันธ์ุได้ มี ๕ ประเภท ได้แก่
๑) สัตว์ป่าจ�าพวกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จ�านวน ๘ ชนิด ๒) สัตว์ป่า
จ�าพวกนก จ�านวน ๔๒ ชนิด ๓) สัตว์ป่าจ�าพวกสัตว์เลื้อยคลาน
จ�านวน ๗ ชนิด ๔) สัตว์ป่าจ�าพวกสัตว์สะเทินน�้าสะเทินบก
จ�านวน ๑ ชนิด ๕) สัตว์ป่าจ�าพวกปลา จ�านวน ๔ ชนิด
รวมทั้งสิ้น ๖๒ ชนิด

58 กวาง กระทิง
ภูมิศาสตร์ 59

การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
การพัฒนาอย่างยั่งยืน (sustainable development)
การพัฒนาอย่างยั่งยืน การพัฒนาที่ค�ำนึงถึงขีดจ�ำกัดของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสนอง
ความต้องการในปัจจุบัน โดยไม่ส่งผลเสียต่อความต้องการในอนาคต ค�ำนึงถึงความเป็นองค์รวม คือ มองว่าการจะ
ท�ำสิ่งใดต้องค�ำนึงถึงผลกระทบที่จะเกิดกับสิ่งอื่นๆ และค�ำนึงถึงเทคโนโลยีและองค์ความรู้ใหม่ว่าควรเป็นไปในทาง
สร้างสรรค์และเอื้อประโยชน์อย่างสอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น

เป้าหมาย ๑๗ ข้อ ของการพัฒนาที่ยั่งยืน (17 Sustainable Development Goals)

๑. ต้องไม่มีความยากจน ๑๐. ลดความไม่เสมอภาค


๒. ต้องขจัดความหิวโหย ๑๑. เมืองและชุมชนที่ยั่งยืน
๓. สุขภาพดีและอยู่ดีกินดี ๑๒. การบริโภคและการผลิต
๔. การศึกษามีคุณภาพ ที่มีความรับผิดชอบ
๕. มีความเท่าเทียมทางเพศ ๑๓. การกระท�ำของสภาพภูมิอากาศ
๖. น�้ำสะอาดและถูกสุขอนามัย ๑๔. ชีวิตใต้น�้ำ
๗. พลังงานสะอาดและราคาไม่แพง ๑๕. ชีวิตบนบก
๘. การท�ำงานที่ดีและการเติบโต ๑๖. ความสงบ ความยุติธรรม
ทางเศรษฐกิจ และสถาบันที่เข้มแข็ง
๙. อุตสาหกรรม นวัตกรรม ๑๗. ความร่วมมือกันเพื่อบรรลุเป้าหมาย
และโครงสร้างพื้นฐาน
มาตรการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทางตรงและทางอ้อม)
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน หมายถึง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ
การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างฉลาด ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อคนจ�ำนวนมากที่สุด และเป็นระยะเวลายาวนานที่สุด
สงวนรักษาไว้ไม่ให้น�ำมาใช้อย่างฟุ่มเฟือย
มาตรการในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ทางตรง
• การถนอมรั ก ษา (preservation) เพื่ อ ให้ น� า ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ
สิ่งแวดล้อมไปใช้ให้ได้นานขึ้น เช่น การสร้างฝายน�้าล้น สร้างเขื่อน ขุดบ่อ ขุดสระ การท�า
อาหารแช่แข็ง การตากแห้ง การก�าหนดเขตป่าสงวน หรือเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
• การบูรณะ (restoration) เพื่อพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มี
สภาพดีขึ้น สามารถน�ามาใช้ประโยชน์ได้ เช่น การก�าจัดน�้าเสีย การแก้ไขปัญหาดินหรือ
ป่าเสื่อมโทรม การบูรณะสาธารณสถาน
• การปรับปรุง (improvement) เพื่อให้สามารถน�าทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมที่ใช้ประโยชน์ไม่ได้หรือใช้ประโยชน์ได้น้อยมาใช้ประโยชน์ให้มากกว่าเดิม เช่น
การปรับปรุงพื้นที่ดินเปรี้ยว ดินเค็ม ดินเหนียว หรือดินพรุ ให้สามารถใช้ในการเพาะปลูก
หรือเลี้ยงสัตว์
• การนําทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วกลับมาใช้ซํ้า (reuse) เช่น น�ากระดาษที่ใช้
แล้วกลับมาใช้ซ�้า ใช้กระดาษทั้ง ๒ หน้า
• การแปรสภาพแล้วนํากลับมาใช้ใหม่ (recycle) เช่น การน�ากระดาษที่ใช้แล้วมา
แปรรูปแล้วน�ามาใช้ใหม่
• การใช้ให้น้อยลง (reduce) เช่น ใช้สินค้าที่มีการบรรจุหีบห่อน้อยชิ้นจะเป็นการ
ลดขยะ
• กําหนดมาตรฐานสี สัญลักษณ์ และขนาดของถังขยะ ให้เอื้อต่อการเก็บขยะ
อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับการแปรสภาพแล้วน�ากลับมาใช้ใหม่

60
ภูมิศาสตร์ 61

ทางอ้อม
• ให้ ก ารศึ ก ษาแก่ ป ระชาชน เรื่ อ งการอนุ รั ก ษ์ แ ละจั ด การทรั พ ยากร
ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
• การจัดตัง้ ชมรมหรือสมาคมอนุรกั ษ์และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เพือ่ ช่วยภาค
รัฐในการส่งเสริมป้องกัน และบ�ารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
• การออกกฎหมายควบคุมและการบังคับใช้กฎหมาย เพือ่ ให้เกิดความระมัดระวัง
ในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น
• การประชาสัมพันธ์ เพือ่ ให้เกิดความตระหนักและสนใจในการอนุรกั ษ์และจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
• การรณรงค์ จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ประชาชนสนใจและเข้ามามีสว่ นร่วมกับชุมชน
ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
• การจัดตั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อท�าหน้าที่ประสานงานกับหน่วยงาน
ต่างๆ และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการด�าเนินการอย่างอิสระในการอนุรักษ์และจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น กรมควบคุมมลพิษ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ
เศรษฐศาสตร์
(Economics)

อดัม สมิท (Adam Smith)


บิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์ในระดับสากล
๑. เศรษฐศาสตร
๒. ระบบเศรษฐกิจ
๓. กลไกราคา
๔. บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคา
๕. ตลาด
๖. สหกรณ
๗. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
๘. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาประเทศ
๙. นโยบายการเงินการคลังของรัฐบาล
๑๐. การคาและการเงินระหวางประเทศ
๑๑. ประเทศไทย ๔.๐
จุลภาค

ศึกษาเศรษฐกิจ หน่วยย่อยๆ (ผู้ผลิต ผู้บริโภค) ทรัพยากรการผลิตมีจำากัด

เศรษฐศาสตร์ ไม่
(Economics) สมดุล

ความต้องการของมนุษย์ไม่จำากัด
มหภาค

ศึกษาเศรษฐกิจโดยรวม

๖๔
เศรษฐศาสตร์ ๖๕

ทรัพยากรการผลิต

ที่ดินและทรัพยากร ผูป้ ระกอบการ


ธรรมชาติ

ทุน - โรงงาน
- เครื่องจักร แรงงาน

ความ
ขาดแคลน

ปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

ผลิตอะไร ผลิตเพื่อใคร

ผลิตอย่างไร
ระบบเศรษฐกิจ
(Economic System)

๖๖
เศรษฐศาสตร์ ๖7

ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม
• เอกชนเปนเจาของปจจัยการผลิต
• มีเ สรี ภ าพในการดําเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
• ใชกลไกราคาเปนเครื่องตัดสินแกปญหาพื้นฐาน
ทางเศรษฐกิจ

ระบบเศรษฐกิจผสม
• รัฐและเอกชนมีสวนรวมกันแกไขปญหาพื้นฐาน
ทางเศรษฐกิจ
• ใชกลไกราคา
• เปนระบบที่รวมขอดีของระบบเศรษฐกิจ
แบบทุนนิยมและสังคมนิยมไวดวยกัน

ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยม
• กรรมสิทธิ์ปจจัยการผลิตสวนใหญเปนของรัฐบาล
• มีเปาหมายดานกระจายรายไดและความเสมอภาค
• เอกชนไมมีเสรีภาพในการดําเนินกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจ
อุปสงค์ของสินค้าและบริการในช่วงเวลาหนึ่ง รายได
ราคาสินคาอื่น
ของผูซื้อ
P6
ราคาสินค้า ที่เกี่ยวของ
(ใชทดแทนกัน
P5
ชนิดนั้น หรือใชประกอบกัน)
P4
P3
จํานวน
P2 ประชากร
P1 ปจจัย
O
กำาหนด
Q1 Q2 Q3 Q4 Q5 Q6
อุปสงค์ รสนิยม
ของผูซื้อ
อุปสงค์ (demand) กฎอุปสงค์
ปริมาณของสินคาและ ความสัมพันธระหวาง
การคาดการณ
บริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ราคาและปริมาณสินคา ในอนาคต ฤดูกาล
ที่ผูซื้อตองการ เต็มใจ และบริการชนิดใดชนิด การโฆษณา
และมีอํานาจซื้อ หนึ่งที่ผูชื้อตองการซื้อ และการสงเสริม
ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง จะแปรผกผันกับระดับ คาดวาราคาสินคา การขาย
จะแพงขึ้นจึงรีบซื้อ
ณ ระดับราคาตางๆ กัน ราคาของสินคาชนิดนั้น คาดวาราคาสินคา
จะถูกลงจึงเลื่อน
การซื้อออกไป

อุปสงค์
อุปทาน
อุปทาน (supply) กฎอุปทาน
ตนทุนการผลิต
ราคาสินค้า ปริมาณของสินคาและ ความสัมพันธระหวาง
จํานวนผูผลิต ชนิดนั้น บริการชนิดใดชนิดหนึ่ง ราคาและปริมาณสินคา
หรือผูขาย ที่ผูผลิตหรือผูขายยินดี และบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง
นําออกมาเสนอขาย ที่ผูผลิตหรือผูขายตองการ
ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง เสนอขายจะแปรผัน
ราคาสินคาอื่น ณ ระดับราคาตางๆ กัน ตรงกับระดับราคาสินคา
ที่อยูภายใต และบริการชนิดนั้น
ปจจัยการผลิต ปจจัย
เดียวกัน กำาหนด อุปทานของสินค้าและบริการในช่วงเวลาหนึ่ง
อุปทาน
การคาดการณ P6
ในอนาคต P5
P4

คาดวาราคาสินคาจะแพงขึ้น P3
จึงรีบนําออกมาขาย P2
คาดวาราคาสินคาจะถูกลง P1
จึงชะลอการผลิต
๖๘
O
Q1 Q2 Q3 Q4 Q5 Q6
เศรษฐศาสตร์ ๖๙

กลไกราคา (price mechanism)


P6
P5 การกำาหนดราคาสมดุล
E (ดุลยภาพ)
P4
สภาวะที่ปริมาณเสนอซื้อ
P3 กับปริมาณเสนอขายเทากันพอดี
P2 (อุปสงคเทากับอุปทาน)
P1

O
Q1 Q2 Q3 Q4 Q5 Q6

( / )

P6
P5
E
P4 อุปทานส่วนเกิน
P3
ระดับราคาสินคาและบริการสูงกวา
H
P2 G
ระดับราคา ณ จุดสมดุล โดยปริมาณ
P1 อุปทานมากกวาปริมาณอุปสงค
ทําใหราคาสินคาและบริการ
( )
O
Q1 Q2 Q3 Q4 Q5 Q6 ลดลงเรื่อยๆ จนเขาสูจุดสมดุล

( / )
อุปสงค์ส่วนเกิน
P6
ระดับราคาสินคาและบริการตํ่ากวา
ระดับราคา ณ จุดสมดุล โดยปริมาณ P5
E
อุปสงคมากกวาปริมาณอุปทาน P4
ทําใหราคาสินคาและบริการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ P3
จนเขาสูจุดสมดุล P2
P1
เนื้อหาที่สามารถเปดแอปพลิเคชันดูได

O ( )
Q1 Q2 Q3 Q4 Q5 Q6
บทบาทของรัฐ
ในการแทรกแซงราคา
วัตถุประสงค์ แมการทํางานของกลไกราคาจมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ การกำาหนดราคาขั้นตำ่า
แตราคาตลาดอาจจะสูงหรือตํา่ เกินไปจนทําใหผผู ลิตหรือผูบ ริโภคไดรบั ความเดือดรอน
รัฐบาลจึงเขาแทรกแซงกลไกราคา โดยมี ๒ มาตรการที่สําคัญ ไดแก การกำาหนดราคาขั้นสูง

การกำาหนดราคาขั้นตำ่า
(โดยการพยุงราคาหรือ
การประกันราคา)

รัฐบาล
ออกนโยบาย
มาตรการการแก้ไขของรัฐ

เพื่อแก้ไข การแทรกแซง การรับซื้อสินค้าส่วนเกิน


กลไกตลาด (จำานำาราคา)
ข้าว
กำาหนดราคาขั้นตำ่า
ให้สูงกว่าราคาตลาด
ราคาสินค้าตกตำ่า
ผลกระทบ
ผลกระทบ

การให้เงินอุดหนุน
(ประกันราคา)

ผู้ผลิตหรือเกษตรกร เกิดอุปทานส่วนเกิน
เดือดร้อน (สินค้าล้นตลาด)

7๐
เศรษฐศาสตร์ 7๑
การกำาหนดราคาขั้นสูง
(เพดานราคา) เปนมาตรการ
ที่รัฐบาลควบคุมราคา

รัฐบาล
ออกนโยบาย

มาตรการการแก้ไขของรัฐ
นำ้ามันพืช นำ้ามันพืช
เพื่อแก้ไข การแทรกแซง
นำ้าตาล
นำ้าตาล
กลไกตลาด
กำาหนดราคาขั้นสูง
ให้ตำ่ากว่าราคาตลาด
ราคาสินค้าแพงเกินไป
ออกมาตรการควบคุมผู้ขาย

การปนส่วนสินค้า
ผลกระทบ ผลกระทบ

๑๙๙
ขาดตลาด ๑๙๙ หน่วย
๒๙๙

๒๙๙ หน่วย ขาดตลาด


ขาดตลาด ๓๕๘ หน่วย

ผู้บริโภคเดือดร้อน เกิดอุปสงค์ส่วนเกิน
(สินค้าขาดตลาด)

ผลกระทบ

นำ้ามันพืช นำ้ามันพืช

ตรวจตรา นำ้าตาล

ตลาดมืด (black market)


การซื้อขายสินค้า
เจ้าหน้าที่รัฐ ไม่เปนไปตามราคาควบคุม
ตลาด
กิจกรรมหรือสภาวะที่ผู้ซื้อ
และผู้ขายติดต่อซื้อขายกัน
ไม่จำาเปนต้องมีสถานที่
ไม่จำาเปนต้องพบปะกัน

SALE

MARKET
BUY
7๒
เศรษฐศาสตร์ 73

ประเภทของตลาด จำ�นวน ลักษณะสินค้า การเข้าสู่ตลาด


ผู้ขาย
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์

เหมือนกัน ผู้ผลิตเข้าและ
ข้าวเปลือก หุ้น
ทุกประการ ออกตลาด
ได้อย่างเสรี
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

ผงซักฟอก แชมพู
คล้ายกัน ผู้ผลิตเข้าและ
ไม่เหมือนกัน ออกตลาด
กึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ใช้ทดแทนกันได้ ได้อย่างเสรี

ผู้ผลิตรายใหม่
แตกต่างกันแต่มี เข้าสู่ตลาด
มาตรฐานเดียว ได้ค่อนข้างยาก
ผู้ขายน้อยราย
ไม่สามารถ ผู้ผลิตรายอื่น
หาสินค้าอื่น ไม่สามารถเข้าสู่
ผูกขาด ทดแทนได้ ตลาดได้ในระยะสั้น
องค์กรอิสระของกลุ่มบุคคลตั้งแต่ ๑๐ คนขึ้นไป ที่สมัครใจ

สหกรณ์ มีความประสงค์เดียวกัน เปนเจ้าของร่วมกัน


จัดตั้งและดำาเนินการตามแนวทางประชาธิปไตย
ความสำาคัญของสหกรณ์
เครือ่ งมือในการแกไขปญหาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

พระราชวรวงศเธอ
การจัดตัง้ สหกรณ กรมหมืน่ พิทยาลงกรณ
เริม่ ตนสมัยพระบาทสมเด็จ- ริเริม่ ศึกษาวิธกี ารสหกรณ
พระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั พ.ศ. ๒๔๕๗
(พระบิดาแหงสหกรณไทย)

โรเบิรต โอเวน
(Robert Owen) สหกรณวดั จันทร
ไมจาํ กัดสินใช
เริม่ แนวคิด
สหกรณในอังกฤษ
วิวัฒนาการ จังหวัดพิษณุโลก
ยุคปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม ของสหกรณ์ เปนสหกรณแหงแรกของสยาม
กอตัง้ ๒๖ ก.พ. ๒๔๕๙

การเปดรับ
ความเอื้ออาทร
สมาชิกทั่วไปและ
ต่อชุมชน
ด้วยความสมัครใจ

การควบคุม
โดยสมาชิกตามหลัก
หลักการ การร่วมมือ
ประชาธิปไตย ของสหกรณ์ ระหว่างสหกรณ์

การมีส่วนร่วม การศึกษา
ทางเศรษฐกิจ การฝกอบรม
โดยสมาชิก และข่าวสาร
การปกครองตนเอง
และความเปนอิสระ
7๔
เศรษฐศาสตร์ 7๕

สหกรณการประมง

สหกรณการเกษตร
๓ สหกรณนิคม

สหกรณ์ในภาคเกษตร ได้แก่
สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ประมง สหกรณ์นิคม

ประเภทของ
สหกรณรานคา สหกรณ์ในประเทศ
หรือสหกรณผูบริโภค

สหกรณ์นอกภาคเกษตร

Cashier
สหกรณเครดิตยูเนี่ยน
๕ ๖
ออมทรัพย์

สหกรณบริการ
สหกรณออมทรัพย
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

GDP constant ๒๐๑๐


พันลาน (บาท)

๑๔,๐๐๐
กําหนด
ฟนฟูเศรษฐกิจ แผนปฏิบัติ
๑๒,๒๕๐ ระดับกระทรวง เริ่มแนวคิด
ข้าวเปลือก และสังคม
ใชแนวคิด เนนบทบาท การพัฒนา
ผลิตสินคา
ตอเนื่องจาก เอกชนในการ ที่ยั่งยืน รักษา
ทดแทน
๑๐,๕๐๐ แผนที่ ๑ พัฒนาเมือง การเติบโต
การนําเขา
ขยายการพัฒนา ปรับโครงสราง ขยายการพัฒนา ทางเศรษฐกิจ
เนนความมั่นคง
โครงสราง เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม ยกระดับ
ทางสังคม
พื้นฐานสูชนบท เนนพัฒนาเชิง ปรับปรุง สูนานาชาติ
๘,๗๕๐ มากกวา
พัฒนาสังคม ดานเศรษฐกิจ พื้นที่ชนบท ระบบการผลิต
วางแผนจาก รองรับ
ควบคูเศรษฐกิจ สํารวจ และการตลาด
บนลงลาง อุตสาหกรรม
เพื่อเปาหมาย แหลงพลังงาน
๗,๐๐๐ เนนการเติบโต ชายฝงทะเล
ทางเศรษฐกิจ ที่หลากหลาย ภาคอุตสาหกรรม
กระจายสูชนบท สัดสวนมากกวา ตะวันออก
พัฒนาโครงสราง เพิ่มบทบาท
พื้นฐาน อาทิ ลดความแตกตาง เกษตรกรรม
๕,๒๕๐ - คมนาคม ทางรายได เปนครั้งแรก ภาคเอกชน
- ชลประทาน การศึ ก ษา
- ไฟฟา สาธารณสุข
๓,๕๐๐ ลดอัตราการ
เพิ่มประชากร

๑,๗๕๐ อุตสาหกรรมเติบโตอยางรวดเร็ว
ปญหาการกระจายรายได ทุนสํารองเงินตราระหวางประเทศเพิ่มขึ้น
ภาวะเศรษฐกิจ ปญหาการเมืองสงผลตอเศรษฐกิจ การพัฒนากระจุกตัว ปญหาความเหลื่อมลํ้ารายได
สังคม และ ปญหาชองวางระหวางรายได
การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน - สินคาเกษตรตกตํ่า ปญหาสังคมและคุณภาพชีวิต
ผลกระทบ
จากการ ในวงจํากัด สรางความ - ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม การพัฒนาไมยั่งยืน
พัฒนาเศรษฐกิจ ไมเทาเทียมกัน - ปญหาการวางงาน

๒๕๐๔ ๒๕๑๐ ๒๕๑๔ ๒๕๑๙ ๒๕๒๔ ๒๕๒๙ ๒๕๓๔


7๖
เศรษฐศาสตร์ 77

Thailand ๔.๐ GDP constant ๒๐๑๐


พันลาน (บาท)

นอมนําปรัชญา
ของเศรษฐกิจ ๑๔,๐๐๐
พอเพียง ในการ
เปลี่ยน พัฒนาประเทศ ตอเนื่องจาก
กระบวนทัศน เนนคนเปน แผนฯ ๘-๑๑
พัฒนาองครวม ศูนยกลาง พัฒนาสู ๑๒,๒๕๐
ไมแยกสวน ให ตอจากแผนฯ ๘ ประเทศ
ภาคประชาชน มุงพัฒนาสมดุล พัฒนาตอเนื่อง
จากแผนฯ ๘-๑๐ ที่มีรายไดสูง
มีสวนรวม คน สังคม
เศรษฐกิจ และ พัฒนาคนมุงสู ใชนวัตกรรม ๑๐,๕๐๐
เพิ่มมากขึ้น พัฒนาตอเนื่อง ขับเคลื่อน
เนนคนเปน สิ่งแวดลอม การอยูรวมกัน
แผนฯ ๘, ๙ เสมอภาค เศรษฐกิจ
ศูนยกลาง เศรษฐกิจสมดุล เพิ่มศักยภาพ
ในการพัฒนา เปนธรรม ๘,๗๕๐
และยั่งยืน มีภูมิคุมกันตอ มนุษย ลด
สรางธรรมาภิบาล การเปลี่ยนแปลง ความเหลื่อมลํ้า
พัฒนาคุณภาพ ปรับโครงสราง พัฒนาเศรษฐกิจ
คนและสังคม เศรษฐกิจ ที่เปนมิตรกับ ๗,๐๐๐
เนนความ ที่ยั่งยืน สิ่งแวดลอม
เขมแข็งของ บริหารภาครัฐ
ชุมชน ๕,๒๕๐

๓,๕๐๐
เศรษฐกิจขยายตัว
คุณภาพชีวิตดีขึ้น ปญหาสังคม ในระดับตํ่า
วิกฤตเศรษฐกิจ ลดลง การกระจายรายไดดีขึ้น การสงออกลดลง
ป ๒๕๔๐ ปญหาเศรษฐกิจถดถอยจาก เนื่องจากปญหา ๑,๗๕๐
ปญหาสถาบัน ปญหาการเมือง เชิงโครงสราง
การเงิน สถานการณ ภาวะเศรษฐกิจ
หนี้สาธารณะ เศรษฐกิจโลก สังคม และ
และนโยบาย ผลกระทบ
เพิ่มขึ้น จากการ
ทางเศรษฐกิจ
ของไทย พัฒนาเศรษฐกิจ
๒๕๓๙ ๒๕๔๔ ๒๕๔๙ ๒๕๕๔ ๒๕๕๙ ๒๕๖๔
ที่มา : ขอมูล Thailand GDP (constant ๒๐๑๐) http://data.worldbank.org/
อัตราแลกเปลี่ยน คิดจาก ๓๕ บาท ตอ ๑ ดอลลารสหรัฐ (กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐)
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กับการพัฒนาประเทศ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

พอประมาณ

มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน
ในตัวที่ดี

ความรู้ คุณธรรม
รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตยสุจริต ขยันอดทน สติ ปญญา แบงปน

นำาไปสู่
แนวทางการดำาเนินชีวิต
เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม และการปฏิบัติตนในทุกระดับ
สมดุล/พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง เรียบงาย ประหยัด เก็บออม สวนรวมกับชุมชน

แผน ๙ - ปจจุบัน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑๒
ฉบับที่ ๙ ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙

ศูนยกลางการพัฒนา
๑ คน ผลประโยชน อยูดีมีสุข ศักยภาพทุกมิติ
รวมตัดสินใจ
ความแตกตางของ บูรณาการและ หลักการพัฒนา
๒ ภูมิสังคม ภูมิการดําเนินชีวิตของคน เชื่อมโยงทุกมิติ
เครือขายกลุมภาครัฐ
๓ ความเข้มแข็ง ตนเอง ชุมชน
ภาคธุรกิจ องคกร

ทุนมนุษย ทุนทางการเงิน
แนวคิด
ทุนสังคม ทุนทรัพยากรธรรมชาติ และทิศทาง
ภูมิคุ้มกันในสังคมไทย และสิ่งแวดลอม
ทุนกายภาพ
การพัฒนา
ทุนวัฒนธรรม
7๘
เศรษฐศาสตร์ 7๙

ขั้นที่ ๒
ภาค สหกรณ
เกษตรกรรม การผลิต /

นาขาว ๓๐%
การตลาด
สวัสดิการ
ปลูกพืช
ทฤษฎีใหม่ ๓๐% ขั้นที่ ๓
เครือขาย
ที่อยูอาศัย ความรวมมือ
เกษตรอินทรีย์
บอนํ้า ๓๐%
๑๐% ในประเทศ

วนเกษตร ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๑
พึ่งตนเอง มีรายไดมั่นคง มีเงินออม
เกษตรผสมผสาน พออยูพอกิน ชวยเหลือและแบงปน
มั่นคงและปลอดภัยดานอาหาร ใหเพื่อนบานและชุมชน

ภาคธุรกิจ จรรยาบรรณทางธุรกิจ
ภาคอุตสาหกรรม แสดงความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม
มุงกําไรระยะยาวมากกวาระยะสั้น
ใหความเปนธรรมแกผูมีสวนไดสวนเสีย
เปนธรรม ซื่อสัตย์ วางแผนการบริหารความเสี่ยงอยางรัดกุม
และแบ่งปน
ประหยัด เปนมิตร คำานึงถึงศักยภาพการลงทุนอย่างรอบคอบ
กับสิ่งแวดล้อม
วิจัยและพัฒนาคุณภาพ การสร้างฐานการผลิตในพื้นที่
และมาตรฐาน การใชวัตถุดิบในชุมชน
สร้างสินค้า นําภูมิปญญาทองถิ่นมาตอยอด
ที่เปนเอกลักษณ์
ใหผลประโยชนตกอยูกับประชาชนในพื้นที่
นโยบายการเงิน
การคลังของรัฐบาล
๑. สร้างความเติบโต
ทางเศรษฐกิจ
ตัวชี้วัด
ความเติบโต
(เพิ่มมูลค่าที่แท้จริง เศรษฐกิจ
ของ GDP)

๑. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ

๒. การรักษา
(Gross Domestic Product : GDP) :
มู ล ค า ของสิ น ค า และบริ ก ารขั้ น สุ ด ท า ย
ที่ผลิตขึ้นไดภายในประเทศในระยะเวลาหนึ่ง
บทบาท เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ โดยยึดอาณาเขตทางการเมือง (political
frontier) เปนสําคัญ
ไม่ให้เกิดภาวะ
ของรัฐบาล เงินเฟอ เงินฝด ๒. ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ
ด้าน (Gross National Product : GNP) :
เศรษฐกิจ
๓. เพื่อให้เกิด
มู ล ค า ของสิ น ค า และบริ ก ารขั้ น สุ ด ท า ย
ที่ ผ ลิ ต ขึ้ น จากทรั พ ยากรที่ ป ระชาชนของ
ประเทศนั้นๆ ทั้งที่ผลิตในและนอกประเทศ

ความเปนธรรมหรือ ๓. รายได้ต่อคน (Per Capita Income) :


ความยุติธรรม รายไดเฉลี่ยของบุคคลในประเทศคํานวณได
จากผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP)
ทางเศรษฐกิจ

๔.
หารด ว ยจํ า นวนประชากรทั้ ง หมดของ
ประเทศ

เพื่อให้มีเสรีภาพ
ทางเศรษฐกิจ

GNP = GDP + รายได้สุทธิของปจจัยการผลิตจากต่างประเทศ


๘๐
เศรษฐศาสตร์ ๘๑

การคลังสาธารณะ
การจัดการด้านรายได้ รายจ่าย และหนี้สาธารณะของรัฐบาล
นโยบายการคลัง : การจัดการด้านรายรับ (ภาษีอากร, รัฐพาณิชย์, เงินกู้, อื่นๆ) และรายจ่ายของรัฐบาล

๑,๐๐๐
นโยบายการคลังหดตัว นโยบายการคลังขยายตัว ๑๙๙
บาท
ชะลอการขยายตัว เพื่อให้เศรษฐกิจขยายตัว ๒๙๙
- เพิ่มการจัดเก็บภาษี - ลดการจัดเก็บภาษี
- ลดการใช้จ่ายของรัฐบาล - เพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาล ๓๕๙

ภาษี : สิ่งที่รัฐบาลบังคับจัดเก็บจากประชาชน และนำามาใช้เพื่อประโยชน์ส่วนรวม


โดยไม่มีสิ่งตอบแทนโดยตรงแก่ผู้เสียภาษี มี ๒ ประเภท

ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม

ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีศุลกากร ภาษีสรรพสามิต


ภาษีการประกันสังคม ภาษีมูลคาเพิ่ม (VAT)
โครงสร้างอัตราภาษี : มีแบบก้าวหน้า, แบบคงที่, แบบถดถอย
งบประมาณแผ่นดิน : แผนการใช้จา่ ยของรัฐบาลในช่วงระยะเวลา ๑ ป ต้องเสนอต่อรัฐสภา
ซึ่งเปนเครื่องมือสำาคัญในการบริหารประเทศ มี ๓ ลักษณะ

ขาดดุล สมดุล เกินดุล

รายจ่าย รายได้ รายจ่าย รายได้ รายจ่าย รายได้


รายจายมากกวารายได รายจายเทากับรายได รายจายนอยกวารายได
รายรับที่คาดวาจะไดรับ
เนื้อหาที่สามารถเปดแอปพลิเคชันดูได

หนี้สาธารณะ : ข้อผูกพันของรัฐบาล เพื่อนำามาใช้จ่ายในการบริหารและพัฒนาประเทศ


เกิดจากการกู้ยืม การคำ้าประกันเงินกู้ของรัฐบาล และเงินปริวรรตที่รัฐบาลรับรอง
นโยบายการเงิน ควบคุมปริมาณ (การซือ้ หรือขายหลักทรัพย,
อัตรารับชวงซื้อลดตั๋วเงิน, อัตราดอกเบี้ย
การบริหารเศรษฐกิจ นโยบาย, อัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย)
ของประเทศที่รัฐบาลหรือ การควบคุมคุณภาพ
ธนาคารกลางกําหนดขึ้น เพื่อใช (จํากัดการใหกูของ
ผูใหกูยืมโดยตรง)
ในการควบคุมปริมาณเงินใหมี
สภาพคลองที่เหมาะสมกับ
การขอความรวมมือใหธนาคารพาณิชย
ภาวะเศรษฐกิจโดยใช ปฏิบัติตาม
เครื่องมือ ๓ แบบ

ปริมาณเงิน (อุปทานของเงิน) เงินในความหมาย


M2
ในความหมายกว้าง

M1 M1 บัญช
ีเงินฝ
ากออ
เงินในความหมายแคบ มทรัพ
ย์
บัญชีเง
เงินในความหมายแคบ ินฝากก
ระแสร
ายวัน

บัญชีเง
ินฝากก
๕๐๐
ากประจำา
ชีเงินฝ
๒๐

ระแสร ๑๐๐ บัญ


ายวัน

๕๐๐ M3
เงินในความหมาย
ในความหมายกว้างมาก
๒๐

๑๐๐
เงินในความหมาย
M2
ในความหมายกว้าง
ตั๋วสัญญ
าใช้เงิน

M1
เงินในความหมายแคบ
บัญช
ีเงินฝ
ากออ
มทรัพ
ย์
บัญชีเงิ
นฝากก
ระแสรา
ยวัน

ะจำา
ันการเงิน
๕๐๐
งินฝากปร
บัญชีเ ถ า บ
๒๐

๑๐๐
า ก ส
เงินฝ พาะกิจของรัฐ
เฉ

๘๒
เศรษฐศาสตร์ ๘3

ปญหาที่สำาคัญ
ทางเศรษฐกิจ
๑,๐๐๐ บาท
๑๙๙

๒๙๙
เงินเฟอ (inflation) เงินฝด (deflation)
ภาวะที่ระดับราคาสินคาและบริการ ภาวะที่ระดับราคาสินคาและบริการ 8
โดยทั่วไปสูงขึ้นเรื่อยๆ อยางตอเนื่อง โดยทั่วไปลดลงเรื่อยๆ อยางตอเนื่อง

๑. เงินเฟอที่เกิดจากอุปสงคเกิน ๑. ภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า
๒. เงินเฟอที่เกิดจากอุปทาน ๒. การหดตัวของอุปสงค
๓. เงินเฟอที่เกิดจากอุปสงคและ ๓. ตนทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนลดลง
สาเหตุ อุปทานรวมกัน ๔. มาตรการปรับเพิ่มภาษี
๕. ปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ
มีไมเพียงพอ

๑. อํานาจซื้อของเงินหรือรายได ๑. อํานาจซื้อของเงินหรือรายไดที่แทจริง
ที่แทจริงลดลง ผูที่มีรายไดคงที่เสียเปรียบ สูงขึ้น ผูที่มีรายไดคงที่ไดเปรียบ
๒. ผลกระทบตอฐานะการคลังของรัฐบาล ๒. ผูผลิตและผูขายขายสินคาไมได
ผลกระทบ ๓. ผลกระทบตอดุลการชําระเงิน ๓. ผลกระทบตอฐานะการคลังของรัฐบาล
ระหวางประเทศ ๔. ผลกระทบตอดุลการชําระเงิน
ระหวางประเทศ

* ดัชนีราคา (price index) เปนตัวเลขที่ใชวัดอัตราการเปลี่ยนแปลงราคาสินคาและบริการในชวงระยะเวลาหนึ่ง


ดั ช นี ร าคามี ห ลายประเภท อาทิ ดั ช นี ร าคาผู  บ ริ โ ภค ดั ช นี ร าคาขายปลี ก ดั ช นี ร าคาขายส ง ซึ่ ง การคํ า นวณ
ภาวะเงินเฟอ จะใชดัชนีราคาผูบริโภคในการคํานวณ
๑,๐๐๐ บาท
๑๙๙

๒๙๙
เงินเฟอ (inflation) เงินฝด (deflation)
แก้ไขโดย ๑. ลดการใชจายของรัฐ ๑. เพิ่มการใชจายของรัฐ
ใช้นโยบาย โดยใชงบประมาณเกินดุล โดยใชงบประมาณขาดดุล
การคลัง ๒. เพิ่มการเก็บภาษี ๒. ลดการเก็บภาษี

๑. ขายหลักทรัพย ๑. ซื้อหลักทรัพย
แก้ไขโดย ๒. เพิ่มอัตรารับชวงซื้อลดตั๋วเงิน ๒. ลดอัตรารับชวงซื้อลดตั๋วเงิน
ใช้นโยบาย ๓. เพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ๓. ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย
การเงิน ๔. เพิ่มอัตราเงินสดสํารอง ๔. ลดอัตราเงินสดสํารอง
ตามกฎหมาย ตามกฎหมาย

นโยบายการเงินที่ใช้อัตรารับช่วงซื้อลดตั๋วเงิน
กรณีที่ประชาชนถือตั๋วสัญญาใช้เงิน มีความต้องการใช้เงินก่อนครบสัญญาไถ่ถอนคืน
โอนกรรมสิทธิ์ โอนกรรมสิทธิ์
ตั๋วสัญญาใช้เงิน
๑๐,๐๐๐ บ.
ตั๋วสัญญาใช้เงิน อัตราคิดลด ๕% อัตรารับช่วงซื้อลด ๓%
๑๐,๐๐๐ บ. +
๑,๐๐๐ บ.
จะได้ดอกเบี้ย ๑๐% ๙,๕๐๐ บ. ๙,๗๐๐ บ. (อัตราดอกเบี้ย ๑๐%
ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารกลาง
เมื่อครบสัญญา เมื่อครบสัญญา)

๘๔
เศรษฐศาสตร์ ๘๕

เงินตึง
(tight money)
ภาวะที่ปริมาณเงินหรือเงินกู้ยืมในระบบเศรษฐกิจ
มีน้อยหรือหาได้ยากไม่เพียงพอกับความต้องการ
ของประชาชนและธุรกิจเอกชน
อัตราดอกเบี้ยในการกู้ยืมจึงปรับตัวสูงขึ้น
แต่การขยายตัวของการผลิตและการลงทุนลดลง
สาเหตุ การแก้ไขภาวะเงินตึง
๑. นโยบายที่ต้องการควบคุม ๑. ขยายวงเงินกู้ที่ธนาคารพาณิชย์
ปริมาณเงินของรัฐบาล กูย้ มื จากธนาคารแห่งประเทศไทย
เพื่อแก้ปญหาภาวะเงินเฟอ ๒. ลดอัตราเงินสดสำารอง
หรือปริมาณเงินในระบบ ตามกฎหมายของ
เศรษฐกิจมากเกินไป ธนาคารพาณิชย์ลง
๒. อัตราการขยายการผลิตและ ๓. ให้ธนาคารพาณิชย์นำาพันธบัตร
การลงทุนสูงเกินไป รัฐบาลที่มีอยู่มาไถ่ถอนคืน
๓. ปริมาณเงินออมลดลง ๔. เพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก
๔. อัตราดอกเบี้ยในต่างประเทศ เพื่อลดอัตราเงินเฟอ
สูงกว่าในประเทศ
การค้าและการเงิน
ระหว่างประเทศ

สาเหตุความแตกต่าง
การค้าระหว่างประเทศ
การซื้อขายสินคาและบริการโดยผานเขตแดนของชาติ
ประเทศที่ทําการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินคาและบริการ
ระหวางกัน เรียกวา ประเทศคูคา

ด้านทรัพยากร
การผลิต
ด้านต้นทุน
ด้านรสนิยม การผลิตสินค้า
ในการบริโภค

ด้านเทคโนโลยี
ในการผลิต

๘๖
เศรษฐศาสตร์ ๘7

ไม่มีเงื่อนไข

นโยบายการค้าเสรี
ไม่มีการจัดเก็บภาษีศุลกากร ไม่มีการให้สิทธิพิเศษ
หรือจงใจเลือกปฏิบัติต่อสินค้า
ยึดหลักแบ่งงานกันทำา ประเทศใดประเทศหนึ่ง
ตามความชำานาญของตน
ไม่มีข้อจำากัดทางการค้า
ไม่มีการกำาหนดโควต้า

มีเงื่อนไข

นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน
มีข้อกำาหนดและมาตรฐาน
ของสินค้านำาเข้า มีการจำากัดปริมาณการนำาเข้า
กำาหนดโควต้า

มีการจัดเก็บภาษีศุลกากร
มีการให้สิทธิประโยชน์แก่ผู้ผลิต
ภายในประเทศ เช่น
การจ่ายเงินอุดหนุนการส่งออก
มีการทุ่มตลาด
ระบบอัตราแลกเปลี่ยน
ราคาตอหนวยของเงินตราสกุลหนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับเงินตราสกุลอื่นตามอัตราที่กําหนดโดยทั่วไป
แบงเปน ๒ ระบบใหญ คือ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว

ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่
รั ฐ บาลหรื อ ธนาคารกลางกํ า หนดอั ต ราแลกเปลี่ ย นไว ค งที่
ไม เ ปลี่ ย นแปลงขึ้ น ลงตามกลไกตลาด อาจผู ก ค า ของสกุ ล เงิ น ตรา
ของประเทศไว กั บ เงิ น ตราสกุ ล อื่ น หรื อ โลหะมี ค  า หรื อ ผู ก ค า กั บ
การเงินระหว่างประเทศ สกุลเงินตราที่มั่นคงหลายสกุลที่เรียกวา ระบบตะกราเงิน (basket
ระบบการเงินที่เกิดจากการซื้อขาย of currency)
สินคา การกูยืม การลงทุน หรือการ
ชวยเหลือระหวางประเทศที่ตองมี ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัว
การชําระเงินตราตางประเทศ สกุล ขึ้นอยูกับ อุปสงคและอุปทานของเงินตราตางประเทศ
ที่ประเทศคูคาตองการ แบงเปน ๒ ระบบ คือ
๑. ลอยตัวเสรีขึ้นลงตามกลไกตลาด
๒. ลอยตัวที่มีการจัดการ

ดุลการชำาระเงิน
ดุลบัญชีเดินสะพัด ดุลบัญชีทนุ และการเงิน


๑๐

บริจาค
เพื่อช่วย
ผู้ประสบภัย
ข้าว ข้าว ต่างแดน
ดุลเงินโอน รายการแสดงการเคลื่อนย้าย
ดุลการค้า ดุลบริการ ดุลรายได้ และบริจาค ของเงินทุนเข้าและออกประเทศ

ดุลการค้า
รายการแสดงความแตกตางระหวางมูลคาการนําเขาสินคากับมูลคาการสงออกสินคาของประเทศ
ในชวงระยะเวลาหนึ่ง อาจเปนดุลการคาเกินดุล ขาดดุล หรือสมดุล
มูลค่าสินค้าส่งออก - มูลค่าสินค้านำาเข้า

ทุนสำารองเงินตราระหว่างประเทศ
เปนสินทรัพยสภาพคลองทางการเงินระหวางประเทศทีเ่ ก็บสะสมไวในธนาคารกลาง
ดุลการชำาระเงิน
เพือ่ ชําระหนีร้ ะหวางประเทศ ซึง่ ประกอบดวยทองคํา เงินตราตางประเทศสกุลหลัก
และสิทธิพิเศษถอนเงิน (Special Drawing Rights : SDRs) ทุนสำารองฯ
เกินดุล
สิทธิพิเศษถอนเงิน (Special Drawing Rights : SDRs)
เปนทุนสํารองเงินตราระหวางประเทศรูปแบบหนึ่ง ออกโดยกองทุนการเงิน ดุลการชำาระเงิน
ระหว า งประเทศ (IMF) ที่ จั ด สรรให กั บ ประเทศสมาชิ ก และถู ก ใช เ ป น ทุนสำารองฯ
หน ว ยการเงิ น ทางบั ญ ชี ซึ่ ง มี มู ล ค า เที ย บกั บ กลุ ม เงิ น ตราสกุ ล หลั ก ขาดดุล
เชน ดอลลารสหรัฐ ยูโร เยนญี่ปุน และปอนดสเตอรลิง

๘๘
เศรษฐศาสตร์ ๘๙

การลงทุนระหว่างประเทศ
การที่ผู้ประกอบการนำาเงินทุน สินทรัพย์ และเทคโนโลยีไปลงทุน
ในอีกประเทศหนึ่ง ประกอบด้วยการลงทุนโดยทางตรง และการลงทุนโดยทางอ้อม

หุ้น

การลงทุนโดยทางอ้อม
การลงทุนโดยทางตรง ผู้เปนเจ้าของทุนไม่ได้ดำาเนินการเองโดยตรง
เอกชนที่เปนเจ้าของทุนและผู้ประกอบการ แต่ซื้อหลักทรัพย์ทั้งของภาครัฐและ
เปนบุคคลกลุ่มเดียวกันและดำาเนินกิจการเอง เอกชนต่างประเทศ ผลตอบแทนของการลงทุน
ผลตอบแทนของการลงทุนโดยทางตรง คือ กำาไร โดยทางอ้อม คือ ดอกเบี้ยและเงินปนผล

การบูรณาการทางเศรษฐกิจ
การที่รัฐบาลของประเทศต่างๆ ตั้งแต่ ๒ ประเทศขึ้นไป
ตกลงนำาเศรษฐกิจของตนมาเชื่อมโยง เพื่อเสริมสร้างและรักษาประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
(Customs Union) (Economic Union)

เขตการค้า สหภาพ ตลาดร่วม สหภาพ สหภาพ


เสรี ศุลกากร เศรษฐกิจ ทางการเมือง
(Free Trade Area / (Common Market)
Agreements) (Political Union)
องค์กร
ระหว่างประเทศ

องค์การทางการเงินระหว่างประเทศ
องค์การสำาคัญซึ่งมีส่วนในการพัฒนา หรือแก้ไขปญหา
ทางเศรษฐกิจของไทยและประเทศสมาชิกในกลุ่ม

กองทุนการเงินระหวางประเทศ
(International Monetary Fund : IMF)

ธนาคารระหวางประเทศเพื่อการบูรณะและการพัฒนา
(International Bank for Reconstruction and Development : IBRD)
หรือธนาคารโลก (World Bank)
๙๐
เศรษฐศาสตร์ ๙๑

• องค์การการค้าโลก
(World Trade Organization : WTO)

• สหภาพยุโรป
(The European Union : EU)

• ข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ
(North American Free Trade Agreement : NAFTA)

องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
ระหว่างประเทศ
องค์การสำาคัญ ซึ่งมีส่วนในการพัฒนา
หรือแก้ไขปญหาทางเศรษฐกิจของไทย
และประเทศในกลุ่มสามาชิก

• ประชาคมอาเซียน
(ASEAN community)

• ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
ในเอเซีย - แปซิฟก (เอเปก)

• องค์การประเทศผู้ส่งออกนำ้ามันดิบ
(Organization of the Petroleum Exporting Countries)
หรือโอเปก (OPEC)
ประเทศไทย ๔.๐
คืออะไร :
ประเทศไทย ๔.๐ เป น วิ สั ย ทั ศ น เชิ ง นโยบายที่ เ ปลี่ ย นแปลงเศรษฐกิ จ แบบเดิ ม
ไปสู  เ ศรษฐกิ จ ที่ ขั บ เคลื่ อ นด ว ยนวั ต กรรม เพื่ อ ให ไ ทยเป น กลุ  ม ประเทศที่ มี ร ายได สู ง
ในชวงปแรก ประเทศไทย ๓.๐ เศรษฐกิจเติบโตอยางตอเนื่อง แตปจจุบันเติบโตเพียง
๓ - ๔ % ตอปเทานั้น ซึ่งตกอยูในชวงรายไดปานกลางมากวา ๒๐ ป
พัฒนาเศรษฐกิจ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทย
ติดกับดักรายได้ปานกลาง

จาก ๗ - ๘ % ต่อป

ประเทศไทย ๑.๐

สังคมเกษตรกรรม
๓ - ๔ % ต่อป
มากกว่า ๒๐ ป

ประเทศไทย ๒.๐ ๐
สังคมอุตสาหกรรมเบา ๒๕๐๐ ๒๕๑๒ ๒๕๒๐ ๒๕๒๘ ๒๕๓๖ ๒๕๔๖ ๒๕๕๖

ยกขีดความสามารถ ๔ กลุ่มเปาหมาย

ประเทศไทย ๓.๐
สังคมอุตสาหกรรมหนัก

เกษตรแบบดั้งเดิม SMEs แบบเดิม บริการมูลค่าตำ่า แรงงานทักษะตำ่า

ประเทศไทย ๔.๐ Smart SMEs แรงงานมีความรู้


สังคมขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม เกษตรสมัยใหม่ บริการมูลค่าสูง
ธุรกิจ Start - up มีทักษะสูง
๙๒
เศรษฐศาสตร์ ๙3

ป จ จุ บั น ประเทศไทยยั ง ติ ด อยู  ใ นโมเดลเศรษฐกิ จ แบบ “ทำ า มาก ได้ น ้ อ ย”


จึงตองปรับเปลี่ยนเปน “ทำาน้อย ได้มาก” จึงตองเปลี่ยนจากการผลิตสินคา “โภคภัณฑ์”
ไปสูสินคาเชิง “นวัตกรรม” และเปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศดวยภาคอุตสาหกรรม
ไปสูการขับเคลื่อนดวยเทคโนโลยี ความคิดสรางสรรค และนวัตกรรม
การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตสู่การสร้างนวัตกรรม

เดิม
ผลิตสินค้า
โภคภัณฑ์
ทำามาก ได้น้อย

ใหม่
ทุเรียน
ผลิตสินค้า ทอด ทุเรียน

นวัตกรรม ทอด

ทำาน้อย ได้มาก

รวมพลังประชารัฐ ความได้เปรียบในเชิงแข่งขัน
ด้วยนวัตกรรม

กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ
และเทคโนโลยีทางการแพทย์
ภาครัฐ กลุ่มหุ่นยนต์อัจฉริยะ
และระบบอิเล็กทรอนิกส์
-

สนับสนุน ควบคุม

-
กลุ่มดิจิตอล และ
เทคโนโลยี
และอินเทอร์เน็ต
เชื่อมต่อ
มหาวิทยาลัย
กลุ่มอุตสาหกรรม
สร้างสรรค์ วัฒนธรรม
และบริการที่มีคุณภาพสูง

๔.๐
ภาคเอกชน สถาบันวิจัย กลุ่มอาหาร เกษตร
และเทคโนโลยีชีวภาพ

ที่มา : คณะกรรมการจัดทํายุทธศาสตรชาติ (๒๕๖๐),


(ราง) ยุทธศาสตรชาติระยะ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙)
ภาคการเงิน เครือข่ายต่างประเทศ
ประวัติศาสตร์ไทย
(Thai History)
๑. ประวัติศาสตร์และวิธีการศึกษา

๒. การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย

๓. สถาบันพระมหากษัตริย์ไทย

๔. วิเคราะห์เหตุการณ์ส�ำคัญ

๕. ๒๐ บุคคลส�ำคัญของไทยที่ได้รับการยกย่องจากยูเนสโก

๖. วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
ประวัติศาสตรและวิธีการศึกษา
การศึกษาเรื่องราวของสังคมมนุษยในมิติของเวลาโดยใชหลักฐานและวิธีการทางประวัติศาสตร

บิดาแหงประวัติศาสตรโลก บิดาแหงประวัติศาสตรไทย
เฮโรโดตัส (Herodotus : สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ
๔๘๔ - ๔๒๔ ปกอน ค.ศ.) กรมพระยาดํารงราชานุภาพ

ผลงานสําคัญ ผลงานสําคัญ
The Histories ไทยรบพมา ลักษณะการปกครอง
สงครามระหวางกรีกกับเปอรเซีย ประเทศสยามแตโบราณ
I-TECT8

ความสําคัญของประวัติศาสตร

รูและเขาใจ
สรางสํานึก สภาพแวดลอม
ในความเปนชาติ ในสังคมปจจุบัน

เสริมสรางทักษะ
ใชอดีตเปนบทเรียน การคิด ทักษะชีวิต
และเห็นแนวทาง และความคิด
สูอนาคต เปนเหตุเปนผล

96
วตั ศิ าสตร • ประวัติศาสตร์ไทย 97
ประ

สมยั
สมยั กอ น
การ

ประวตั ศิ าส
เปลี่ยนแปลง ยุคสมัย
• ศต
สังคม ตร วรรษ วรร

ทศ

ษ•
สหสั วรรษ
ผลกระทบ ชวงเวลา
ตอสังคม

• ค.ศ. • ร.ศ
สังคมมนุษย .ศ.

.•ม

เหตุการณ อดีตและชวงเวลา

.ศ. • จ.ศ. •
ศักราช
สําคัญ
ฮ.ศ.
องคประกอบ
ประวัติศาสตร
หลักฐานทาง
ประวัติศาสตร วิธีการทาง
หลักฐาน ประวัติศาสตร
ชั้นตน Historical
Method
กระบวนการแสวงหา
หลักฐาน ความจริงในสังคมมนุษย
ชั้นรอง อยางเปนระบบ


๔ นําเสนอได
อยางมีเหตุผล

๓ สังเคราะหและ
สรุปประเด็น

๒ วิเคราะห
ตรวจสอบ
ตีความ


และประเมิน
รวบรวมขอมูล คุณคาหลักฐาน
หลักฐานตางๆ
ที่เกี่ยวของ

กําหนดประเด็น
ศึกษาใหชัดเจน
ชวงเวลา
2000 2009

ทศวรรษ ที่ ๒๐๐๐ คือ ค.ศ. ๒๐๐๐ - ๒๐๐๙


ค.ศ. คริสตศตวรรษ ที่ ๒๑ คือ ค.ศ. ๒๐๐๑ - ๒๑๐๐
คริสตสหัสวรรษ ที่ ๓ คือ ค.ศ. ๒๐๐๑ - ๓๐๐๐
2001 2010
ศักราช
พ.ศ.= พุทธศักราช ฮ.ศ.= ฮิจเราะหศักราช จ.ศ.= จุลศักราช
พระพุทธเจา นบีมูฮัมหมัดอพยพจาก พระเจาสูริยะวิกรม
ปรินิพพาน นครมักกะฮไปเมืองมะดีนะฮ ของพมาตั้งขึ้น
ค.ศ.= คริสตศักราช ม.ศ.= มหาศักราช ร.ศ.= รัตนโกสินทรศก
พระเยซูคริสต พระเจากนิษกะของอินเดีย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
ประสูติ ตั้งขึ้น เจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหนับป
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร
พ.ศ. ๒๓๒๕ เปน ร.ศ. ๑
การเทียบศักราช
กอน ร.ศ.
กอน จ.ศ.
กอน ม.ศ. ม.ศ. ๑ +๖๒๑
กอน ค.ศ. ค.ศ. ๑ +๕๔๓
กอน พ.ศ.

9๘
พ.ศ. ๑ พ.ศ. ๕๔๔ พ.ศ. ๖๒๒
ประวัติศาสตร์ไทย 99

2100 2100 3000 3000

รษ รษ
พุทธสหพัสุทวือรธสหัสวือร พุทธศตพวรุทรธษศตวรรษ
ที่ ๒ ค ท๑ี่ ๒ ค ๑ที่ ๒๖ คทือี่ ๒๖ คือ 2100 2100 3000 3000
พ.ศ. ๑๐พ๐๐.ศ๐. ๑๐๐๐พ๐.ศ. ๒๕พ๐.ศ๑. ๒๕๐๑
ถึง ๒๐ ถึง ๒๐ ถึง ๒๖๐ถ๐ึง ๒๖๐๐
เวลาแบบไทย
เวลาแบบไทย

๔ ๔
๓ ฯ๓๕ฯ ๕ ๑ ฯ๑๖ฯ ๖
๗ ๗
นอังคาร เดือน เดื๕อนขึ๕้น ๔ขึคํ้น่า ๔ คํ่าวันอาทิ
วันอังวัคาร วันตอาทิ
ย ตย เดือน เดื๖อนแรม
๖ ๗แรม
คํ่า ๗ คํ่า

ร.ศ. ร.ศ. ๑ +๒๓๒๔


๑ +๒๓๒๔
๑ +๑๑๘๑
จ.ศ. จ.ศ. ๑ +๑๑๘๑

พ.ศ. พ.ศ.
๑๑๘๒ ๑๑๘๒ พ.ศ. พ.ศ.
๒๓๒๕ ๒๓๒๕
ยุคสมัยทางประวัติศาสตร

สมัยกอนประวัติศาสตร (Prehistory)

พัฒนาการของเทคโนโลยี พัฒนาการทางสังคม
เครื่องมือเครื่องใช
๕,๐๐๐,๐๐๐ - ๔,๐๐๐ ปมาแลว ๔,๐๐๐ - ๑,๕๐๐ ปมาแลว
ยุคสังคม ลาสัตว
และหาของปา
ยุคหิน ยุคโลหะ
ยุคหมูบาน
สังคมเกษตรกรรม

ยุคหินเกา ยุคหินกลาง ยุคหินใหม ยุคสําริด ยุคเหล็ก ยุคสังคมเมือง

เรรอนอยูตามถํ้า ตั้งหลักแหลง รวมกันอยูเปน


และเพิงผา ใชหิน เปนหมูบาน เพาะปลูก ชุมชน หรือ เมือง
และเครื่องปนดินเผา เลี้ยงสัตว ทอผา จัดการปกครอง
อยางหยาบ ลาสัตว ทําเครื่องปนดินเผา แบงงานกันทํา
หาของปาเปนอาหาร มีลวดลายสวยงาม แลกเปลี่ยนสิ่งของ

๑๐๐
ประวัติศาสตร์ไทย ๑๐๑

สมัยประวัติศาสตร (History)

ประวัติศาสตรสากล ประวัติศาสตรไทย ประวัติศาสตรจีน ภูมิภาค/รัฐอื่นๆ

สมัยโบราณ สมัยกอนสุโขทัย สมัยโบราณ


๓,๕๐๐ ปกอ น ค.ศ. พุทธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๘ ประมาณ ๑,๗๖๖-๒๑๑ ปกอน ค.ศ.

สมัยกลาง สมัยสุโขทัย สมัยจักรวรรดิ


คริสตศตวรรษที่ ๕ - ๑๕ พุทธศตวรรษที่ ๑๘ - ๒๑ ๒๑๑ ปกอน ค.ศ.-ค.ศ. ๑๙๑๒

สมัยใหม สมัยอยุธยา สมัยใหม


คริสตศตวรรษที่ ๑๕ - ๒๐ พุทธศตวรรษที่ ๑๙ - ๒๔ ค.ศ. ๑๙๑๒-๑๙๔๙

สมัยปจจุบัน สมัยธนบุรี สมัยปจจุบัน


คริสตศตวรรษที่ ๒๐ - ปจจุบนั พุทธศตวรรษที่ ๒๔ ค.ศ. ๑๙๔๙-ปจจุบัน

สมัยรัตนโกสินทร
พุทธศตวรรษที่ ๒๔ - ปจจุบนั

พระปรางคสามยอด อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย อุทยานประวัติศาสตร วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร พระบรมมหาราชวัง


จังหวัดลพบุรี จังหวัดสุโขทัย พระนครศรีอยุธยา กรุงเทพฯ กรุงเทพฯ
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สมัยกอนประวัติศาสตร
ยุคหิน
(๕๐๐,๐๐๐ - ๔,๐๐๐ ปมาแลว)

ยุคหินเกา ยุคหินกลาง ยุคหินใหม


๕ แสนป ๑ หมื่นป ๖ พันป ๔ พันป
มาแลว มาแลว มาแลว มาแลว
ยุคหมูบานสังคม
ยุคสังคมลาสัตวและหาของปา เกษตรกรรม

การเปรียบเทียบประวัติศาสตรสากล
๒๑ ๒๐ ๑๘ ๑๕
ศตวรรษที่ ศตวรรษที่ ศตวรรษที่ ศตวรรษที่

สมัยปจจุบัน สมัยใหม
สมัยรัตนโกสินทร สมัยอยุธยา
(พ.ศ. ๒๓๒๕ - ปจจุบัน) (พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๒๓๑๐)

สมัยธนบุรี
(พ.ศ. ๒๓๑๐ - ๒๓๒๕)

๑๐๒
ประวัติศาสตร์ไทย ๑๐๓

๓,๕๐๐ ปกอน ค.ศ.

ประวัติศาสตรสากล
ยุคโลหะ
(๔,๐๐๐ - ๑,๕๐๐ ปมาแลว) สมัยโบราณ
ยุคสําริด ยุคเหล็ก
๒,๕๐๐ ป ๑,๕๐๐ ป
มาแลว มาแลว
ครสิ
ยุคสังคมเมือง

ตศ ต
กับประวัติศาสตรไทย วรรษที่ ๕

๑๔ ๑๓ ศตวรรษที่ ๖
ศตวรรษที่ ศตวรรษที่

สมัยกลาง
สมัยสุโขทัย สมัยกอนสุโขทัย
(พ.ศ. ๑๗๙๒ - ๒๐๐๖) (กอนพุทธศตวรรษที่ ๑๘)

สมัยประวัติศาสตรไทย
หลักฐานทางประวัติศาสตร
หลักฐานชั้นตน หลักฐานชั้นรอง
(Primary sources) (Secondary sources)

หลักฐานปฐมภูมิ หลักฐานทุติยภูมิ
หลักฐานที่เกิด หลักฐานที่เกิด
พรอมเหตุการณหรือ หลังเหตุการณ
ผูเห็นเหตุการณ หรือศึกษาจาก
บันทึกไว หลักฐานชั้นตน

เหรียญเงิน เครื่องประดับ
สมัยทวารวดี

ประติมากรรมสมัยทวารวดี

จารึกเยธมฺมา

เจดียจุลประโทน
จังหวัดนครปฐม
ธรรมจักร
104 และกวางหมอบ
ประวัติศาสตรไทย 10๕

วัดหลง จังหวัดสุราษฎรธานี
จารึกวัดเสมาเมือง
จังหวัดนครศรีธรรมราช
เงินดอกจันทร
สมัยศรีวิชัย

พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร เครื่องประดับ

พระปรางคสามยอด
จังหวัดลพบุรี
ปราสาทหินพิมาย
จังหวัดนครราชสีมา

ปราสาทพนมรุง เทวรูป
จังหวัดบุรีรัมย
จารึกเขมรโบราณ
“พอกูชื่อศรีอินทราทิตย แมกูชื่อนางเสือง พี่กูชื่อบานเมือง
ตูพี่นองทองเดียวหาคน ผูชายสาม ผูหญิงสอง
พี่เผือผูอายตายจากเผือเตียมแตยังเล็ก เมื่อกูขึ้นใหญไดสิบเกาเขา
ขุนสามชนเจาเมืองฉอดมาทเมืองตาก พอกูไปรบขุนสามชนหัวซาย
ขุนสามชนขับมาหัวขวา ขุนสามชนเกลื่อนเขา ไพรฟาหนาใสพอกู
หนีญญายพายจะแจน กูบหนี กูขี่ชางเบกพล กูขับเขากอนพอกู
กูตอชางดวยขุนสามชน ตนกูพุงชางขุนสามชนตัวชื่อมาสเมืองแพ
ขุนสามชนพายหนี พอกูจึงขึ้นชื่อกู ชื่อพระรามคำแหง
เพื่อกูพุงชางขุนสามชน”

ศิลาจารึกอักษรไทย

อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย

จิตรกรรมฝาผนังในสมัยอยุธยา
ณ วัดใหญสุวรรณาราม จังหวัดเพชรบุรี

จดหมายเหตุลาลูแบร
ราชอาณาจักรสยาม

แผนที่กรุงศรีอยุธยา

พระราชพงศาวดาร
1๐๖
กรุงศรีอยุธยา
คำใหการชาวกรุงเกา
ประวัติศาสตร์ไทย 1๐๗

จดหมายเหตุความทรงจำ
ของกรมหลวงนรินทรเทวี

ตำราภาพไตรภูมิ

พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี
ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)
จดหมายเหตุ
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร ราชวงศชิง (ชิงสือลู)
จังหวัดกรุงเทพฯ

ประชุมประกาศ
รัชกาลที่ ๔

พระราชพงศาวดาร
กรุงรัตนโกสินทร
รัชกาลที่ ๒

กฎหมายตราสามดวง

พระราชหัตถเลขา รัชกาลที่ ๕
คความเจริญ

ส ัง ค ม

นไท
แด น
กําลังคน

งสรร

ัย ท า ง
ิ ่ น
ก า ร ตั้ง ถ ิน แ า

ส รา
ในด

ป จ จ
การ
ละ
น แ
ิ่น ฐ า
ร ต ั้ง ถ ผูนําที่มี
ปจจัยที่มีอิทธิพ ล ตอ ก า ความสามารถ

ต ร 
ปจ จัย ท า ง ภูม ิศ า ส
รากฐาน
ความเจริญ

ทรัพยากรธรรมชาติ

ที่ราบลุมแมนํ้า ๔
ที่ตั้งยุทธศาสตร/การคา ประเทศไทยปจจุบัน
• ดร.ควอริช เวลส (Quaritch Wales)
• ศาสตราจารย นายแพทยสุด แสงวิเชียร
• ศาสตราจารยชิน อยูดี
• ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม และ สุจิตต วงษเทศ

ยังไมเปนขอยุติเพราะหลักฐานที่พบระบุไมไดวา
เปนชนชาติไทย

๕ คาบสมุทรมลายูและหมูเกาะตางๆ
• รูธ เบเนดิกต (Ruth Benedict) : คนไทยมี
เชื้อสายมลายูและอพยพจากทางใตขึ้นเหนือ
• นายแพทยสมศักดิ์ พันธุสมบุญ :
งานวิจัยเกี่ยวกับหมูเลือด และลักษณะของยีน

ไมไดรับการยอมรับ เพราะไมมีหลักฐานสนับสนุน
1๐๘
ประวัติศาสตร์ไทย 1๐๙

๑ เทือกเขาอัลไต หรือแถบเอเชียกลางในประเทศมองโกเลีย
มองโกเลีย • ดร.วิลเลียม คลิฟตัน ดอดด (William Clifton Dodd)
The Thai Race : Elder Brother of the Chinese
• ขุนวิจิตรมาตรา (สงา กาญจนาคพันธุ) : หลักไทย

ไมเปนที่ยอมรับของนักวิชาการในปจจุบันเพราะ
สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศไมเอื้ออำนวย
การอพยพตองผานทะเลทรายกวางใหญและทุรกันดารมาก


๒ ภาคกลางของจีน

จีน • ศาสตราจารยแตเรียง เดอ ลาคูเปอรี (Terrlen de la couperie)


The Cradle of the Shan Race
• หลวงวิจิตรวาทการ : งานคนควาเรื่องชนชาติไทย
• พระบริหารเทพธานี : พงศาวดารของชาติไทย
• พระยาอนุมานราชธน (ยง เสฐียรโกเศศ) : เรื่องของชาติไทย

๓ สวนใหญไมยอมรับเพราะหลักฐานไมเพียงพอ


ตอนใตของจีน ตอนเหนือของเวียดนาม
๔ •

อารชิบอลด รอสส คอลคูน (Archibald Ross Colqhoun)
ศาสตราจารยวิลเลียม เจ. เกดนีย (William J. Gedney)
• ศาสตราจารยขจร สุขพานิช
ไทย •

ศาสตราจารยเจียงอิ้งเหลียง : ประวัติชนเชื้อชาติไท
เฉินหลวี่ฟาน : วิจัยปญหาแหลงกำเนิดของชาติไทย
• ศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ณ นคร

สวนใหญยอมรับเพราะมีหลักฐานดานมานุษยวิทยา
และภาษาศาสตรสนับสนุน


หมูเกาะมลายู ประเด็นปญหาที่ยังหาขอยุติไมได

หริภุญชัย
ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๘

ศูนยกลางอยูที่เมืองลําพูน และลําปาง
นับถือศาสนาพุทธเถรวาท
มีความสัมพันธกับละโวและทวารวดี
สูญเสียอํานาจเพราะรวมเปนสวนหนึ่ง
ของอาณาจักรลานนาใน พ.ศ. ๑๘๓๕


ทวารวดี
ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๖
ศูนยกลางอยูที่เมืองนครปฐมโบราณ
เมืองอูทองหรือเมืองลพบุรี
อาจเปนชาวมอญ สวนใหญนับถือ

ศาสนาพุทธเถรวาท
เสื่อมโทรมลงเพราะการแผขยายอํานาจของ
อาณาจักรเขมร
ในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔ - ๑๖


ศรีวิชัย
ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๘
ศูนยกลางอาณาจักรอยูบนเกาะสุมาตรา

ศูนยกลางการคาขายทะเลและขยายอํานาจ
มาถึงภาคใตของไทย (อ.ไชยา จ.สุราษฎรธานี)
เสื่อมโทรมลงในพุทธศตวรรษที่ ๑๖


เพราะจีนคาขายโดยตรง

11๐
ประวัติศาสตร์ไทย 111


๒ เขมรโบราณ
ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๔ - ๑๘
มีพัฒนาการมาจากฟูนันและเจนละ
ศูนยกลางอยูที่เมืองยโศธรปุระ
และเมืองพระนครในประเทศกัมพูชา
นับถือศาสนาพราหมณ - ฮินดู พุทธศาสนามหายาน
สูญสิ้นอํานาจเพราะการแผขยายอํานาจ
ของอาณาจักรอยุธยา ตกเปนเมืองขึ้นของอยุธยา
ในป พ.ศ. ๑๙๗๔


ตามพรลิงค
ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๗ - ๑๘
ศูนยกลางอยูที่เมืองนครศรีธรรมราช
เดิมนับถือศาสนาพราหมณ - ฮินดู
ในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ นับถือ
พุทธเถรวาทจากลังกาวงศ
ตกอยูภายใตอํานาจของสุโขทัย
และอยุธยาตามลําดับ
แมน้ำโขง

วงั
ปปง ยม

นาน

ปาสกั
อาณาจักรสุโขทัย
จารึกวัดศรีชุม เจาพระยา
ประมาณ พ.ศ. ๑๗๙๒ : พอขุนบางกลางหาวและพอขุนผาเมือง
ขับไลขอมสบาดโขลญลำพงออกไป
สถาปนาพอขุนศรีอินทราทิตย ครองกรุงสุโขทัย
พ.ศ. ๑๘๒๖ : พอขุนรามคำแหงมหาราชประดิษฐลายสือไท
พ.ศ. ๑๘๘๘ : พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไทย) นิพนธไตรภูมิพระรวง
พ.ศ. ๒๐๐๖ : ถูกผนวกเขากับอยุธยาอยางสมบูรณ
• เครื่องสังคโลก
• ระบบชลประทาน
• ศิลปกรรมสุโขทัย

อาณาจักรธนบุรี
พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี
พ.ศ. ๒๓๑๐ : สมเด็จพระเจาตากสินมหาราช กูเอกราชจากพมา
และสถาปนากรุงธนบุรี
พ.ศ. ๒๓๑๓ : รวบรวมบานเมืองเปนปกแผน
พ.ศ. ๒๓๒๕ : เกิดการจลาจลจึงถูกปราบดาภิเษกเปลี่ยนแปลง
อำนาจการปกครอง
• สมุดภาพไตรภูมิ

112
ประวัติศาสตร์ไทย 113

อาณาจักรลานนา
จารึกลานนา / ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม / ชินกาลมาลีปกรณ
พ.ศ. ๑๘๓๙ : พอขุนมังรายสรางนครเชียงใหม
• ประดิษฐอักษรธรรมลานนา (คำเมือง, อักษรยวน)
• ประมวลกฎหมาย “มังรายศาสตร”
• ศิลปกรรมลานนา
• ตกเปนเมืองขึ้นพมา พ.ศ. ๒๑๐๑
ชี • เปนเมืองขึ้นอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๓๑๗ (สมัยธนบุรี)
• รวมเปนสวนหนึ่งของราชอาณาจักรไทย
ในรัชกาลที่ ๕ แหงกรุงรัตนโกสินทร
มลู

อาณาจักรอยุธยา
พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
พ.ศ. ๑๘๙๓ : พระเจาอูทอง (สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑)
สถาปนากรุงศรีอยุธยา
พ.ศ. ๑๙๙๘ : สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถปฏิรูปการปกครอง
ตรา “ศักดินา” และ “กฎมณเฑียรบาล”
พ.ศ. ๒๒๒๘ : สมเด็จพระนารายณมหาราชสงคณะทูตไปฝรั่งเศส
พ.ศ. ๒๓๑๐ : กรุงศรีอยุธยาพายแพแกกองทัพพมาครั้งที่ ๒
• ศูนยกลางการคาเอเชียตะวันออกเฉียงใต
• การควบคุมกำลังคน
• ศิลปกรรมอยุธยา

อาณาจักรรัตนโกสินทร
พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร
พ.ศ. ๒๓๒๕ : สมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึกสถาปนากรุงรัตนโกสินทร
“พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช”
พ.ศ. ๒๔๓๕ : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวปฏิรูปประเทศ
และสังคมไทย รักษาอธิปไตยของชาติ
มีพัฒนาการสืบตอมาถึงปจจุบัน
• ศิลปกรรมสมัยรัตนโกสินทร
• ภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทย
สถาบันพระมหากษัตริยไทย
สถาบันพระมหากษัตริย พระมหากษัตริย

พระมหากษัตริย พระโพธิสัตว - ผูดับทุกขเข็ญของราษฎร

พระบรมวงศานุวงศ ขัตติยะ - ผูปกปองภัย

พระราชประเพณี พระเจาแผนดิน

พระบรมมหาราชวััง เจาชีวิต

กฎหมาย

สัญลักษณ องคพระประมุขประเทศ
• การยับยั้งวิกฤตทางการเมือง
• การเปดประชุมรัฐสภา พุทธมามกะและอัครศาสนูปถัมภก
องคกร
• การยุบสภาผูแทนราษฎร
เหนือความรับผิดชอบทางการเมือง
• การตราพระราชกฤษฎีกา ผูใดจะละเมิดมิได
• ประกาศใชและยกเลิก
กฎอัยการศึก พระราชอํานาจ
• การทําหนังสือสนธิสัญญา
สงบศึก สัญญานานาประเทศ
• ประกาศสงครามเมื่อไดรับ
ความเห็นชอบจากสภา
• การพระราชทานอภัยโทษ
เนื้อหาที่สามารถเปดแอปพลิเคชันดูได

๑๑๔
ประวัติศาสตรไทย ๑๑๕

พอขุน ธรรมราชา/ธรรมิกราช

ใกลชิดราษฎร ทศพิธราชธรรม

สั่นกระดิ่งรองทุกข จักรวรรดิวัตร ๑๒

ดูแลทุกข - สุขราษฎร ราชสังควัตถุ ๔

สถาบันพระพุทธศาสนาคํ้าจุนสังคมไทย

พระมหากษัตริยภ ายใตรฐั ธรรมนูญ สมมติเทพ


อํานาจอธิปไตย : ลงพระปรมาภิไธย พระนามสะทอน พระนารายณอวตาร

นิติบัญญัติ - รัฐสภา กฎมณเฑียรบาล

บริหาร - นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี เครื่องราชกกุธภัณฑ

ตุลาการ - ศาล เครื่องราชูปโภค

พระบรมมหาราชวัง

คําราชาศัพท
วิเคราะหเหตุการณสำคัญ
Who What

Why เหตุ ผล How

ผล ของ

ง ไร
การเปลี่ยนแปลง
ท ำไม

ข ึ้น

อ ย า
งเก  หต
น ั้น

ิด เ ห ตุก า ร ณ ุก า ร ณ  นั้ น เ ปน


จึ

Where When

กรมไปรษณีย
พ.ร.บ. พิกัด
เกษียณอายุ โรงเรียน โรงเรียนหลวง
ลูกทาสลูกไท นายทหาร วัดมหรรณพาราม
๒๔๑๗ มหาดเล็ก

สังคม

พ.ร.บ. กรม
หอรัษฎากร ปฏิรูปการคลัง พระคลัง
พิพัฒน มหาสมบัติ

พ.ศ. ๒๔๑๑ ๒๔๑๔ ๒๔๑๖ ๒๔๑๗ ๒๔๑๘ ๒๔๒๕ ๒๔๒๖ ๒๔๒๗


ครองราชย ตั้งกรม พระราชพิธี หนังสือพิมพดรุโณวาท
มหาดเล็ก บรมราชา
ภิเษก • สภาที่ปรึกษาราชการ
แผนดิน
• สภาที่ปรึกษาใน
พระองค
การเมือง วิกฤติการณวังหนา

๑๑๖
ประวัติศาสตรไทย ๑๑๗

ฏร
ิ ป
ู ประเทศในสมยั รชั กาล
การป ที่ ๕

ปจจัยภายนอก
• การคุกคามของจักรวรรดินิยมตะวันตก
• สถานการณความเปนไปของประเทศตางๆ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ
• การสรางรัฐชาติ (Nation State) และสังคมเจริญตามแบบตะวันตก
ปจจัยภายใน ไทยสามารถรักษาเอกราช
• ความมั่นคงในพระราชอำนาจ ของประเทศไวได
ของสถาบันกษัตริย
• ความลาสมัย และความซ้ำซอน รูปแบบการปกครองในสมัยรัชกาลที่ ๕
ของหนวยราชการ เปนรากฐานการปกครอง
และระบบการปกครอง ในสมัยปจจุบัน

ตั้งกรม เริ่มกอสราง เปดเสนทาง เปดรถไฟ


ศึกษาธิการ ทางรถไฟ สายกรุงเทพ - กรุงเทพ -
กรุงเทพ - สมุทรปราการ อยุธยา
โอนไพรสม นครราชสีมา
ไมมีนาย เลิกเกณฑแรงงาน
เปนไพรหลวง ใหไพรเสียปละ ๖ บาท

ตั้งธนาคาร
ฮองกงเซี่ยงไฮ
ของอังกฤษ

๒๔๒๘ ๒๔๓๐ ๒๔๓๑ ๒๔๓๔ ๒๔๓๕ ๒๔๓๖ ๒๔๓๗ ๒๔๓๙

เริ่มปฏิรูป การปกครองสวนกลางแบงเปน เริ่มมณฑล


การปกครอง ๑๒ กรม/กระทรวง เทศาภิบาล
สวนกลาง ทดลองเลือกตัง้ ผูใ หญบา น กำนัน ๑. พิษณุโลก
๒. ปราจีนบุรี
เสียเมืองเงีย้ วทัง้ ๕ และ ๓. นครราชสีมา
กะเหรีย่ งตะวันออก เสียดินแดน
ยกเลิกวังหนา เสียแควน ฝงซาย
สิบสองจุไท แมน้ำโขง
เสด็จประพาส เปดทางรถไฟ
ยุโรป ครั้งที่ ๑ สายกรุงเทพ -
นครราชสีมา

แยกพระราชทรัพย จัดระเบียบ พ.ร.บ. ธนบัตร


สวนพระองค งบประมาณ ร.ศ. ๑๒๑
แผนดินครั้งแรก
๑ บาท = ๑๐๐ สตางค

๒๔๔๐ ๒๔๔๑ ๒๔๔๒ ๒๔๔๓ ๒๔๔๔ ๒๔๔๕ ๒๔๔๖

พ.ร.บ. การปกครอง
ทองที่ ร.ศ. ๑๑๖

สุขาภิบาลกรุงเทพ
เสียดินแดน
ฝงขวาแมน้ำโขง

๑๑๘
ประวัติศาสตรไทย ๑๑๙

พ.ร.บ. ลักษณะ เสด็จประพาส


การเกณฑทหาร ยุโรป ครั้งที่ ๒
ร.ศ. ๑๒๔

พ.ร.บ. เลิกทาส

บุคคลัภย แบงกสยามกัมมาจล พ.ร.บ. มาตรฐานทองคำ


(Book Club) ทุนจำกัด

๒๔๔๗ ๒๔๔๘ ๒๔๔๙ ๒๔๕๐ ๒๔๕๑ ๒๔๕๒ ๒๔๕๓


ประกาศใช สวรรคต
กฎหมายอาญา

เสียมณฑลบูรพา เสียรัฐไทรบุรี
๒ อิทธิพลตะวันตกในประเทศไทย
และหนังสือพิมพทำใหชาวไทย


รับรูแนวคิดทางการเมือง และ
วิพากษวิจารณการปกครอง
ขอบกพรองของ
๑ การสงเสริมการศึกษา
ตั้งแตรัชกาลที่ ๕ เปนตนมา
การปกครองระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย
กลุมชนชั้นสูง และ
สามัญชนไดศึกษา
ตางประเทศ รับแนวคิด
การปกครองแบบตะวันตก ๔ การพัฒนาประเทศ
ตามแบบตะวันตก
ตั้งแตรัชกาลที่ ๕ - ๗

๕ การเปลี่ยนแปลง
การปกครองของประเทศอื่น
เชน จีน ตุรกี รัสเซีย ญี่ปุน

๖ เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก
และวิธีแกปญหาของ
การเปลี่ยนแปลง
รัชกาลที่ ๗
การปกครอง ๑
๒๔๗๕
ไทยเปลี่ยนแปลง
การปกครองจาก
สมบูรณาญาสิทธิราชย
เปนประชาธิปไตยที่มี
พระมหากษัตริย
ทรงเปนประมุข



สถาบันพระมหากษัตริย
สิ้นสุดพระราชอำนาจ
เกิดการขัดแยง ในการปกครอง
ทางการเมืองระหวาง
กลุมผลประโยชนตางๆ

๔ ขุนนางในระบบ
เจาขุนมูลนาย
ซึ่งตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน

สูญเสียอำนาจและ
สิทธิประโยชน
ที่เคยมีมาแตกอน ๕ ประชาชนไดรับสิทธิ
และเสรีภาพ ตลอดจน
ความเสมอภาค


ตามรัฐธรรมนูญ
โดยเฉพาะทาง
๑๒๐ การกระจายอำนาจ ดานการศึกษา
สูทองถิ่นมากขึ้น
ประวัติศาสตรไทย ๑๒๑

สนธิสัญญา
เบาวริ่ง หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษ
และประเทศสยาม (Treaty of Friendship and
Commerce between the British Empire
and Kingdom of Siam)

สาเหตุ
๑. การคุกคามของจักวรรดินิยมตะวันตก
๒.นโยบายของรัชกาลที่ ๔ ดาน
การตางประเทศที่ยอมทำสัญญา
ตามความตองการของตะวันตก
เพื่อลดความตึงเครียดทางการเมือง
ผล
ผลดี
ระหวางประเทศ ๑. ผลดีทางดานการเมืองระหวางประเทศ
๒. เปนหลักในการทำสัญญากับประเทศอื่นๆ
๓. เปลี่ยนระบบการคาผูกขาดมาเปนการคาเสรี
การคาภายในและภายนอกเจริญและขยายตัวมาก
๔. ขาวและไมสักกลายเปนสินคาออก
ที่สำคัญที่สุดของไทย
๕. สงเสริมใหไทยรับอิทธิพล
ตะวันตกมากขึ้น
ผลเสีย
๑. ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต
๒. ไทยไมมีสิทธิ์ในการควบคุมการคา
และการเก็บภาษีศุลกากร

สาระสำคัญของสนธิสัญญาเบาวริ่ง
• พอคาอังกฤษสามารถทำการคาไดอยางเสรี
ซื้อขายโดยตรงกับราษฎร
• คนในบังคับของอังกฤษไดรับสิทธิสภาพ
นอกอาณาเขต (Extraterritoriality)
และเสรีภาพดานศาสนา • ไทยเรียกเก็บภาษีขาเขาในอัตรารอยละ ๓ เทานั้น
สวนภาษีขาออกตามพิกัดสินคาที่แนบทายสัญญา
• ไทยสงวนสิทธิ์หามนำขาว เกลือ และปลา
ออกนอกประเทศในยามขาดแคลน
• คนในบังคับอังกฤษ สามารถพำนักในกรุงเทพฯ หรือในทองถิ่นในระยะการเดินทางภายใน ๒๔ ชั่วโมง
• สนธิสัญญาจะแกไขหรือยกเลิกไมไดภายใน ๑๐ ป หากแกไขตองแจงลวงหนา ๑ ป
และไดรับการยินยอมจากทั้งสองฝาย
พระบาทสมเด็จ พระบาทสมเด็จ พระบาทสมเด็จ พระบาทสมเด็จ พระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหลา พระจอมเกลา พระจุลจอมเกลา พระมงกุฎเกลา พระปรมินทร
นภาลัย เจาอยูหัว เจาอยูหัว เจาอยูหัว มหาภูมิพล
กวีนิพนธ : พระพุทธศาสนา : การปกครอง : การปกครอง : อดุลยเดช
• รามเกียรติ์ ตั้งธรรมยุติกาวงศ ปฏิรูปประเทศให ตั้งกองเสือปา และ บรมนาถบพิตร
ไดรับยกยองวาเปน เปนนิกายใหม เจริญกาวหนา ปรังปรุงสังคมไทยให การพัฒนา :
ละครรำยอดเยี่ยม ในพระพุทธศาสนา ทั้งดานการปกครอง ทันสมัยแบบตะวันตก • ปรัชญาของ
• ไกรทอง สังขทอง เศรษฐกิจ และสังคม เชน นามสกุล ธงไตรรงค เศรษฐกิจพอเพียง
ไชยเชษฐ หลวิชัยคาวี พระราชนิพนธ : ทำใหชาติไทยรอดพน คำนำหนานาม การใช • ทฤษฎีใหม, แกมลิง,
มณีพิชัย บทพากยโขน • ตำนานเรื่อง จากการเปนอาณานิคม เวลาตามแบบสากล หญาแฝก ฯลฯ
พระแกวมรกต ของชาติตะวันตก • โครงการพัฒนา
ประติมากรรม : เรื่องปฐมวงศ อันเนื่องมาจาก
• ปนหุนพระพักตร • ชุมนุมพระบรมราโชบาย พระราชนิพนธ : พระราชดำริ
พระประธาน ๔ หมวด คือ ไกลบาน เงาะปา • ศูนยศึกษาการพัฒนา
ในพระอุโบสถ หมวดวรรณคดี จดหมายเหตุรายวัน อันเนื่องมาจาก
วัดอรุณราชวรารามฯ โบราณคดี ธรรมคดี กาพยเหเรือ พระราชดำริ ๖ ศูนย
• แกะสลักบานประตู และตำรา ฯลฯ นิทราชาคริต ฯลฯ พระราชนิพนธ : นวัตกรรม :
พระวิหารวัดสุทัศน • บทละครพูดเรื่อง • ฝนหลวง,
เทพวรารามฯ แกะหนา หัวใจนักรบ กังหันน้ำชัยพัฒนา
หุนหนาพระยารักใหญ มัทนะพาธา การศึกษา :
และพระยารักนอย ดาราศาสตร : พระรวง รางวัลสมเด็จ
การคำนวณการเกิด วิวาหพระสมุทร เจาฟามหิดล,
ดนตรี : สุริยุปราคาเต็มดวง • บทโขนรามเกียรติ์ สารานุกรมไทย
• ซอสามสาย เมื่อ ๑๘ สิงหาคม ๒๔๑๑ • วรรณกรรม สำหรับเยาวชน,
พระราชทานนามวา เมืองไทยจงตื่นเถิด มูลนิธิอานันทมหิดล,
“ซอสายฟาฟาด” วิทยาศาสตร : ลัทธิเอาอยาง ฯลฯ โรงเรียนพระดาบส
• เพลงพระราชนิพนธ ไดรับการยกยองเปน ศิลปกรรม :
“บุหลันลอยเลื่อน” “พระบิดาแหง พระราชสมัญญาวา เพลงพระราชนิพนธ
(เพลงทรงสุบิน) วิทยาศาสตรไทย” “สมเด็จพระมหา ๔๘ เพลง,
ฯลฯ ธีรราชเจา” ภาพจิตรกรรม,
ออกแบบเรือใบ
พระราชนิพนธ :
พระราชานุกจิ
รัชกาลที่ ๘,
พระมหาชนก ฯลฯ
ทรงไดรับสมัญญาวา
“อัครศิลปน”

๑๒๒
ประวัติศาสตรไทย ๑๒๓

สมเด็จ
พระศรีนครินทรา สมเด็จพระ
บรมราชชนนี มหิตลาธิเบศร สมเด็จพระเจา
อดุลยเดชวิกรม บรมวงศเธอ สมเด็จพระเจา
พระบรมราชชนก เจาฟากรมพระยา บรมวงศเธอ พระเจาบรมวงศเธอ
การแพทย นริศรานุวัดติวงศ กรมพระยา กรมหลวงวงศา
การสาธารณสุข สถาปตยกรรม : ดำรงราชานุภาพ ธิราชสนิท
และการศึกษา : • ออกแบบพระอุโบสถ การปกครอง : พระนิพนธ :
ไดรับการการถวาย วัดเบญจมบพิตร เสนาบดีกระทรวง นิราศพระประธม,
สมญานามวา มหาดไทยคนแรก เพลงยาวสามชาย,
จิตรกรรม : พงศาวดารฉบับ
การเพทยพยาบาล • พระประทีปแหง ภาพเขียนเพดาน พระราชหัตถเลขา,
การสาธารณสุข : การอนุรักษสัตวน้ำ พระที่นั่งบรมพิมาน, จินดามณี เลม ๒ ฯลฯ
หนวยแพทยอาสา ของไทย ไดรับสมญานามวา
สมเด็จพระศรี “นายชางใหญ
นครินทรา • พระบิดาแหง แหงกรุงสยาม”
บรมราชชนนี การแพทยไทย
(พอ.สว.) ประติมากรรม : พระนิพนธ :
• มูลนิธิขาเทียม • พระบิดาแหง พระบรมรูปหลอพระบาท สาสนสมเด็จ,
ในสมเด็จ การสาธารณสุขของไทย สมเด็จพระพุทธยอดฟา ไทยรบพมา ฯลฯ
พระศรีนครินทรา จุฬาโลกมหาราช จัดตั้งหอจดหมายเหตุ ตำราสรรพคุณยา
บรมราชชนนี ที่เชิงสะพาน หอพระสมุด และ สมุนไพรไทย
พระพุทธยอดฟา, ราชบัณฑิตยสภา คำประพันธแผนหิน
• มูลนิธิถันยรักษใน ในวัดพระเชตุพน
โรงพยาบาลศิริราช พระนิพนธ : ไดรับยกยองเปน วิมลมังคลาราม
โคลงประกอบภาพ • พระบิดาแหง
การอนุรักษธรรมชาติ จิตรกรรมภาพ ประวัติศาสตรและ การแพทย :
และสิ่งแวดลอม : พระราชพงศาวดาร, โบราณคดีไทย แพทยไทย
โครงการพัฒนา โคลงรามเกียรติ์ • พระบิดาแหง พระองคแรกที่ไดรับ
ดอยตุง มัคคุเทศกไทย ประกาศนียบัตร
ชาวไทยภูเขา ดุริยางคศิลป จากสถาบันการแพทย
ถวายพระสมัญญาวา และ นาฏศิลป : ของยุโรป
“แมฟาหลวง” เพลงสรรเสริญ
พระบารมี
(คำรอง) ฯลฯ

บุคคลสําคัญของไทยที่ไดรับการยกยองจากยูเนสโก
สมเด็จพระ
พลตรีหมอมราชวงศ มหาสมณเจา
คึกฤทธิ์ ปราโมช กรมพระปรมานุชิต
พลตรี หมอมหลวงปน อดีตนายกรัฐมนตรีไทย ชิโนรส
พระเจาวรวงศเธอ มาลากุล พ.ศ. ๒๕๑๘ - ๒๕๑๙ พระสังฆราช
ศาสตราจารย
กรมหมื่นนราธิป ไดรับการยกยองวาเปน
พระยาอนุมานราชธน นักการศึกษาผูยิ่งใหญ พระองคที่ ๗
พงศประพันธ (ยง เสฐียรโกเศศ)
แหงกรุงรัตนโกสินทร
• อดีตรัฐมนตรีวาการ พระนิพนธ :
งานนิพนธ : กระทรวงศึกษาธิการ ปฐมสมโพธิกถา,
ตำนานศุลกากร, และรัฐมนตรีวาการ ลิลิตตะเลงพาย,
การทูต : อาหรับราตรี, กระทรวงวัฒนธรรม ตำราโคลงกลบท,
• อดีตประธานสมัชชา ประเพณีเนื่องใน • ผูกอตั้งโรงเรียน รายยาวพระเวสสันดร
องคการสหประชาชาติ, การแตงงาน และ เตรียมอุดมศึกษา ชาดก ฯลฯ
หัวหนาคณะผูแทน ประเพณีในการปลูกเรือน, • จัดตั้งโรงเรียนฝกหัด
เจรจาสันติภาพฝายไทย นิรุกติศาสตร, ครูชั้นสูง (มหาวิทยาลัย พุทธศิลป :
ในกรณีพิพาทอินโดจีน ประเพณีเบ็ดเตล็ด, ศรีนครินทรวิโรฒ) ออกแบบพระพุทธรูป
• นายกราชบัณฑิตยสถาน วัฒนธรรม ฯลฯ • สถาปนา งานนิพนธ : ปางตางๆ
ไดรับยกยองวาเปน มหาวิทยาลัยศิลปากร สี่แผนดิน, พมาเสียเมือง,
นักปราชญและ พระราชวังสนามจันทร จากญี่ปุน, หลายชีวิต,
พจนานุกร
ม นักการศึกษาของไทย • ยูเนสโก ยกยองเปน ไผแดง ฯลฯ
ฉบับ
สถาน
“นักการศึกษาดีเดน ศิลปนแหงชาติ
ับณฑิตราชย ๓ ของโลก”, ศิลปนแหงชาติ สาขาวรรณศิลป
พ.ศ. ๒๔๙
สาขาวรรณศิลป
ประจำป ๒๕๓๐
งานนิพนธ :
าย
การบัญญัติศัพทใน ลิลิตตะเลงพ
พจนานุกรม ฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. ๒๔๙๓

บุคคลสําคัญของไทยที่ไดรับการยกยองจากยูเนสโก
๑๒๔
ประวัติศาสตรไทย ๑๒๕

ทานพุทธทาส
ภิกขุ
(พระธรรม สุนทรภู ศาสตราจารย
โกศาจารย) (พระสุนทรโวหาร) นายเอื้อ สุนทรสนาน ดร.ปรีดี พนมยงค
งานนิพนธ : กวีที่ไดรับยกยองเปน • นักรอง นักดนตรี นายกุหลาบ (หลวงประดิษฐ
พุทธธรรม, เชกสเปยรแหงประเทศไทย นักประพันธเพลง และ สายประดิษฐ มนูธรรม)
ตามรอยพระอรหันต, งานนิพนธ : หัวหนาวงดนตรี
คูมือมนุษย, นิราศภูเขาทอง, (ศรีบูรพา)
สุนทราภรณ นักเขียน นักประพันธ
พระพุทธเจาสอนอะไร, นิราศสุพรรณ, • เพลงวันลอยกระทง
แกนพุทธศาสตร, เพลงยาวถวายโอวาท, นักหนังสือพิมพ
วันปใหม วันสงกรานต งานนิพนธ : ผูนำ
ภาษาคน - กาพยพระไชยสุริยา, ขวัญใจเจาทุย ฯลฯ
ภาษาธรรม ฯลฯ นิราศพระบาท, แลไปขางหนา, คณะราษฎรสายพลเรือน
• ศิลปนตัวอยาง จนกวาเราจะพบกันอีก, ผูกอการเปลี่ยนแปลง
พระอภัยมณี สาขาผูประพันธเพลง
ซึ่งไดรับการยกยองวา ลูกผูชาย, สงครามชีวิต, การปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕
ป ๒๕๒๓ ขางหลังภาพ และรัฐบุรุษ
เปนยอดของวรรณคดี • รางวัลแผนเสียงทองคำ
ประเภทกลอนนิทาน บทความและ • ผูสำเร็จราชการ
พระราชทาน ฯลฯ เรื่องสั้นจำนวนมาก แทนพระองค
ฯลฯ
ในรัชกาลที่ ๘
(พ.ศ. ๒๔๘๗ - ๒๔๘๘)
• อดีตนายกรัฐมนตรี
ของประเทศไทย
(พ.ศ. ๒๔๘๙)
• สถาปนามหาวิทยาลัย
วิชาธรรมศาสตรและ
การเมือง และ
ดำรงตำแหนงเปน
ผูประศาสนการคนแรก
และคนเดียว
ของมหาวิทยาลัย
• หัวหนาขบวนการเสรีไทย

งานนิพนธ :
• ความเปนมาของชื่อ
“ประเทศสยาม” กับ
“ประเทศไทย”
• อนาคตของเมืองไทย
กับสถานการณ
ของประเทศเพื่อนบาน
ฯลฯ
วัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย
พระพุทธชินราช
ศิลปะสมัยสุโขทัย
ไดรับการยกยอง
วาเปนสุดยอดของ
ประติมากรรมไทย

ประติมากรรมไทย ลวดลายปูนปน
หนาบันพระอุโบสถ
วัดเขาบันไดอิฐ
จังหวัดเพชรบุรี
ศิลปะสมัยอยุธยา

บานประตูไมแกะสลัก
พระวิหารวัด
สุทัศนเทพวราราม
สรางขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๒
แหงกรุงรัตนโกสินทร

แกะสลักเขาสัตว
ซึ่งเปนผลิตภัณฑ OTOP
จังหวัดฉะเชิงเทรา

เครื่องสังคโลกสมัยสุโขทัย
เปนสินคาออกที่สำคัญของ
อาณาจักรสุโขทัย และอยุธยา

๑๒๖
ประวัติศาสตรไทย ๑๒๗

พระบรมมหาราชวัง
สรางขึ้นตั้งแตรัชกาลที่ ๑ - ๕
แหงกรุงรัตนโกสินทร

พระปรางควัดพุทไธศวรรย
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เจดียทรงพุมขาวบิณฑ
สรางขึ้นในสมัยสมเด็จ หรือทรงดอกบัวตูม
พระรามาธิบดีที่ ๑ เปนสถาปตยกรรมเอกลักษณ
(พระเจาอูทอง) ของศิลปะสมัยสุโขทัย
แหงกรุงศรีอยุธยา (วัดเจดียเจ็ดแถว
อำเภอศรีสัชนาลัย
จังหวัดสุโขทัย)

สถาปตยกรรมไทย

เจดียทรงระฆังวัดชางลอม พระปรางค
อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย วัดอรุณราชวราราม
ราชวรมหาวิหาร
กรุงเทพมหานคร

ศาลาไทย
เฉลิมพระเกียรติ
ณ เมืองฮัมเบิรก
ประเทศเยอรมนี
สรางขึ้นเพื่อเฉลิมฉลอง
ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จ
เรือนไทยหรือบานทรงไทย พระปรมินทรมหา
มีเอกลักษณเฉพาะแตละทองถิ่น ภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
สะทอนภูมิปญญาไทย มีพระชนมพรรษา
ทั้งทางดานการใชวัสดุกอสราง ครบ ๖ รอบ (๗๒ พรรษา)
วิธีการสราง และรูปแบบที่สอดคลอง
เนื้อหาที่สามารถเปดแอปพลิเคชันดูได

ใน พ.ศ. ๒๕๔๒
กับภูมิสังคมของไทย
จิตรกรรมฝาผนัง
วัดใหญสุวรรณาราม
จังหวัดเพชรบุรี
สรางขึ้นในสมัยอยุธยา
จิตรกรรมฝาผนัง
วัดสระบัวแกว
อำเภอหนองสองหอง
จังหวัดขอนแกน

จิตรกรรมฝาผนัง
ภายในพระอุโบสถ จิตรกรรมไทย
วัดบวรนิเวศวิหาร
วาดโดยขรัวอินโขง ผูไดรับยกยอง
วาเปนจิตรกรเอกใน
สมัยรัชกาลที่ ๔
แหงกรุงรัตนโกสินทร

จิตรกรรมฝาผนัง ชุดรามเกียรติ์
ลอมรอบระเบียงคด
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
สรางขึ้นตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๑
แหงกรุงรัตนโกสินทร
สมุดภาพไตรภูมิสมัยกรุงธนบุรี

ภาษาไทยและวรรณกรรมไทย

จารึกหลักที่ ๑ ไตรภูมิพระรวง หรือไตรภูมิกถา จินดามณี


ศิลาจารึกพอขุนรามคำแหงมหาราช วรรณกรรมชิ้นเอกสมัยสุโขทัย เปนหนังสือเรียนเลมแรกของไทย
เปนหลักฐานลายสือไท เปนพระราชนิพนธของ แตงโดยพระมหาราชครู
ที่พอขุนรามคำแหงมหาราช พระมหาธรรมราชาที่ ๑ ในสมัยพระนารายณมหาราช
ทรงประดิษฐอักษรไทยขึ้น (พระยาลิไทย) เมื่อครั้งครองเมือง และใชเปนตำราเรียนมาจนถึง
เมื่อ พ.ศ. ๑๘๒๖ ศรีสัชนาลัย พ.ศ. ๑๘๘๘ สมัยรัตนโกสินทรตอนตน
๑๒๘
ประวัติศาสตรไทย ๑๒๙

การเชิดหนังใหญ โขน
มหรสพการแสดงที่ใช การแสดงนาฏศิลปชั้นสูง
ตัวหนังขนาดใหญเปนตัวละคร ของไทยที่มีเอกลักษณ
มีผูเชิดใหเกิดภาพบนจอ คือผูแสดงจะสวมหัวจำลอง
และใชการพากยและการเจรจา เรียกวา “หัวโขน” และ
เปนการดำเนินเรื่อง เตนไปตามบทพากย
และทำนองเพลงดวย
วงปพาทย เรื่องที่นิยมแสดง
ลิเก คือ พระราชนิพนธบทละคร
การแสดงที่มีมา เรื่องรามเกียรติ์
ตั้งแตสมัยอยุธยา
หรือตนกรุงรัตนโกสินทร การฟ อ นภู ไ ทเรณู น คร
ที่รับอิทธิพลมา การรำพื้นบานของจังหวัดนครพนม
จากศาสนาอิสลาม ประกอบดนตรีครบชุดของวงโปงลาง
จากชาวเปอรเซีย

หนังตะลุง
ศิลปะการแสดง - นาฏศิลปไทย
การแสดงในทองถิ่นภาคใต
ดวยการเลาเรื่องราวที่ผูกรอยกัน
เปนบทรอยกรองที่รอง
เปนสำเนียงทองถิ่น
มีบทสนทนาแทรกเปนระยะ
และใชการแสดงเงาบนจอผา
แสดงประกอบการเลาเรื่อง

มโนราห
ฟอนเทียน - ฟอนเล็บ การแสดงในทองถิ่นภาคใต ใชบทรองเปนกลอนสด
การรายรำของ ผูขับรองตองใชปฏิภาณสรรหาคำพูดใหมีสัมผัสได
ชาวไทยภาคเหนือ อยางฉับไว การแตงกายและทารำเปนเอกลักษณ
ที่ออนชอยงดงาม ผูแสดงตองมีความเชี่ยวชาญเปนอยางมาก

ขุนชางขุนแผน พระอภัยมณี นิราศลอนดอน


เปนนิทานพื้นบานของไทยมีมาตั้งแต วรรณคดีชิ้นเยี่ยมของไทย แตงโดย หมอมราโชทัย
สมัยอยุธยา แลวจดจำเลาสืบตอกันมา แตงโดย พระสุนทรโวหาร (หมอมราชวงศกระตาย อิศรางกูร)
แตงขึ้นใหมในสมัยรัชกาลที่ ๒ หรือ สุนทรภู กวีเอก เมื่อเปนลามหลวงในคณะราชทูตไทย
แหงกรุงรัตนโกสินทร และไดรับการยกยอง แหงกรุงรัตนโกสินทร ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ที่อัญเชิญพระราชสาสน
วาเปนยอดของหนังสือประเภทกลอนเสภา ไปถวายสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย
แหงอังกฤษ
ประวัติศาสตรสากล
(World History)

๑๓๐
๑. อารยธรรมโลกยุคโบราณ

๒. การติดตอระหวางโลกตะวันออกกับโลกตะวันตกในสมัยโบราณ

๓. เหตุการณสําคัญของโลกในสมัยกลาง

๔. เหตุการณสําคัญของโลกสมัยใหม

๕. เหตุการณสําคัญของโลกสมัยปจจุบัน
อารยธรรมโลกยุคโบราณ
เปนชวงเวลาที่มนุษยรูจักการตั้งถิ่นฐานถาวร
อยูร วมกันเปนสังคมเมือง มีระบบการปกครอง
การแบงงานอาชีพ การแบงชนชั้นทางสังคม
มีลทั ธิบชู าทางศาสนา และการประดิษฐอกั ษร
ยุคสมัยโบราณเกิดขึ้นประมาณ ๓,๕๐๐ ป
กอนคริสตศักราชจนถึง ค.ศ. ๔๗๖ ซึ่งเปน
ชวงเวลาที่อารยธรรมทั้ง ๖ แหงเกิดขึ้น

อารยธรรม
อียิปต อารยธรรม
เมโสโปเตเมีย

อารยธรรม อารยธรรม
กรีก โรมัน

อารยธรรม อารยธรรม
อินเดีย จีน

๑๓๒
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย ประวัติศาสตรสากล ๑๓๓

ที่ราบลุมแมน้ำไทกริส - ยูเฟรติส ดินแดนอุดมสมบูรณทามกลางทะเลทราย

สรางชุมชน
มีประชากรจาก เปนเมือง มีความเจริญ
หลายเผาพันธุ มีนครรัฐอิสระ ดานการปกครอง
ผลัดกันเขามา เกิดขึ้นภายหลัง กฎหมาย ศิลปะ
ครอบครอง มีการสราง วิทยาการ
จักรวรรดิ สาขาตางๆ

ดานตะวันตกเปนทะเลทรายไมมพี รมแดนธรรมชาติจงึ มีชนชาติตา งๆ


เขามาตัง้ ถิน่ ฐานสรางอาณาจักรอยางตอเนือ่ ง

ชนชาติตางๆ ชนชาติที่ตั้งถิ่นฐานใกลเคียง
สุเมเรียน ๓,๕๐๐ ถึง
เปนชาติแรกที่เขามาอยูอาศัยในเขต ๒,๒๐๐ ป
ซูเมอรไดประดิษฐตัวอักษรขึ้นใชเปน กอน ค.ศ. ลิเดียน
ครัง้ แรกทำใหนกั ประวัตศิ าสตรกลาววา ๗๐๐ - ๕๔๖ ป กอน ค.ศ.
“ประวัติศาสตรเริ่มขึ้นที่ซูเมอร” มีอาณาจักรบริเวณเอเซียไมเนอร
มั่งคั่งจากการคาขาย เปนชาติแรก
แอคคัต ที่ผลิตเหรียญกษาปณ
พระเจาซารกอนสราง ๒,๓๐๐ ถึง เพื่อเปนสื่อกลางการคาขาย
จักรวรรดิขึ้นมาเปนครั้งแรก ๒,๑๐๐ ป
รับวิธีเขียนแบบยูนิฟอรมมาใช กอน ค.ศ.
ฟนิเซียน
๑,๐๐๐ - ๓,๐๐๐ ป กอน ค.ศ.
เปนนักเดินเรือคาขาย
อามอไรท - บาบิโลเนีย ทั่วนานน้ำเมดิเตอรเรเนียน
สรางอาณาจักรบาบิโลเนีย ๑,๖๐๐ ถึง ประดิษฐอักษรพยัญชนะ
พระเจาฮัมบูราบี ประกาศใช ๑,๔๐๐ ป
กอน ค.ศ. เปนแบบอยางใหอักษรกรีก - โรมัน
ประมวลกฎหมายเปนครั้งแรก
ฮิบรู
๑,๕๐๐ - ๓๐๐ ป กอน ค.ศ.
ฮิตไตท • ตั้งถิ่นฐานบริเวณตะวันออกกลาง
ทำสงครามกับจักรวรรดิอียิปต ๒,๐๐๐ ถึง ของเมริเตอรเนียนเรียกวา
รูจักวิธีหลอมเหล็ก ๑,๖๐๐ ป ปาเลสไตน ปกครองดวย
ใชทำอาวุธและเครื่องมือ กอน ค.ศ. บัญญัติ ๑๐ ประการของโมเสส/
สมัยกษัตริยโซโลมอนรุงเรืองมาก
• การบันทึกเรื่องราวของชาวฮิบรูหรือยิว
อัสซีเรีย ในคัมภีรพันธะสัญญา (The old testament)
มีกองทัพเขมแข็ง • ที่มาของศาสนายูดาย
พระเจาอัสซูบานิปาล ๑,๕๐๐ ถึง
๖๐๙ ป เปอรเซีย
รวบรวมเปนจักรวรรดิ กอน ค.ศ.
สรางหอสมุดทีเ่ มืองนิเนเวท ๕๕๐ - ๓๓๐ ป กอน ค.ศ.
เปนจักวรรดิที่ใหญที่สุด
ในยุคโบราณ ตั้งอยู
แคลเดียหรือนิวบาบิโลเนีย บริเวณที่ราบสูงอิหราน
จักรพรรดิเนบูคัดเนซซาร ๙๐๐ถึง
สรางสวนลอยบาบิโลเนีย ๖๐๐ ป
ศึกษาดาราศาสตร กอน ค.ศ.
อารยธรรมอียิปต
อียิปตตอนลาง
ลุมแมน้ำไนล เปนที่ตั้งถิ่นฐาน (LOWER
EGYPT)
ของชาวอียิปตโบราณ
อียิปตโบราณ ประกอบดวย อียิปต
• อียิปตตอนบน (Upper Egypt) โบราณ
• อียิปตตอนลาง (Lower Egypt)
อียิปตตอนบน
อารยธรรมอียปิ ตไดชอ่ื วา เปนของขวัญจากลุม แมนำ้ ไนล (The gift of the Nile) (UPPER
EGYPT)
เพราะชวยใหชาวอียิปตสามารถสรางสรรคอารยธรรมสืบตอมาหลายพันป
ชาวอียิปตไดอาศัยลุุมแมน้ำไนลสรางระบบชลประทาน
การเพาะปลูก คำนวณจัดแบงที่ดิน จัดทำปฏิทินเพื่อการเพาะปลูก

การแบงยุคสมัยของอาณาจักรอียิปต
ปกครองตอเนื่องกันมาเกือบ ๓,๐๐๐ ป มีราชวงศปกครองประมาณ ๓๐ ราชวงศ

๔,๕๐๐ - ๓,๑๐๐ ป ๒,๗๐๐ - ๒,๒๐๐ ป ๒,๐๑๕ - ๑,๖๒๕ ป ๑,๖๗๕ - ๑,๐๘๗ ป ๑,๑๐๐ - ๓๐๐ ป
กอน ค.ศ. กอน ค.ศ. กอน ค.ศ. กอน ค.ศ. กอน ค.ศ.
สมัย
สมัย สมัย สมัย สมัย เสื่อมอำนาจ
กอนราชวงศ อาณาจักรเกา อาณาจักรกลาง อาณาจักรใหม อาณาจักรอียิปตถูกพวก
(The Predynastic (The Old (The Middle (The New ตางชาติเขารุกราน
Period) Kingdom) Kingdom) Kingdom) ถูกยึดครองและ
เสื่อมสลายไปในที่สุด

สิ่งกอสรางขนาดใหญที่สุดของชาวอียิปตโบราณ ไดแก
ความรุงเรืองของอารยธรรมอียิปต พีรามิดที่เมืองกิซา นับเปน ๑ ใน ๘ สิ่งมหัศจรรยของโลก
สิ่งกอสรางขนาดใหญเชนนี้ สะทอนใหเห็นถึงพัฒนาการ
ความเจริญดานตางๆ ของอารยธรรมอียิปต

พระราชอำนาจ
ของฟาโรห
ความมั่นคง ในการปกครอง การบริหาร
ทางเศรษฐกิจ อาณาจักร จัดการ
วิศวกรรมการ คณิตศาสตร
กอสราง การคำนวณ
คติความเชื่อ ออกแบบ
เกี่ยวกับชีวิต กอสราง
ความตาย

๑๓๔
ศิลาโรเซตตา (Rosetta Stone)  ประวัติศาสตรสากล ๑๓๕

เร็จในป ๑๘๒๒
ไ ดส ำ o l l i o n
าณ a m p
บ ร is C h
c
ranิปตโ
o
- F
ean ีย
ผูสามารถJอานอักษรอ
ตัวอักษรกรีกโบราณ
(Greek)
อักษรอียิปต เรียกวา เฮียโรกลิฟฟก
ที่ชาวอียิปตประดิษฐขึ้น เพื่อจารึก
เรื่องราวตางๆ อยูตามผนังกำแพง
สิ่งกอสราง และที่บันทึกไวใน
มวนกระดาษปาปรุส แตไมเคยมีผูใด
สามารถอานอักษรเหลานี้ออกเลย ตัวอักษรเดโมติก
จนกระทั่งมีการคนพบศิลาโรเซตตา (Demotic)
เมื่อป ค.ศ. ๑๗๙๙

อักษรทั้ง ๓ มีขอความเดียวกัน
จากขอความดังกลาวทำใหมีผูสามารถ ตัวอักษรอียิปตโบราณ
ไขปริศนาอักษรอียิปตโบราณไดสำเร็จ (Hieroglyphics)
เรื่องราวตางๆ ของชาวอียิปตโบราณ
ที่มืดมิดมานับพันปจึงถูกเปดเผยออกมาในที่สุด

สุสานฟาโรหทุตอังคอามุน (Tutankhamun)
ยุคอาณาจักรใหม New kingdom
๑,๕๖๐ - ๑,๐๘๗ ปกอน ค.ศ.
แมวาพระองคจะเปนกษัตริยที่มี
เรื่องราวนอยที่สุดในประวัติศาสตร
แตพระนามทุตอังคอามุนกลับเปน
ที่รูจักแพรหลายมากที่สุดในป ค.ศ. ๑๙๒๒
ไดมีการคนพบสุสานของพระองค
ในสภาพที่สมบูรณที่สุด งานฝมือกวา ๕๐ ชิ้น
ที่บรรจุอยูในสุสานไดถูกนำออกมาแสดง
ตามมหานครใหญๆ ทั่วโลก
หนากากพระศพไดกลายเปน
หนึ่งในสัญลักษณของอียิปตโบราณ
ที่เปนที่รูจักกันทั่วไป
อารยธรรมจีน
เริ่มที่ลุมแมนํ้าหวางเหอและแยงซี

ภาชนะดินเผา
วัฒนธรรมหยางเชา ประดิษฐตัวอักษร เลาจื้อ ปฐมจักรพรรดิ จิน๋ ซีฮอ งเต สราง
และหลงซาน กําแพงเมืองจีน รวมอํานาจสราง
สั ง คมเป น หนึ่ ง ใช เ งิ น เหรี ย ญ
และมาตราชั่ง ตวง วัด

ภาชนะสําริด ขงจื๊อ
มนุษยปกกิ่ง ราชวงศซาง ราชวงศโจว ราชวงศฉิน (จิ๋น)
สมัยกอนประวัติศาสตร สมัยโบราณ
ราว ๔๐๐,๐๐๐ ปกอน ค.ศ. ประมาณ ๑,๗๖๖ - ๒๒๑ ปกอน ค.ศ.

สมัยปจจุบัน สมัยใหม
ค.ศ. ๑๙๔๙ – ปจจุบัน) ค.ศ. ๑๙๑๒ - ๑๙๔๙
สาธารณรัฐ ราชวงศ ชิ ง ราชวงศ ห มิ ง ราชวงศหยวน
ประชาชนจีน ชาวแมนจู “เจิ้งเหอ” สํารวจ ชนเผามองโกล การขยายอํานาจสูภูมิภาค
ปกครองจีน ทางทะเล ปฏิรูป เอเชียตะวันออกเฉียงใต รับชาวตางชาติเขา
ยุคจักรวรรดินิยม ระบบขุนนาง รับราชการในราชสํานัก
การปฏิวัติซินไฮ แผขยายอํานาจ เกษตรกรรม
ดร. ซุนยัดเซ็น ในจีน กุบไล ขาน
(ค.ศ. ๑๙๑๑)

เหมา เจอตุง
เจิ้งเหอ
พัฒนาการทางเศรษฐกิจ แทนพิมพและธนบัตรราชวงศหยวน
และสังคมสืบมาถึง การชวงชิงอํานาจ
ปจจุบัน ระหวาง เจียงไคเช็ค
กับ เหมา เจอตุง

๑๓๖

ซูสีไทเฮา
ประวัติศาสตรสากล ๑๓๗

ซือหมาเชียน
นักประวัติศาสตร
สมัยฮั่น กกวุย
ริเริ่มระบบจอหงวน

ราชวงศเหนือ
กกฮั่น ค.ศ. ๓๘๖ – ๕๘๗

ราชวงศใต
สงเสริมการคา เสนทางสายไหม กกอู ค.ศ. ๔๒๐ – ๕๘๙ การขุ ด คลอง
เชื่อมโลกตะวันออกกับตะวันตก เชื่อมจีนตอนเหนือและใต
ราชวงศ
ราชวงศฮั่น ยุคสามกก ราชวงศจิ้น เหนือใต ราชวงศสุย
สมัยจักรวรรดิ
๒๒๑ ปกอน ค.ศ. - ค.ศ.๑๙๑๒

ราชวงศซอง ยุ ค ห า ราชวงศ ราชวงศถัง


ราชวงศ ซ  อ งหรื อ สุ  ง ฟ  น ฟู ลั ท ธิ ข งจื๊ อ สิ บ อาณาจั ก ร
ก า ร ใช  เข็ ม ทิ ศ ใ น ก า ร เ ดิ น ท ะ เ ล
การประดิ ษ ฐ แ ท น พิ ม พ ตั ว หนั ง สื อ
เครื่ อ งป  น ดิ น เผาที่ เ รี ย กว า เครื่ อ ง
ลายคราม ผสมผสานแนวคิ ด ปรั ช ญา
ขงจื๊อ ลัทธิเตาและพระพุทธศาสนา

ยุ ค ทองของจี น ทั้ ง ด า นการพิ ม พ แ ละดิ น ป น


พระพุทธศาสนารุงเรืองอัญเชิญพระไตรปฎก
จากอินเดีย
การรักษาดวยการฝงเข็ม
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมลุมแมน้ำสินธุ
บริเวณแมน้ำสินธุ ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ
ของอินเดียปรากฏหลักฐานความเจริญ เปนกลุม
เมืองขนาดใหญครอบคลุมบริเวณกวา ๕๐๐,๐๐๐
ตารางกิโลเมตรสันนิษฐานวามีอายุราว ๓,๐๐๐ -
๑,๕๐๐ ป กอนคริสตกาล ชวงเดียวกับอารยธรรม
เมโสโปเตเมียและจีน แตเนือ่ งจากยังไมสามารถ
อานจารึกเรือ่ งราวของอารยธรรมแหงนีจ้ งึ เปนที่
รูจักกันนอยมาก จากซากเมืองกวา ๔๐ แหง
เมืองที่มีขนาดใหญที่สุดและจัดระเบียบชัดเจน
คือโมเฮนโจดาโรและฮารัปปา กลุมชนเจาของ
อารยธรรมนี้สันนิษฐานวาเปนชาวดราวิเดียน • การวางผังเมืองอยางดีเปนสี่เหลี่ยมผืนผา มีถนนตัดผาน
หรื อ มิ ล ั ก ขะ อารยธรรมนี ้ เ สื ่ อ มลงประมาณ เปนเสนตรงตัดขวางกันเปนมุมฉาก
๑,๕๐๐ ป กอนคริสตศักราชจากภัยธรรมชาติ • แบงเขตที่อยูอาศัย ยุงฉางและปอมปราการ
โรคระบาด หรือการถูกโจมตี • มีหองน้ำภายในบานและมีทางระบายน้ำพรอมฝาปดทาย

ถนน + คูน้ำเมือง
โมเฮนโจดาโร

ตราประทับ
แกะจากหินสบู

ผังเมืองเปนระเบียง
รูปปนสำริด - นางรำ
พราหมณ
จัณฑาล
คือบุตรที่เกิดจาก
ยุคพระเวท (๑,๕๐๐ - ๖๐๐ ป กอน ค.ศ.) การแตงงาน กษัตริย
ชนเผาอารยันหรือ อินโด - ยูโรเปยนที่อพยพมา ขามวรรณะ
จากเอเชียกลางไดนำลัทธิบูชาเทพเจา
และการประกอบพิธีแบบตางๆ กอใหเกิด
คัมภีรพระเวท แบงสังคมออกเปนวรรณะ
นอกจากนี้ยังมีวรรณกรรมที่ยิ่งใหญ แพศย
คือ รามายณะและมหาภารตะ บางครั้ง
จึงเรียก “ยุคมหากาพย”

๑๓๘ ศูทร
โครงสรางสังคมแบงเปน ๔ วรรณะ
ประวัติศาสตรสากล ๑๓๙

พุทธศาสนากำเนิดประมาณ
๖๐๐ - ๓๐๐ ป กอน ค.ศ.
ศาสนาพราหมณ-ฮินดู อินเดียถือกำเนิด ๒ ศาสนา ศาสนาเชน
นับถือเทพเจา ๓ องค คือศาสนาพุทธ และศาสนาเชน (พระมหาวีระ)
• พระพรหมณ ผูสรางโลก (ตรีมูรติ) พระพุทธศาสนา ไดกอใหเกิด
• พระศิวะหรือพระอิศวร ผูดูแล ความเปลี่ยนทางสังคมและ
โลกและชีวิตมนุษย การสรางสรรคอารยธรรมอยางมากมาย
• พระวิษณุหรือพระนารายณ ผูรักษา ในหมูชาวเอเชียตะวันออกทั้งมวล
ปลายยุคมหากาพย
จักรวรรดิเปอรเซียรุกรานอินเดียตอนเหนือ ตอมาพระเจาอเล็กซานเดอรมหาราช
รุกรานอินเดียแมจะตองถอนทัพกลับ แตไดทำใหเกิดการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
เกิดศิลปะคันธาราฐ ดาราศาสตร เหรียญกษาปณ

สมัยราชวงศโมริยะ (๓๒๑ - ๑๘๔ ป กอน ค.ศ.)


พระเจาจันทรคุปตปฐมกษัตริยสรางจักรวรรดิ พระเจาอโศกมหาราช
เมืองหลวงอยูที่ปาฎลีบุตร ทำใหอินเดียมีเอกภาพครั้งแรก (๒๗๒ - ๒๓๒ ป กอน ค.ศ.)
ทำสงครามขยายอาณาเขตไปถึงอัฟกานิสถาน
พระเจาเมนันเดอร ทรงเปลี่ยนศาสนามานับถือศาสนาพุทธ ไดทรง
(๑๕๕ - ๑๓๐ ป กอน ค.ศ.) ทำนุบำรุงและสงเสริมการเผยแพรศาสนา
รูจักกันในภาษาบาลีวา พระเจามิลินทร ไปยังดินแดนตางๆ รวมทั้งสุวรรณภูมิ
เปนกษัตริย เชื้อสาย อินเดีย - กรีก
ทรงอุปภัมถพระพุทธศาสนา ศิลปที่สำคัญ
คือ ศิลปะแบบคันธาราฐ
การจัด
กษัตรย ระเบียบศาสนา
มีฐานะเปน อิสลามใหม
สมมติเทพ
ราชวงศคุปตะ กุษาณะ
เปนชนชาติ
มีการคาขาย ที่เขามายึดครอง
กับตางแดน
อินเดียตอนเหนือและตั้งราชวงศกุษาณะ
มีการตั้ง (๒๐๐ กอน ค.ศ. - ค.ศ. ๓๒๐) กษัตริยที่มีชื่อเสียง
มหาวิทยาลัย ของราชวงศนึ้คือ พระเจากนิษกะ
นาลันทา ทรงอุปถัมภศาสนาพุทธนิกายมหายาน
ราชวงศคุปตะ (ค.ศ. ๓๒๐ - ๕๓๕)
พระเจาจันทรคุปตที่ ๑ ขับไลตางชาติออกจากอินเดีย รวบรวมอินเดียใหเปนจักรวรรดิอีกครั้งหนึ่ง
นับเปนยุคทองของอารยธรรมอินเดีย ตัวอยางแหลงรวบรวมผลงานดานศิลปกรรม ไดแก ถ้ำอะชันตะ
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกตั้งอยูบริเวณคาบสมุทร
บอลขาน ซึง่ ประกอบดวยภูเขาเปนสวนมาก
มีพน้ื ทีร่ าบนอย มีชายฝง ทะเล และหมูเ กาะ
จำนวนมาก การปกครองแบงเปนนครรัฐเล็กๆ
• มาซีโดเนีย มีอิสระตอกัน ชาวกรีกอาศัยการเดินเรือ
และการคาขายเปนหลัก อาณาเขต
แบงออกเปน ๓ สวน

ภาคเหนือ • แควนมาซิโดเนีย
• เดลฟ (Macedonia)
• ทีิปส
• เอเธนส
• คอรินท • นครเดลฟ (Delphi)
คาบสมุทร เพโลโพนีส
ภาคกลาง • นครธีบส (Thebes)
• สปาตา
• นครเอเธนส(Athens)
บริเวณอาวคอรินทร
คาบสมุทร (Corinth) เปนที่ตั้งของ
Peloponnese
นครรัฐสปารตา (Sparta)

แผนที่แสดงที่ตั้งอารยธรรมกรีก เอเธนสเปนหนึ่งในเมืองที่เกาแก
ที่สุดในโลก มีอายุราว ๓,๔๐๐ ป
เจริญขึ้นมาในชวง ๕๐๘ - ๓๒๒ ป กอน ค.ศ.
นครรัฐเอเธนสเปนศูนยกลางของ
ศิลปวิทยาการและปรัชญา ซึ่งตอมา
กลายเปนตนกำเนิดของอารยธรรมตะวันตก
ปจจุบันเอเธนสเปนเมืองหลวงของประเทศกรีซ
ที่ยังมีโบราณสถานและงานศิลปะยุคคลาสสิก
วิหารพารเธนอน ปรากฏอยูจำนวนมาก ที่มีชื่อเสียงที่สุด
คือ วิหารพารเธนอน

กรีกโบราณ ประกอบดวย นครรัฐ


(City State) หรือเมืองขนาดเล็ก
ที่มีความเปนอิสระตอกัน
มีรูปแบบการปกครองตางๆ กัน

ราชาธิปไตย ทรราช
(Monarchy) (Tyranny)
คณาธิปไตย ประชาธิปไตย
(Oligarchy) (democracy)
อภิชนาธิปไตย
(Aristocracy)
๑๔๐
ประวัติศาสตรสากล ๑๔๑

เหตุการณสำคัญของอารยธรรมกรีก

๘๐๐ ป ๗๕๐ ป กอน ค.ศ. ประดิษฐอักษรกรีก,


กอน ค.ศ.
บทกวีโฮเมอร

๗๐๐ ป
กอน ค.ศ.

๖๐๐ ป ๖๒๕ – ๕๖๙ ป กอน ค.ศ. ทาลีส (Thales)


กอน ค.ศ.
พิธากอรัส (Pythagorus) นักปรัชญาและนักคณิตศาสตร

๕๐๘ ป กอน ค.ศ. นครรัฐเอเธนส วางรากฐานการปกครองประชาธิปไตย


๕๐๐ ป
กอน ค.ศ.
๔๙๗ – ๔๗๙ ป กอน ค.ศ. สงครามเปอรเซีย
๔๙๐ ป กอน ค.ศ. สงครามที่ทุงมาราธอน
กรีกมีชัยชนะเหนือกองทัพเปอรเซีย
๔๖๐ ป กอน ค.ศ. กรุงเอเธนสภายใตการนำของเพริคลิส Pericles
เขาสูยุครุงเรือง
๔๔๙ ป กอน ค.ศ. สรางวิหาร Parthenon
๔๐๐ ป
กอน ค.ศ.
๓๘๐ ป กอน ค.ศ. เพลโต กอตั้งสถาบัน Academy
๓๓๕ ป กอน ค.ศ. อริสโตเติล กอตั้งสถาบัน Lyceum
ในกรุงเอเธนส
๓๓๔ – ๓๒๖ ป กอน ค.ศ. พระเจาอเล็กซานเดอรมหาราช
ขยายอำนาจและเผยแพรอารยธรรมกรีก
๓๐๐ ป
กอน ค.ศ.
อารยธรรมโรมัน
จักรวรรดิโรมันในชวงเวลาที่
ยิ่งใหญที่สุดเมื่อประมาณ ค.ศ. ๑๑๗
เริ่มจากดินแดนจากตะวันตกสูตะวันออกในปจจุบันไดแก
โปรตุเกส สเปน อังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลี แอลบาเนีย
และกรีซ คาบสมุทรบอลขาน ตุรกี เยอรมนีตอนใต
ทางตะวันออกกลาง ไดแก ซีเรีย เลบานอน อิสราเอล
และจอรแดน ทวีปแอฟริกาตอนบน ไดแก อียิปต ลิเบีย
ตูนีเซีย แอลจีเรีย และโมร็อกโก จนจดยิบรอลตาร
แอฟริกา
ประวัติศาสตรโรมัน แบงออกเปน 3 ยุค

ยุคกษัตริย ยุคสาธารณรัฐ ยุคจักรวรรดิ


(Monarchy หรือ (Republic) (Principate)
Regal Period)

๗๖
.

ศ.๔
ค.ศ

๕๓ ๐๙ .
๒๗
.ศ .

– ๕ ๐ ๙ ป กอ น – ๒ ๗ ป กอ น ค ป ก อ ค

น ค . ศ . - ป

อารยธรรมที่สำคัญ
กฎหมายโรมัน
กฎหมายโรมันถือเปนมรดกที่สำคัญของ
อารยธรรมโลก เปนแมแบบของกฎหมาย
ประเทศตางๆ ในยุโรปและประเทศตางๆ
ทั่วโลกในปจจุบัน
ประชากรที่อาศัยอยูภายใตจักรวรรดิโรมัน
ไมวาจะเปนชนชาติภาษาใดจะถูกเรียกวา
ชาวโรมันอยูภายใตกฎหมายโรมันเสมอกันหมด

ลักษณะสำคัญของกฎหมายโรมัน

ไมมีการทรมาน
ใชบังคับกับ ใหความสำคัญ ผูตองหาเพื่อใหสารภาพ
ประชาชนทุกคน กับสิทธิของบุคคล ถือวาผูตองหาบริสุทธิ์
อยางเทาเทียมกัน จนกวาจะพิสูจน
ความผิดได
๑๔๒
ประวัติศาสตรสากล ๑๔๓

กองทัพโรมัน
ปจจัยที่ทำใหจักรวรรดิโรมัน มีความเขมแข็ง ไดแกกองทัพที่ประกอบดวยทหารที่มี
ระเบียบวินัยมีเครื่องแบบที่นาเกรงขาม มีการควบคุมบังคับบัญชาอยางมีประสิทธิภาพ
และมีแผนการรบที่ชาญฉลาด ชาวโรมันไดนำเอาความสามารถทางวิศวกรรม
มาใชในการรบ เชน การสรางปอมคาย อาวุธชนิดตางๆ การขุดอุโมงค
การสรางเรือรบที่สามารถครอบครองทั้งนานน้ำเมดิเตอรเรเนียน

เครื่องมือและอุปกรณตางๆ
ที่ใชในสงคราม

มหาวิหารเซนตปเตอร
ทหารโรมัน เรือรบโรมัน

คริสตศาสนา พระสันตะปาปา
จูเลียสที่ ๒
กอนที่อารยธรรมโรมันจะลมสลาย
นักบุญปเตอร
คริสตศาสนาถือกำเนิดขึ้น ชาวคริสเตียน คอนสแตนตินที่ ๑
ถูกจักรวรรดิโรมันปราบปรามอยางรุนแรง นักบุญปเตอร
(ภายหลังไดรับการแตงตั้งใหเปน พระสังฆราชาองคแรกแหงกรุงโรม)
ถูกตรึงกางเขนที่จตุรัสเนโร (Circus Nero)
อีก ๒๐๐ ปตอมา พระจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ ๑ ประกาศ
ยอมรับนับถือคริสตศาสนา ทรงพระราชทานพื้นที่จตุรัสเนโรใหเปน
ศาสนสถาน ตอมา ค.ศ. ๑๕๐๖ พระสันตะปาปาจูเลียสที่ ๒ ทรงบัญชา
ใหสรางมหาวิหารขึ้นใหมและเปนที่ประทับของพระสันตะปาปาสืบตอ
มาจนถึงปจจุบัน
ภาษาละตินเปนภาษาที่ใชในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาของชาวโรมันคาทอลิก

ผลงานทางวิศวกรรม
สิ่งกอสรางหลายแหงที่สรางขึ้นแมกาลเวลาจะผานมากวา ๒,๐๐๐ ป ยังคงปรากฏเปนประจักษพยาน
ถึงอัจฉริยะภาพของชาวโรมันทางดานวิศวกรรม ซีเมนตและคอนกรีตคือวัสดุที่ชาวโรมันคิดคนขึ้นมาเพื่อนำมาใช
ในการกอสราง
ถนน ชาวโรมันไดนำวัสดุตางๆ
มาใชในการสรางถนนทำใหมี
ความแข็งแรงมั่นคงจนแมทุกวันนี้
ถนนบางสายก็ยังปรากฏอยู
วิหาร แพนธีออน
เขื่อน มีการสรางเขื่อน โคลีเซียม ทอสงน้ำ Aqueduct
เพื่อเก็บกักน้ำหลายแหง งานกอสราง สิ่งกอสรางขนาดใหญยังคงปรากฏอยูทั่วไป
วิศวกรรมทางทหาร นำผลสำเร็จทางวิศวกรรม
กังหันน้ำ การใชพลังงาน มาใชในการทหาร เชน สรางคายทหาร (Camp)
ประดิษฐกังหันน้ำเพื่อใช สะพาน ถนน อุปกรณการปดลอม (Siege Equipment)
นำการโมแปงและตัดหิน การสรางแนวปองกัน
การติดตอระหวางโลกตะวันออก
กับโลกตะวันตกในสมัยโบราณ
เจิ้งเหอ
มหาขันที
ผูบัญชาการ
ทหารเรือจีน
เสนทางสายไหม
๑๓๐ ปกอน
ค.ศ. - ค.ศ. ๑๔๕๓

เสนทางสายไหมทางบก
เสนทางสายไหมทางทะเล
เสนทางสายไหม เริ่มจากจีน - อินเดีย - เอเซียกลาง เอเซียไมเนอร เมโสโปเตเมีย (อิหราน)
การคาขาย
อียิปต แอฟริกาเหนือ กรีซ - โรม เสนทางสายไหมกอใหเกิดการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม
การเดินทาง
และอารยธรรมในทุกสาขา ระหวางโลกตะวันออกกับโลกตะวันตก

มารโคโปโล (ค.ศ. ๑๒๕๔ - ๑๓๒๔) เรื่องราวการเดินทางของเขาตลอดเสนทางไปสู


ราชสํานักจีน เปนแรงบันดาลใจใหชาวตะวันตกสนใจใครรูเรื่องราวของโลกตะวันออก
จนนําไปสูการสํารวจทางทะเลในยุคตอมา การเผยแผ
ศาสนา

เสนทางสํารวจทางบก
เสนทางสํารวจทางทะเล

เสนทางสํารวจ เสนทางกลับ
มารโคโปโล
ผูเขียนบันทึก
ของมารโคโปโล เสนทางไป
แลกเปลี่ยนความรู
เดินทางมายังจีน และวัฒนธรรม เสนทางอัญเชิญพระไตรปฎก
๑๔๔
ของพระถังซัมจั๋ง
ประวัติศาสตรสากล ๑๔๕

การขยายอาณาเขตของอเล็กซานเดอร อเล็กซานเดอรมหาราช
(๓๕๖ - ๓๒๓ ป กอน ค.ศ.)
การแผพระราชอํานาจของ
พระองค จากคาบสมุทรบอลขาน
ไปจนถึงปากีสถานในปจจุบัน ทําให
อารยธรรมกรีกแผขยายออกไป
ทั่วเอเชีย - แอฟริกา

ดินแดนภายใตการยึดครองของอเล็กซานเดอร

การขยายอาณาเขตของเจงกิส ขาน
มองโกล ตีแผขยายอาณาเขตยาวไกลไปจนถึงยุโรป

การสงคราม
ขยายอํานาจ

สงครามครูเสด
การขยายตัวของ
ศาสนาอิสลาม
ระหวาง ค.ศ. ๖๒๒ - ๗๕๐

ภาพกรุงเยรูซาเลมในสงครามครูเสดครั้งแรก
เหตุการณสําคัญของโลกในสมัยกลาง
(คริสตศตวรรษที่ ๕ - คริสตศตวรรษที่ ๑๕)
เมื่อจักรวรรดิโรมันตะวันตกลมสลายใน ค.ศ. ๔๗๖
คริสตศาสนาโรมันคาทอลิกมีอาํ นาจครอบคลุมสังคมชาวยุโรป
ทั้งมวล สังคมเปนระบบศักดินาสวามิภักดิ์ (Feudalism)
สมัยกลางสิน้ สุดลงเมือ่ อาณาจักรโรมันตะวันออกลมสลายลง
ใน ค.ศ. ๑๔๕๓

ระบบฟวดัล (Feudalism)
ยุคมืด (Dark Ages) แว น แคว น ต า งๆ จะดู แ ลคุ  ม ครอง Act of Homage คือพิธีแสดงความ
หลั ง จากจั ก รวรรดิ โรมั น ล ม สลาย ประชาชนอย า งเบ็ ด เสร็ จ ขุ น นาง จงรักภักดีของขารับใชที่มีตอขุนนาง
สังคมยุโรปวุนวายจากการรุกราน เจ า ของที่ ดิ น (Lord) มี สิ ท ธิ ใ นการ เจาของที่ดินของตน
ของอานารยชนเผาตางๆ จากยุโรป ครอบครองที่ ดิ น ประชาชนที่ อ าศั ย
เหนือ เปนสภาพสังคมของยุคกลาง อยูในที่ดินเรียกวา ขารับใช (Vassal)
ตอนตน ความสัมพันธในระบบฟลดัลเปนระบบ
อุ ป ถั ม ถ ร ะหว า งเจ า นายกั บ ข า รั บ ใช

ระบบแมนเนอร (Manorialism) อัศวิน (Knight)


ศูนยกลางของแมนเนอรอยูท ปี่ ราสาทของ คื อ นั ก รบทหารม า เมื่ อ รบจนได
ขุนนาง ชาวนาซึ่งเปนทาสติดที่ดิน เปน ชัยชนะก็จะไดรบั ทีด่ นิ ปราสาท และ
หนวยเศรษฐกิจที่พึ่งพาตนเองได โดย มียศศักดิม์ สี ทิ ธิพเิ ศษเหนือสามัญชน
ลอรด วัสซัล และทาส มีความสัมพันธกนั ใน อัศวินจะตองจงรักภักดีตอกษัตริย
ระบบอุปถัมภ และปกปองศาสนา

ผลของสงครามครูเสด
ยุคแหงศรัทธา (Age of Faith) จักรวรรดิไบแซนไทนลม สลาย
ศาสนาคริสตมีอิทธิพลตอการเมือง กษัตริยมีอํานาจมากขึ้น เกิด
การปกครอง การดําเนินชีวิต และ การพั ฒ นาเส น ทางการค า
ศิลปวัฒนธรรมในสังคมยุคกลาง สงครามครูเสด ทางทะเล เมื อ งกลายเป น
(The Crusades) ศู น ย ก ลางของชุ ม ชน เกิ ด
ระหวาง ค.ศ. ๑๐๙๖ - ๑๒๙๑ เปน ชนชั้นกลาง โลกทัศนของชาว
สงครามระหวางชาวคริสตในยุโรป ยุโรปกวางขวางขึ้น
กับมุสลิมที่ยึดครองนครเยรูซาเล็ม

๑๔๖
ประวัติศาสตรสากล ๑๔๗

เหตุการณสําคัญของโลกสมัยใหม
(คริสตศตวรรษที่ ๑๕ - ๒๐)

การฟนฟูศิลปวิทยาการ
การนําศิลปวิทยาการของกรีกและโรมันมาศึกษาใหม ในชวงคริสตศตวรรษที่ ๑๔ -
๑๖ ใหความสําคัญกับความเปนมนุษยนิยม (Humanism) ถือเปนจุดเชื่อมตอของ
ประวัติศาสตรสมัยกลาง กับประวัติศาสตรสมัยใหม

สาเหตุ ผล
๑. การขยายตัวทางการคาและความเจริญ ๑. ทําใหเกิดการปฎิรูปศาสนา การสํารวจทาง
ทางเศรษฐกิจ ทะเล การปฏิวัติวิทยาศาสตร การปฏิวัติ
๒. ความเสื่อมศรัทธาในสถาบันศาสนาคริสต อุตสาหกรรม และการปฏิวัติทางภูมิปญญา
๓. ทัศนะคติของชาวยุโรปเปลี่ยนแปลง ๒. การแสวงหาความรูอยางกวางขวาง
๔. การลมสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน และสรางสรรคสิ่งตางๆเพื่อสนองตนเอง

ความเจริญในสมัย
วรรณกรรม การฟนฟูศิลปวิทยาการ ศิลปกรรม

ฟรานเซสโก เพทรารก ไมเคิลแอนเจโล บูโอนารโรตี


(Francesco Petrarca) (Michel Angelo Buonarroti)
กวีนิพนธ ไดรับการยกยอง รูปสลักเดวิด และปเอตา (Pieta)
วาเปนบิดาแหงมนุษยนิยม ภาพเขียนที่โบสถซีสติน
ในมหาวิหารเซนตปเตอรที่กรุงโรม

นิโคโล มาเคียเวลลี่ เลโอนารโด ดา วินชี


(Nicolo Machiavelli) (Leonardo da Vinci)
เจาผูครองนคร (The Prince) ภาพอาหารมื้อสุดทาย
(The last Suppy) และ
เซอรทอมัส มอร โมนาลิซา(Monalisa)
(Sir Thomas More)
เมืองในอุดมคติ หรือ ราฟาเอล
ยูโทเปย (Utopia) (Raphael)
ภาพพระมารดา
วิทยาการ และพระบุตร
วิลเลี่ยม เชคสเปยร ดานอื่นๆ และนักบุญจอหน
(William Shakespeare)
บทละครเรื่อง โรมิโอ - จูเลียต โยฮัน กูเตนเบิรก
เวนิสวาณิช (Johannes Gutenburg)
ระบบการพิมพโดยการเรียงตัวอักษร
ผล
๑. อารยธรรมตะวันตกเผยแพรไป
สูดินแดนตางๆ
๒. การแพรกระจายของพันธุพืชและสัตว เรือของเมกเจลลัน
สาเหตุ ๓. การแพรระบาดของโรคติดตอ
๔. การปฏิวัติทางการคา และ
เดินทางรอบโลก
สำเร็จเปนครั้งแรก
๑. ความเจริญกาวหนา การเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจ
ทางวิทยาการ
๒. ความตองการดานการคา เฟอรดินันด แมกเจลลัน
๓. การเผยแผคริสตศาสนา (Ferdinand Magellan)
๔. ความตองการสรางชื่อเสียง พบหมูเกาะฟลิปปนส
และเกียรติภูมิ ไดเปนอาณานิคม

๑๕๔๑
วาสโก ดา กามา
คริสโตเฟอร โคลัมบัส (Vasco da Garma) ๑๕๓๔
(Christopher Columbus) เดินทางมาถึงเมือง
พบหมูเกาะเวสตอินดีส กาลิกัต ของอินเดีย ๑๕๒๒
(West Indies) ในอเมริกาใต
จารค การติเยร
(Jacques Cartier)
๑๕๑๙ สำรวจแมน้ำ
เซนตลอเรนซ
คริสตศตวรรษที่ ๑๕ โปรตุเกสกับสเปน (St. Lawrence)
๑๕๑๑ อเมริกาเหนือ
การแขงขันทางทะเล ทำสัญญา
ตอรเดซียาส
ระหวางโปรตุเกส (Tordesillas) ๑๕๐๐
กับสเปน ไดเมืองมะละกา
๑๔๙๘ เปนอาณานิคม
๑๔๙๗
เจาชายเฮนรี่ ราชนาวิก เปโตร คาบราล
(Henry of Navigator) (Pedro Cabral)
ตั้งโรงเรียนฝกหัดการเดินเรือ ๑๔๙๔ สำรวจบราซิล
และเปนผูนำสำรวจทางทะเล
จอนหน แคบอต
๑๔๙๒ (John Cabot)
พบเกาะนิวฟนดแลนด
๑๔๘๘ ทวีปอเมริกาเหนือ

Age of
๑๔๕๐
บารโทโลมิว ไดแอช
ค.ศ. ๑๔๐๐
(Bartholomew Diaz)
๑๔๘
เดินทางผานแหลมกูดโฮป
ไดสำเร็จ
ประวัติศาสตรสากล ๑๔๙

โปรตุเกสรวมกับสเปน แสวงหาเสนทาง
ทางทะเลเพื่อการคา จัดตั้งสถานีการคา
ยุติการแขงขันทางทะเล ในเกาะชวา
เครื่องเทศ
จัดตั้งบริษัทอินเดีย
ตะวันออกของอังกฤษ
๑๕๘๘ ๑๕๙๘
ตั้งอาณานิคม ๑๕๘๑ ๑๖๐๐ จัดตั้งบริษัทอินเดีย
ที่มาเกา ตะวันออกของดัตช
๑๖๐๒
๑๕๘๐ กองทัพเรืออังกฤษ (Dutch East India
ชนะสเปนได อังกฤษเปน Company : VOC)
๑๕๕๗ เซอรฟรานซิส เดรก มหาอำนาจทางทะเล ๑๖๐๖
๑๕๔๗ (Francis Drake)
เดินทางรอบโลกสำเร็จ
ตั้งสถานีการคา
พบทวีป ๑๖๑๑ ตามเมืองทา
ซามูเอล เดอ ซองแปลง ออสเตรเลีย ชายฝงของอินเดีย
(Samuel de Champlain) คริสตศตวรรษที่ เปนครั้งแรก
สำรวจดินแดนทะเลสาบ เรียกวา
ใหญทั้ง ๕ อเมริกาเหนือ ๑๖ - ๑๘ New Holland
การแขงขันทางทะเล ๑๖๔๑ ฮอลันดา
ยึดมะละกา
ระหวางอังกฤษ ฮอลันดา จากโปรตุเกส
และฝรั่งเศส
๑๖๕๘
ยึดเกาะซีลอน
(ศรีลังกา)
๑๖๖๓
ยึดมะละบาร
(Malabar) ชายฝง
๑๖๘๒ ตะวันตกเฉียงใต
ของอินเดีย
๑๗๖๘

โรเบิรต ลาซาล
(Robert La Salle)
สำรวจแมน้ำ
โอไฮโอ (Ohio)
กัปตันเจมส คุก อเมริกาเหนือ
(Captain
James Cook)
พบออสเตรเลีย

Exploration คริสตศตวรรษที่ ๑๕ - ๑๗
การปฏิรูปศาสนา
(Religious Reformation)
การแตกแยกของศาสนาคริสต
ในคริสตศตวรรษที่ ๑๘

สาเหตุ ผล
๑. การฟนฟูศิลปวิทยาการ ๑. คริสตศาสนาแบงเปน ๒ นิกาย คือ
๒. กษัตริยและเจาผูปกครองแควนตางๆ โรมันคาทอลิก และนิกายโปรเตสแตนท
ตองการเปนอิสระจากคริสตจักร และ ๒. คริสตจักรโรมันคาทอลิกปรับปรุงศาสนา
สันตะปาปา ของตนเอง (Catholic Reformation)
๓. ความเสื่อมศรัทธาในนักบวชของศาสนา จัด “การประชุมสังคายนาแหงเทรนต”
คริสต และปรังปรุงวินัยของนักบวช
๔. แนวคิดของมานุษยนิยม ธรรมชาตินิยม
และปจเจกชนนิยม

ูริ ศาสนาที่

นกั ปฏ

สำค

มารตนิ ลูเธอร (Martin Luther) จอหน คาลวิน (John Calvin) นิกายอังกฤษ


โจมตีศาสนจักร เรื่องขายใบไถบาป นำนิกายโปรเตสแตนทมาเผยแผ (Anglican church)
เรียกคำประทวง ๙๕ ขอ กอตั้งนิกายแคลวิน (Calvinism) พระเจาเฮนรี่ที่ ๘ ขัดแยงกับ
(Ninety-Five Theses) เมื่อ ค.ศ. ๑๕๔๐ สันตะปาปา จึงตั้งนิกายใหม
กอตั้งนิกายโปรเตสแตนท มีกษัตริยอังกฤษเปนประมุข
๑๕๐
(Protestent) เมื่อ ค.ศ. ๑๕๑๗
ประวัติศาสตรสากล ๑๕๑

การศึกษาเกี่ยวกับโลกและสังคมมนุษย
สาเหตุ
๑. การฟนฟูศิลปวิทยาการ
ดวยการใชทฤษฎีความรู การคนควาทดลอง
และนำเทคโนโลยีมาประดิษฐเครื่องมือเครื่องใช
๒. การสำรวจทางทะเล
และการคนพบดินแดนใหม เริ่มตั้งแตคริสตศตวรรษที่ ๑๖ เปนตนมา
ทำใหเกิดการขยายความรู
๓. ความเจริญทางการคา
ผล
๑. ความเจริญกาวหนา
และอุตสาหกรรม ทางวิทยาศาสตรสมัยใหม
๒. นำไปสูการปฏิวัติทางความคิด
(Intellectual Revolution)
๓. ปฏิรูปสังคมตะวันตก
นักวิทยาศาสตรและผลงานสำคัญ เซอรไอแซก นิวตัน
(Sir Isaac Newton)
คริสตศตวรรษที่ ๑๖ - ๑๗ กฎแหงความโนมถวง

นิโคลัส คอเปอรนิคัส กาลิเลโอ กาลิเลอิ โยฮัน เคปเลอร เซอรฟรานซิส เบคอน


(Nicholas Copernicus) (Galileo Galilei) (Johann Kepler) (Sir Francis Bacon)
ระบบสุริยจักรวาล กลองโทรทรรศน ระบบสุริยจักรวาล กอตั้งราชบัณฑิตยสถาน
สังเกตุการโคจรของดวงดาว สมบูรณขึ้น ของอังกฤษ
คริสตศตวรรษที่ ๑๘ - ๒๐

ชารล โรเบิรต ดารวิน เกรเกอร โยฮันน เมนเดล หลุยส ปาสเตอร เจมส วัตต
(Charles Robert Darwin) (Gregar Johann Mendall) (Louis Pasteur) (James Watt)
ทฤษฎีวิวัฒนาการ บิดาของวิชาพันธุศาสตร จุลินทรียในอากาศ เครื่องจักรไอน้ำ
ของสิ่งมีชีวิต และวิธกี าร Pasteurization

ซิกมันด ฟรอยด อัลเฟรด เบิรนฮารด โนเบล อัลเบิรต ไอนสไตน


(Sigmund Freud) (Alfred Bernhard Nobel) (Albert Einstein)
ผูบุกเบิกทฤษฎีจิตวิเคราะห ไดนาไมต ความสัมพันธระหวาง
มวลสารกับพลังงาน
ฏว
ิ ต
ั อ
ิ ต
ุ สาหกร

รา สาเหตุ ม ร

Industrial Revolution
๑ ๒ การเปลี่ยนแปลงวิธีการผลิต จากการใชแรงงาน
การสำรวจ
ความเจริญ
ทางวิทยาศาสตร
๓ คน สัตว และพลังงานธรรมชาติ มาเปนการผลิต
ความมั่นคง โดยใชเครื่องจักร และระบบโรงงาน ในคริสต
ทางทะเลและ และเทคโนโลยี และเสรีภาพ
แสวงหา ในการผลิต ทางการเมือง ศตวรรษที่ ๑๘-๒๐
อาณานิคม
๔ ๕ ๖
การขยายตัว การเพิ่มจำนวน รัฐบาลและผูนำ
ทางการคา ประชากร ประเทศสนับสนุน
และการสะสมทุน และสงเสริมการคา

ผล
๑ ๒
ความกาวหนาทาง เกิดชนชั้นนายทุน
เทคโนโลยี การคมนาคม และกรรมกร
การสื่อสาร และ และการจัดตั้ง
การกอสราง สหภาพแรงงาน

๓ ๔
ปญหาสังคม เกิดลัทธิทางการเมือง
หลายดาน และเศรษฐกิจ
เสรีนิยม ประชาธิปไตย
และการคาเสรี
สังคมนิยม คอมมิวนิสต

๑๕๒
ประวัติศาสตรสากล ๑๕๓

ลักษณะของการปฏิวัติอุตสาหกรรม
๑. การปฏิวัติอุตสาหกรรมในระยะแรก : เริ่มที่อังกฤษในคริสตศตวรรษที่ ๑๘ - ๑๙ ที่อุตสาหกรรมทอผา
ประสบความสำเร็จในการใชเครื่องจักรไอน้ำในอุตสาหกรรม เรียก “สมัยแหงพลังงานไอน้ำ”

อังกฤษ
เปนผูนำการปฏิวัติ
ริชารด อารกไรต เจมส วัตต อุตสาหกรรมจัดแสดง
จอหน เคย (James Wat) นิทรรศการครั้งใหญ
(John Kay) (Richard Arkwright) (Great Exhibition)
ประดิษฐกี่กระตุก เครื่องจักรกลที่ใช เครื่องจักรไอน้ำ
เจมส ฮารกรีฟส ใช ในอุตสาหกรรม
(James Hargreaves) พลังน้ำสำหรับ ทั่วไป อุตสาหกรรม
เครื่องปนดาย อี ล ิ วิ ต นี ย 
เครื่องปนดาย (Eli Whitney) เหล็ก และเหล็กกลา
Spinnig Jenny (Water Frame) เครื่องแยกเมล็ดฝาย สงผลใหมีการพัฒนา
รถไฟ เรือเดินทะเล
ปนใหญ และ
อาวุธยุทโธปกรณ

การใชเครื
เครื่องจักรไอน้ำในการคมนาคมสื่อสาร

ริชารด เทรวีทิก โรเบิรต ฟุลตัน


(Richard Trevitick) (Robert Fulton) แซมมวล คูนารด
จอรจ สตีเฟนสัน
ใชพลังงานไอน้ำ (George Stephenson) ใชพลังงานไอน้ำ (Semuel Cunard)
กับรถบรรทุก หัวรถจักรไอน้ำ กับเรือ เรือกลไฟขาม
Rocket มาใชกับ มหาสมุ ทรแอตแลนติก
รถไฟ

๒. การปฏิวัติอุตสาหกรรมในระยะที่สอง : การเปลีย่ นแปลงดานพลังงานจากถานหินและไอน้ำเปนกาซ


น้ำมันปโตรเลียมและไฟฟา และทำเหล็กใหเปนเหล็กกลา เรียกวา ยุคเหล็กกลา (Age of Steel) เริ่มในศตวรรษ
ที่ ๑๙ - ๒๐
คารล เบนซ (Karl Benz) การพัฒนา แซมมวล มอรส
และ กอตตลีบ เดมเลอร ระบบไปรษณีย (Semuel Morse)
(Gottlieb Daimler) โทรเลข
ประดิษฐรถยนตใชน้ำมันเบนซิน

ธอมัส แอลวา เอดิสัน


อเล็กซานเดอร เกรแฮม เบลล (Thomas Alva Edison)
(Alexander Graham Bell) หลอดไฟฟา เครื่องเลนจานเสียง
โทรศัพท และกลองถายภาพยนตร

ว ั
ต ท
ิ างภม
ู ป
ิ ญ
 ญ

รป สาเหตุ า Intellectu
กา

al R
๑. ความมั่นคงทางการเมืองของยุโรป ความคิดกาวหนาทางเศรษฐกิจ

evolution
และการเมือง เกิดนักคิดและนักปรัชญา
และความคิดของความเปนชาติ จำนวนมาก เรียกวายุคแหงความสวางไสว
เดียวกัน ทางปญญา หรือยุคภูมิธรรม
๒. การฟนฟูศิลปวิทยาการ การปฏิวัติ (Age of Enlightenment)
ทางวิทยาศาสตร และการปฏิวัติ ในชวงศตวรรษที่ ๑๗ - ๑๘
ทางอุตสาหกรรม

ผล
๑. แนวคิดของนักปรัชญาในยุคภูมิธรรมมีอิทธิพล
ตอทัศนคติของชาวยุโรป และสังคมโลก
๒. เกิดแนวคิดทางการเมืองและเศรษฐกิจที่แตกตาง
๒ แนวทาง คือ ลัทธิเสรีนิยม (Liberalism) และ
ลัทธิสังคมนิยม (Socialism)
๓. กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ในหลายประเทศ

๑๕๔
กษัตริยผ ูทรงคุณธรรม ประวัติศาสตรสากล ๑๕๕

พระเจาเฟรเดริก จักรพรรดินี
มหาราชแหงปรัสเซีย แคทเธอรีนที่ ๒
(Frederick The Great) แหงรัสเซีย
ค.ศ. ๑๗๔๐ - ๑๗๘๖ (Catherine of Russia)
ค.ศ. ๑๗๖๒ - ๑๗๙๖

นักปรัชญาและผลงาน

โธมัส ฮอบบ จอหน ล็อค มองเตสกิเออ


(Thomas Hobbes) (John Locke) (Montesquieu)
หนังสือเรื่อง Leviathan หนังสือเรื่อง Two Treatises หนังสือเรื่อง
เสนอแนวคิดวาสังคมสันติสุข of Government เจตนารมณแหงกฎหมาย
ตองมอบอำนาจใหผูปกครอง เสนอแนวคิดการปกครอง เสนอแนวคิดการแบงแยก
ทำหนาที่ปกครองที่สอดคลอง ระบอบประชาธิปไตย อำนาจอธิบไตย
กับความตองการของคน
สวนใหญ

วอลแตร ชอง - ชาคส รุสโซ อดัม สมิธ คารล มากซ


(Valtaire) (Jean-Jacques Rousseau) (Adam Smith) (Karl Marx)
หนังสือเรื่อง หนังสือเรื่องสัญญา หนังสือเรื่อง หนังสือเรื่อง
The Philosophical Letters ประชาคม ความมั่งคั่งของชาติ Das Kapital
เรียกรองใหมีการปฏิรูป เปนการวางรากฐาน เสนอแนวคิดเกี่ยว และคำประกาศเจตนา
การปกครอง กับทฤษฎีการคาเสรี คอมมิวนิสต โดยเนนวา
เกี่ยวกับอำนาจ เศรษฐกิจแบบทุนนิยม
อธิปไตยของประชาชน เปนการเอารัดเอาเปรียบ
ของนายทุน
การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ในคริสตศตวรรษที่ ๑๗ - ๑๘

การปฎิวัติอันรุงโรจนของอังกฤษ
(The Glorious Revolution)
ค.ศ. ๑๖๘๘ เปนความขัดแยงระหวางอังกฤษ
กับรัฐสภา เกี่ยวกับนโยบายการปกครอง และ
การนับถือศาสนา รัฐสภาจึงกอการปฏิวัติขึ้น
และประกาศใช “พระราชบัญญัติวาดวยสิทธิ
พืน้ ฐานของพลเมือง” (Bill of Rights) เปนการ
จำกัดอำนาจกษัตริย และยอมรับอำนาจของ
รัฐสภา เมื่อป ค.ศ. ๑๖๘๙

ค.ศ. เหตุการณ
๑๖๒๔ : พระเจาชาลสที่ ๑ (Charles ) ขัดแยงกับรัฐสภาใน
เรื่องนโยบายการปกครองและการนับถือศาสนา
๑๖๔๒ - ๑๖๔๙ : เกิดสงครามกลางเมืองพระเจาชาลสที่ ๑ ถูกสำเร็จโทษ
๑๖๔๙ : อังกฤษจัดการปกครองระบอบสาธารณรัฐ
๑๖๖๐ : อังกฤษฟนฟูระบอบกษัตริย
๑๖๘๕ : พระเจาเจมสที่ ๒ (James ) ปกครองอังกฤษ
เกิดความขัดแยงเรื่องการนับถือศาสนา
๑๖๘๘ : รัฐสภาจึงกอการปฏิวัติอันรุงโรจนขึ้น ลมอำนาจของ
พระเจาเจมสที่ ๒ แลวเชิญเจาชายวิลเลียมแหงออรเรนจ
และเจาหญิงแมรี่พระชายามาปกครองอังกฤษ
๑๖๘๙ : รัฐสภาประกาศใช “พระราชบัญญัติวาดวยเรื่อง
สิทธิพื้นฐานของพลเมือง”” (Bill of Rights)
เปนการจำกัดอำนาจของกษัตริย และ
ยอมรับอำนาจสูงสุดของรัฐสภา

๑๕๖
ประวัติศาสตรสากล ๑๕๗

การปฏิวัติเพื่อเอกราชของสหรัฐอเมริกา
หรือสงครามสหรัฐอเมริกา (American
Revolutionary War) ค.ศ. ๑๗๗๖-๑๗๘๓ เปน
สงครามระหวางอังกฤษ กับอาณานิคม ๑๓ รัฐของอังกฤษ
ในทวีปอเมริกาเหนือ ซึง่ ตองการเอกราชจากเจาอาณานิคม
ผลของสงครามชาวอาณานิคมเปนฝายชนะ ในสนธิสัญญา
ปารีส (Treaty of Paris) อังกฤษยอมรับวาสหรัฐอเมริกา
เปนเอกราช

การปฏิวัติฝรั่งเศส (French Revolution)


ค.ศ. ๑๗๘๙ : การเปลี่ยนแปลงการปกครองของฝรั่งเศส ซึ่ง
เกิดขึ้นในชวงที่ฝรั่งเศสมีปญหาเศรษฐกิจ ประชาชนอดอยาก
แรนแคน และปญหาดานการเมืองซึง่ ไดรบั อิทธิพลจากปรัชญา
ทางการเมืองของจอหน ล็อคและรุสโซ ประชาชนจึงกอกบฏ
ทลายคุกบาสตีย (Fall of the Bastille) เกิดสงครามกลางเมือง
เมือ่ ค.ศ. ๑๗๙๑ ยกเลิกการปกครองระบอบกษัตริยเ ปลีย่ นเปน
การปกครองระบอบสาธารณรัฐ
Imperialism
จักรวรรดินิยม
การดำเนินนโยบายตางประเทศของชาติมหาอำนาจ
ในการขยายอิทธิพลเขาไปปกครอง ครอบงำ


และแสวงหาผลประโยชนในประเทศ
หรือดินแดนที่ออนแอกวา

สาเหตุ
๑ ความตื่นตัวเรื่อง
ลัทธิชาตินิยม และเศรษฐกิจ
และการแขงขันกันแสวงหา
ความสำเร็จ อำนาจทางการเมือง
ของการปฏิวัติ และเศรษฐกิจเพื่อ
อุตสาหกรรม
ในคริสตศตวรรษ
ที่ ๑๘ ๓
แนวคิดเรื่อง
เกียรติภูมิของชาติตน

“ภาระของคนผิวขาว”
(White
Man's Burder)

ผล
๑ มหาอำนาจ
ในยุโรปมีอำนาจ
ทางการเมืองสูงสุด
มีความเขมแข็ง
๒ อารยธรรมตะวันตก
โดยเฉพาะระบบเศรษฐกิจ
แบบทุนนิยม ศาสนาคริสต
ทางกำลังทหาร และชาตินิยม แพรกระจาย
และอาวุธยุทโธปกรณ ในทุกพื้นที่ที่ยุโรปยึดครอง


ทำใหเกิดขบวนการชาตินิยม


เรียกรองเอกราชในเวลาตอมา
ชาติมหาอำนาจ
ตะวันตก ดินแดนในอาณานิคม
เกิดการแขงขัน สูญเสียเอกราชอธิปไตย
ทางการเมือง และทรัพยากรให


และเศรษฐกิจ เจาอาณานิคม

ชาวพื้นเมืองรับความเจริญจากชาวตะวันตก
ทำใหมีความกาวหนาทางการศึกษา
การคมนาคม การแพทย และการสาธารณสุข
แตก็สูญเสียวัฒนธรรมและภูมิปญญาดั้งเดิม
๑๕๘

ประวัติศาสตรสากล ๑๕๙

สงครามโลก สงครามที่เกิดจาก
ความขัดแยง
ของชาติมหาอำนาจ
ครั้งที่ ในยุโรป และขยายตัว
ไปยังพื้นที่ตางๆ ของโลก
สรางความเสียหาย
ค.ศ. ๑๙๑๔ - ๑๙๑๘ แกมนุษยชาติอยางรุนแรง

สาเหตุ
๑. ลัทธิชาตินิยม (Nationalism)
ที่สงผลใหอิตาลีและเยอรมนี
รวมชาติสำเร็จ และพยายาม
สรางชาติตนใหเปนชาติยิ่งใหญ
๒. การแขงขันการสะสมกำลังทหาร
และอาวุธยุทโธปกรณ
๓. ความขัดแยงของชาติมหาอำนาจในยุโรป
เกิดการรวมกลุมประเทศเปน ๒ กลุม คือ
• มหาอำนาจกลาง ไดแก เยอรมนี อิตาลี
และออสเตรีย - ฮังการี
• มหาอำนาจสัมพันธมิตร ไดแก อังกฤษ
ฝรั่งเศสและรัสเซีย
รามโลกครงั้ ที่ ๑
ผล สงค
๑. กอความเสียหายดานชีวิตและทรัพยสินจำนวนมาก

ขอ

๒. ประเทศเอกราชใหมเกิดขึ้น (แยกมาจากประเทศที่แพสงคราม) การปลงพระชนม


ชนวน

๓. มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในประเทศตางๆ รัชทายาทและพระชายา
๔. มหาอำนาจมีการเปลี่ยนแปลงเปน สหรัฐอเมริกา และญี่ปุน
๕. การพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณในสงครามโลกครั้งที่ ๑ ของอาณาจักรออสเตรีย - ฮังการี
เชน รถถัง เรือดำน้ำ ปนใหญ ปนกล ขณะเยือนเมืองซาราเยโว
๖. เกิดองคการสันนิบาตชาติ ของบอสเนีย
เมื่อ ๒๘ มิถุนายน
ค.ศ. ๑๙๑๔

World War I
สันนิบาตชาติ
League of Nations
องคการระหวางประเทศที่จัดตั้งขึ้นใน ค.ศ. ๑๙๑๘
ปลายสงครามโลกครั้งที่ ๑ เพื่อรักษาสันติภาพของโลก
โดยประธานาธิบดีวูดโรว วิลสัน (Woodrow Wilson)
แหงสหรัฐอเมริกา ไดเสนอขอเสนอ ๑๔ ประการ
อันเปนพื้นฐานของกฎบัตรสันนิบาตชาติ

แตสันนิบาตชาติไมสามารถแกปญหาความขัดแยง
ของมหาอำนาจได ทำใหเกิดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ขึ้น

า ม ม
 เหลว
ล บิ าตชา
คว องสนั น ติ

สหรัฐอเมริกา


ตุ

ไมไดเปนสมาชิก
สาเห

องคการสันนิบาตชาติ
ไมมีกองกำลังและมาตรการ
ในการลงโทษ
ผูละเมิดกฎบัตร

๑๖๐
ประวัติศาสตรสากล ๑๖๑

สงครามโลกครั้งที่ ๒
สงครามที่เกิดมาจากความไมพอใจ
สาเหตุ ของชาติมหาอำนาจภายหลังสงครามโลกครั้งที่ ๑
๑. ความไมพอใจที่เยอรมนี เปนสงครามที่ขยายตัวไปหลายภูมิภาคของโลก
มีตอสนธิสัญญาแวรซายส
๒. ความลมเหลวขององคการสันนิบาตชาติ และกอความเสียหายอยางมาก
ที่ไมสามารถแกปญหาความขัดแยง
ของชาติมหาอำนาจได
๓. ความออนแอของชาติมหาอำนาจเดิม
และใชนโยบายออมชอมกับประเทศ
ที่มีความเขมแข็งทางทหาร
๔. การรวมกลุมพันธมิตรของ ผลของสงคราม
ประเทศเผด็จการทหาร ๑. ผูคนทั้งพลเรือนและทหารเสียชีวิต บาดเจ็บ
พิการและสูญเสียทรัพยสินเปนจำนวนมาก
๒. การเปลี่ยนแปลงมหาอำนาจของโลก
เปนสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต
๓. ประเทศที่เคยเปนอาณานิคมของชาติตะวันตก
ไดรับเอกราช
๔. เกิดสงครามเย็น หรือความขัดแยง
ดานอุดมการณทางการเมือง
๕. เกิดองคการสหประชาชาติ (United Nations)
๖. การสะสมและแขงขันกันดานอาวุธนิวเคลียร
และขีปนาวุธรายแรง

Second
World War
เนื้อหาที่สามารถเปดแอปพลิเคชันดูได
Contemporary History
เหตุการณสำคัญ
ของโลกสมัยปจจุบัน
องคการสหประชาชาติ
(The United Nation : UN)
เปนองคการสากลที่มีประเทศตางๆ ของโลกเปนสมาชิก
โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรักษาสันติภาพ และสนันสนุนความ
รวมมือระหวางประเทศ กำเนิดขึ้นใน ค.ศ. ๑๙๔๔ กอน
สงครามโลกครั้งที่ ๒ ยุติลง โดยผูแทนของประเทศสหรัฐอเมริกา
อังกฤษ สหภาพโซเวียต และจีนรวมเปนผูรางกฏบัตรขององคการ
ตอมาในที่ประชุมยัลตา ซานฟรานซิสโก ประเทศผูริเริ่ม
๕๑ ประเทศไดลงนามรับรองกฏบัตรสหประชาชาติ และไดรับ
๒๔ ต สัตยาบันจากประเทศตางๆ เมื่อ ๒๔ ตุลาคม ค.ศ. ๑๙๔๕

ต ุล า
ค ม : วัน ส ห ป ร ะ ชาช

สมัชชาใหญ

ศาลยุติธรรม
สำนักเลขาธิการ ระหวางประเทศ

โครงสราง
องคการ
สหประชาชาติ
คณะมนตรีเศรษฐกิจ คณะมนตรี
และสังคม ภาวะทรัสตี

คณะมนตรีี
ความมั่นคง

๑๖๒
ประวัติศาสตรสากล ๑๖๓

องคการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ

องคการแรงงาน องคการอาหารและ การประชุมสหประชาชาติ โครงการสิ่งแวดลอม


ระหวางประเทศ เกษตรแหงสหประชาชาติ วาดวยเรือ่ งการคาและการพัฒนา แหงสหประชาชาติ
(ILO) (FAO) (UNCTAD) (UNEP)

องคการการบินพลเรือน โครงการพัฒนา องคการทางทะเล


ระหวางประเทศ แหงสหประชาชาติ ระหวางประเทศ
(ICAO) (UNDP) (IMO)

องคการศึกษาวิทยาศาสคร
และวัฒนธรรม กองทุนประชากร
แหงสหประชาชาติ แหงสหประชาชาติ
(UNESCO) (UNFPA)

กองทุนเพื่อเด็ก
แหงสหประชาชาติ
(UNICEF)

สหภาพสากล องคการ
ไปรษณีย อนามัยโลก
(UPU) (WHO)
สงครามเย็น
(Cold War : ค.ศ. ๑๙๔๕ - ๑๙๙๑)
ลักษณะความสัมพันธระหวางประเทศที่เปนความขัดแยงระหวางกลุมปร ประชาธิปไตย
ที่มีสหรัฐอเมริกาเปนผูนำ และกลุมคอมมิวนิสตที่มีสหภาพโซเวียตเปนผูนำ
โดยความขัดแยงแสดงออกหลายแบบยกเวนการทำสงครามกันเองโดยตรง
เกิดเปนสงครามตัวแทน (proxy war) ในหลายพื้นที่

งค ร ามเยน็
องส
หตขุ
าเ ๑. ดุลอำนาจโลกเปลี่ยนแปลง

เปนประเทศสหรัฐอเมริกา
กับสหภาพโซเวียต
๒. ความแตกตางทางการเมือง
ระหวางประชาธิปไตย
กับ คอมมิวนิสต
๓. นโยบายผูนำชาติมหาอำนาจ
๑. วินสตัน เชอรชิลล (Winston Churchill) ของอังกฤษ
๒. เฮนรี่ เอส. ทรูแมน (Henry S. Truman) ของสหรัฐอเมริกา
๓. โจเซฟ สตาลิน (Joseph Stalin) ของสหภาพโซเวียต

๑ ณส
 น
้ ิ สด
ุ สงครามเย
ุต าร
ก น็


กำแพงเบอรลิน :
สัญลักษณของสงครามเย็นถูกทำลาย
๒ ค.ศ. ๑๙๘๙ เยอรมนีตะวันออก
และเยอรมนีตะวันตกรวมเปนประเทศเดียวกัน

การลมสลายของ
สหภาพโซเวียตใน
ค.ศ. ๑๙๙๑

๑๖๔
Cold WarSecond World War
สงครามเย็น (ค.ศ. ๑๙๔๕ - ๑๙๙๑)
๑. ดุลอำนาจโลกเปลี่ยนแปลง
ประวัติศาสตรสากล ๑๖๕

สาเหตุ
๒. ความแตกตางทางการเมือง
ประชาธิปไตย
คอมมิวนิสต
๓. นโยบายผูนำชาติมหาอำนาจ สงครามตัวแทน
(Proxy War)

enr in st h Jos
y S . Tr u m a

il l
o n C h urc e p h S t a li n
H

W
n

สงครามเวียดนาม
กับฝรั่งเศส
แบงเกาหลีเหนือ - ใต ๑๙๔๖ - ๑๙๕๔
ที่เสนขนานที่ ๓๘
สงครามเกาหลี ค.ศ. ๑๙๕๐ - ๑๙๕๓

ชวงสงครามโลกครั้งที่ ๒ สหรัฐอเมริกา
สหภาพโซเวียตบุกยึด และยุโรปตะวันตก
แมนจูเรียของญี่ปุน
จีนแบงเปน
องคการ ๒ ประเทศ
สหรัฐอเมริกา
รางกฎบัตร
สหประชาชาติ หลักการ
ทรูแมน สหภาพโซเวียต
สหประชาชาติ
สหภาพโซเวียต Cominform Comecon

ค.ศ. ๑๙๔๔ ๑๙๔๕ ๑๙๔๖ ๑๙๔๗ ๑๙๔๙ ๑๙๕๐ ๑๙๕๓

สหภาพโซเวียตยึดครอง
ยุโรปตะวันออก
รวม ๓ เขตเปนเยอรมนีตะวันตก
เยอรมนีถูกแบง สวน ๑ เขตเปนเยอรมนีตะวันออก
ออกเปน ๔ สวน แบงแยกประเทศเยอรมนี และเกิด
วิกฤตการณ Berlin Blockade
(ค.ศ. ๑๙๔๘ - ๑๙๔๙)
ชวงการผอนคลายความตึงเครียด
ของสงครามเย็น (๑๙๖๙ - ๑๙๗๙)

สงครามตัวแทน
(Proxy War) จัดตั้ง ASEAN
สงครามเวียดนาม

สหรัฐอเมริกาใหการ สิ้นสุดสงคราม
เวียดนามแบงเปน สนับสนุนเวียดนามใต
เวียดนามเหนือ - เวียดนาม
เวียดนามใต
สหรัฐอเมริกา
ถอนทัพ
สหภาพโซเวียต จากเวียดนาม
ง ค ก
า ร WA R S A
W

รวมมือ

วิกฤตการณขีปนาวุธคิวบา สำรวจ
อวกาศ
องคการ
ง ค ก
า ร S E AT O CENTO ขอตกลง

SALT
สหรัฐอเมริกา
และพันธมิตร

๑๙๕๔ ๑๙๕๕ ๑๙๖๑ ๑๙๖๒ ๑๙๖๗ ๑๙๖๙ ๑๙๗๒ ๑๙๗๓ ๑๙๗๕

สหภาพโซเวียต
กำแพงเบอรลิน

กั้นเบอรลินตะวันออก
กับเบอรลินตะวันตก

๑๖๖
ประวัติศาสตรสากล ๑๖๗

ค.ศ. ๑๙๘๕ - ๑๙๘๙


ชวงการเจรจาระหวางสหรัฐอเมริกา - โซเวียต

สหภาพโซเวียตปรับเปลี่ยน
ความตึงเครียดของ นโยบายตางประเทศเปน
สงครามเย็นเริ่มขึ้น การเจรจาที่
นโยบายกลาสนอสต - เกาะมอลตา
อีกครั้ง เปเรสตรอยกา (Malta)
สหภาพโซเวียต
บุกอัฟกานิสถาน

โอลิมปกฤดูรอน

๑๙๘๐ ๑๙๘๔

เจาภาพ เจาภาพ
สหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต
และพันธมิตร และพันธมิตร การเจรจา
อีก ๖๓ ประเทศ อีก ๑๕ ประเทศ วาดวยการ
ไมเขารวม ไมเขารวม จำกัดขีปนาวุธ
พิสัยกลาง สงครามเย็น
(START) สิ้นสุด
สหภาพโซเวียต
ลมสลาย

๑๙๗๙ ๑๙๘๐ ๑๙๘๔ ๑๙๘๕ ๑๙๘๗ ๑๙๘๙ ๑๙๙๐ ๑๙๙๑

ทำลายกำแพงเบอรลิน
เยอรมนีรวมประเทศ
โลกในคริสตศตวรรษที่ ๒๑
วิกฤตเศรษฐกิจโลก
วิกฤตเศรษฐกิจเอเชีย (ตมยำกุง ประเทศไทย)
วิกฤตเศรษฐกิจ ที่อารเจนตินา
วิกฤตการณแฮมเบอรเกอร (Hamburger Crisis)

ระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
(E- Commerce)
สามารถซื้อขายทำธุรกรรมไดตลอดเวลา
สะดวกรวดเร็วเขาถึงสินคาและบริการไดโดยตรง

อิทธิพลสื่อระดับโลก
ระบบสื่อสารโทรคมนาคม
ที่เชื่อมโยงถึงกันทั้งโลก และถึงประชาชนโดยตรง
ยากที่จะควบคุม ปองกัน และขัดขวาง
การรับรูขอมูลขาวสาร

ความทาทายของระบบสื่อออนไลน
ทำใหคนมีอิสระในการแสดงความคิดเห็น
และแสดงอารมณที่รุนแรงไดกวางขวาง

ความกาวหนาของระบบคอมพิวเตอร
และเทคโนโลยี
โลกมีความกาวหนาทางการสื่อสาร
การคมนาคมผานระบบอินเทอรเน็ต
ที่สะดวก รวดเร็ว ประหยัด มีอิทธิพลและสงผลกระทบ
ตอการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมของพื้นที่ตางๆ ทั่วโลก
๑๖๘
ประวัติศาสตรสากล ๑๖๙

โลกกับระบบขั้วอำนาจเดียว
หลังสงครามเย็นสิ้นสุดลง สหรัฐอเมริกาเปนประเทศ
ผูนำโลกเพียงประเทศเดียว

การกอการรายเปนภัยตอสันติภาพ
และความปลอดภัยของโลก
๑๑ กันยายน ๒๐๐๑ กอวินาศกรรม
ตึกเวิลดเทรดเซ็นเตอร สหรัฐอเมริกา
๑๒ ตุลาคม ๒๐๐๒ เหตุลอบวางระเบิด
ที่สถานบันเทิง ๒ แหงบนเกาะบาหลี
๑๓ - ๑๔ พฤศจิกายน ๒๐๑๕ การกราดยิง
ในกรุงปารีส ฝรั่งเศส

สิทธิมนุษยชน
เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนในหลายประเทศ
ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม เชน
การกีดกันสิทธิสตรี การใชแรงงานเด็ก
การปราบปรามชนกลุมนอย

วิกฤตการณสิ่งแวดลอมโลก
ปญหาโลกรอน ปญหาการใชสารเคมีในการเกษตร
ปญหาพลังงาน ปญหาความแหงแลง
การทำลายชั้นโอโซน

ขบวนการคามนุษย
เปนการแสวงหาผลประโยชนในรูปแบบตางๆ
จากมนุษย มักใชวิธีคุมขัง หรือใชความรุนแรงบังคับ
เกิดขึ้นไดทั้งภายในประเทศและระหวางประเทศ
อาเซียน
(ASEAN)
าต ิ แ ห่งเอเชียตะว
ช าช ันอ
ประ

อก เ
สมาคม

ฉยี งใต
ions ้
Asso

Nat

tion
cia

si an
of Southeast A
๘ สิงหาคม ๒๕๑๐

๒๕๑๐
170
อาเซียน 171

๑. ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน

๒. อัตลักษณ์และความหลากหลาย

๓. เชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น

๔. ความเสมอภาคและความยุติธรรม

๕. ร่วมมือกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน

๒๕๒๗ ๒๕๓๘ ๒๕๔๐ ๒๕๔๒


กว่าจะเป็น อาเซียน
๒๕๐๐ ASA
ASSOCIATION OF ๒๕๐๔
สหรัฐอเมริกา SOUTHEAST ASIA เกิดสมาคม
เข้ามาตั้งฐานทัพในดินแดน เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ (ASA)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

MAPHILINDO ๒๕๐๖
๒๔๙๘ องค์การกลุ่มประเทศ
เกิดสงครามเวียดนาม MAPHILINDO

๒๔๙๗ ๒๕๑๐
จัดตั้งองค์การ เกิดสมาคมประชาชาติแห่ง
SEATO เอเซียตะวันออกเฉียงใต้
(ASEAN)
๕ ประเทศเริ่มก่อตั้งอาเซียน
ได้ แ ก่ อิ น โดนี เซี ย มาเลเซี ย
๒๔๘๘ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย
สิ้นสุดสงครามโลก
ครั้งที่ ๒
๒๕๑๘
รวมประเทศเวียดนาม

ชาติตะวันตกยึดครองเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อินโดนีเซีย
มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน เมียนมา
ลาว กัมพูชา เวียดนาม
ฟิลิปปินส์
ประเทศที่ยึดครอง
172
อาเซียน 173

๒๕๓๘
เวียดนาม ๒๕๔๐
เข้าร่วมเป็นสมาชิก ลาวและเมียนมา
เข้าร่วมเป็นสมาชิก

๒๕๓๕
• จัดตั้งสหภาพยุโรป (EU) ๒๕๔๑
• เกิดเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ประกาศ
วิสัยทัศน์อาเซียน
(ASEAN VISION 2020)

๒๕๓๔ ๒๕๔๒
สิ้นสุดสงครามเย็น
กัมพูชา
เข้าร่วมเป็นสมาชิก

๒๕๒๗
บรูไนเข้าร่วมเป็นสมาชิก ๒๕๕๐
ลงนามรับรอง
กฎบัตรอาเซียน
(ASEAN Charter)
๒๕๑๙ และเร่งรัดการรวมตัว
• สหรัฐอเมริกาถอนทัพจากไทย เป็นประชาคมอาเซียน
• การประชุมสุดยอดอาเซียน ภายใน พ.ศ. ๒๕๕๘
(ASEAN SUMMIT) ครั้งแรก

๒๕๕๘
ประชาคมอาเซียน
(ASEAN Community)
และรับรองวิสัยทัศน์
ประชาคมอาเซียน
พ.ศ. ๒๕๖๘
(ASEAN Community
Vision 2025)
ความรูเ้ กีย่ วกับอาเซียน
หลักการส�าคัญของอาเซียน

การไม่ใช้กาำ ลังรุกราน หรือ


การเคารพเอกราช อธิปไตย ข่มขูว่ า่ จะใช้กาำ ลัง หรือคุกคาม
ความเสมอภาค บูรณภาพ และการกระทำาอืน่ ใดทีข่ ดั ต่อ
แห่งดินแดนและอัตลักษณ์ กฎหมายระหว่างประเทศ
ของชาติสมาชิกอาเซียน
ทัง้ ปวง

การเคารพในวัฒนธรรม การระงับข้อพิพาท
ภาษาและศาสนาที่แตกต่าง โดยสันติ
ของประเทศอาเซียน

การไม่แทรกแซงกิจการ
การตัดสินใจโดย ภายในของรัฐสมาชิก
ใช้หลักฉันทามติ อาเซียน

17๔
อาเซียน 175

From ASEAN to ASEAN Community


ประเด็น​ ​​​​ อาเซียน​​​​​​ ประชาคมอาเซียน
วันก่อตั้ง ๘ สิงหาคม ๒๕๑๐ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘
เอกสารส�ำคัญ ASEAN Declaration ASEAN Charter

วัตถุประสงค์​​​ ส่ ง เสริ ม สั น ติ ภ าพและเสถี ย รภาพ ​​​ธำ � รงรั ก ษาและเพิ่ ม พู น สั น ติ ภ าพ


ในภู มิ ภ าค ​​​​เร่ ง รั ด ความเจริ ญ ทาง ความมั่ น คง และเสถี ย รภาพใน
เศรษฐกิจ และความก้าวหน้าทางสังคม ภูมิภาค ​ส่งเสริมความร่วมมือด้าน
และวัฒนธรรมในภูมิภาค​​​​ ต่างๆ ให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น

ด้านการเมืองและความมั่นคง​ มุ่ ง เน้ น การรั ก ษาสั น ติ ภ าพและ ธำ�รงรักษาภูมิภาคให้เป็นเขตปลอด


เสถี ย รภาพในภู มิ ภ าค ​​​​เ คารพใน อาวุ ธ นิ ว เคลี ย ร์ การอยู่ ร่ ว มกั น ใน
หลั ก นิ ติ ธ รรม ยึ ด มั่ น ในกฎบั ต ร ประชาคมโลกโดยสันติ เสริมสร้าง
สหประชาชาติ​​ ประชาธิปไตย ธรรมาภิบาล และหลัก
นิติธรรม

ด้านเศรษฐกิจ​​ ร่วมมือด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม ​ต ลาดและฐานการผลิ ต เดี ย วที่ มี


ขยายการค้า ​​​ปรับปรุงการขนส่งและ เสถี ย รภาพ การคลื่ อ นย้ า ยอย่ า ง
การคมนาคม และการยกระดับการ เสรี ข องสิ น ค้ า บริ ก าร การลงทุ น
ครองชีพของประชาชน และมีความสามารถในการแข่งขันสูง

ด้านสังคมและวัฒนธรรม ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาเกี ่ ย วกั บ เอเชี ย การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น การอนุ รั ก ษ์
ตะวันออกเฉียงใต้ ร่วมมือและช่วยเหลือ มรดกทางวัฒนธรรม และคุณภาพ
ทางด้านสังคมและวัฒนธรรม ชี วิ ต ที่ ดี ข องประชาชน ส่ ง เสริ ม
อัตลักษณ์ของอาเซียน สำ�นึกถึงความ
หลากหลายทางวัฒนธรรม

๑ ประชาคมการเมือง

และความมัน่ คงอาเซียน
ประชาคม (ASEAN Political - Security ประชาคมสังคมและ
เศรษฐกิจอาเซียน Community : APSC) วัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Economics (ASEAN Socio - Cultural
Community : AEC) Community : ASCC)

176
อาเซียน 177

ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี
(ASEAN Economics Community : AEC)
ย น
๒.
สร้างขีดความ
๑. สามารถในการพัฒนา
เป็นตลาด ทางเศรษฐกิจ
ประชาคม และฐานการผลิต ให้ประเทศสมาชิก
เศรษฐกิจอาเซียน ร่วมกัน มีการเคลื่อนย้ายปัจจัย
(ASEAN Economics ทางเศรษฐกิจ ๔.
Community : AEC) ได้อย่างเสรี ๓. การบูรณาการ
สร้างความ เข้ากับเศรษฐกิจโลก
มีวัตถุประสงค์ เท่าเทียม เพื่อไปแข่งกับ
๔ ประการ ภูมิภาคอื่นได้

ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
(ASEAN Political-Security Community : APSC)

๑. ๓.
ประชาคม การมี
การเมืองและ การมีกฎเกณฑ์ ๒. ปฏิสัมพันธ์กับ
และค่านิยม ส่งเสริม
ความมั่นคงอาเซียน ร่วมกัน ความสงบสุขและ
โลกภายนอก
(ASEAN Political - Security รับผิดชอบ
Community : ร่วมกัน
APSC)

ประชาคมสั ง คมและวั ฒ นธรรมอาเซี


(ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC)
ย น
๔.
๑. ความยั่งยืน
การพัฒนา
ประชาคมสังคม ทรัพยากร
๓. ด้านสิ่งแวดล้อม
มนุษย์
สิทธิและความ ๖.
และวัฒนธรรมอาเซียน ยุติธรรม การลดช่องว่าง
(ASEAN Socio - Cultural ๒. ทางสังคม ๕. ทางการพัฒนา
Community : ASCC) การคุ้มครอง การสร้าง
และสวัสดิการ อัตลักษณ์
มีวัตถุประสงค์ อาเซียน
๖ ประการ สังคม
ง ธร ร ม ช า ติ
ณ 
ลาย
อัต ลัก

ด ลอ ม ท า
ากห ะ

แล ล

วัน ต ก
พแว
ควา มห
สภา

รมตะ
นธร
• วัฒ
อก
ัน อ
ะว
ม ต
ง ส ัฒ นธ ัง ค ม รร
ม ท า ว
แว ด ล  อ ิม •
สภาพ ม ด ้ ั ง เ ด
วั ฒ นธรร

ระบบนิเวศ
178
อาเซียน 179

สังคมพหุวฒ
ั นธรรม
ประชากร ศิลปกรรม ดนตรี
และการ นาฏศิลปและ
ด�าเนินชีวติ การละเล่น

เปอรานากัน
จีน - มลายู
เมสติโซ
สเปน - ฟิลปิ ปินส์
วิถีชาวน�้า
ขนบธรรมเนียมประเพณีร่วมกัน
ประเพณีลอยกระทง ประเพณีการแข่งเรือ

ประเพณีสงกรานต์

180
อาเซียน 181

การถนอมอาหาร วัตถุดิบ
ล า ร้า


ภูมิปัญญา
ปราฮ็อก
ปลาร้า
เครื่องมือจับปลา บากุง
ปลาแดก งาปิ
มาม
บากาแซ็ง
เบลาคัน

ที่อยู่อาศัย

บ้านเรือนเสาสูง เรือนแพ

เรือและความสามารถ
ในการใช้เรือ
ั นธรรมการกินข้าว
วฒ
เป็นอาหารหลัก
วิถีเกษตร

วัฒนธรรมการถนอมอาหาร

วัฒนธรรมการดัดแปลงอาหาร

ข้ า ว เจ้ า

ปลาแห้ ง

ข น ม จี น
ย (ภาคเหนือ อี
ไ ท

สาน
)

แหนม
ข้าวเหนียว ข

้ า ว จี่ เมียนมา


าม เส่งเผ่
ถั่ ว เน่ า ยดน
เวี


บ๊ ั ญ จึ ง
182
อาเซียน 183

ภูมิปัญญาทางการเกษตร ความเชื่อและขนบประเพณีในธรรมชาติ
ทอผ้า การขอฝน : บุญบั้งไฟ
เวียดนาม ลาว
ไทย
จักสาน เมียนมา

เครื่องมือเกษตร
การบูชาเทพเจ้าแห่งการเพาะปลูก
เทศกาลกาไว ดายัค

เทวีศรี
หรือเทวีซรี

การท�าขวัญข้าว

บุญคูณลาน จูด่งตื่อ
นาขั้นบันได

เวียดนาม ไทย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย


Sa Pa บ้านป่าบงเปียง แม่แจ่ม Batad Jatiluwih Tabanan
จังหวัดเชียงใหม่ Banawe/Banaue
วิถีแห่งศรัทธา
วิถีพุทธ
หัวใจของพระพุทธศาสนา โอวาทปาฏิโมกข์ (โอวาท ๓)
“ละเว้นความชั่ว ท�าแต่ความดี ท�าจิตใจให้บริสุทธิ์”
พิธีกรรม : ข้อปฏิบัติของชาวพุทธ
๑. กุศลพิธีในการพัฒนาตนเอง
• พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
• พิธีเวียนเทียน
• พิธีรักษาอุโบสถศีล
งานมงคล
งานทำ า บุ ญ ขึ้ น บ้ า นใหม่
๒. บุญพิธี งานทำาบุญประจำาปีตา่ งๆ

งานอวมงคล
งานศพ

๓. ทานพิธี
การถวายทาน
๔. ปกิณกพิธี - ปาฏิบุคลิกทาน เจาะจงพระ
- สังฆทาน ไม่เจาะจงพระ
การแสดงความเคารพ - อกาลทาน ไม่มีช่วงเวลา
การประเคนปัจจัย - กาลทาน มีช่วงเวลา
การอาราธนา • การถวายผ้าอาบนำ้าฝน
- การอาราธนาศีล • การทอดกฐิน
- การอาราธนาพระปริตร
- การอาราธนาธรรม
การกรวดนำ้า

18๔
อาเซียน 185

วิถีอิสลาม
หัวใจของศาสนาอิสลาม
พระเจ้าสูงสุดคือ พระอัลเลาะห์

สัญลักษณ์

ข้อปฏิบัติของชาวมุสลิม
• หลักธรรมพื้นฐาน

การปฏิญาณตน ศรัทธา ๖ ศรัทธาในพระอัลเลาะห์


ศรัทธาต่อเทวทูต (มลาอิกะห์)
ศรัทธาต่อบรรดาศาสดาทัง้ หลาย
การบริจาค การละหมาด (ผู้แทนพระอัลเลาะห์)
ซะกาต หลักปฏิบัติ ๕ ศรัทธาในคัมภีร์ทั้งหลาย
ศรัทธาในวันพิพากษาโลก/
การถือศีลอด การประกอบ วันสุดท้าย
ในเดือนรอมฏอน พิธีฮัจญ์ ศรั ท ธาในกฎก� ำ หนดสภาวะ
ของอั ล เลาะห์

พิธีกรรมที่ส�ำคัญ

พิธีรักษา พิธีฉลองวันประสูติ พิธีซาเบบารัต พิธีสุหนัต


ความสะอาด ของพระศาสดา (การท�ำบุญ (การขริบหนังหุม้ ปลาย
มูฮัมหมัด อุทิศให้แก่ญาติ องคชาติเด็กชาย
ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว) อายุ ๒ - ๑๐ ขวบ)

พิธีสังเวยพระเจ้า พิธีศพ พิธีสมรส


วิถีคริสต์
โปรเตสแตนท์
โรมันคาทอลิก กรีกออร์โธดอกซ์ หัวใจของศาสนาคริสต์
ความรัก
สัญลักษณ์

ข้อปฏิบัติของชาวคริสต์ "บัญญัติ ๑๐ ประการ"


ช่วยให้การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข

พิธีล้างบาปหรือ
ศีลล้างบาปหรือศีลจุ่ม
พิธีรับพระจิต พิธีศีลมหาสนิท
หรือศีลกำาลัง

โรมันคาทอลิก โรมันคาทอลิก
โรมันคาทอลิก โปรเตสแตนท์

พิธีสารภาพบาป พิธเี จิมครัง้ สุดท้าย


ศีลแก้บาป หรือศีลเจิมคนไข้
พิธีกรรมส�าคัญ
โรมันคาทอลิก โรมันคาทอลิก

พิธีบวชหรือ
ศีลอนุกรมศีลบวช พิธีบัพติสมา

โรมันคาทอลิก โปรเตสแตนท์
186
อาเซียน 187

วิถีฮินดู
ข้อปฏิบัติของ ชาวฮินดู
สามัคคี เสมอภาค ศรัทธา ความจงรักภักดี
สัญลักษณ์ อักษรเทวนาครี
ที่อ่านว่า “โอม”

พิธีกรรม

พิธีศราทธ์ พิธีบูชาเทวดา
พิธีแต่งงาน พิธีของผู้มีศรัทธา พิธีสังสการ (เทพเจ้า)
ตามตระกูล ตามชั้น ได้แก่ พิธีพลีให้แก่ดวง สำาหรับวรรณะ พราหมณ์ เช่น พระพรหม พระวิษณุ
ตามวรรณะ วิญญาณของบรรพบุรุษ กษัตริย์ แพศย์ พระศิวะ

วิถีสิกข์ หรือซิกข์
ข้อปฏิบัติของชาวซิกข์
• วิถีแห่งความเท่าเทียม ไม่แบ่งชั้น วรรณะ เพศ หรือศาสนิกชนต่าง
ศาสนา
• ปฏิบัติตามหลักปัจวัตร ๔ ประการ คือ บริกรรมภาวนา หรือขอพร
และรำาลึกถึงพระผู้เป็นเจ้าเป็นประจำาทุกวัน
• การพึ่งตนเอง การประกอบสัมมาอาชีวะ
• มีความสันโดษ และรู้จักประมาณตน
• การเสียสละ แบ่งปันรายได้เพื่อสังคม สัญลักษณ์ของศาสนาซิกข์
• ข้อห้ามที่สำาคัญ ห้ามตัดผมหรือขริบหนวด ห้ามยาเสพติดทุกชนิด ที่ใช้ในปัจจุบัน
ห้ามผิดประเวณี ประพฤติผิดในกาม ห้ามรับประทานเนื้อสัตว์ที่ถูก
ฆ่าในพิธีกรรม
เชื่อมโยงโลกและทองถิ่น
ระบบความเชื่อที่หลากหลาย

• กลุมชาติพันธุตางๆ ในอาเซียนมีภาษา ระบบความเชื่อ


รูปแบบศิลปะ และวิถีการดำเนินชีวิตสืบทอดตอกันมา
ชานานจนเปนเอกลักษณของทองถิ่น

• • ปปัจจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศที
ารสนเทศที่ไ่ไร้รพพรมแดน
รมแดน ท�ทำให
ำให้
ขข่าวสารและปรากฏการณ์
วสารและปรากฎการณสสังังคมแพร่
คมแพรกกระจายไป
ระจายไป
อย
อย่างรวดเร็ว และส่
และสงผลกระทบอย่
ผลกระทบอยาางกว้ งกวาางขวาง
งขวาง
ในทุกพื้นที่ของโลกเกิดการรัการรับบและแลกเปลี
และแลกเปลี่ย่ยนน
ทางวัฒนธรรม การปรับอุดมการณ์ มการณแและแนวคิละแนวคิดด
เข
เข้าสู่ค วามเป็
วามเปนสากลมากขึ้นน
188
อาเซียน 189

......?
• ยอมรับและเคารพ
ในความแตกตาง
• ปจจัยเศรษฐกิจ ทำให • ปฏิบัติตนเพื่อการอยูรวมกัน
เกิดการเคลื่อนยาย
ประชากร และการตั้ง อยางสันติสุข
ถิ่นฐานในพื้นที่ที่ตาง • เขาใจคานิยม ศีลธรรม
วัฒนธรรม ภาษา และ
ศาสนา การปฎิบัติตน จริยธรรม ทัศนคติ
เพื่อการอยูรวมกันได
อยางสันติสุขจึงมีความ และพฤติกรรมของคน
สำคัญยิ่งในภูมิภาค ในทองถิ่น
อาเซียน
อาเซียนกับสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมในอาเซียน
ปรากฏการณ์ "ลานีญา"
การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ

พายุโซนร้อน
}
- ๒๕๔๐ - ๒๕๔๑ ประเทศไทย
- ๒๕๕๓ - ๒๕๕๕

มหาสมุทรแปซิฟกิ
ไฟป่า - ๒๕๕๑ พายุวาชิ บริเวณริมแม่น�้ำและ
แผ่นดินไหว ริมชายฝัง่ บนเกาะมินดาเนา ฟิลปิ ปินส์
- ๒๕๕๔ เมืองบาลีลฮิ าน ฟิลปิ ปินส์ - ๒๕๕๗ พายุชังมี ปาลาวัน ฟิลิปปินส์
- ๒๕๕๖ รัฐฉาน เมียนมา มหาสมุทรอินเดีย
- ๒๕๕๙ นอกชายฝั่งเกาะ - ๒๕๕๑ พายุหมุนนาร์กีส ตอนกลาง
สุมาตราทางตะวันตกเฉียงใต้ อ่าวเบงกอล เมียนมา
อินโดนีเซีย ปรากฏการณ์ "เอลนีโญ"
- ๒๕๕๙ จังหวัดน่าน และเชียงใหม่
การปะทุของภูเขาไฟ ประเทศไทย จังหวัดซารังกานี และ
- ๒๕๕๓ ภูเขาไฟเมอราปี อินโดนีเซีย มากินดาเนา ฟิลิปปินส์
- ๒๕๕๖ ภูเขาไฟมาโยน ฟิลิปปินส์ สึนามิ (แผ่นดินไหวในทะเล)
- ๒๕๕๘ ภูเขาไฟราอุง เกาะชวา อินโดนีเซีย - ๒๕๔๗ นอกฝั่งตะวันตกทางตอนเหนือ
ภูเขาไฟชินาบุง เกาะสุมาตราอินโดนีเซีย ของเกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย
- ๒๕๖๐ ภูเขาไฟกุหนุงอากุง เกาะบาหลี - ๒๕๕๓ เกาะเมนตาไวทางตะวันตก
อินโดนีเซีย ของเกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย
- ๒๕๕๕ หมู่เกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย

การกระท�ำของมนุษย์

ปัญหาการจัดการก๊าซเรือนกระจก
ปํญหาหมอกควันข้ามพรมแดน บริเวณที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูง
จากประเทศอินโดนีเซีย ทีส่ ดุ คืออินโดนีเซีย ไทย เมียนมา มาเลเซีย
เกิดจากการแผ้วถางป่า เวียดนาม กัมพูชา ฟิลปิ ปินส์ ลาว สิงคโปร์
และบรูไน ตามล�ำดับ ท�ำให้เกิดโลกร้อน
ปัญหาขยะและของเสีย เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ
จากครัวเรือนและอุตสาหกรรม
เนื้อหาที่สามารถเปิดแอปพลิเคชันดูได้

และก่อให้เกิดภัยธรรมชาติต่างๆ ตามมา
ขยะและของเสียหลายประเทศ เช่น พายุ น�้ำท่วม ภัยแล้ง ฯลฯ
เพิ่มปริมาณสูงขึ้น
190
อาเซียน 191

ผลกระทบจากปัญหาสิ่งแวดล้อม

ภูมิอากาศ
เปลี่ยนแปลง ด้านสังคม
- การอพยพย้ายถิ่น
- ขาดความมั่นคงทางด้านสุขภาพและ
โภชนาการของประชาชน
- ปัญหาอาชญากรรมเพิ่มมากขึ้น

ด้านเศรษฐกิจ
- การขาดแคลนอาหาร เครื่องอุปโภคบริโภค และยารักษาโรค
- การลดลงของผลผลิตกสิกรรม การเลี้ยงสัตว์ และการประมง

Rethink การเปลี่ยนความคิดเรื่องการใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติอย่างถูกต้อง

7R
Repair Reuse
การซ่อมแซมกลับมาใช้ การน�ำกลับมาใช้ซ�้ำ
ใช้อีกครั้ง หรือหลายครั้ง
Reduce หลักการอนุรักษ์
การลดเท่าที่จำ�เป็น
หรือนำ�มาใช้ให้เกิด สิ่งแวดล้อม
ประสิทธิภาพสูงสุด Reject
การปฏิเสธการใช้ทรัพยากร
สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่ทำ�ลายโลก

Recycle Return
การนำ�วัสดุที่หมดสภาพแล้ว การตอบแทนสิ่งที่ได้ใช้
มาแปรสภาพเพือ่ นำ�กลับมาใช้ หรือทำ�ลายไปคืนสู่โลก
กรณีศึกษาข้อพิพาททะเลจีนใต้
สาเหตุของปัญหา
ทะเลจีนใต้ (South China Sea) เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟิก
มีพื้นที่ประมาณ 3.5 ล้านตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยหมู่เกาะจำานวน
หลายร้ อ ยเกาะที่ มี ค วามสำ า คั ญ ทั้ ง ทางด้ า นยุ ท ธศาสตร์ การเมื อ ง
ความมั่นคง และเศรษฐกิจในฐานะที่เป็นทะเลที่เชื่อมสู่ประเทศและภูมิภาค
สำาคัญ นอกจากนี้ยังเชื่อกันว่าใต้พื้นทะเลมีนำ้ามัน และก๊าซธรรมชาติสำารอง
ขนาดใหญ่ด้วย

จีน ไต้หวัน
(จีน)
เมียนมา
ลาว

ไทย ทะเลจีนใต้
ิ น ส์

กัมพูชา
เวียดนาม
ิ ป ป
ฟิ ล


บรูไน

มาเลเซีย

สิงคโปร์


อิ น โ ด นี เ ซี ย

192
อาเซียน 193

ความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
การอ้างสิทธิเหนือพื้นที่ในทะเลจีนใต้ ระหว่างจีนซึ่งเป็นชาติมหาอํานาจของภูมิภาคเอเชียกับ ๔ ชาติอาเซียน คือ
ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย บรูไน เวียดนาม ทำ�ให้เกิดข้อพิพาทและความขัดแย้งขึ้นโดยเฉพาะ

• การอ้างสิทธิเหนือหมู่เกาะสแปรตลีย์ (Spratly Islands) และหมู่เกาะพาราเซล (Paracel Islands)


เป็นเกาะเล็กเกาะน้อยเกี่ยวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติน�้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ

• หลักการสากล อนุญาตให้แต่ละประเทศสามารถอ้างสิทธิเหนืออาณาเขตนอกชายฝั่งบริเวณที่เป็นไหล่ทวีปของ
ประเทศนัน้ ๆ ได้ หลายประเทศในแถบทะเลจีนใต้ตา่ งพยายามทีจ่ ะจัดตัง้ ถิน่ ฐานบนเกาะต่างๆ (ส่วนใหญ่จะเป็นกอง
ก�ำลังทหาร)

การแก้ปัญหาที่ผ่านมา
อาเซียนแก้ปัญหาภายใต้หลักการ
ของสนธิสัญญาว่าด้วยไมตรีจิต
และความร่วมมือของอาเซียน
(Treaty of Amity and จีนไม่พอใจที่สหรัฐอเมริกาเข้ามา
Cooperation in Southeast แทรกแซงข้อพิพาทในระหว่าง
Asia - TAC) จีนปฏิเสธที่จะเจรจา การประชุม ASEAN Regional ศาลอนุญาโตตุลาการถาวรที่กรุงเฮก
ปัญหาทะเลจีนใต้ในลักษณะพหุภาคี Forum - ARF ที่กรุงฮานอย ตัดสินให้รัฐบาลฟิลิปปินส์ชนะ
พ.ศ. ๒๕๓๕ พ.ศ. ๒๕๕๓ พ.ศ. ๒๕๕๙

พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๕๖


จีนและอาเซีย นลงนามในปฏิญ ญา ฟิลิปปินส์ยื่นฟ้องต่อศาลอนุญาโต
ร่วมว่าด้วย หลักปฏิบตั ขิ องรัฐภาคี ตุลาการถาวรที่กรุงเฮก
เรื่องทะเลจีนใต้ (ASEAN - China
Declaration on the Conduct
of Parties in the South China
Sea - DOC) เพื่อแก้ไขปัญหา ค� ำ ตั ด สิ น ของศาลไม่ มี อ� ำ นาจให้ จี น
อย่างสันติวิธี ปฎิบัติตามท�ำให้สถานการณ์ขัดแย้งใน
ทะเลจีนใต้ยังคงยืดเยื้อต่อไป
ความเสมอภาค
และความยุติธรรม
กินดีอยู่ดี

การศึกษา

ความ
เสมอภาค
ความ
ยุติธรรม

ความ
ชอบธรรม

สิทธิ

เสรีภาพ
19๔
อาเซียน 195

ประชากรในภู มิ ภ าคอาเซี ย นทั้ ง หมดโดยไม่ ค� า นึ ง ถึ ง แหล่ ง ตั้ ง ถิ่ น ฐาน อายุ เพศ
วัฒ นธรรม สีผิว ชาติพันธุ์ ฐานะทางเศรษฐกิ จ ศาสนา และระดั บ การศึ ก ษาล้ ว น
ได้รับความเสมอภาค และความยุ ติธรรม

หน้าที่

ความรับผิดชอบ

ทุ กคนมี หน้ า ที่ และ


ความรั บ ผิ ดชอบเพื่ อ
เอื้ อ ประโยชน์ ต่ อ สั ง คม
ส่ ว นรวม

ระบบความยุติธรรม
ความชอบธรรมและ
ความเสมอภาค
ช่วยส่งเสริมความมั่นคง
และความเป็นอยู่ที่ดี
ของประชากร
กรณีศึกษาการต่อต้านเขื่อนไซยะบุรี
แม่โขง

แหล่งก�าเนิดกรวดน�้าโขง
ปลาวางไข่บนพื้นกรวด

เขื่อนไซยะบุรี

น�้ามูล เขื่ อ นไซยะบุ รี (The Xayaburi


Dam) เป็ น หนึ่ ง ในโครงการสร้ า ง
ทะเลสาบเขมร
เขื่ อ นกั้ น แม่ น�้ า โขงสายหลั ก ทาง
ตอนล่างทีแ่ ขวงไซยะบุร ี ประเทศลาว
เป็ น เขื่ อ นผลิ ต ไฟฟ้ า พลั ง น�้ า ขนาด
๑,๒๖๐ เมกกะวัตต์ วัตถุประสงค์หลัก
ของการสร้างเขือ่ นไซยะบุร ี คือ การสร้าง
รายได้เพื่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
และสังคมให้กับประเทศสาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว

196
อาเซียน 197

ความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
การก่อสร้างได้ชะงัก ลงเนื่ อ งจากรั ฐ บาลเวี ย ดนาม กั ม พู ช า และ
ชาวบ้านจากเครือข่ายประชาชนไทย ๘ จังหวัดลุ่มนำ้าโขง และ
เครือข่ายสภาองค์กรชุมชนตำาบลลุ่มนำ้าโขง ๗ จังหวัดภาค
อีสาน (คสข.) ประท้วงคัดค้านโครงการเพราะวิตก
ว่าการสร้างเขื่อนจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
และประชาชน

การแก้ปัญหาที่ผ่านมา
ประเด็นสำาคัญของการสร้างเขื่อนนี้ คือ ความตกลงว่า
ด้วยความร่วมมือเพื่อการพัฒนาลุ่มนำ้าโขงอย่างยั่งยืน โครงการเขื่อนไซยะบุรีนับเป็นโครงการ
ปี ๒๕๓๘ และข้อตกลง (PNPCA : Procedures for แรกที่ น� า กระบวนการ PNPCA มาใช้
Notification, Prior Consultation and Agreement) เพื่ อ แสวงหาข้ อ ตกลงร่ ว มกั น ในกลุ ่ ม
ทีก่ าำ หนดว่า ในกรณีทปี่ ระเทศสมาชิกมีโครงการพัฒนา ประเทศสมาชิ ก ที่ ใ ช้ แ ม่ น�้ า โขงเป็ น
สิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ใดๆ บนแม่นำ้าโขงสายหลักหรือ ทรัพยากรร่วมกัน
แม่นำ้าสาขา ถ้าโครงการดังกล่าวสร้างผลกระทบข้าม
เขตแดนต่อประชาชนหรือสิ่งแวดล้อมที่อยู่ปลายนำ้า
ต้องนำาเสนอข้อมูลให้ประเทศสมาชิกทั้ง ๔ ประเทศ
ร่วมกันพิจารณาในระดับภูมิภาคด้วย
กรณีศึกษาโรฮีนจาปัญหาชนกลุ่มน้อยไร้สัญชาติ
โรฮีนจา (Rohingya) เป็นชนกลุ่มน้อยกลุ่มชาติพันธุ์มุสลิม ที่อาศัยอยู่ทางตอนเหนือ
ของอาระกัน (Arakan) หรือรัฐยะไข่ (Rakhine State) ที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของ
ประเทศเมียนมา ติดกับชายแดนด้านตะวันออกของประเทศบังกลาเทศ คนกลุ่มนี้
อพยพมาจากเบงกอล ในช่วงที่อังกฤษปกครอง และบางส่วนก็อพยพเข้ามาในช่วง
สงครามกลางเมืองในบังคลาเทศ

กรณีศึกษาโรฮีนจา : เป็นความขัดแย้งทางศาสนา
และชาติพันธุ์ในประเทศเมียนมาที่ชนส่วนใหญ่
นับถือพุทธศาสนาเถรวาท

ต่อมาในยุคสงครามโลกครั้งที่ ๑ เมื่อมีการเคลื่อนไหวเรียกร้องอิสรภาพพม่า ปัญหาความเหลื่อมล�้ำทาง


เศรษฐกิจ ได้เชือ่ มโยงเข้ากับกระบวนการทางเมืองภายใต้แนวคิด “ชาตินยิ มแนวพุทธแบบพม่า” การต่อต้าน
ชาวมุสลิม จึงได้แพร่ขยายออกไปในเวลานั้น ในยุคสงครามโลกครั้งที่ ๒ เมื่ออังกฤษได้จัดตั้งกองก�ำลัง
ทหารอาสา (V-Force) กับชาวมุสลิมโรฮีนจาทางตอนเหนือของอาระกัน เพื่อสร้างแนวป้องกันกองทัพญี่ปุ่น
แต่กองก�ำลังมุสลิมโรฮีนจากลับใช้อาวุธนั้นท�ำสงครามในรัฐยะไข่ในประเทศเมียนมา

198
อาเซียน 199

พ.ศ. ๒๔๘๓
พ.ศ. ๒๔๘๓ มุสลิมโรฮีนจาได้กอ่ ตัง้ องค์กรเคลือ่ นไหว
เพื่อแยกดินแดนไปรวมกับปากีสถานตะวันออกโดย
อ้างเหตุผลทางศาสนา แต่ปากีสถานปฏิเสธ

พ.ศ. ๒๔๙๑
เมือ่ พม่าได้รบั เอกราช รัฐยะไข่จงึ ถูกรวมเป็นส่วนหนึง่
ของประเทศพม่า ชาวโรฮีนจาจึงเคลือ่ นไหวเรียกร้อง
สิทธิปกครองตนเอง

พ.ศ. ๒๕๒๕
รั ฐ บาลบั ง กลาเทศประกาศว่ า "โรฮี น จา" ไม่ ใช่
คนบั ง กลาเทศ และรั ฐ บาลพม่ า ประกาศว่ า
ชาวโรฮีนจาไม่ ใช่ ก ลุ ่ ม ชนพื้ น เมื อ งตามรั ฐ ธรรมนู ญ
พม่ า ชาวโรฮีนจาจึงมีสถานะไร้สัญชาติ

ปัจจุบนั มีคา่ ยทีส่ ามารถรองรับชาวโรฮีนจา ๒ ค่าย


อยู ่ ที่ เ มื อ งค๊ อ กซ์ บ าซาร์ ประเทศบั ง คลาเทศ
แต่ปัญหาชาวโรฮีนจา ยังคงอยู่และรอการแก้ไข
ปัญหาต่อไป
กรณีศึกษาเกาะมินดาเนา
ดินแดนก่อการร้ายทางศาสนา
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of the Philippines) เป็นประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เป็นประเทศซึ่งประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ตั้งแต่ตกเป็นอาณานิคมของสเปน
ในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๖ ในขณะที่มีผู้นับถือศาสนาอิสลามเพียง ๕% ที่ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ทางใต้ของประเทศ
ประกอบด้วยเกาะมินดาเนา หมู่เกาะซูลู ปาลาวัน บาซีลัน และเกาะต่างๆ อีกจำานวนหนึ่งที่อยู่ใกล้เคียง และที่นี่คือ
จุดเริ่มของปัญหาความขัดแย้งและปัญหาความมั่นคงในฟิลิปปินส์
หลายๆ ประเทศโดยเฉพาะมาเลเชียที่เป็นตัวกลางเพื่อนำาไปสู่การเจรจาระหว่างฝ่ายรัฐบาลกับกลุ่มมุสลิม
หัวรุนแรง จนเกิดการลงนามรับรองในข้อตกลงแห่งบังซาโมโร Comprehensive Agreement on the Bangsamoro
(CAB) พ.ศ. ๒๕๕๗ ซึ่งรับรองสถานะทางกฎหมายของเขตปกครองตนเองบังซาโมโรที่จะตั้งขึ้นภายใน พ.ศ. ๒๕๕๙
แต่เนื่องจากอยู่ในช่วงเปลี่ยนผ่านรัฐบาล ทำาให้กลุ่มมุสลิมหัวรุนแรง เช่น กลุ่มมาอูเต (Maute) เครือข่ายของ
กลุ่มอาบูไซยาฟ (Abu Sayyaf) ใช้ช่องว่างนี้ในการก่อความไม่สงบขึ้นอีก

ฟ ิ ล ิ ป ป ิ น ส

การรวมกลุ่มของชาวมุสลิมหัวรุนแรงในฟิลิปปินส์
เพื่อแบ่งแยกดินแดนปกครองตนเองมีอยู่หลายกลุ่ม ได้แก่

แนวร่วมปลดปล่อยแห่งอิสลามโมโร
(Moro Islamic Liberation Front : MILF)

แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติโมโร
(Moro National Liberation Front : MNLF)

กลุ่มอาบูไซยาฟ
(Abu Sayyaf )
200
อาเซียน 201

วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๑ ประธานาธิบดี โรดริโก ดูเตอร์เต (President Rodrigo Duterte)


ได้ลงนามรับร่างกฏหมาย Bangsamoro Organic Law เพื่อวางรากฐานในการจัดตั้ง “เขตปกครอง
ตนเองบังซาโมโร” (Bangsamoro Autonomous Region) บนเขตปกครองตนเองมุสลิมทางตอนใต้ของ
เกาะมินดาเนาภายในปี ๒๕๖๕ ขณะเดียวกันรัฐบาลกลางได้เตรียมส�ำรองงบประมาณเพื่อสนับสนุน
โครงการพัฒนาเขตปกครองตนเองบังซาโมโรด้วย
องค์การสหประชาชาติ สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่นต่างเชื่อว่า มาตรการนี้จะช่วย
ยุติความรุนแรงและน�ำไปสู่การฟื้นฟูทางเศรษฐกิจได้ แม้ว่าพื้นที่ทั้งหมดของเกาะมินดาเนาจะยังคงอยู่
ภายใต้ ก ฎอั ย การศึ ก จนถึ ง สิ้ น ปี ๒๕๖๑ เพื่ อ ให้ เจ้ า หน้ า ที่ ฝ ่ า ยความมั่ น คงปฏิ บั ติ ก ารปราบปราม
กลุ่มติดอาวุธ ซึ่งยังคงหลงเหลือในเมืองมาราวี

แนวทางการแก้ปัญหา
ความขัดแย้งทางชาติพนั ธุใ์ นฟิลปิ ปินส์นนั้ แนวทางของการเจรจาอย่างสันติวธิ ถี อื เป็นทางออกทีด่ ที สี่ ดุ
และจะสัมฤทธิ์ผลอย่างมากเมื่อมีการแก้ปัญหาทางการเมืองโดยการรับประกันถึงการมีอิสรภาพขั้น
พื้นฐาน และความมีเกียรติยศศักดิ์ศรีที่เท่าเทียมกันของพลเมืองชาวฟิลิปปินส์ โดยปราศจากการเลือก
ปฏิบัติต่อชนกลุ่มน้อยที่มีความแตกต่างทางภาษา เชื้อชาติ และศาสนา สิ่งนี้น่าจะเป็นพื้นฐานอันน�ำไป
สู่การมีสันติภาพที่ยั่งยืนในอนาคต
ร่วมมือกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน
เป้าหมายการท�างานร่วมกันเพื่อสร้างอนาคตที่ยั่งยืน

๑.
ร่วมสร้างสังคมสันติ
เริม่ ต้นจากการเห็นคุณค่า
ของความเป็นมนุษย์อย่าง
เท่าเทียม
และสมานฉันท์ ร่วมมือด้านการเมืองและ

พั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของ
ชุมชน เพือ่ ให้คนในชุมชน
สามารถพึ่งตนเองได้
๒.
ร่วมสร้างสังคม
ความมั่นคง

๓.
กระจายรายได้อย่างเป็น ที่ไม่ทอดทิ้งกัน
ธรรม

คำานึงถึงความเป็นสังคม
พหุวัฒนธรรม
ร่วมสร้างสังคมพึ่งพา การเคารพซึ่งกันและกัน

๔.
และเกื้อกูลกัน มีความซื่อสัตย์ต่อกัน

ประชาคมอาเซียนจึงควร ร่วมสร้างสังคมที่มี
คำานึงถึงหลักการพัฒนา

๕.
ของสหประชาชาติ เป้าหมายและแนว
ปฏิบัติร่วม

กลไกที่จะสนับสนุน
ระหว่างรัฐ ภาครัฐ
ภาคเอกชนและ
ภาคสังคม

202
อาเซียน 203

ร่วมสร้างสังคมที่มีเป้าหมายและแนวปฎิบัติร่วมเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน

๑. ขจัดความยากจน

๒.
(NO POVERTY)
ขจัดความอดอยาก สร้างความ

๓. ส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีของทุกคน
มัน่ คงทางอาหาร
(NO HUNGER)

๕.
(GOOD HEALTH)

สร้างความเท่าเทียมทางเพศ
๔. ส่งเสริมโอกาสในการเรียนรู ้
(QUALITY EDUCATION)

๖.
(GENDER EQUALITY)
จัดการน�ำ้ อย่างยัง่ ยืนและ

๗. ให้ ทุ ก คนเข้ า ถึ ง พลั ง งานที่ ยั่ ง ยื น


พร้อมใช้ส�ำหรับทุกคน
(CLEAN WATER AND SANITATION)

๘.
ได้ตามก�ำลังของตน
(CLEAN ENEGY)
ส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

๙.
ที่ยั่งยืน
ส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ยั่งยืนและ (GOOD JOBS AND ECONOMIC GROWTH)

๑๐.
นวัตกรรม
(INNOVATION AND INFRASTRUCTURE) ลดความเหลื่อมล�้ำทั้งภายในและ

๑๑.
ระหว่างประเทศ
(REDUCED INEQUALITIES)
สร้างเมืองและการตัง้ ถิน่ ฐานทีป่ ลอดภัย

๑๓.
(SUSTAINABLE CITIES AND COMMUNITIES)

ด�ำเนิ น การอย่ า งเร่ ง ด่ ว นเพื่ อ แก้


๑๒. สร้างรูปแบบการผลิตและ
การบริโภคทีย่ งั่ ยืน
(RESPONSIBLE CONSUMPTION)

๑๕.
ปัญหาโลกร้อน
(PROTECT THE PLANET)

ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ยั่งยืนของ
๑๔. อนุ รั ก ษ์ แ ละใช้ ป ระโยชน์ จ าก
ทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน
(LIFE BELOW WATER)

๑๗.
ระบบนิเวศบนบก
(LIFE ON LAND)

สร้างความร่วมมือระดับสากลต่อ
การพัฒนาที่ยั่งยืน
๑๖. ส่งเสริมสันติภาพและการเข้าถึง
ระบบยุติธรรมอย่างเท่าเทียมกัน
(PEACE AND JUSTICE)

(PARTNERSHIPS FOR THE GOALS)


ความร่วมมือด้านสาธารณสุข
• การประชุมกลุ่มผู้เชี่ยวชาญอาเซียนด้านโรคติดต่อ
(ASEAN Expert Group on Communicable Diseases – AEGCD)

• การประชุมกลุ่มผู้เชี่ยวชาญอาเซียนด้านความปลอดภัยของอาหาร
(ASEAN Experts Group on Food Safety – AEGFS)

• การประชุมกลุ่มผู้เชี่ยวชาญอาเซียนด้านความร่วมมือด้านเทคนิคเกี่ยวกับยา
(ASEAN Working Group on Technical Cooperation in Pharmaceuticals – AWGTCP)

การประชุมคณะทำางานการเตรียมพร้อมและรับมือกับโรคระบาด
(ASEAN Technical Working Group on Pandemic Preparedness
and Response – ATWGPPR)

• คณะทำางานเฉพาะกิจของอาเซียนด้านโรคเอดส์
(ASEAN Task Force on AIDS – ATFOA)

• คณะทำางานเฉพาะกิจของอาเซียนด้านสุขภาพจิต
(ASEAN Mental Health Task Force – AMT)
• คณะทำางานเฉพาะกิจของอาเซียนด้านสุขภาพแม่และเด็ก
(ASEAN Task Force on Maternal and Child Health – ATFMCH)

• คณะทำางานเฉพาะกิจของอาเซียนด้านโรคไม่ติดต่อ
(ASEAN Task Force on Non-communicable Disease – ATFNCD)

วันที่ ๑๕ มิถุนายน
วันไข้เลือดออกอาเซียน

20๔
อาเซียน 205

ความร่วมมือด้านภัยพิบัติ
ปีสิ่งแวดล้อมอาเซียน (ASEAN Environment Year - AEY) กำาหนดให้มีขึ้นทุก ๓ ปี
เพื่อสร้างจิตสำานึกด้านสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชนทุกระดับในสังคม

การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม
(ASEAN Ministerial Meeting on Environment - AMME)

การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนเกี่ยวกับปัญหาหมอกควัน
(ASEAN Ministerial Meeting on Haze - AMMH)

ศูนย์อุตุนิยมวิทยาอาเซียน (ASEAN Specialised Meteorological


Centre - ASMC) ตั้งอยู่ที่สิงคโปร์ เป็นกลไกในการติดตามสภาพ
ภูมิอากาศและสภาวะหมอกควันอันเกิดจากไฟไหม้ป่า

ศูนย์ประสานงานอาเซียนในการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม
(ASEAN Coordinating Centre for Humanitarian
Assistance on Disaster Management - AHA Centre)
เพื่อประสานสำาหรับช่วยเหลือมนุษยธรรมด้านการจัดการ
ภัยพิบัติระหว่างประเทศ

ความตกลงอาเซียนว่าด้วยการบริหารจัดการภัยพิบัติ
และตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉิน
(ASEAN Agreement on Disaster Management
and Emergency Response - AADMER)

ศูนย์อาเชียนว่าด้วยความหลากหลายทาง
ชีวภาพ (ASEAN Centre for Biodiversity - ACB)
ตั้งอยู่ที่ฟิลิปปินส์ มีหน้าที่อำานวยความสะดวก
ในการประสานความร่วมมือระหว่างประเทศ
สมาชิกอาเซียนในการอนุรักษ์ และใช้ความหลากหลาย
ทางชีวภาพอย่างยั่งยืน
ค�ำสั่งส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่ ๑๐๐๑ / ๒๕๖๐
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดท�ำต้นฉบับหนังสือส่งเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู้
...............................................

ด้วยส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะด�ำเนินการจัดท�ำต้นฉบับหนังสือส่งเสริมประสิทธิภาพ
การเรียนรู้ วิชาภาษาไทยและวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ด้วยการแปลงเนื้อหาในหนังสือเป็นภาพ
Infographic และภาพเสมือนจริง (AR : Augmented Reality) ในการนี้ เพื่อให้การด�ำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
และมีประสิทธิภาพ จึงแต่งตั้งคณะกรรมการจัดท�ำต้นฉบับหนังสือส่งเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู้ โดยมีองค์ประกอบดังนี้

ที่ปรึกษา
๑. นายการุณ สกุลประดิษฐ์
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๒. นายบุญรักษ์ ยอดเพชร
รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๓. นายณัฐพล นิมมานพัชรินทร์
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

คณะกรรมการด�ำเนินงาน
๑. นางสุกัญญา งามบรรจง
ที่ปรึกษาด้านพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ประธานกรรมการ
๒. นางญาณกร จันทหาร
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กรรมการ
๓. นางสาวนงลักษณ์ เรือนทอง
ผู้อ�ำนวยการส�ำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย กรรมการ
๔. นางสาวปริญญา ฤทธิ์เจริญ
ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาสื่อและการเรียนรู้ กรรมการ
๕. นางจารุภา สังขารมย์
ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการอบรมและการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศ กรรมการ
และการสื่อสารไปเผยแพร่
๖. นางสาวนิจสุดา อภินันทาภรณ์
รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กรรมการ
๗. นายเฉลิมชัย พันธ์เลิศ
ผู้อ�ำนวยการสถาบันสังคมศึกษา กรรมการ

206
207

๘. นายกฤตนัยน์ สามะพุทธิ
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมศึกษา กรรมการ
๙. นางมาตรินี รักษ์ตานนท์ชัย
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมศึกษา กรรมการ
๑๐. นางชวลีย์ ณ ถลาง
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมศึกษา กรรมการ
๑๑. นางระวิวรรณ ภาคพรต
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมศึกษา กรรมการ
๑๒. นางสาวบงกชรัตน์ เตชะไตรศักดิ์
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมศึกษา กรรมการ
๑๓. นางสาวสุรีพันธ์ เกียนวัฒนา
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมศึกษา กรรมการ
๑๔. นายเชียง เภาชิต
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมศึกษา กรรมการ
๑๕. นายไพฑูรย์ ปิยะปกรณ์
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมศึกษา กรรมการ
๑๖. นางสาวมาลี โตสกุล
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมศึกษา กรรมการ
๑๗. นางมนพร จันทร์คล้อย
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมศึกษา กรรมการ
๑๘. นางวชิราวรรณ บุนนาค
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมศึกษา กรรมการ
๑๙. นางสาววรลักษณ์ รัตติกาลชลากร
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมศึกษา กรรมการ
๒๐. นางสาวกอบกาญจน์ เทียนไชยมงคล
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมศึกษา กรรมการ
๒๑. นางสาวพริ้มเพรา คงธนะ
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านสังคมศึกษา กรรมการ
๒๒. นางพิศวาท น้อยมณี
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านภาษาไทย กรรมการ
๒๓. นางสมศิริ โพธิ์พุ่ม
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านภาษาไทย กรรมการ
๒๔. นางสาวพัชรี ลินิฐฎา
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านภาษาไทย กรรมการ
๒๕. นางสาวพริ้มเพราวดี หันตรา
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านภาษาไทย กรรมการ
๒๖. นายอรรถพล อนันตวรสกุล
อาจารย์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรมการ
๒๗. ผู้แทนส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กรรมการ
๒๘. นายชูเดช โลศิริ
อาจารย์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรรมการ
๒๙. นายสมหวัง ชัยตามล
ครู โรงเรียนเทพศิรินทร์ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑ กรรมการ
๓๐. นายภาคินนท์ แก้วประภาค
ครู โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑ กรรมการ
๓๑. นายณัฏฐ์ชฎิล มาอิ่นแก้ว
ครู โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑ กรรมการ
๓๒. นายปริญญา ประเทศ
ครู โรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑ กรรมการ
๓๓. นายปราศรัย เจตสันติ์
ครู โรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑ กรรมการ
๓๔. นายอลงกรณ์ อัศวโสวรรณ
ครู โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ กรรมการ
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
๓๕ นายณัฎฐเมธร์ ดุลคนิต
ครู โรงเรียนราชวินิตมัธยม ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑ กรรมการ
๓๖ นายพรพรรษ อัมพรพฤติ
ครู โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑ กรรมการ
๓๗. นายน�ำโชค อุ่นเวียง
ครู โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑ กรรมการ
๓๘. นางสาวจารุวรรณ ยิ่งยงค์
ครู โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑ กรรมการ
๓๙. นางสาวปาริฉัตร พลสมบัติ
ครู โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ กรรมการ
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
๔๐. นายอดิศักดิ์ จันทบัตร์
ครู โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นนทบุรี กรรมการ
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓
๔๑. นายสุเทพ เอกปัจชา
ครู โรงเรียนศรียานุสรณ์ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๗ กรรมการ
๔๒. นางสาวเพชรประภาร์ ชุมสาย
ครู โรงเรียนศรียานุสรณ์ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๗ กรรมการ
๔๓. นางนวกานต์ มณีศรี
ครู โรงเรียนวัดเขาสะพายแร้ง กรรมการ
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๒
๔๔. นายอานนท์ สีดาพรม
ครู ศูนย์การศึกษาพิเศษประจ�ำจังหวัดก�ำแพงเพชร กรรมการ
๔๕. นางสาวฤทัยรัตน์ มีปัญญา
พนักงานราชการ โรงเรียนอุบลปัญญานุกูล จังหวัดอุบลราชธานี กรรมการ
๔๖. นางวรรณี จันทรศิริ
ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพัฒนาสื่อการเรียนรู้ กรรมการและเลขานุการ
208
20๙

๔๗. นำงรัตนวิภำ ธรรมโชติ


นักวิชำกำรศึกษำช�ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร
๔๘. นำงฟำฏินำ วงศ์เลขำ
นักวิชำกำรศึกษำช�ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร
๔๙. นำงสำวสมควร เพียรพิทักษ์
นักวิชำกำรศึกษำช�ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร
๕๐. นำงสำวอรอร ฤทธิ์กลำง
นักวิชำกำรศึกษำช�ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร
๕๑. นำงสำวอรุณวรรณ ผู้ธนดี
นักวิชำกำรศึกษำช�ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร
๕๒. นำงสำวเจตนำ พรมประดิษฐ์
นักวิชำกำรศึกษำช�ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร
๕๓. นำงเกษศิรินทร์ สุวรรณสุนทร
นักวิชำกำรศึกษำช�ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร
๕๔. นำงลัตติยำ อมรสมำนกุล
นักวิชำกำรศึกษำช�ำนำญกำรพิเศษ กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร
๕๕. นำงสำวอังคณำ ผิวเกลี้ยง
นักวิชำกำรศึกษำช�ำนำญกำร กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร
๕๖. นำงธนำภรณ์ กอวัฒนำ
นักวิชำกำรศึกษำช�ำนำญกำร กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร
๕๗. นำงสำวธนทัต ไชยำนนท์
นักวิชำกำรศึกษำปฏิบัติกำร กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร
๕๘. นำยวชิระ ชัยสุนทร
นักวิชำกำรศึกษำปฏิบัติกำร กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร
๕๙. นำงรัตนำ สุขสุโฉม
เจ้ำพนักงำนธุรกำรช�ำนำญงำน กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร
๖๐. นำงศรินทร ตั้งหลักชัย
เจ้ำพนักงำนธุรกำรช�ำนำญงำน กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร

ให้ ค ณะกรรมกำรดั ง กล่ ำ ว มี ห น้ ำ ที่ สั ง เครำะห์ เ นื้ อ หำหนั ง สื อ เรี ย น จั ด ท� ำ โครงสร้ ำ งเนื้ อ หำ ยกร่ ำ งต้ น ฉบั บ
ออกแบบภำพ Infographic จำกเนื้ อ หำ และก� ำ หนดจุ ด ท� ำ ภำพเสมื อ นจริ ง (AR : Augmented Reality)
พร้ อ มรำยละเอี ย ด รวมทั้ ง ตรวจบรรณำธิ ก ำรต้ น ฉบั บ หนั ง สื อ ส่ ง เสริ ม ประสิ ท ธิ ภ ำพกำรเรี ย นรู ้ วิ ช ำภำษำไทย
และวิชำสังคมศึกษำ ระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
สั่ง ณ วันที่ ๓ กรกฎำคม พ.ศ. ๒๕๖๐

(นำยบุญรักษ์ ยอดเพชร)
รองเลขำธิกำร ปฎิบัติรำชกำรแทน
เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
ผู้เขียนและบรรณาธิการ
วิชาภูมิศาสตร์
นางมาตรินี รักษ์ตานนท์ชัย นางสาวบงกชรัตน์ เตชะไตรศักดิ์
นางสาวสุรีพันธ์ เกียนวัฒนา นายไพฑูรย์ ปิยะปกรณ์
นางสาวพริ้มเพรา คงธนะ นายชูเดช โลศิริ
นางสาวเจตนา พรมประดิษฐ์ นางสาวสมควร เพียรพิทักษ์

วิชาเศรษฐศาสตร์
นายเชียง เภาชิต นางสาววรลักษณ์ รัตติกาลชลากร
นายสมหวัง ชัยตามล นายปราศรัย เจตสันติ์
นายอานนท์ สีดาพรม นางวรรณี จันทรศิริ
นางเกษศิรินทร์ สุวรรณสุนทร นางสาวอังคณา ผิวเกลี้ยง

วิชาประวัติศาสตร์
นายกฤตนัยน์ สามะพุทธิ นางชวลีย์ ณ ถลาง
นางวชิราวรรณ บุนนาค นางระวิวรรณ ภาคพรต
นางสาวมาลี โตสกุล นางนวกานต์ มณีศรี
นางสาวฤทัยรัตน์ มีปัญญา นางสาวอรุณวรรณ ผู้ธนดี

วิชาอาเซียน
นายอรรถพล อนันตวรสกุล นางมนพร จันทร์คล้อย
นางสาวกอบกาญจน์ เทียนไชยมงคล นายภาคินนท์ แก้วประภาค
นายณัฏฐ์ชฎิล มาอิ่นแก้ว นายปริญญา ประเทศ
นางรัตนวิภา ธรรมโชติ

210
211

บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๗). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานเศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ - ๖.
(พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ : องค์การค้าของ สกสค.
กรมวิชาการเกษตร. (๒๕๔๑). วิวัฒนาการพันธุ์ข้าวไทย. สถาบันวิจัยข้าว กรมวิชาการเกษตร. หน้า ๗.
คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. (๒๕๒๗). เทศกาลและประเพณีไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรมศาสนา.
ปัญญา จารุศิริ และคณะ. (๒๕๕๗). ภูมิศาสตร์กายภาพ. โครงการต�ำราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
มูลนิธิ สอวน. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์.
ธิติมา พิทักษ์ไพรวัลย์. (๒๕๒๗). ประวัติศาสตร์ทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๘). พจนานุกรมศัพท์เศรษฐศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.
วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (๒๕๕๘). เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น : เศรษฐศาสตร์ส�ำหรับบุคคลทั่วไป. (พิมพ์ครั้งที่ ๑๐).
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๗). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน
ประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
_______. กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๗). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์สากล ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ ๔ – ๖ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
_______. กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๗). หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ - ๖.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
ส�ำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. (๒๕๓๗). ผลการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การส่งเสริมการจัด
กิจกรรมเกี่ยวกับประเพณีลอยกระทง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
_______. (๒๕๓๗). วันส�ำคัญโครงการปีรณรงค์วัฒนธรรมไทยและแนวทางในการจัดกิจกรรม. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
_______. (๒๕๕๑) วารสารวัฒนธรรมไทย. ปีที่ ๔๗ ฉบับที่ ๑๒ ประจ�ำเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๑.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์.
ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (๒๕๕๗). คู่มือหลักสูตร
อาเซียน (ASEAN Curriculum Sourcebook) ฉบับแปลเป็นภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด.
_______. (๒๕๕๗). แนะน�ำ ASEAN Curiiculum Sourcebook. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ส�ำนักงาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
สิริพร เกรียงไกรเพชร และคณะ. (๒๕๕๗). ภูมิศาสตร์เทคนิค. โครงการต�ำราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
มูลนิธิ สอวน. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์.
Crofton, Ian. ( 2001). World History 50 keys milestones. Quercus Publishing Pic: London.
Fewster, Stuart. ( 2005). History First 1066-1500. Person Education Limited.
Mankiw, N. G. (2015). Principles of Economics. (8th ed.). Ohio: Cengage Learning.
Spielvogel, Jackson J. ( 2005). Glencoe World History. The United State of America:
Glenco/MacGraw-Hill.
Tucker, B. I. (2010). Survey of Economics. (5th ed.). Ohio: Cengage Learning.
สื่อออนไลน์
กรวิกา วีระพันธ์เทพา. (๒๕๕๔). เขื่อนไซยะบุรี และกระบวนการรับฟังความคิดเห็น (ของประชาชน
หรือของใคร?). สืบค้นเมื่อ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๐, จาก www.web.greenworld.or.th/
Greenworld/local/1234
กระทรวงการต่างประเทศ. (๒๕๕๖). ๕๘ ค�ำตอบ สู่ประชาคมอาเซียน. สืบค้นเมื่อ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๐,
จาก http://www.nso.go.th/sites/2014/Documents/asean/asean_faq.pdf
_______. (๒๕๕๖). ASEAN Mini book. สืบค้นเมื่อ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๐, จาก http://www.mfa.go.th/
asean/contents/files/asean-media-center-20130815-110431-164135.pdf
_______. (๒๕๕๙). รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศหารือทวิภาคีกับรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงการต่างประเทศจีน ในห้วงการประชุมรัฐมนตรีการต่างประเทศอาเซียน ครั้งที่ ๔๙
และการประชุมที่เกี่ยวข้องที่เวียงจันทน์. สืบค้นเมื่อ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๐, จาก http://www.mfa.
go.th/main/th/media-center/14/68655
กองประมงต่างประเทศ. กรมประมง. สืบค้นเมื่อ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๐, จาก http://www.fisheries.go.th/
foreign/fisher2/คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. (๒๕๖๐). ร่างยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี
(พ.ศ. 2560 - 2579). สืบค้นเมื่อ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๐, จาก http://dl.parliament.
go.th/handle/lirt/475208
คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ. (๒๕๖๐). “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐”.
สืบค้นเมื่อ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๐, จาก : http://www.parliament.go.th/ewtcommittee/ewt/
draftconstitution2/more_news.php?cid=87
ชยันต์ วรรธนะภูติ และคณะ. สมาคมแม่น�้ำเพื่อชีวิต. ข้อมูลเครื่องมือหาปลาพื้นบ้าน. สืบค้นเมื่อ
๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๐, จาก http://www.livingriversiam.org/2work/tb/fishing-gear.html
ชานินทร์ ผะเอม. (๒๕๕๘). Thailand’s Strategies Destination. ใน งานสัมมนา Thailand Quality
Award 2015 Winner Conference. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.
ปรเมธี วิมลศิริ. (๒๕๕๙). ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี อนาคตประเทศไทย เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน.
ในหลักสูตรวิทยาการประกันภัยระดับสูง (วปส.) รุ่นที่ ๖ ปี ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ: ส�ำนักงาน คปภ.
สืบค้นเมื่อ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๐, จาก http://planning.pn.psu.ac.th/plan_doc/procedure/
docs_procedure/300_1498813858.pdf
มณีรัตนา อริยตระกูลชัย และคณะ. วัฒนธรรมข้าว. สืบค้นเมื่อ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๐, จาก https://sites.
google.com/site/klumthi7thana/wathnthrrm-thi-na-snci
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (๒๕๕๗). โตนเลสาบ. สืบค้นเมื่อ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๐, จาก https://th.
wikipedia.org/wiki/
ศราวุฒิ อารีย์. (๒๕๕๒). โมโรมุสลิมและเขตปกครองตนเอง : ประสบการณ์จากฟิลิปปินส์. สืบค้นเมื่อ
๒๖ กันยายน ๒๕๖๐, จาก http://www.deepsouthwatch.org/node/293
สีดา สอนศรี. (๒๕๕๕). บังซาโมโรกับรัฐบาลฟิลิปปินส์ : ประวัติศาสตร์ที่ควรจารึก. สืบค้นเมื่อ ๑ สิงหาคม
๒๕๖๐ จาก http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9550000130060

212
213

_______. (๒๕๕๙). เรียนรูป้ ระสบการณ์สร้างสันติสขุ จากมินดาเนา ฟิลปิ ปินส์. สืบค้นเมือ่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๐,
จาก http://www.southdeepoutlook.com/ShowAllDetails/detail_south_editorial/26/
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (๒๕๕๗). ท�ำขวัญนาและท�ำขวัญข้าว ของบรรพชนอาเซียน ๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว
(มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับประจ�ำวันศุกร์ที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๗). สืบค้นเมื่อ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๐,
จาก http://www.sujitwongthes.com/2014/08/weekly15082557/
ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (๒๕๖๐). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๐, จาก http://www.nesdb.go.th/
ส�ำนักอนุรักษสัตว์ป่า. (๒๕๖๐). สัตว์ป่าสงวย. สืบค้นเมื่อวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๐, จาก http://www.dnp.
go.thwildlifednp/index.php?option=com_content&view=article&id=13Itemid=17
Ace Geography. n.d. The glacial budget. สืบค้นเมื่อ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๐, จาก http://www.acegeog-
raphy.com/glacial-budgets.html
BBC Bitesize. n.d. Population distribution and density. สืบค้นเมื่อ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐,
จาก http://www.bbc.co.uk/schools/gcsebitesize/geography/population/population_
distribution_rev2.shtml
BBC. 2014. Geography - Natural Hazards. สืบค้นเมื่อ ๒๗ กันยายน ๒๕๖๐, จาก http://www.bbc.
co.uk/schools/gcsebitesize/geography/natural_hazards/
eSchooltoday. 2008-2017. Earth System. สืบค้นเมื่อ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๐, จาก http://eschooltoday.
com/ earth-system/what-is-earth-system.html
eSchooltoday. 2008-2017. Natural Disasters – Earthquake. สืบค้นเมื่อ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๐,
จาก http:// eschooltoday.com/natural-disasters/earthquakes/what-is-an-earthquake.
html
Freeman, W.H. 2006. Evolving Earth : Plate Tectonics. สืบค้นเมื่อ ๒๓ กันยายน ๒๕๖๐, จาก
https://globalchange.umich.edu/globalchange1/current/lectures/ evolving_earth/
evolving_earth.html
Greek Travel Pages. 2017. UNWTO: China remains world’s top tourism spender.
สืบค้นเมื่อ ๑๕ กรกรฎาคม ๒๕๖๐, จาก http://news.gtp.gr/2017/04/18/unwto-chi-
na-worlds-top-tourism-spender/
International Center for Tropical Agriculture. 2015. Origins and primary regions of diversity of
agricultural crops. สืบค้นเมื่อ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐, จาก http://dapa.ciat.cgiar.org/wp-con-
tent/uploads/2015/09/origin-species-world-map.jpg
Kidcyber.com. n.d. Houses around the world. สืบค้นเมื่อ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐, จาก http:// www.
kidcyber.com.au/houses-around-the-world/
Makanaka. 2014. The meat map of the world. สืบค้นเมื่อ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐, จาก https://
makanaka.files.wordpress.com/2014/01/meatatlas2014_p11a.jpg?w=700&h=521
Mongabay.com. n.d. Turf houses at Skogar in Iceland. สืบค้นเมื่อ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐,
จาก http://rnrrealty.com/blog/wp-content/uploads/8478935305_2eca72eb3d_o.jpg
NASA Global Climate Change. n.d. Video: Antarctic ice loss 2002-2016. สืบค้นเมื่อ ๑๓ กรกฎาคม
๒๕๖๐, จาก https://climate.nasa.gov/climate_resources/154/
NASA Ozone Watch. n.d. What is ozone?. สืบค้นเมื่อ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐, จาก https://ozonewatch.
gsfc.nasa.gov/facts/SH.html
_______. Various dates. Ozone maps. สืบค้นเมื่อ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐, จาก https://ozonewatch.
gsfc.nasa.gov/
Pacific Asia Travel Association. 2017. Top source markets, 2017. สืบค้นเมื่อ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๐,
จาก http://mpower.pata.org/wp-content/uploads/Infographic-1-key-source-markets.jpg
PBS Learning Media. 2014. Sources of greenhouse gases. สืบค้นเมื่อ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๐, จาก
http://science.kqed.org/quest/2014/12/12/what-are-greenhouse-gases-and-where-do-
they-come-from/
Rnrrealty.com. n.d. Traditional houses in Botswana. สืบค้นเมื่อ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐, จาก http://
rnrrealty.com/blog/wp-content/uploads/8272396930_a6521a1544_k-1024x570.jpg
_______.n.d. Traditional houses in Nepal. สืบค้นเมื่อ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐, จาก http://rnrrealty.
com/blog/wp-content/uploads/1812681771_9487df5833_o-1024x687.jpg
_______.n.d. Traditional houses in Ukraine. สืบค้นเมื่อ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐, จาก http://
rnrrealty.com/blog/wp-content/uploads/2835514374_2c08811e75_b.jpg
_______.n.d. Traditional houses in Uruguay. สืบค้นเมื่อ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐, จาก http://
rnrrealty.com/blog/wp-content/uploads/3077823669_d69cb3728c_o-624x936.jpg
Socratic.org. 2015. How is the greenhouse effect related to global warming?. สืบค้นเมื่อ ๑๔
กรกฎาคม ๒๕๖๐, จาก https://socratic.org/questions/how-is-the-greenhouse-effect-relat
ed-to-global-warming
Thai Blogs. 2007. Traditional Thai style houses. สืบค้นเมื่อ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐, จาก http://
www.thai-blogs.com/images/richard/thaihouse_3.jpg
The Latest Architectural Digest. n.d. Japanese style homes. สืบค้นเมื่อ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐,
จาก http://forex2learn.info/view/61184/f191b8909efe36f2a601f39ce3826c54.
jpg?1512322616
United States Environmental Protection Agency. n.d. Global Greenhouse Gas Emissions
by Gas. สืบค้นเมื่อ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๐, จาก https://www.epa.gov/sites/production/
files/2016-05/global_emissions_gas_2015.png

214
215

ประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เรื่อง อนุญาตให้ใช้สื่อการเรียนรู้ในสถานศึกษา
...............................................

ด้ ว ยส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ได้ จั ด ท� ำ หนั ง สื อ ส่ ง เสริ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการเรี ย นรู ้
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึ ก ษาขั้ นพื้นฐาน พุท ธศัก ราช ๒๕๕๑ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ นพื้ นฐานได้ พิ จารณาแล้ ว
อนุญาตให้ใช้ในสถานศึกษาได้

ประกาศ ณ วันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

(นายบุญรักษ์ ยอดเพชร)
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
216

You might also like