You are on page 1of 37

103

สาระการเรียนรู้ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัดรายวิชา

รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๑ รหัสวิชา ท ๓๑๑๐๑


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔
ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาค
เรียน จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

สาระการ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด


เรียนรู้
๑. การอ่าน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและ
อ่านสร้างความรู้และ บทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง
ความคิด เพื่อนำไปใช้ ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องที่
ตัดสินใจแก้ปั ญหาใน อ่าน
การดำเนินชีวิต และมี ๒. ตีความ แปลความ และขยาย
นิสัยรักการอ่าน ความเรื่องที่อ่าน
๙. มีมารยาทในการอ่าน
๒. การเขียน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการ ๑. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ
เขียน ได้ตรงตาม
เขียนสื่อสาร เขียนเรียง วัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษา
ความ ย่อความและ เรียบเรียงถูกต้อง
เขียนเรื่องราวในรูปแบบ มีข้อมูล และสาระสำคัญ
ต่างๆเขียนรายงาน ชัดเจน
ข้อมูลสารสนเทศและ ๒. เขียนเรียงความ
รายงานการศึกษา ๘. มีมารยาทในการเขียน
ค้นคว้าอย่างมี
104

ประสิทธิภาพ
๓. การฟั ง ท ๓.๑ สามารถเลือก ๑. สรุปแนวคิด และแสดงความ
การดู ฟั งและดูอย่าง คิดเห็นจากเรื่องที่ฟั งและดู
และการ มีวิจารณญาณ และพูด ๔. มีวิจารณญาณในการเลือก
พูด แสดงความรู้ ความคิด เรื่องที่ฟั งและดู
และความรู้สึกในโอกาส ๖. มีมารยาทในการฟั ง การดู
ต่างๆ อย่างมี และการพูด
วิจารณญาณและ
สร้างสรรค์
๔. หลักการ ท ๔.๑ เข้าใจ ๑. อธิบายธรรมชาติของภาษา
ใช้ ธรรมชาติของภาษาและ พลังของภาษา และลักษณะของ
ภาษา หลักภาษาไทย การ ภาษา
ไทย เปลี่ยนแปลงของภาษา ๔. แต่งบทร้อยกรอง
และพลังของภาษา
ภูมิปั ญญาทางภาษา
และรักษาภาษาไทยไว้
เป็ นสมบัติของชาติ
๕. วรรณคดี ท ๕.๑ เข้าใจและแสดง ๑. วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี
และ ความคิดเห็นวิจารณ์ และวรรณกรรม
วรรณคดีและ ตามหลักการวิจารณ์เบื้องต้น
วรรณกรรม วรรณกรรมไทยอย่าง ๒. วิเคราะห์ลักษณะเด่นของ
เห็นคุณค่าและนำมา วรรณคดีเชื่อมโยง
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง กับการเรียนรู้ทาง
ประวัติศาสตร์และวิถีชีวิต
ของสังคมในอดีต
๖. ท่องจำและบอกคุณค่าบท
105

อาขยานตามที่
กำหนดและบทร้อยกรองที่มี
คุณค่าตามความ
สนใจและนำไปใช้อ้างอิง

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๑ ท ๓๑๑๐๑ สาระการเรียนรู้ภาษา
ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔
ภาคเรียนที่ ๑ จำนวน ๔๐
ชั่วโมง/ภาคเรียน ๑.๐ หน่วยกิต

ศึกษาการอ่าน การเขียน การฟั ง การดู และการพูด หลัก


การใช้ภาษา วรรณคดีและวรรณกรรม เกี่ยวกับการอ่านออกเสียงบทร้อย
แก้วและบทร้อยกรอง การอ่านจับใจความสำคัญจากสื่อต่างๆ ข่าวสาร
จากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ บทความ นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย
วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีในบทเรียน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี
ปาฐกถา พระบรมราโชวาท เทศนา และมารยาทในการอ่าน การเขียน
สื่อสารในรูปแบบต่างๆ การเขียนเรียงความ และมารยาทในการเขียน
การสรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟั งและดู การเลือกเรื่อง
ที่ฟั งและดูอย่างมีวิจารณญาณ และมารยาทในการฟั ง การดู และการพูด
การอธิบายลักษณะธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของ
ภาษา การแต่งบทร้อยกรอง การวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและ
106

วรรณกรรมเบื้องต้น การวิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับ
การเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต และการท่อง
บทอาขยานที่กำหนด
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษา ฟั ง พูด อ่าน เขียน
เพื่อฝึ กทักษะการอ่านออกเสียง ตีความ แปลความ ขยายความ ใช้ภาษา
ในการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ผลิตงานเขียนรูปแบบต่างๆ
สรุปแนวคิด แสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟั งและดู อธิบายธรรมชาติและ
พลังของภาษา แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์ประเมินการใช้ภาษา
วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องจำและ
บอกคุณค่าของบทอาขยาน
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางภาษาได้
อย่างถูกต้องเหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์ อย่างมีประสิทธิภาพ
อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ อย่างมีเหตุผล มีนิสัยรักการอ่าน มี
มารยาทในการอ่าน เขียน การฟั ง การดู และการพูด เหมาะสมกับ
กาลเทศะ เห็นคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมไทย ตลอดจนรักษา
ภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ เกิดความสามารถในการคิด ความ
สามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการแก้ปั ญหา และความสามารถ
ในการใช้ทักษะชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

รหัสตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๙
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๖
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๔
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖
107

รวมทั้งหมด ๑๔ ตัวชี้วัด

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๑ รหัสวิชา ท ๓๑๑๐๑


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา
๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

หน่ เวลา น้ำหนัก


มาตรฐานการ
วย ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ชั่วโม คะแนน(
เรียนรู้/ตัวชี้วัด
ที่ ง ๑๐๐)
๑ การอ่าน (๘) (๒๐)
๑. การอ่านออกเสียงบท ท๑.๑ ม.๔-๖/๑ ๔
ร้อยแก้วและบทร้อยกรอง
๒. การอ่านจับใจความ ท๑.๑ ม.๔-๖/๒ ๓
สำคัญจากสื่อต่างๆ ท๑.๑ ม.๔-๖/๙ ๑
๓. มารยาทในการอ่าน
๒ การเขียน (๘) (๒๐)
๑. การเขียนสื่อสารในรูปแบบ ท๒.๑ ม.๔-๖/๑ ๕
ต่างๆ ท๒.๑ ม.๔-๖/๒ ๒
๒. การเขียนเรียงความ ท๒.๑ ม.๔-๖/๘ ๑
108

๓. มารยาทในการเขียน
๓ การฟั ง การดู และการ (๘) (๒๐)
พูด ท๓.๑ ม.๔-๖/๑ ๔
๑. การสรุปแนวคิด และ
แสดงความคิดเห็นจากเรื่อง ท๓.๑ ม.๔-๖/๔ ๓
ที่ฟั ง และดู
๒. การเลือกเรื่องที่ดูและ ท๓.๑ ม.๔-๖/๖ ๑
ฟั งอย่างมีวิจารณญาณ
๓. มารยาทในการฟั ง การ
ดู และการพูด
๔ หลักการใช้ภาษาไทย (๘) (๒๐)
๑.ธรรมชาติของภาษา พลัง ท๔.๑ ม.๔-๖/๑ ๕
ของภาษา และลักษณะของ
ภาษา ท๔.๑ ม.๔-๖/๔ ๓
๒.การแต่งบทร้อยกรอง
๕ วรรณคดีและวรรณกรรม (๘) (๒๐)
๑. หลักการวิเคราะห์และ ท๕.๑ ม.๔-๖/๑ ๓
วิจารณ์วรรณคดีและ
วรรณกรรมเบื้องต้น ท๕.๑ ม.๔-๖/๒ ๓
๒. การวิเคราะห์ลักษณะ
เด่นของวรรณคดีเชื่อมโยง
กับการเรียนรู้ทาง ท๕.๑ ม.๔-๖/๖ ๒
ประวัติศาสตร์และวิถีชีวิต
ของสังคมในอดีต
๓. บทอาขยานและบทร้อย
กรองที่มีคุณค่า
109

คะแนนระหว่างภาค ๗๐
ทดสอบปลายภาค ๓๐

สาระการเรียนรู้ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัดรายวิชา

รายวิชา ภาษาไทยพื้นฐาน ๒ รหัสวิชา ท ๓๑๑๐๒


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔
ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาค
เรียน จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

สาระการ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด


เรียนรู้
๑. การอ่าน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและ
อ่านสร้างความรู้และ บทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง
ความคิด เพื่อนำไปใช้ ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องที่
ตัดสินใจแก้ปั ญหาใน อ่าน
การดำเนินชีวิต และมี ๓. วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่
นิสัยรักการอ่าน อ่านในทุกๆ ด้าน
อย่างมีเหตุผล
๔. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่อง
ที่อ่าน และประเมินค่าเพื่อนำ
ความรู้ ความคิดไปใช้ตัดสินใจแก้
ปั ญหาในการดำเนินชีวิต
๙. มีมารยาทในการอ่าน
110

๒. การเขียน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการ ๓. เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูป


เขียน แบบ และเนื้อหา
เขียนสื่อสาร เขียนเรียง หลากหลาย
ความ ย่อความและ ๔. ผลิตงานเขียนของตนเองใน
เขียนเรื่องราวในรูปแบบ รูปแบบต่างๆ
ต่างๆเขียนรายงาน ๘. มีมารยาทในการเขียน
ข้อมูลสารสนเทศและ
รายงานการศึกษา
ค้นคว้าอย่างมี
ประสิทธิภาพ
๓. การฟั ง ท ๓.๑ สามารถเลือก ๓. ประเมินเรื่องที่ฟั งและดู แล้ว
การดู ฟั งและดูอย่าง กำหนดแนวทางนำไปประยุกต์ใช้
และการ มีวิจารณญาณ และพูด ในการดำเนินชีวิต
พูด แสดงความรู้ ความคิด ๖. มีมารยาทในการฟั ง การดู
และความรู้สึกในโอกาส และการพูด
ต่างๆ อย่างมี
วิจารณญาณและ
สร้างสรรค์
๔. หลักการ ท ๔.๑ เข้าใจ ๒. ใช้คำและกลุ่มคำสร้าง
ใช้ ธรรมชาติของภาษาและ ประโยคตรงตามวัตถุประสงค์
ภาษา หลักภาษาไทย การ ๖. อธิบายและวิเคราะห์หลักการ
ไทย เปลี่ยนแปลงของภาษา สร้างคำในภาษาไทย
และพลังของภาษา
ภูมิปั ญญาทางภาษา
และรักษาภาษาไทยไว้
เป็ นสมบัติของชาติ
111

๕. วรรณคดี ท ๕.๑ เข้าใจและแสดง ๔. สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดี


และ ความคิดเห็นวิจารณ์ และวรรณกรรม
วรรณคดีและ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
วรรณกรรม วรรณกรรมไทยอย่าง จริง
เห็นคุณค่าและนำมา ๖. ท่องจำและบอกคุณค่าบท
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง อาขยานตามที่
กำหนดและบทร้อยกรองที่มี
คุณค่าตามความ
สนใจและนำไปใช้อ้างอิง

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๒ ท ๓๑๑๐๒ สาระการเรียนรู้ภาษา
ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔
ภาคเรียนที่ ๒ จำนวน ๔๐
ชั่วโมง/ภาคเรียน ๑.๐ หน่วยกิต

ศึกษาการอ่าน การเขียน การฟั ง การดู และการพูด หลักการใช้ภาษา


วรรณคดีและวรรณกรรม เกี่ยวกับการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบท
ร้อยกรอง การอ่านจับใจความสำคัญจากสื่อต่างๆ ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ บทความ นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย บทร้อยกรองร่วม
สมัย วรรณคดีในบทเรียน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา
พระบรมราโชวาท เทศนา และมารยาทในการอ่าน การเขียนในรูปแบบ
ต่างๆ การเขียนย่อความ และมารยาทในการเขียน การเลือกเรื่องที่ฟั ง
และดูอย่างมีวิจารณญาณ และมารยาทในการฟั ง การดู และการพูด
การใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยค หลักการสร้างคำในภาษาไทย การ
สังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม และการท่องบทอาขยานที่กำหนด
112

โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษา ฟั ง พูด อ่าน เขียน เพื่อฝึ กทักษะ


การอ่านออกเสียง วิเคราะห์และวิจารณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ ประเมินค่า
นำไปใช้ตัดสินใจแก้ปั ญหา เขียนย่อความ ผลิตงานเขียนในรูปแบบต่างๆ
ประเมินเรื่องที่ฟั งและดู ใช้คำและกลุ่มคำสร้างประโยค อธิบายและ
วิเคราะห์หลักการสร้างคำในภาษาไทย สังเคราะห์วรรณคดีและ
วรรณกรรมเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ ท่องจำและบอกคุณค่าของบทอาขยาน
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางภาษาได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์ อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างมี
วิจารณญาณและสร้างสรรค์ อย่างมีเหตุผล มีนิสัยรักการอ่าน มีมารยาท
ในการอ่าน เขียน การฟั ง การดู และการพูด เหมาะสมกับกาลเทศะ
เห็นคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมไทย ตลอดจนรักษาภาษาไทยไว้
เป็ นสมบัติของชาติ เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถในการ
สื่อสาร ความสามารถในการแก้ปั ญหา และความสามารถในการใช้ทักษะ
ชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

รหัสตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๑.๑
ม.๔-๖/๙
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๖
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๖
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖
รวมทั้งหมด ๑๓ ตัวชี้วัด
113

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๒ รหัสวิชา ท ๓๑๑๐๒


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๔ภาคเรียนที่ ๒ เวลา
๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

หน่ เวลา น้ำหนัก


มาตรฐานการ
วย ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ชั่วโม คะแนน(
เรียนรู้/ตัวชี้วัด
ที่ ง ๑๐๐)
๑ การอ่าน (๘) (๒๐)
๑. การอ่านออกเสียงบท ท๑.๑ ม.๔-๖/๑ ๓
ร้อยแก้วและบทร้อยกรอง
๒. การอ่านจับใจความ ท๑.๑ ม.๔-๖/๓ ๒
สำคัญจากสื่อต่างๆ ท๑.๑ ม.๔-๖/๔ ๒
ท๑.๑ ม.๔-๖/๙ ๑
๓. มารยาทในการอ่าน
๒ การเขียน (๘) (๒๐)
๑. การเขียนย่อความ ท๒.๑ ม.๔-๖/๓ ๒
114

๒. การเขียนสื่อสารในรูปแบบ ท๒.๑ ม.๔-๖/๔ ๕


ต่างๆ ท๒.๑ ม.๔-๖/๘ ๑
๓. มารยาทในการเขียน
๓ การฟั ง การดู และการ (๘) (๒๐)
พูด ท๓.๑ ม.๔-๖/๓ ๗
๑. การเลือกเรื่องที่ดูและฟั ง
อย่างมีวิจารณญาณ ท๓.๑ ม.๔-๖/๖ ๑
๒. มารยาทในการฟั ง การ
ดู และการพูด
๔ หลักการใช้ภาษาไทย (๘) (๒๐)
๑. การใช้คำและกลุ่มคำ ท๔.๑ ม.๔-๖/๒ ๔
สร้างประโยค ท๔.๑ ม.๔-๖/๖ ๔
๒. หลักการสร้างคำในภาษา
ไทย
๕ วรรณคดีและวรรณกรรม (๘) (๒๐)
๑. การสังเคราะห์วรรณคดี ท๕.๑ ม.๔-๖/๔ ๖
และวรรณกรรม
๒. บทอาขยานและบทร้อย ท๕.๑ ม.๔-๖/๖ ๒
กรองที่มีคุณค่า
คะแนนระหว่างภาค ๗๐
ทดสอบปลายภาค ๓๐
115

สาระการเรียนรู้ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัดรายวิชา

รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๓ รหัสวิชา ท๓๒๑๐๑


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕
ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

สาระการ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด


เรียนรู้
๑. การอ่าน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและ
อ่านสร้างความรู้และ บทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง
ความคิด เพื่อนำไปใช้ ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องที่
ตัดสินใจแก้ปั ญหาใน อ่าน
การดำเนินชีวิต และมี ๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความ
นิสัยรักการอ่าน คิดเห็นโต้แย้งกับเรื่องที่อ่าน และ
เสนอความคิดใหม่อย่างมีเหตุผล
๖ ตอบคำถามจากการอ่าน
ประเภทต่าง ๆ
ภายในเวลาที่กำหนด
๙. มีมารยาทในการอ่าน
๒. การเขียน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการ ๕ ประเมินงานเขียนของผู้อื่น
เขียน แล้วนำมาพัฒนางานเขียนของ
เขียนสื่อสาร เขียนเรียง ตนเอง
ความ ย่อความและ ๖. เขียนรายงานการศึกษา
เขียนเรื่องราวในรูปแบบ ค้นคว้าเรื่องที่สนใจตาม
116

ต่างๆเขียนรายงาน หลักการเขียนเชิงวิชาการ
ข้อมูลสารสนเทศและ ๘. มีมารยาทในการเขียน
รายงานการศึกษา
ค้นคว้าอย่างมี
ประสิทธิภาพ
๓. การฟั ง ท ๓.๑ สามารถเลือก ๒. วิเคราะห์ แนวคิด การใช้
การดู ฟั งและดูอย่าง ภาษา และความน่าเชื่อถือจาก
และการ มีวิจารณญาณ และพูด เรื่องที่ฟั งและดูอย่างมีเหตุผล
พูด แสดงความรู้ ความคิด ๓. ประเมินเรื่องที่ฟั งและดู แล้ว
และความรู้สึกในโอกาส กำหนดแนวทางนำไปประยุกต์ใช้
ต่างๆ อย่างมี ในการดำเนินชีวิต
วิจารณญาณและ ๖. มีมารยาทในการฟั ง การดู
สร้างสรรค์ และการพูด

๔. หลักการ ท ๔.๑ เข้าใจ ๔. แต่งบทร้อยกรอง


ใช้ ธรรมชาติของภาษาและ ๕. วิเคราะห์อิทธิพลของภาษา
ภาษา หลักภาษาไทย การ ต่างประเทศ
ไทย เปลี่ยนแปลงของภาษา และภาษาถิ่น
และพลังของภาษา
ภูมิปั ญญาทางภาษา
และรักษาภาษาไทยไว้
เป็ นสมบัติของชาติ
๕. วรรณคดี ท ๕.๑ เข้าใจและแสดง ๓. วิเคราะห์และประเมินคุณค่า
และ ความคิดเห็นวิจารณ์ ด้านวรรณศิลป์
วรรณคดีและ ของวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณกรรม วรรณกรรมไทยอย่าง ในฐานะที่เป็ น
117

เห็นคุณค่าและนำมา มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ๖. ท่องจำและบอกคุณค่าบท
อาขยานตามที่
กำหนดและบทร้อยกรองที่มี
คุณค่าตามความ
สนใจและนำไปใช้อ้างอิง

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๓ ท ๓๒๑๐๑ สาระการเรียนรู้ภาษา


ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕
ภาคเรียนที่ ๑ จำนวน ๔๐
ชั่วโมง/ภาคเรียน ๑.๐ หน่วยกิต

ศึกษาการอ่าน การเขียน การฟั ง การดู และการพูด หลักการใช้ภาษา


วรรณคดีและวรรณกรรม เกี่ยวกับการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบท
ร้อยกรอง การอ่านจับใจความสำคัญจากสื่อต่างๆ ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ บทความ นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย วรรณกรรมพื้น
บ้าน วรรณคดีในบทเรียน ร้อยกรองร่วมสมัยบทโฆษณา สารคดี บันเทิง
คดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาท เทศนา และมารยาทในการอ่าน การ
ประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆ การเขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า
และมารยาทในการเขียน การวิเคราะห์แนวคิดการใช้ภาษา การเลือก
เรื่องที่ฟั งและดูอย่างมีวิจารณญาณ และมารยาทในการฟั ง การดู และ
การพูด การแต่งบทร้อยกรอง การวิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
118

และภาษาถิ่น การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของ


วรรณคดีและวรรณกรรม และการท่องบทอาขยานที่กำหนด
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษา ฟั ง พูด อ่าน เขียน เพื่อฝึ กทักษะ
การอ่านออกเสียง วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง เสนอ
ความคิดใหม่ ตอบคำถามจากการอ่าน ประเมินงานเขียนของผู้อื่นแล้วนำ
มาพัฒนางานเขียนของตนเอง เขียนรายงาน เขียนเชิงวิชาการ ใช้ข้อมูล
อ้างอิง วิเคราะห์การใช้ภาษา ประเมินเรื่องที่ฟั งและดูและนำไปประยุกต์
ใช้ แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษา
ถิ่น วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและ
วรรณกรรม ท่องจำและบอกคุณค่าของบทอาขยาน
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางภาษาได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
อย่างมีเหตุผล อย่างมีประสิทธิภาพ ในเวลาที่กำหนด มีนิสัยรักการอ่าน
มีมารยาทในการอ่าน เขียน การฟั ง การดู และการพูด เหมาะสมกับ
กาลเทศะ เห็นคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมไทย ตลอดจนรักษา
ภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ เกิดความสามารถในการคิด ความ
สามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการแก้ปั ญหา และความสามารถ
ในการใช้ทักษะชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

รหัสตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๖, ท ๑.๑
ม.๔-๖/๙
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๖, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๖
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๕
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖
119

รวมทั้งหมด ๑๔ ตัวชี้วัด

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๓ รหัสวิชา ท ๓๒๑๐๑


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕
ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาค
เรียน จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

หน่ เวลา น้ำหนัก


มาตรฐานการ
วย ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ชั่วโม คะแนน(
เรียนรู้/ตัวชี้วัด
ที่ ง ๑๐๐)
๑ การอ่าน (๘) (๒๐)
๑. การอ่านออกเสียงบท ท๑.๑ ม.๔-๖/๑ ๓
ร้อยแก้วและบทร้อยกรอง
๒. การอ่านจับใจความจากสื่อ ท๑.๑ ม.๔-๖/๕ ๒
ต่างๆ ท๑.๑ ม.๔-๖/๖ ๒
ท๑.๑ ม.๔-๖/๙ ๑
๓. มารยาทในการอ่าน
๒ การเขียน (๘) (๒๐)
๑. การประเมินคุณค่างาน ท๒.๑ ม.๔-๖/๕ ๓
120

เขียนในด้านต่างๆ ท๒.๑ ม.๔-๖/๖ ๔


๒. การเขียนรายงานการ ท๒.๑ ม.๔-๖/๘ ๑
ศึกษาค้นคว้า
๓. มารยาทในการเขียน
๓ การฟั ง การดู และการ (๘) (๒๐)
พูด ท๓.๑ ม.๔-๖/๒ ๔
๑. การวิเคราะห์ แนวคิด
การใช้ภาษาและความน่า ท๓.๑ ม.๔-๖/๓ ๓
เชื่อถือจากเรื่องที่ฟั งและดู
๒. การเลือกเรื่องที่ดูและฟั ง ท๓.๑ ม.๔-๖/๖ ๑
อย่างมีวิจารณญาณ
๓. มารยาทในการฟั ง การ
ดู และการพูด
๔ หลักการใช้ภาษาไทย (๘) (๒๐)
๑. การแต่งบทร้อยกรอง ท๔.๑ ม.๔-๖/๔ ๔
๒. อิทธิพลของภาษาต่าง ท๔.๑ ม.๔-๖/๕ ๔
ประเทศและภาษาถิ่น
๕ วรรณคดีและวรรณกรรม (๘) (๒๐)
๑. การวิเคราะห์และ ท๕.๑ ม.๔-๖/๓ ๖
ประเมินคุณค่าด้าน
วรรณศิลป์ ของวรรณคดีและ ท๕.๑ ม.๔-๖/๖ ๒
วรรณกรรม
๒. บทอาขยานและบทร้อย
กรองที่มีคุณค่า
คะแนนระหว่างภาค ๗๐
ทดสอบปลายภาค ๓๐
121

สาระการเรียนรู้ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัดรายวิชา

รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๔ รหัสวิชา ท๓๒๑๐๒


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕
ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

สาระการ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด


เรียนรู้
๑. การอ่าน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและ
อ่านสร้างความรู้และ บทร้อยกรองได้
ความคิด เพื่อนำไปใช้ อย่างถูกต้อง ไพเราะ และ
ตัดสินใจแก้ปั ญหาใน เหมาะสมกับเรื่องที่
การดำเนินชีวิต และมี อ่าน
นิสัยรักการอ่าน ๗. อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียน
กรอบแนวคิดผังความคิด บันทึก
ย่อความ และรายงาน
๘. สังเคราะห์ความรู้จากการอ่าน
สื่อสิ่งพิมพ์
สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียน
รู้ต่างๆ มาพัฒนา
ตน พัฒนาการเรียน และพัฒนา
122

ความรู้ทางอาชีพ๙. มีมารยาท
ในการอ่าน
๒. การเขียน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการ ๗ เขียนวิเคราะห์วิจารณ์ และ
เขียน แสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือ
เขียนสื่อสาร เขียนเรียง โต้แย้งในเรื่องที่อ่านอย่างมี
ความ ย่อความและ เหตุผล
เขียนเรื่องราวในรูปแบบ ๘. มีมารยาทในการเขียน
ต่างๆเขียนรายงาน
ข้อมูลสารสนเทศและ
รายงานการศึกษา
ค้นคว้าอย่างมี
ประสิทธิภาพ
๓. การฟั ง ท ๓.๑ สามารถเลือก ๔. มีวิจารณญาณในการเลือก
การดู ฟั งและดูอย่าง เรื่องที่ฟั งและดู
และการพูด มีวิจารณญาณ และพูด ๕. พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดง
แสดงความรู้ ความคิด ทรรศนะ โต้แย้ง โน้มน้าวใจ
และความรู้สึกในโอกาส และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษา
ต่างๆ อย่างมี ถูกต้องเหมาะสม
วิจารณญาณและ ๖. มีมารยาทในการฟั ง การดู
สร้างสรรค์ และการพูด
๔. หลักการ ท ๔.๑ เข้าใจ ๓. ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส
ใช้ ภาษา ธรรมชาติของภาษาและ กาลเทศะ และบุคคลรวมทั้งคำ
ไทย หลักภาษาไทย การ ราชาศัพท์อย่างเหมาะสม
เปลี่ยนแปลงของภาษา ๗. วิเคราะห์และประเมินค่าการ
และพลังของภาษา ใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อ
ภูมิปั ญญาทางภาษา อิเล็กทรอนิกส์
123

และรักษาภาษาไทยไว้
เป็ นสมบัติของชาติ
๕. วรรณคดี ท ๕.๑ เข้าใจและแสดง ๔. สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดี
และ ความคิดเห็นวิจารณ์ และวรรณกรรม
วรรณคดีและ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
วรรณกรรม วรรณกรรมไทยอย่าง จริง
เห็นคุณค่าและนำมา ๕. รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน
ประยุกต์ใช้ และอธิบาย
ในชีวิตจริง ภูมิปั ญญาทางภาษา
๖. ท่องจำและบอกคุณค่าบท
อาขยานตามที่
กำหนดและบทร้อยกรองที่มี
คุณค่าตามความ
สนใจและนำไปใช้อ้างอิง

คำอธิบายรายวิชา
รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๔ ท ๓๒๑๐๒ สาระการเรียนรู้ภาษา
ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕
ภาคเรียนที่ ๒ จำนวน ๔๐
ชั่วโมง/ภาคเรียน ๑.๐ หน่วยกิต

ศึกษาการอ่าน การเขียน การฟั ง การดู และการพูด หลักการใช้ภาษา


วรรณคดีและวรรณกรรม เกี่ยวกับการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบท
ร้อยกรอง การอ่านจับใจความสำคัญจากสื่อต่างๆ ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ บทความ นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย วรรณกรรมพื้น
124

บ้าน วรรณคดีในบทเรียน บทโฆษณา สารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา


พระบรมราโชวาท เทศนา และมารยาทในการอ่าน การเขียนวิเคราะห์
วิจารณ์และแสดงความรู้ ความคิดเห็นหรือโต้แย้งจากสื่อต่างๆ และ
มารยาทในการเขียน การเลือกเรื่องที่ฟั งและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูด
ในโอกาสต่างๆ และมารยาทในการฟั ง การดู และการพูด ระดับของ
ภาษา คำราชาศัพท์ การวิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์
และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณกรรมพื้นบ้าน และการท่องบทอาขยานที่กำหนด
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภาษา ฟั ง พูด อ่าน เขียน เพื่อฝึ กทักษะ
การอ่านออกเสียง อ่านเรื่องต่างๆ เขียนกรอบแนวคิด บันทึก ย่อความ
รายงาน สังเคราะห์ พัฒนาตน พัฒนาการเรียน พัฒนาความรู้ เขียน
วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความรู้ ความคิดเห็น โต้แย้ง เลือกฟั งและดู
พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะ พูดโน้มน้าวใจ เสนอแนวคิดใหม่
วิเคราะห์ประเมินการใช้ภาษา รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านและอธิบาย
ภูมิปั ญญาทางภาษาสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อนำไปประยุกต์
ใช้ ท่องจำและบอกคุณค่าของบทอาขยาน
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการทางภาษาได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
อย่างมีเหตุผล อย่างมีประสิทธิภาพ มีนิสัยรักการอ่าน มีมารยาทในการ
อ่าน เขียน การฟั ง การดู และการพูด เหมาะสมกับกาลเทศะ เห็น
คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมไทย ตลอดจนรักษาภาษาไทยไว้เป็ น
สมบัติของชาติ เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการแก้ปั ญหา และความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตได้
อย่างมีประสิทธิภาพ

รหัสตัวชี้วัด
125

ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๗, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๘, ท ๑.๑


ม.๔-๖/๙
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๗, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๘
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๗
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖

รวมทั้งหมด ๑๔ ตัวชี้วัด

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๔ รหัสวิชา ท๓๒๑๐๒


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๕
ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาค
เรียน จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

หน่ เวลา น้ำหนัก


มาตรฐานการ
วย ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ชั่วโม คะแนน(
เรียนรู้/ตัวชี้วัด
ที่ ง ๑๐๐)
๑ การอ่าน (๘) (๒๐)
๑. การอ่านออกเสียงบท ท๑.๑ ม.๔-๖/๑ ๓
126

ร้อยแก้วและบทร้อยกรอง
๒. การอ่านจับใจความจากสื่อ ท๑.๑ ม.๔-๖/๗ ๒
ต่างๆ ท๑.๑ ม.๔-๖/๘ ๒
ท๑.๑ ม.๔-๖/๙ ๑
๓. มารยาทในการอ่าน
๒ การเขียน (๘) (๒๐)
๑. การเขียนวิเคราะห์ ท๒.๑ ม.๔-๖/๗ ๗
วิจารณ์และแสดงความรู้
ความคิดเห็นหรือโต้แย้งจาก
สื่อ
ต่างๆ ท๒.๑ ม.๔-๖/๘ ๑
๒. มารยาทในการเขียน
๓ การฟั ง การดู และการ (๘) (๒๐)
พูด ท๓.๑ ม.๔-๖/๔ ๔
๑. การเลือกเรื่องที่ดูและฟั ง
อย่างมีวิจารณญาณ ท๓.๑ ม.๔-๖/๕ ๓
๒. การพูดในโอกาสต่างๆ ท๓.๑ ม.๔-๖/๖ ๑
๓. มารยาทในการฟั ง การ
ดู และการพูด
๔ หลักการใช้ภาษาไทย (๘) (๒๐)
๑. ระดับของภาษา คำ ท๔.๑ ม.๔-๖/๓ ๔
ราชาศัพท์ ท๔.๑ ม.๔-๖/๗ ๔
๒. การวิเคราะห์และ
ประเมินการใช้ภาษา
จากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
127

๕ วรรณคดีและวรรณกรรม (๘) (๒๐)


๑. การสังเคราะห์วรรณคดี ท๕.๑ ม.๔-๖/๔ ๔
และวรรณกรรม
๒. วรรณกรรมพื้นบ้าน ท๕.๑ ม.๔-๖/๕ ๓
๓. บทอาขยานและบทร้อย ท๕.๑ ม.๔-๖/๖ ๑
กรองที่มีคุณค่า
คะแนนระหว่างภาค ๗๐
ทดสอบปลายภาค ๓๐

สาระการเรียนรู้ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัดรายวิชา

รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๕ รหัสวิชา ท๓๓๑๐๑


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

สาระการเรียน มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด


รู้
๑. การอ่าน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการ ๒. ตีความ แปลความ และขยาย
อ่านสร้างความรู้และความ ความเรื่องที่อ่าน
คิด เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ ๓. วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่อ่าน
แก้ปั ญหาในการดำเนิน ในทุกๆ ด้าน
ชีวิต และมีนิสัยรักการ อย่างมีเหตุผล
อ่าน ๙. มีมารยาทในการอ่าน
128

๒. การเขียน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการ ๔. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูป


เขียน แบบต่างๆ
เขียนสื่อสาร เขียนเรียง ๕. ประเมินงานเขียนของผู้อื่น แล้ว
ความ ย่อความ นำมาพัฒนางาน
และเขียนเรื่องราวในรูป เขียนของตนเอง
แบบต่างๆ ๘. มีมารยาทในการเขียน
เขียนรายงานข้อมูล
สารสนเทศและ
รายงานการศึกษาค้นคว้า
อย่างมี
ประสิทธิภาพ
๓. การฟั ง ท ๓.๑ สามารถเลือกฟั ง ๓. ประเมินเรื่องที่ฟั งและดู แล้ว
การดู และดูอย่าง กำหนดแนวทางนำไป
และการ มีวิจารณญาณ และพูด ประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
พูด แสดงความรู้ ความคิด และ ๕. พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดง
ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ ทรรศนะ โต้แย้ง
อย่างมีวิจารณญาณและ โน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิด
สร้างสรรค์ ใหม่ด้วยภาษา
ถูกต้องเหมาะสม
๖. มีมารยาทในการฟั ง การดู และ
การพูด
๔. หลักการใช้ ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติ ๑. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลัง
ภาษา ของภาษาและหลักภาษา ของภาษา และ
ไทย ไทย การเปลี่ยนแปลงของ ลักษณะของภาษา
ภาษาและพลังของภาษา ๔. แต่งบทร้อยกรอง
ภูมิปั ญญาทางภาษา และ ๖. อธิบายและวิเคราะห์หลักการ
129

รักษาภาษาไทยไว้เป็ น สร้างคำในภาษาไทย
สมบัติของชาติ
๕. วรรณคดี ท ๕.๑ เข้าใจและแสดง ๓. วิเคราะห์และประเมินคุณค่า
และ ความคิดเห็น ด้านวรรณศิลป์
วิจารณ์วรรณคดีและ ของวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณกรรม วรรณกรรมไทย ในฐานะที่เป็ น
อย่างเห็นคุณค่าและนำมา มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
ประยุกต์ใช้ใน ๔. สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดี
ชีวิตจริง และวรรณกรรม
เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
จริง
๖. ท่องจำและบอกคุณค่าบท
อาขยานตามที่
กำหนดและบทร้อยกรองที่มี
คุณค่าตามความ
สนใจและนำไปใช้อ้างอิง

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๕ รหัสวิชา ท๓๓๑๐๑


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต
130

การอ่านวรรณคดี วรรณกรรม ตีความแปลความและขยาย


ความเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผล การอ่าน
หนังสือตามความสนใจ การเขียนในรูปแบบต่าง ๆ การประเมินคุณค่า
งานเขียนในด้านต่าง ๆ การวิเคราะห์แนวคิด การใช้ภาษา และความน่า
เชื่อถือ การประเมินจากเรื่องที่ฟั งและดู การพูดในโอกาสต่าง ๆ
ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา การแต่งบท
ร้อยกรองประเภทฉันท์ การอธิบายและวิเคราะห์การสร้างคำในภาษาไทย
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม พื้นบ้าน บท
อาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
ฝึ กทักษะทางภาษาโดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน
กระบวนการคิด กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการปฏิบัติ และ
กระบวนการเรียนรู้บูรณาการโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อให้สามารถใช้ถ้อยคำได้ถูกต้องชัดเจน เหมาะสม ไพเราะและ
สละสลวย ระบุสาระสำคัญ สรุปเนื้อหา ความรู้ ระบุเหตุและผล ผลิต
งานเขียนของตนเองได้อย่างสร้างสรรค์ แสดงทรรศนะ วิพากษ์ สรุป
วิเคราะห์และประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดี และวรรณกรรม
ภูมิปั ญญาทางภาษาในฐานะที่เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ สังเคราะห์
ข้อคิดจากการอ่านงานเขียนเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ แก้ปั ญหาในชีวิต
ตระหนักและเห็นคุณค่าความเป็ นไทย และมีมารยาทในการอ่าน การเขียน
การฟั ง การดูและการพูด

รหัสตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๙
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๖
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๖
131

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖


รวมทั้งหมด ๑๕ ตัวชี้วัด

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๕ รหัสวิชา ท๓๓๑๐๑


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

หน่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เวลา น้ำหนัก


วย เรียนรู้/ตัวชี้วัด ชั่วโมง คะแนน(
132

ที่ ๑๐๐)
๑ การอ่าน (๑๐) (๓๐)
๑.๒ การอ่านตีความ แปล ท๑.๑ ม.๔-๖/๒ ๕
ความ และขยายความ
๑.๓ การอ่านอย่างมี ท๑.๑ ม.๔-๖/๓ ๔
วิจารณญาณ ท๑.๑ ม.๔-๖/๙ ๑
๑.๙ มารยาทในการอ่าน
๒ การเขียน (๗) (๒๐)
๒.๑ การเขียนบรรยาย ท๒.๑ ม.๔-๖/๔ ๒
และพรรณนา ท๒.๑ ม.๔-๖/๔ ๒
๒.๕ การเขียนสารคดี ท๒.๑ ม.๔-๖/๕ ๒
๒.๖ การประเมินคุณค่า ท๒.๑ ม.๔-๖/๘ ๑
งานเขียน
๒.๗ มารยาทการเขียน
๓ การฟั ง การดู และการ (๖) (๑๐)
พูด ท๓.๑ ม.๔-๖/๓ ๓
๓.๓ การประเมินเรื่องที่ฟั ง ท๓.๑ ม.๔-๖/๕ ๒
และดู ท๓.๑ ม.๔-๖/๖ ๑
๓.๕ การพูดโน้มน้าวใจ
๓.๖ หลักเกณฑ์และ
มารยาท
ในการเลือกฟั งและดูสื่อ
ต่าง ๆ
๔ หลักการใช้ภาษาไทย (๑๐) (๒๕)
๔.๑ ลักษณะของภาษา ท๔.๑ ม.๔-๖/๑ ๖
๔.๔ แต่งบทร้อย ท๔.๑ ม.๔-๖/๔ ๑
133

กรอง(ฉันท์) ท๔.๑ ม.๔-๖/๖ ๓


๔.๕ หลักการสร้างคำใน
ภาษาไทย
๕ วรรณคดีและวรรณกรรม (๗) (๑๕)
๕.๓ วิเคราะห์และประเมิน ท๕.๑ ม.๔-๖/๓ ๒
ค่าวรรณคดี
และวรรณกรรม ท๕.๑ ม.๔-๖/๔ ๒
๕.๔ การสังเคราะห์
วรรณคดีและ ท๕.๑ ม.๔-๖/๖ ๑
วรรณกรรม
๕.๖ ท่องจำและบอกคุณค่า
บทอาขยาน
คะแนนระหว่างภาค ๗๐
ทดสอบปลายภาค ๓๐

สาระการเรียนรู้ / มาตรฐาน / ตัวชี้วัดรายวิชา

รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๖ รหัสวิชา ท๓๓๑๐๒


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาค
เรียน จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

สาระการเรียน มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด


134

รู้
๑. การอ่าน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการ ๔. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่
อ่านสร้างความรู้และความ อ่าน และประเมินค่า
คิด เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ เพื่อนำความรู้ ความคิดไปใช้
แก้ปั ญหาในการดำเนิน ตัดสินใจแก้ปั ญหาใน
ชีวิต และมีนิสัยรักการ การดำเนินชีวิต
อ่าน ๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิด
เห็นโต้แย้งกับเรื่อง
ที่อ่าน และเสนอความคิดใหม่
อย่างมีเหตุผล
๙. มีมารยาทในการอ่าน
๒. การเขียน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการ ๖. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า
เขียน เรื่องที่สนใจตาม
เขียนสื่อสาร เขียนเรียง หลักการเขียนเชิงวิชาการและใช้
ความ ย่อความ ข้อมูลสารสนเทศ
และเขียนเรื่องราวในรูป อ้างอิงอย่างถูกต้อง
แบบต่าง ๆ ๗. บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพื่อนำไป
เขียนรายงานข้อมูล พัฒนาตนเอง
สารสนเทศและ อย่างสม่ำเสมอ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ๘. มีมารยาทในการเขียน
อย่างมี
ประสิทธิภาพ
๓. การฟั ง ท ๓.๑ สามารถเลือกฟั ง ๒. วิเคราะห์ แนวคิด การใช้ภาษา
การดู และดูอย่าง และความน่าเชื่อถือ
และการ มีวิจารณญาณ และพูด จากเรื่องที่ฟั งและดูอย่างมี
พูด แสดงความรู้ ความคิด และ เหตุผล
135

ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ ๔. มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่
อย่างมีวิจารณญาณและ ฟั งและดู
สร้างสรรค์ ๖. มีมารยาทในการฟั ง การดู และ
การพูด
๔. หลักการใช้ ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติ ๓. ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส
ภาษา ของภาษาและหลักภาษา กาลเทศะ และบุคคล
ไทย ไทย การเปลี่ยนแปลงของ รวมทั้งคำราชาศัพท์อย่างเหมาะ
ภาษาและพลังของภาษา สม
ภูมิปั ญญาทางภาษา และ ๔. แต่งบทร้อยกรอง
รักษาภาษาไทยไว้เป็ น ๗. วิเคราะห์และประเมินการใช้
สมบัติของชาติ ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์
และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
๕. วรรณคดี ท ๕.๑ เข้าใจและแสดง ๔. สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดี
และ ความคิดเห็น และวรรณกรรม
วิจารณ์วรรณคดีและ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
วรรณกรรม วรรณกรรมไทย จริง
อย่างเห็นคุณค่าและนำมา ๕. รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน
ประยุกต์ใช้ใน และอธิบาย
ชีวิตจริง ภูมิปั ญญาทางภาษา
๖. ท่องจำและบอกคุณค่าบท
อาขยานตามที่
กำหนดและบทร้อยกรองที่มี
คุณค่าตามความ
สนใจและนำไปใช้อ้างอิง
136

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๖ รหัสวิชา ท๓๓๑๐๒


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

การอ่านวรรณคดี วรรณกรรม อ่านคาดคะเนเหตุการณ์จาก


เรื่องที่อ่าน การอ่านหนังสือตามความสนใจ การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
การบันทึกการศึกษาค้นคว้า การวิเคราะห์แนวคิดและความน่าเชื่อถือจาก
เรื่องที่ฟั งและดู ระดับภาษา การใช้ภาษา ความน่าเชื่อถือจากสื่อสิ่งพิมพ์
และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การแต่งบทร้อยกรองประเภทร่าย การประเมิน
คุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม
บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
ฝึ กทักษะทางภาษาโดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน
กระบวนการคิด กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการปฏิบัติ และ
กระบวนการเรียนรู้บูรณาการโดยยึดหลักปรัญชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อให้สามารถใช้ถ้อยคำได้ถูกต้องชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย
ระบุสาระสำคัญ สรุปเนื้อหา ความรู้ ระบุเหตุและผล ผลิตงานเขียนของ
ตนเองได้อย่างสร้างสรรค์ พูดโน้มน้าวใจ สรุป วิเคราะห์และประเมิน
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ของวรรณคดี และวรรณกรรม ในฐานะที่เป็ นมรดก
ทางวัฒนธรรมของชาติ สังเคราะห์ข้อคิดจากการอ่านงานเขียนเพื่อนำไป
137

ประยุกต์ใช้ แก้ปั ญหาในชีวิต ตระหนักและเห็นคุณค่าความเป็ นไทย และ


มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟั ง การดูและการพูด

รหัสตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๑.๑ ม.๔-๖/๙
ท ๒.๑ ม.๔-๖/๖, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๗, ท ๒.๑ ม.๔-๖/๘
ท ๓.๑ ม.๔-๖/๒, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๓.๑ ม.๔-๖/๖
ท ๔.๑ ม.๔-๖/๓, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๔.๑ ม.๔-๖/๗
ท ๕.๑ ม.๔-๖/๔, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๕, ท ๕.๑ ม.๔-๖/๖
รวมทั้งหมด ๑๕ ตัวชี้วัด

โครงสร้างรายวิชา
138

รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ๖ รหัสวิชา ท๓๒๑๐๒


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖
ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

หน่ เวลา น้ำหนัก


มาตรฐานการ
วย ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ชั่วโม คะแนน(
เรียนรู้/ตัวชี้วัด
ที่ ง ๑๐๐)
๑ การอ่าน (๑๐) (๒๕)
๑.๔. ภาษากับความคิด ท๑.๑ ม.๔-๖/๔ ๕
๑.๕. การวิเคราะห์ วิจารณ์ ท๑.๑ ม.๔-๖/๕ ๔
แสดงความคิดเห็นโต้แย้งกับ
เรื่องที่อ่าน ท๑.๑ ม.๔-๖/๙ ๑
๑.๙. มีมารยาทในการอ่าน
๒ การเขียน (๖) (๒๐)
๒.๖ การเขียนรายงานเชิง ท๒.๑ ม.๔-๖/๖ ๓
วิชาการ ท๒.๑ ม.๔-๖/๗ ๒
๒.๗ การเขียนบทความ ท๒.๑ ม.๔-๖/๘ ๑
๒.๔ มารยาทในการเขียน
๓ การฟั ง การดู และการพูด (๕) (๑๐)
๓.๒ การวิเคราะห์แนวคิดจาก ท๓.๑ ม.๔-๖/๒ ๒
เรื่องที่ฟั งและดู ท๓.๑ ม.๔-๖/๔ ๒
๓.๔ การฟั งและดูอย่างมี ท๓.๑ ม.๔-๖/๖ ๑
วิจารณญาณ
๓.๖ มารยาทในการฟั ง การดู
และการพูด
139

๔ หลักการใช้ภาษาไทย (๘) (๒๐)


๔.๓ การใช้คำราชาศัพท์ตาม ท๔.๑ ม.๔-๖/๓ ๓
ระดับและ
ฐานะของบุคคล ท๔.๑ ม.๔-๖/๔ ๒
๔.๔ แต่งบทร้อยกรอง ท๔.๑ ม.๔-๖/๗ ๓
ประเภทร่าย
๔.๗ การใช้ภาษาของสื่อสิ่ง
พิมพ์และ
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
๕ วรรณคดีและวรรณกรรม (๘) (๒๕)
๕.๔. สังเคราะห์ข้อคิดจาก ท๕.๑ ม.๔-๖/๔ ๔
วรรณคดีและวรรณกรรม
๕.๕ รวบรวมวรรณกรรมพื้น ท๕.๑ ม.๔-๖/๕ ๓
บ้านและอธิบาย ภูมิปั ญญา
ทางภาษา ท๕.๑ ม.๔-๖/๖ ๑
๕.๖ ท่องจำและบอกคุณค่าบท
อาขยาน
คะแนนระหว่างภาค ๗๐
ทดสอบปลายภาค ๓๐

You might also like