You are on page 1of 45

1

การบริหารงานวิชาการ
อาจารย์ ดร.ทัสนี วงศ์ ยนื

เค้ าโครงเนือ้ หา
ตอนที่ 4.1 ความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการบริ หารงานวิชาการ
4.1.1 ความหมาย ความสาคัญ และขอบข่ายการบริ หารงานวิชาการ
4.1.2 แนวคิด และหลักการบริ หารงานวิชาการ
4.1.3 กระบวนการและเทคนิคการบริ หารงานวิชาการตามแนวคิดการบริ หารโดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐาน
และการบริ หารแบบมีส่วนร่ วม
4.1.4 สิ่ งที่ควรคานึงถึงในการบริ หารงานวิชาการ
ตอนที่ 4.2 กระบวนการบริ หารงานวิชาการ
4.2.1 การวางแผนการบริ หารงานวิชาการ
4.2.2 ยุทธศาสตร์ การนาแผนการบริ หารงานวิชาการสู่ การปฏิบตั ิ
4.2.3 การนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการบริ หารงานวิชาการ
ตอนที่ 4.3 บทบาทผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในการบริ หารงานวิชาการ
4.3.1 บทบาทการพัฒนาความเป็ นผูน้ าทางวิชาการ
4.3.2 บทบาทการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการบริ หารงานวิชาการ
4.3.3 บทบาทการพัฒนาสถานศึกษาด้านวิชาการ
แนวคิด
1. การบริ หารงานวิชาการเป็ นงานหลักของสถานศึกษามีขอบข่ายกว้างขวาง มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานทุกด้านของ
สถานศึกษา ทั้งทางตรงและทางอ้อม การทาความเข้าใจเพื่อสร้างจุดมุ่งหมายร่ วมกันของบุคลากรในสถานศึกษา จึง
เป็ นความสาคัญอันดับแรกของการบริ หารงานวิชาการ
2. การบริ หารงานวิชาการ ต้องตระหนักในความสาคัญและสาระของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรฐาน
2

การศึกษาของชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) และแผนการศึกษาแห่งชาติ


ฉบับปรับปรุ ง (พ.ศ. 2552-2559)
3. กระบวนการบริ หารงานวิชาการ ประกอบด้วย การวางแผนการบริ หารงาน การกาหนดยุทธศาสตร์ การนา
แผนการบริ หารงานวิชาการสู่ การปฏิบตั ิ การนิเทศ ติดตาม ประเมินผลงานวิชาการ
4. ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในฐานะผูน้ าทางวิชาการ มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาความเป็ นผูน้ าทางวิชาการ บทบาทการ
ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการบริ หารงานวิชาการ และบทบาทการพัฒนาสถานศึกษาด้านวิชาการ

วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาหน่วยที่ 4 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. สรุ ปแนวคิดพื้นฐาน ขอบข่ายงานวิชาการ ความสาคัญ และสิ่ งที่ควรคานึงถึงในการบริ หารงานวิชาการใน
สถานศึกษาได้
2. อธิ บายกระบวนการบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษา และบอกจุดอ่อนของการบริ หารงานวิชาการใน
สถานศึกษาของตนเองได้
3. วิเคราะห์สรุ ปบทบาทสาคัญของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในฐานะผูน้ าทางวิชาการได้

ตอนที่ 4.1
แนวคิดพืน้ ฐานเกีย่ วกับการบริหารงานวิชาการ
หัวเรื่อง
เรื่ องที่ 4.1.1 ความหมาย ความสาคัญ และขอบข่ายการบริ หารงานวิชาการ
เรื่ องที่ 4.1.2 แนวคิดและหลักการบริ หารงานวิชาการ
เรื่ องที่ 4.1.3 กระบวนการ และเทคนิคการบริ หารงานวิชาการตามแนวคิดการบริ หารโดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐาน
และการบริ หารแบบมีส่วนร่ วม
เรื่ องที่ 4.1.4 สิ่ งที่ควรคานึงถึงในการบริ หารงานวิชาการ
3

แนวคิด
1. การบริ หารงานวิชาการเป็ นการบริ หารเป็ นงานที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทุกชนิดในสถานศึกษาโดยเฉพาะเกี่ยวกับการ
ปรับปรุ งคุณภาพการเรี ยนการสอนให้ได้ผลดีและมีประสิ ทธิ ภาพ เกิดประโยชน์สูงสุ ดกับผูเ้ รี ยน
2. ขอบข่ายของงานวิชาการ ประกอบด้วยงานหลักสู ตร งานจัดการเรี ยนการสอน งานประเมินผลการเรี ยน งานการ
บริ หารการนิเทศภายในสถานศึกษา งานการพัฒนา บุคลากรทางวิชาการ งานการวิจยั และพัฒนา งานการบริ หาร
โครงการทางวิชาการอื่นๆ
3. ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาต้องเป็ นผูน้ าทางวิชาการ การบริ หารงานวิชาการจะประสบผลสาเร็ จอย่างมีประสิ ทธิ ภาพได้
ขึ้นอยูก่ บั ความสามารถเฉพาะตน ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่รับผิดชอบ ความมุ่งมัน่ ที่จะพัฒนาตนเองให้มี
ความก้าวหน้าในสายวิชาชีพผูบ้ ริ หารและคุณลักษณะพื้นฐาน เช่น ความขยัน ความอดทน ความประหยัด ความ
ซื่อสัตย์ ความสามัคคี พร้อมที่จะทางานร่ วมกันเป็ นทีม เห็นกับประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน เป็ น
ต้น
4. การบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษา จะต้องสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในเรื่ องของหลักการบริ หารแบบมีส่วนร่ วม การสร้างทีมงานที่มีประสิ ทธิภาพ
และการเปลี่ยนภาพลักษณ์ของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา

วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาตอนที่ 4.1 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายความหมาย ความสาคัญของการบริ หารงานวิชาการได้
2. ระบุขอบข่ายของการบริ หารงานวิชาการได้
3. ระบุคุณลักษณะความเป็ นผูน้ าทางวิชาการของผูบ้ ริ หารพร้อมยกกรณี ตวั อย่างที่เห็นชัดเจนได้
4. อธิบายกระบวนการและเทคนิคการบริ หารงานวิชาการ ตามแนวคิดการบริ หารโดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐาน และ
การบริ หารแบบมีส่วนร่ วมได้

เรื่องที่ 4.1.1 ความหมาย ความสาคัญ และขอบข่ ายการบริหารงานวิชาการ

สถานศึกษา คือ แหล่งเรี ยนรู ้ที่สาคัญที่สุดของการจัดการศึกษา ซึ่ งมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนตั้งแต่วยั 4–
22 ปี คือ ตั้งแต่ระดับอนุบาลศึกษา ไปจนถึงระดับอุดมศึกษา การศึกษาหรื อการเรี ยนรู ้ จึงมีความผูกพันกับสถานศึกษา เมื่อพูด
4

ถึงการศึกษาก็จะต้องคิดถึงสถานศึกษา และเมื่อจะเปรี ยบเทียบสถานศึกษาด้านคุณภาพและมาตรฐาน ก็มกั จะเปรี ยบเทียบกันใน


เรื่ องของงานวิชาการ ดังนั้น การบริ หารสถานศึกษาและการบริ หารงานวิชาการจึงเป็ นเรื่ องที่ตอ้ งพูดถึงเกี่ยวพันกันไปไม่มีที่
สิ้ นสุ ดโดยงานวิชาการ เป็ นงานหลักที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทุกชนิ ดในสถานศึกษา โดยเฉพาะเกี่ยวกับการปรับปรุ งคุณภาพการ
เรี ยนการสอนให้ได้ผลดี และมีประสิ ทธิภาพ มีความสาคัญต่อการพัฒนาผูเ้ รี ยนด้านความรู ้ ความสามารถและทักษะเพื่อให้
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของการเรี ยนการสอน
1. ความหมายของการบริหารงานวิชาการ
การบริ หารงานวิชาการมีผใู้ ห้ความหมายไว้ ดังนี้
กิติมา ปรี ดีดิลก (2532: 74) กล่าวว่า การบริ หารงานวิชาการเป็ นงานที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทุกชนิดในสถานศึกษา
หรื อโรงเรี ยนเพื่อดาเนินการและพัฒนาการเรี ยนการสอนให้ได้ผลดี และมีประสิ ทธิภาพมากที่สุด
ปรี ยาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2535: 16) ให้ความหมาย การบริ หารงานวิชาการหมายถึง การบริ หารสถานศึกษาโดยมี
การจัดกิจกรรมทุกสิ่ งทุกอย่างที่เกี่ยวกับการปรับปรุ งพัฒนาการเรี ยนการสอนให้ได้ผลดีและมีประสิ ทธิ ภาพให้เกิดประโยชน์
สู งสุ ด
อาภา บุญช่วย (2537: 2) กล่าวว่าการบริ หารงานวิชาการ หมายถึง การบริ หารกิจการทุกชนิดในโรงเรี ยนที่เกี่ยวข้อง
กับการปรับปรุ งพัฒนาการเรี ยนการสอนให้ได้ผลดีมีประสิ ทธิ ภาพมากที่สุด
ชุมศักดิ์ อินทรรักษ์ (2545: 9) กล่าวว่าการบริ หารงานวิชาการหมายถึงกระบวนการจัดกิจกรรมในงานวิชาการ ซึ่ ง
เป็ นภารกิจหลักให้เกิดการปรับปรุ งพัฒนาและเป็ นประโยชน์สูงสุ ดแก่ผเู ้ รี ยนหรื อผูร้ ับบริ การ
สรุ ปได้วา่ การบริ หารงานวิชาการ หมายถึง การดาเนินงานกิจกรรมทุกชนิ ดในโรงเรี ยนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการ
เรี ยนการสอนให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อผูเ้ รี ยน

2. ความสาคัญของการบริหารงานวิชาการ
การบริ หารงานวิชาการมีความสาคัญดังต่อไปนี้
1. ทาให้ผบู้ ริ หารตระหนักเห็นความสาคัญของงานวิชาการซึ่งเป็ นงานหลักของสถานศึกษา เพราะความสาเร็ จของ
สถานศึกษาส่ วนหนึ่งขึ้นอยูก่ บั ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยน
2. ทาให้ผบู ้ ริ หารและครู วางแผนพัฒนางานวิชาการอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่ องเพื่อเสริ มสร้างผูเ้ รี ยนให้มีความรู ้
ความสามารถ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
5

3. ทาให้สถานศึกษาปรับปรุ งและพัฒนางานที่เกี่ยวข้องกับการเรี ยนการสอนให้มีประสิ ทธิ ภาพเกิดประโยชน์สูงสุ ด


ต่อผูเ้ รี ยน
4. ทาให้เกิดความร่ วมมือระหว่างสถานศึกษา ผูป้ กครอง ชุมชนในการพัฒนาการเรี ยนการสอนตามความต้องการ
ของผูเ้ รี ยนและชุมชน
3. ขอบข่ ายการบริหารงานวิชาการ
นักวิชาการกล่าวถึงขอบข่ายการบริ หารงานวิชาการไว้ดงั นี้
ปรี ยาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2535: 17-19) พิชยั เสงี่ยมจิตต์ (2542: 9-55) รุ จิร์ ภู่สาระ และจันทธานี สงวนนาม (2545:
58-76) ได้กาหนดขอบข่ายการบริ หารงานวิชาการ ดังนี้
1. หลักสู ตรและการบริ หารหลักสู ตร ซึ่งประกอบด้วย
1.1 หลักสู ตร สาระการเรี ยนรู้ของหลักสู ตรและการจัดระบบ
1.2 การพัฒนากระบวนการเรี ยนรู้
1.3 สื่ อการเรี ยนรู้
1.4 การจัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
2. การวิจยั ในชั้นเรี ยน
3. การสอนซ่อมเสริ ม
4. การจัดกิจกรรมเสริ มหลักสู ตร
5. การนิเทศภายในสถานศึกษา
6. การประกันคุณภาพการศึกษา
กมล ภู่ประเสริ ฐ (2544: 9-14) กาหนดขอบข่ายงานวิชาการไว้ 9 ประการ ดังนี้
1. งานหลักสู ตร ได้แก่ การวิเคราะห์หลักสู ตรแกนกลางระดับประเทศ การกาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู้ การจัดทา
หลักสู ตรสถานศึกษา การจัดทาหน่วยการเรี ยนรู้
2. งานการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ การรวบรวม วิเคราะห์ และกาหนดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่เหมาะสมกับ
หน่วยการเรี ยนรู ้ที่กาหนดไว้ โดยคานึงถึงกิจกรรมที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ การกาหนด การเตรี ยมการ และการจัดหาสื่ อการเรี ยน
การสอน อุปกรณ์ เครื่ องใช้ที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรี ยนการสอน การกาหนดวิธีการประเมินผลการเรี ยนในแต่ละหน่วย
การเรี ยนรู้หรื อรายวิชา การจัดทาแผนการสอนหรื อแผนการจัดการเรี ยนรู ้ของผูส้ อนแต่ละคน การควบคุมดูแล และส่ งเสริ ม
6

ให้มีการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ตามแผนการสอนหรื อแผนการจัดการเรี ยนรู ้ การร่ วมกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่าง


การเรี ยนการสอน
3. งานการประเมินผลการเรียน ได้แก่ การวิเคราะห์มาตรฐานการเรี ยนรู ้ของหน่วยการเรี ยนรู ้รายวิชาและกิจกรรมการ
เรี ยนการสอน การกาหนดวิธีการและเครื่ องมือที่จะต้องใช้ในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ การควบคุมดูแล และส่ งเสริ ม
ให้มีการประเมินผลการเรี ยนตามวิธีการ และเครื่ องมือที่ได้กาหนดไว้ การจัดทาหลักฐานการศึกษาตามที่หน่วยงานต้นสังกัด
กาหนดไว้ การนา ผลการประเมินไปใช้ในการแก้ไขข้อบกพร่ องของผูเ้ รี ยนแต่ละคนอย่างสม่าเสมอ การกาหนดรู ปแบบ
ระยะเวลาการรายงานผลการเรี ยนรู้ การรายงานผูป้ กครองระหว่างปี และการรายงานผลของสถานศึกษาต่อสาธารณะและ
หน่วยงานต้นสังกัด
4. งานการบริหารการนิเทศภายในสถานศึกษา ได้แก่ การทาความเข้าใจเกี่ยวกับการนิเทศภายในที่มีหลักการให้
บุคลากรทุกคนร่ วมกันรับผิดชอบเพื่อการนาสถานศึกษาไปสู่ มาตรฐานการศึกษาร่ วมกัน การกาหนดวิธีการและระยะเวลาการ
นิเทศภายใน การควบคุมและส่ งเสริ มให้มีการดาเนิน การนิเทศภายในอย่างสม่าเสมอ การร่ วมกันแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึ้น ฯลฯ
5. งานการพัฒนาบุคลาการทางวิชาการ ได้แก่ การวิเคราะห์ปัญหาร่ วมกันเกี่ยวกับความรู ้ความสามารถของบุคลากร
ในสถานศึกษา การกาหนดช่วงเวลาของการพัฒนาบุคลากรเป็ นระยะๆ การควบคุมดูแลให้การดาเนินงานพัฒนาบุคลากร
เป็ นไปตามที่กาหนดไว้
6. งานการวิจัยและพัฒนา ได้แก่ การทาความเข้าใจและส่ งเสริ มให้มีการวิจยั ในชั้นเรี ยน เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ของ
นักเรี ยน การร่ วมกันกาหนดประเด็นปั ญหาที่เป็ นข้อขัดข้องหรื อข้อควรพัฒนาร่ วมกันในสถานศึกษา การควบคุมดูแลและ
ส่ งเสริ มการดาเนินการวิจยั ที่ได้กาหนดไว้
7. งานการบริหารโครงการทางวิชาการอืน่ ๆ ได้แก่ การกาหนดหัวข้อเรื่ องทางวิชาการที่เป็ นการสนับสนุนงานหลัก
ทางวิชาการ การกาหนดวิธีดาเนินการและระยะเวลาที่จะดาเนินการ การควบคุมดูแลและส่ งเสริ มให้มีการดาเนินงานตามที่
กาหนดไว้
8. งานการบริ หารระบบข้ อมูลและสารสนเทศทางวิชาการ ได้แก่ การกาหนดข้อมูลและสารสนเทศทางวิชาการของ
งานบริ หารทั้งหมด การกาหนดเวลาในการรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศ การควบคุมดูแลและส่ งเสริ มการจัดเก็บข้อมูลและ
สารสนเทศ การนาข้อมูลและสารสนเทศไปใช้ประกอบการดาเนินงานอื่นๆ
9. งานการบริหารการประเมินผลงานทางวิชาการของสถานศึกษา ได้แก่ การกาหนดหัวข้อประเมินผลงาน การ
กาหนดวิธีการและเครื่ องมือในการประเมิน การควบคุมดูแลและส่ งเสริ มให้มีการดาเนิ นการประเมิน การสรุ ปผลและการ
เขียนรายงานประจาปี
7

จากขอบข่ายของงานวิชาการแต่ละงานซึ่ งประกอบด้วย ขั้นตอนการทางานตั้งแต่การคิดวิเคราะห์เนื้อหาของงานที่จะ


ดาเนินการการวางแผนการทางาน การควบคุมดูแลและการส่ งเสริ มให้มีการดาเนินการตามแผนงาน หรื อโครงการที่กาหนด
การวิเคราะห์สรุ ปผลการทางานเพื่อรายงานและการนาผลการประเมินไปใช้แก้ไข ปรับปรุ งและพัฒนางานต่อไปนั้น ล้วนแต่
ต้องใช้ความรู้ ความสามารถ และความเอาใจใส่ ในงานที่รับผิดชอบของครู แต่ละคนที่ทางานร่ วมกันในทีมงานแต่ละชุด งาน
เหล่านี้ดูเสมือนเป็ นงานเสริ มภาระงานประจาที่เป็ นงานหลักของครู คือ งานการจัดการเรี ยนการสอน แต่หากพิจารณาให้
ลึกซึ้ งด้วยจิตวิญญาณของความเป็ นครู แล้วจะเห็นว่าการจะเป็ นครู ที่ดี มีศกั ยภาพสู ง เป็ นที่เคารพนับถือและศรัทธาของผูเ้ รี ยน
ผูป้ กครอง เพื่อนครู และผูท้ ี่เกี่ยวข้องอื่นๆ ได้น้ นั ครู ทุกคนจะต้องมีส่วนเกี่ยวข้องในงานทุกงานที่กล่าวแล้วข้างต้น และมิใช่
เป็ นการเกี่ยวข้องแต่เพียงผิวเผิน หากเป็ นการมีส่วนเกี่ยวข้องที่ตอ้ งการความรักในวิชาชีพครู เป็ นพื้นฐาน และการมีความ
มุ่งมัน่ ที่จะพัฒนาตนเอง เพื่อความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู ของตนเองประกอบกันไปด้วย และโดยภาระงานของผูบ้ ริ หาร
สถานศึกษา คือ การจัดสถานศึกษาให้มีสิ่งแวดล้อม บรรยากาศที่สมบูรณ์ดว้ ยแหล่งเรี ยนรู ้ เพื่อให้ครู สามารถจัดกิจกรรม
ส่ งเสริ มสนับสนุนผูเ้ รี ยนให้เกิดการเรี ยนรู้ และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพตามหลักการของการบริ หารงานวิชาการ ซึ่งจะ
ปรากฎรายละเอียดในเรื่ องที่ 4.1.2

เรื่องที่ 4.1.2 แนวคิด ความมุ่งหมาย และหลักการการบริหารงานวิชาการ


1. แนวคิดการบริหารงานวิชาการ
1.1 ผู้บริหารต้ องเป็ นผู้นาทางวิชาการ ทั้งนี้เพราะผู้บริ หารสถานศึกษา ซึ่งเป็ นผูท้ ี่อยูใ่ นตาแหน่งผูอ้ านวยการ อาจารย์ใหญ่
หรื ออาจเรี ยกชื่อเป็ นอย่างอื่นก็ได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษานั้นๆ จะเป็ นผูท้ ี่มีบทบาทในการกาหนด
แบบแผน วิธีการ และขั้นตอนต่างๆ ในการปฏิบตั ิงานบริ หารวิชาการไว้อย่างเป็ นระบบ รู ้จกั เลือกวิธีการบริ หารที่เหมาะสม
กับบริ บทของสถานศึกษา มีความสามารถในการทางานตามบทบาทหน้าที่ที่กาหนดไว้ ซึ่ งเป็ นที่รับรู ้โดยทัว่ ไปของบุคคลที่มี
ส่ วนเกี่ยวข้อง รวมไปถึงงานที่เป็ นความคาดหวังของสังคมว่า ผูบ้ ริ หารควรทา และงานที่ผบู้ ริ หารสถานศึกษาคิดด้วยตนเอง
จากความรู้ความสามารถและประสบการณ์วา่ เป็ นงานในความรับผิดชอบที่ตอ้ งทา โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
จะต้องทาหน้าที่ในฐานะของผูน้ าทางวิชาการ
ทรัสตรี (Trusty: 1986 อ้างถึงใน รุ จิร์ ภู่สาระ และจันทรานี สงวนนาม 2545: 30-32) ได้กล่าว ผู้บริหารสถานศึกษา
ในฐานะผู้นาทางวิชาการ มีภาระงาน 17 ประการ คือ
1) ส่ งเสริ มให้ครู ได้พฒั นาเป้ าหมาย และวัตถุประสงค์ทางวิชาการของสถานศึกษา
2) ส่ งเสริ มให้ครู นาเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ทางวิชาการของสถานศึกษาไปปฏิบตั ิ
3) สร้างความเชื่ อมัน่ ว่ากิจกรรมของสถานศึกษาและของห้องเรี ยนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา
8

4) สร้างความเชื่ อมัน่ ว่าโครงการทางวิชาการของสถานศึกษาเป็ นผลจากผลการวิจยั และการปฏิบตั ิทางการศึกษา


5) มีการวางแผนร่ วมกันกับคณะครู เกี่ยวกับโครงการต่างๆ ทางวิชาการเพื่อให้บรรลุความต้องการของนักเรี ยน
6) ส่ งเสริ มให้ครู นาโครงการทางวิชาการไปปฏิบตั ิ
7) ปฏิบตั ิงานร่ วมกับคณะครู ในการประเมินผลโครงการทางวิชาการของโรงเรี ยน
8) ติดต่อสื่ อสารกับครู และนักเรี ยนด้วยความคาดหวังที่สูงในด้านมาตรฐานทางวิชาการ
9. ให้การสนับสนุนในการจัดกิจกรรมทางสังคมของนักเรี ยน
10) ให้การสนับสนุนในการจัดกิจกรรมเพื่อเสริ มสร้างเชาวน์ปัญญาของนักเรี ยน
11) มีการจัดสรรเวลาเพื่องานวิชาการร่ วมกับครู ไว้อย่างชัดเจน
12) ให้ความร่ วมมือกับนักเรี ยนในการกาหนดระเบียบเพื่อแก้ไขปั ญหาด้านวินยั ของนักเรี ยน
13) ร่ วมมือกับนักเรี ยนให้มีการนาระเบียบ กฎเกณฑ์ที่สร้างขึ้นมาแก้ไขปั ญหาด้านวินยั
14) ร่ วมมือกับคณะครู ให้มีการนาระเบียบ กฎเกณฑ์ที่สร้างขึ้นมาใช้ในการแก้ปัญหาด้านวินยั ของนักเรี ยน
15) มีการปฐมนิ เทศคณะครู เกี่ยวกับโครงการของสถานศึกษา
16) มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของครู อย่างยุติธรรม
17). ช่วยเหลือครู ในการพัฒนาระบบงานเพื่อให้มีความก้าวหน้าทางวิชาชีพ
โดยสรุ ปจะเห็นได้วา่ ภาระงานของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในฐานะผูน้ าทางวิชาการตามแนวคิดของทรัสตีที่นามากล่าว
ไว้ขา้ งต้นนั้นเป็ นเรื่ องของการส่ งเสริ มและสร้างความเชื่อมัน่ ให้เพื่อนครู ปฏิบตั ิหน้าที่ดา้ นวิชาการไปในทิศทางที่ถูกต้องตาม
เป้ าหมาย ร่ วมวางแผนและให้การสนับสนุนเพื่อนครู ในการปฏิบตั ิงานวิชาการ รวมทั้งการให้ความร่ วมมือกับผูเ้ รี ยนในส่ วน
ของการบริ หารกิจการผูเ้ รี ยน การบริ หารแบบมีส่วนร่ วมจึงเป็ นยุทธศาสตร์ การบริ หารที่สาคัญที่ผบู ้ ริ หารพึงนามาใช้ในการ
บริ หารงานวิชาการในสถานศึกษา

1.2 กลุ่มบุคคลทีม่ สี ่ วนเกีย่ วข้ องกับการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา ตามที่ได้กล่าวไว้แล้วในเรื่ องที่


4.1.1 ขอบข่ายของงานวิชาการ จะมีลกั ษณะครอบคลุมเนื้ องาน 9 ประการ ซึ่ งหากวิเคราะห์ในประเด็นของกลุ่มบุคคลผูม้ ีส่วน
เกี่ยวข้องกับงานวิชาการอาจสรุ ปได้ ในตารางที่ 4.1 ดังนี้

ตารางที่ 4.1 กลุ่มบุคลากรในสถานศึกษาที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเนื้องานตามขอบข่ายงานวิชาการ


9

ที่ เนือ้ งานตามขอบข่ ายงานวิชาการ บุคลากรในสถานศึกษาผู้มีส่วนเกีย่ วข้ อง


1. งานหลักสู ตร - คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
- ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
- ทีมงานบริ หารหลักสู ตร
- ทีมงานครู ในแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
2. งานจัดการเรี ยนการสอน - ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
- ทีมงานจัดการเรี ยนการสอน
- ครู ทุกคน
- ผูเ้ รี ยนทุกคน
- ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- ชุมชน
- สถานประกอบการ
- ศูนย์บริ หารการเรี ยนรู้ในชุมชน
3. งานการประเมินผลการเรี ยน - ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
- ทีมงานประเมินผลการเรี ยน
- ครู ทุกคน
- ผูเ้ รี ยนทุกคน
4. งานการบริ หารการนิเทศภายใน - ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
สถานศึกษา - ทีมงานวิชาการ
- ครู ทุกคน
5. งานพัฒนาบุคลากรทางวิชาการ - ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
- ทีมงานวิชาการ
- ครู ทุกคน
- วิทยากรผูม้ ีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญจาก
ภายนอก
6. งานการวิจยั และพัฒนา - ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
- ทีมงานครู ฝ่ายวิจยั และพัฒนา
- ครู บางคน
- นักเรี ยนบางกลุ่ม
10

ที่ เนือ้ งานตามขอบข่ ายงานวิชาการ บุคลากรในสถานศึกษาผู้มีส่วนเกีย่ วข้ อง


- ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
7. งานการบริ หารโครงการทาง - ทีมงานครู ฝ่ายบริ หารโครงการ
วิชาการอื่นๆ - ครู ส่วนใหญ่
- นักเรี ยนแยกเป็ นรายกลุ่ม
- เครื อข่ายผูป้ กครอง
- ชุมชน
8. งานการบริ หารระบบข้อมูลและ - ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
สารสนเทศทางวิชาการ - ทีมงานครู ฝ่ายวิชาการ
- ทีมงานครู ฝ่ายแผนงาน
- ครู ทุกคน
- นักเรี ยนทุกคน
9. งานการบริ หารการประเมินผลงาน - ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
ทางวิชาการของสถานศึกษา - ทีมงานครู ฝ่ายประเมินผล

จากตารางที่ 4.1 แสดงให้เห็นว่า ขอบข่ายของงานวิชาการทั้ง 9 ประการ ผูบ้ ริ หารสถานศึกษามีบทบาทสาคัญในการ


เป็ นผูก้ าหนดทิศทางงานวิชาการ ทาหน้าที่เป็ นผูน้ า เป็ นนักวางแผน นักจัดองค์กร ผูป้ ระสานงาน ผูแ้ ก้ไขความขัดแย้ง ผู ้
แก้ปัญหา ผูจ้ ดั ระบบงาน ผูบ้ ริ หารการเรี ยนการสอน นักบริ หารงานบุคลากรและทรัพยากร รวมทั้งเป็ นนักประเมินผลไปด้วย
ในเวลาเดียวกัน
ความมุ่งหมายของการบริ หารงานวิชาการ
สถานศึกษาโดยผูบ้ ริ หารสถานศึกษา คณะครู -อาจารย์ และคณะกรรมการสถานศึกษาของแต่ละสถานศึกษาจะต้อง
ศึกษาวิเคราะห์พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และมาตรฐาน
การศึกษาของชาติ เพื่อตระหนักรู ้ความมุ่งหมายในการจัดการศึกษา ดังนี้
1) การจัดการศึกษา ต้องเป็ นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ
คุณธรรม มีจริ ยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวติ สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุ ข
2) ในกระบวนการเรี ยนรู ้ตอ้ งมุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข รู ้จกั รักษาและส่ งเสริ มสิ ทธิ หน้าที่ เสรี ภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และ
ศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจใน ความเป็ นไทย รู ้จกั รักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้ง
ส่ งเสริ มศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู ้อนั เป็ นสากล ตลอดจน
11

อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู ้จกั พึ่งตนเอง มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์


ใฝ่ รู ้ และเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่อง
3) เป้ าหมายของการจัดการศึกษาอยูท่ ี่การพัฒนาคนไทยทุกคนให้เป็ นคนเก่ง คนดีและมีความสุ ข มีคุณลักษณะของ
คนไทยที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก ได้แก่ มีสุขภาพกาย และจิตใจที่ดี ได้เรี ยนรู้เต็มตามศักยภาพของตนเอง
สามารถเรี ยนรู้ได้ดว้ ยตนเอง รักการเรี ยนรู้ รู้ทนั โลก รวมทั้งมีความสามารถในการใช้แหล่งความรู ้ และสื่ อต่างๆ เพื่อพัฒนา
ตนเองได้ สามารถปรับตัวได้ มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้เป็ นอย่างดี เข้าใจและเคารพในธรรมชาติ
สิ่ งแวดล้อม มีความรับผิดชอบ เข้าใจ ยอมรับ และตระหนักในคุณค่าของวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน สามารถแก้ปัญหาได้โดย
สันติวธิ ี ดาเนินชีวติ โดยกายสุ จริ ต วจีสุจริ ต และมโนสุ จริ ต มีจิตสานึกในเกียรติภูมิของคนไทย มีความภูมิใจในชนชาติไทย
รักแผ่นดินไทย และปฏิบตั ิตนตามระบอบประชาธิปไตย มีจิตอาสา
โดยสรุ ป การบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษา จะดาเนินไปสาเร็ จบรรลุความมุ่งหมายตามพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 นั้น องค์ประกอบสาคัญของการดาเนินงานได้สาเร็ จ
เพียงใด ในระดับใดหรื อไม่ข้ ึนอยูก่ บั เป้ าหมายการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนของหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ
กระบวนการนาหลักสู ตรไปสู่ การปฏิบตั ิในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา เพื่อสร้างสมรรถนะสาคัญและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน ซึ่ งบุคคลทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องต้องให้ความร่ วมมือ ร่ วมใจ ร่ วมคิด ร่ วมรับรู ้ ร่ วม
ประคับประคอง ร่ วมควบคุมตรวจสอบ และร่ วมประเมินผลเพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืนตลอดไป
3. หลักการบริหารงานวิชาการ
การบริ หารงานวิชาการเป็ นงานหลักที่สาคัญของสถานศึกษา ควรมีหลักการบริ หารงานวิชาการดังนี้
1. สถานศึกษาต้องคานึงถึงองค์ประกอบหลักที่สาคัญของงานวิชาการได้แก่ การพัฒนาหลักสู ตร การจัดกิจกรรมการ
เรี ยนการสอน การพัฒนาสื่ อนวัตกรรมการเรี ยนการสอน และการจัดประเมินผลการเรี ยนการสอน
2. สถานศึกษาต้องมีกลไกควบคุมมาตรฐานทางวิชาการของสถานศึกษาให้มีคุณภาพ เพื่อการพัฒนาทางวิชาการจะ
ได้มีทิศทางพัฒนางานวิชาการอย่างชัดเจน และไปในทิศทางเดียวกัน สอดคล้องกับการประเมินคุณภาพภายใน และการ
ประเมินจากหน่วยงานภายนอก
3. สถานศึกษาต้องมีการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสู ตร การ
พัฒนากระบวนการจัดการเรี ยนการสอน การวัดประเมินผล การวิจยั เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึ กษา โดยคานึงถึงผูเ้ รี ยนเป็ น
สาคัญ
12

4. สถานศึกษาต้องมีโครงสร้างการบริ หารงานวิชาการที่ชดั เจนมีการกระจายอานาจและความรับผิดชอบให้


ผูป้ ฏิบตั ิงาน โดยคานึงถึงความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสมของผูป้ ฏิบตั ิงาน
5. สถานศึกษาต้องมีการประเมินติดตามผลการปฏิบตั ิงานทางวิชาการเพื่อให้ได้มาตรฐานของงานวิชาการ และนา
ผลที่ได้มาปรับปรุ งวางแผนงานวิชาการให้มีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น
6. สถานศึกษาต้องมีเครื อข่ายการประสานงานความร่ วมมือระหว่างครอบครัว ชุมชน เพื่อส่ งเสริ มและสนับสนุน
งานวิชาการของสถานศึกษาในการพัฒนาผูเ้ รี ยน
7. สถานศึกษาต้องสามารถบริ หารงานวิชาการได้อย่างมีอิสระคล่องตัวและสอดคล้องกับความต้องการของผูเ้ รี ยน
และชุมชน

เรื่องที่ 4.1.3 กระบวนการ และเทคนิคการบริหารงานวิชาการ ตามแนวคิดการบริหารโดยใช้ สถานศึกษา


เป็ นฐาน และการบริหารแบบมีส่วนร่ วม
การศึกษาให้เข้าใจกระบวนการ และเทคนิคการบริ หารงานวิชาการตามแนวคิด ของการบริ หารโดยใช้สถานศึกษาเป็ น
ฐาน และการบริ หารแบบมีส่วนร่ วมนี้ ควรศึกษาสาระที่เป็ นองค์ประกอบ ดังนี้
1) หมายเหตุทา้ ยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
2) ความหมายของสถานศึกษา
3) ภารกิจของสถานศึกษา
4) แนวคิดการบริ หารโดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐาน และการบริ หารแบบมีส่วนร่ วม
รายละเอียด มีดงั ต่อไปนี้

1. หมายเหตุทา้ ยพระราชบัญญัติฯ กล่าวถึงเหตุผลของการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542


(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116 ตอนที่ 74 ก. วันที่ 19 สิ งหาคม 2542) ฉบับที่ 1 เป็ นผลมาจากรัฐธรรมนูญแห่ ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ที่กาหนดให้
1.1 รัฐต้องจัดการศึกษาอบรม และสนับสนุนให้เอกชนจัดการศึกษาอบรมให้เกิดความรู ้คู่คุณธรรม
1.2 ปรับปรุ งการศึกษาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
1.3 สร้างเสริ มความรู ้และปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
1.4 สนับสนุนการค้นคว้าวิจยั ในศิลปวิทยาการต่างๆ
13

1.5 เร่ งรัดการศึกษาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประเทศ


1.6 พัฒนาวิชาชีพครู และส่ งเสริ มภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ
1.7 การจัดการศึกษาของรัฐให้คานึงถึงการมีส่วนร่ วมขององค์กรปกครองท้องถิ่นและเอกชนตามที่กฎหมาย
บัญญัติ
1.8 ให้ความคุม้ ครองการจัดการศึกษาอบรมขององค์กรวิชาชีพและเอกชนภายใต้การกากับดูแลของรัฐ
2. ความหมายของสถานศึกษา ตามที่ปรากฏในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติฯ สถานศึกษา หมายถึง โรงเรี ยนของรัฐ
หรื อเอกชน ที่มีอานาจหน้าที่หรื อมีวตั ถุประสงค์ในการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ เพื่อความเจริ ญงอกงามของบุคคลและสังคม
โดยการถ่ายทอดความรู ้ การฝึ ก การอบรม การสื บสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ มี
บุคลากรวิชาชีพรับผิดชอบการบริ หารสถานศึกษา เรี ยกว่า ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา และมีครู เป็ นบุคลากรวิชาชีพ ทาหน้าที่หลัก
ด้านการจัดการเรี ยนการสอน และส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการต่างๆ
3. ภารกิจของสถานศึกษามีรายละเอียดที่ควรศึกษา และทาความเข้าใจ ตามที่ปรากฏในพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติฯ ดังนี้
3.1 บททัว่ ไป สถานศึกษาต้องจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ งั ร่ างกาย จิตใจ ติปัญญา
ความรู ้ และคุณธรรม จัดกระบวนการเรี ยนรู ้ โดยมุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง. . . การส่ งเสริ ม
ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู ้สากล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่ งแวดล้อม มีความสามารถประกอบอาชีพ รู ้จกั พึ่งตนเอง มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ใฝ่ รู ้ และเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง ยึด
หลักการศึกษาตลอดชีวติ ให้สังคมมีส่วนร่ วมและพัฒนาสาระและกระบวนการเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ อง และยึดหลักการระดม
ทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา และการมีส่วนร่ วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่น และสถาบันสังคมอื่น
3.2 แนวการจัดการศึกษา สถานศึกษาต้องจัดการศึกษาโดยยึดหลัก ผู้เรียนสาคัญทีส่ ุ ด และกระบวนการจัด
การศึกษาต้องส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ เต็มตามศักยภาพโดยเน้นทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวน การ
เรี ยนรู ้และบูรณาการในเรื่ องความรู ้เกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธ์กบั สังคม ความรู ้/ทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การจัดการ การรักษา และการใช้ทรัพยากร/สิ่ งแวดล้อม ความรู ้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬา ภูมิปัญญาไทย และ
การประยุกต์ใช้ ความรู้/ทักษะด้านคณิ ตศาสตร์และภาษา ความรู้/ทักษะการประกอบอาชีพและการดารงชีวิต
จัดกระบวนการเรี ยนรู ้ ที่ประกอบด้วย เนื้ อหาสาระ/กิจกรรมตามความสนใจและความถนัดของผูเ้ รี ยน มีการฝึ ก
ทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การแก้ปัญหา กิจกรรมเรี ยนรู ้จากประสบการณ์จริ ง ให้คิดเป็ น ทาเป็ น รักการอ่าน และใฝ่
รู ้ จัดการเรี ยนการสอนสาระความรู ้ดา้ นต่างๆ อย่างสมดุล และปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยม คุณลักษณะอันพึงประสงค์
14

สนับสนุนให้ผสู้ อนจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม/สื่ อการเรี ยน และอานวยความสะดวก เพื่อให้เกิดการเรี ยนรู้และรอบรู้ และ


ใช้การวิจยั เป็ นส่ วนหนึ่งในกระบวนการเรี ยนรู ้ จัดการเรี ยนรู ้ให้เกิดขึ้นทุกเวลา/สถานที่ และร่ วมมือกับทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องเพื่อ
พัฒนาผูเ้ รี ยน
การจัดการประเมินผูเ้ รี ยนโดยใช้วธิ ี การที่หลากหลาย ในการจัดสรรโอกาสเข้าศึกษาต่อ และนาผลการประเมิน
ผูเ้ รี ยนมาใช้ประกอบการพิจารณา
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดทาสาระหลักสู ตรส่ วนที่เกี่ยวกับสภาพปั ญหาของชุ มชน/สังคม/ภูมิปัญญาท้องถิ่นและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ร่ วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน ส่ งเสริ มความเข้มแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรี ยนรู้ภายใน
ชุมชน และสนับสนุนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างชุมชน พัฒนากระบวนการเรี ยนการสอนที่มีประสิ ทธิภาพและ
ส่ งเสริ มให้ผสู ้ อนสามารถวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู ้ที่เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน
3.3 การบริหารและการจัดการศึกษา ให้สถานศึกษามีอานาจการบริ หารและการจัดการศึกษาทั้งด้านวิชาการ
งบประมาณ บริ หารงานบุคคล และการบริ หารทัว่ ไป มีคณะกรรมการสถานศึกษาทาหน้าที่กากับและส่ งเสริ มสนับสนุน
กิจการของสถานศึกษา ประกอบด้วย ผูแ้ ทนผูป้ กครอง ผูแ้ ทนครู และให้ผบู้ ริ หารสถานศึกษาเป็ นเลขานุการของ
คณะกรรมการ ให้สถานศึกษาเอกชนมีความอิสระในการบริ หารและการจัดการศึกษา โดยมีการกากับ ติดตาม ประเมิน
คุณภาพมาตรฐานจากรัฐ มีสถานะเป็ นนิติบุคคลและมีคณะกรรมการการบริ หาร ประกอบด้วย ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาเอกชน
ผูร้ ับใบอนุญาต ผูแ้ ทนผูป้ กครองและจัดการศึกษาได้ทุกระดับ/ทุกประเภท ตามที่กฎหมายกาหนด โดยรัฐต้องกาหนด
นโยบายและมาตรการที่ชดั เจนเกี่ยวกับการมีส่วนร่ วม
3.4 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ให้สถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน และ
ถือเป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการบริ หารการศึกษา และจัดทารายงานประจาปี ต้องได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกอย่าง
น้อย 1 ครั้งในทุก 5 ปี ให้ความร่ วมมือในด้านการให้ขอ้ มูลที่เป็ นเอกสารหลักฐาน และข้อมูลจากผูท้ ี่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม ตามคา
ร้องขอของสานักงานรับรองมาตรฐานฯกรณี ที่ผลการประเมินไม่ได้มาตรฐานตามที่กาหนด ให้สถานศึกษาปรับปรุ งแก้ไข
การดาเนินงาน ตามข้อเสนอของสานักงานรับรองมาตรฐานฯ ภายในระยะเวลาที่กาหนด
3.5 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้สถานศึกษาระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนให้มีส่วนร่ วมในการ
จัดการศึกษา และยกย่องเชิดชูผทู ้ ี่ส่งเสริ มสนับสนุนการจัดการศึกษา
3.6 ทรัพยากรและการลงทุนเพือ่ การศึกษา ให้สถานศึกษาระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาจากบุคคล ครอบครัว
ชุมชน มีอานาจในการปกครองดูแล บารุ งรักษา ใช้ และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา มีอิสระในการบริ หาร
15

งบประมาณและทรัพยากร โดยคานึงถึงคุณภาพ และความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา มีระบบการตรวจสอบ ติดตาม


และประเมินประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิ ผล การใช้จ่ายงบประมาณการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับหลักการศึกษา
3.7 เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้รุบเกี่ยวกับ
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไว้ดงั นี้

มาตรา 63 : สถานศึกษาใช้ประโยชน์จากการจัดสรรคลื่นความถี่ สื่ อตัวนา และโครงสร้างพื้นฐานอื่นที่


จาเป็ น. . .
มาตรา 65 : สถานศึกษาพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะในการผลิต และการใช้
เทคโนโลยีที่เหมาะสม. . .
มาตรา 66 : สถานศึกษาจัดให้ผเู้ รี ยนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษา
4. แนวคิดการบริ หารโดยใช้ สถานศึกษาเป็ นฐานและการบริหารแบบมีส่วนร่ วม จากมาตรา 39 และมาตรา 40 ของ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กาหนดให้มีการกระจาย
อานาจการบริ หาร และการจัดการศึกษาไปยังสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง และจัดให้มีคณะกรรมการสถานศึกษา
ของสถานศึกษาแต่ละแห่งทาหน้าที่กากับและส่ งเสริ มสนับสนุนงานของสถานศึกษาด้านต่างๆ นั้น งานดังกล่าว ได้แก่ งาน
ด้านวิชาการ งบประมาณ การบริ หารงานบุคคล และการบริ หารทัว่ ไป
รู ปแบบการบริ หารจัดการสถานศึกษา จึงเป็ นรู ปแบบของการบริ หารจัดการโดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐาน (School-
Based Management-SBM) ที่มุ่งเน้นให้การบริ หารสถานศึกษา การบริ หารการจัดการเรี ยนการสอน มีประสิ ทธิ ภาพ มี
คุณภาพ และมีมาตรฐานสอดคล้องกับความมุ่งหมายในการสร้างผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติฯ และสอดคล้องกับความต้องการและความถนัดของผูเ้ รี ยนโดยยึดผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
สิ่ งสาคัญในกระบวนการบริ หารจัดการสถานศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐานที่เด่นชัด คือ เน้นระบบการทางาน
แบบมีส่วนร่ วมที่บทบาทของผูม้ ีส่วนร่ วมเป็ นแบบหุ ้นส่ วน หรื อเป็ นผูร้ ่ วมหุ น้ (partner) เป็ นการมีส่วนร่ วมจากทุกฝ่ ายที่มีส่วน
ได้ ส่ วนเสี ย และรู ปแบบการมีส่วนร่ วมที่นิยมใช้กนั มาก คือ การบริ หารโดยคณะกรรมการสถานศึกษา ซึ่ งประกอบด้วย
ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ตัวแทนครู ตัวแทนผูป้ กครองและผูแ้ ทนชุมชน ร่ วมกันมีบทบาทในการบริ หารสถานศึกษา ให้
16

สอดคล้องกับความต้องการของผูเ้ รี ยน ตอบสนองหรื อให้เป็ นไปตามความต้องการของผูป้ กครอง และตอบสนองชุมชน


โดยตรงให้มากที่สุด (อุทยั บุญประเสริ ฐ 2544)
การบริ หารสถานศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐานจึงเป็ นเรื่ องที่เน้นลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละสถานศึกษาที่มี
ความแตกต่างกัน เป็ นการกระจายอานาจการบริ หารจัดการไปยังสถานศึกษา โดยตรงเป็ นการบริหารแบบมีส่วนร่ วมเป็ นหลัก
สาคัญที่มีพ้ืนฐานความเชื่ ออยูท่ ี่วา่ สถานศึกษาสามารถบริ หารจัดการตนเองได้ สถานศึกษามีอานาจและต้องรับผิดชอบโดยตรง
ต่อการดาเนิ นงานของสถานศึกษา สถานศึกษาจะเป็ นหน่วยปฏิบตั ิที่สามารถวิเคราะห์ปัญหา มีอานาจมากขึ้นในการตัดสิ นใจ
และรับผิดชอบโดยตรงต่อการวางแผนพัฒนาสถานศึกษา การจัดการเรี ยนการสอน และการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการ
เรี ยนการสอน การพัฒนาบุคลากร การเงินและการงบประมาณ ซึ่ งต้องใช้ ระบบการมีส่วนร่ วมของผูท้ ี่มีส่วนได้ส่วนเสี ยเป็ น
สาคัญเป็ นการบริ หารจัดการแบบเบ็ดเสร็ จ
การบริ หารงานวิชาการของสถานศึกษาโดยเฉพาะการบริ หารหลักสู ตรในรู ปแบบของการมีส่วนร่ วมของทุกฝ่ าย
ที่เกี่ยวข้อง จึงเป็ นการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมการทางานของสถานศึกษาจากการถูกควบคุมโดยหน่วยงานส่ วนกลางซึ่ งเป็ น
หน่วยกาหนดนโยบาย และแนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษาในอดีตมาเป็ นแบบแผนการทางานที่รู้จกั คิดริ เริ่ มด้วย
ตนเอง คิดช่วยตัวเอง สร้างความเข้มแข็งให้ตนเอง และรู้จกั รับผิดชอบตนเองของสถานศึกษา อันเป็ นเงื่อนไขความสาเร็ จของ
สถานศึกษาที่มีผลโดยตรงต่อการจัดการเรี ยนการสอนเป็ นหลักสาคัญ
โดยสรุ ป การบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษาเน้นการมีส่วนร่ วมของผูม้ ีส่วนได้ ส่ วนเสี ยโดยตรง ได้แก่
ผูเ้ รี ยน ผูส้ อน และชุมชน มีการบริ หารงานในรู ปแบบของคณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการพัฒนางานวิชาการของ
สถานศึกษา คณะกรรมการเครื อข่ายผูป้ กครอง คณะกรรมการนักเรี ยนของสถานศึกษา และคณะกรรมการนักเรี ยนระดับชั้น
จากการศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบสาคัญ 4 ประการ คือ เหตุผลของการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติฯ ความหมายของสถานศึกษา ภารกิจของสถานศึกษา และแนวคิดของการบริ หารโดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐาน และการ
บริ หารแบบมีส่วนร่ วม ตามที่ปรากฏในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฯ โดยละเอียดแล้ว อาจสังเคราะห์ให้ได้ หลักการ
กระบวนการ และเทคนิคการบริ หารงานวิชาการ ตามตารางวิเคราะห์สังเคราะห์องค์ประกอบสาคัญ ดังนี้
ตารางที่ 4.2 การวิเคราะห์ -สั งเคราะห์ องค์ ประกอบสาคัญเพื่อกาหนดหลักการ กระบวนการ และเทคนิคการบริ หารงาน
วิชาการในสถานศึกษา
17

มาตรา/เนือ้ หาสาระ การบริหารงานวิชาการ


ในพระราชบัญญัติ กระบวนการจัดการเรียนรู้ เทคนิค
หมายเหตุท้ายพระราชบัญญัตฯิ
รัฐต้องจัดการศึกษาอบรม และ จัดกระบวนการเรี ยนรู ้ เพื่อสร้าง -กระบวนการกลุ่ม
สนับสนุนให้เอกชนจัดการศึกษา องค์ความรู ้ไปพร้อมๆ กับการสร้าง -การจัดกิจกรรมสร้างเสริ ม
อบรมให้เกิดความรู ้คู่คุณธรรม คุณธรรมให้เกิดขึ้นในผูเ้ รี ยน คุณธรรม
ปรับปรุ งการศึกษาให้สอดคล้อง สร้างความตระหนัก ความรู ้ ความ -กระบวนการกลุ่ม
กับเศรษฐกิจและสังคม เข้าใจ เรื่ องเศรษฐกิจพอเพียง และการ -การจัดกิจกรรมโครงงาน
นาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน
สร้างเสริ มความรู ้และปลูกฝัง กาหนดแผนการเรี ยนรู ้และแผน -การจาลองรู ปแบบการปกครอง
จิตสานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมือง การจัดกิจกรรมด้านประชาธิปไตย แบบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
การปกครองในระบอบ ในสถานศึกษาที่สอดคล้องกัน
ประชาธิปไตย อันมีพระมหา-
กษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข -เน้นการจัดการเรี ยนรู ้ดว้ ย
สนับสนุนการค้นคว้าวิจยั ในศิลป วางแผนดาเนินโครงการส่งเสริ ม กระบวนการวิจยั กาหนดนโยบายให้
วิทยาการต่างๆ การวิจยั เพื่อแก้ปัญหาในสถาน ศึกษา ครู (ทุกคน) นักเรี ยน (รายห้อง)
ทางานวิจยั
กระบวนการเรี ยนรู ้แบบ -การจัดกิจกรรมโครงงาน
เร่ งรัดการศึกษาวิทยาศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประเทศ กาหนดให้มีการศึกษาภูมิปัญญา -สารวจข้อมูลเบื้องต้นจากเอกสาร
พัฒนาวิชาชีพครู และส่งเสริ มภูมิ ท้องถิ่น ศิลปะ และวัฒนธรรมของ ตารา สัมภาษณ์ผรู ้ ู ้ เพื่อมอบครู และ
ปั ญญาท้องถิ่นศิลปะและวัฒนธรรม ชาติ ในสาระการเรี ยนรู ้เพิ่มเติม นักเรี ยน สร้างองค์ความรู ้
ของชาติ -การประชาสัมพันธ์
จัดสถานศึกษาให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้
การจัดการศึกษาของรัฐให้ สาคัญด้านวิชาการของท้องถิ่นในฐานะ
คานึงถึงการมีส่วนร่ วมขององค์กร ของผูใ้ ห้ และส่งนักเรี ยนและครู ไป
ปกครองท้องถิ่นและเอกชน ตามที่ ศึกษาจากภูมิปัญญาท้องถิ่นในฐานะ
กฎหมายบัญญัติ ผูร้ ับ
18

ตารางที่ 4.2 (ต่ อ)


มาตรา/เนือ้ หาสาระ การบริหารงานวิชาการ
ในพระราชบัญญัติ กระบวนการจัดการเรียนรู้ เทคนิค
ให้ความคุม้ ครองการจัดการศึกษา -- --
อบรมขององค์กรวิชาชีพ และ
เอกชน ภายใต้การกากับดูแลของรัฐ

พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่ งชาติฯ


หมวดที่ 1 บททัว่ ไป บริ หารงานวิชาการด้วย - กระบวนการกลุ่ม
มาตรา 6, 7, 8, 9 กระบวนการ - การทางานเป็ นทีม ในรู ปคณะ
- สร้างความรู ้คู่คุณธรรม กรรมการ
- เศรษฐกิจพอเพียง
- ระบอบประชาธิปไตย
- การมีส่วนร่ วม
หมวดที่ 4 แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 22, 23, 24, 26, 27 (2), 29, ยึดหลักผูเ้ รี ยนสาคัญที่สุด -ให้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์จริ ง
30 ฝึ กทักษะกระบวนการคิด การ -จัดการเรี ยนรู ้ให้เกิดขึ้นทุกเวลา/
จัดการการแก้ปัญหา สถานที่ และร่ วมมือกับทุกฝ่ ายที่
เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยน
-ใช้การวิจยั เป็ นส่วนหนึ่งของการ
จัดการเรี ยนรู ้
หมวดที่ 5 การบริหารและการจัด
การศึกษา
มาตรา 39, 40, 43, 44, 45 ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาทา -การบริ หารแบบมีส่วนร่ วม
หน้าที่กากับและส่งเสริ มสนับสนุน
กิจการของสถานศึกษา
หมวดที่ 6 มาตรฐานและการประกัน
คุณภาพการศึกษา
มาตรา 48, 49, 50, 51 ระบบการประกันคุณภาพภายใน -จัดทารายงานประจาปี
ถือเป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
บริ หารการศึกษา
19

ตารางที่ 4.2 (ต่ อ)


มาตรา/เนือ้ หาสาระ การบริหารงานวิชาการ
ในพระราชบัญญัติ กระบวนการจัดการเรียนรู้ เทคนิค
หมวดที่ 7 ครู คณาจารย์ และ
บุคลากรทางการศึกษา
มาตรา 57 ระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนให้ - ยกย่องเชิดชูผทู ้ ี่ส่งเสริ มสนับสนุน
มีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษาของ การจัดการศึกษา
สถานศึกษา
หมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา
มาตรา 63, 65, 66 พัฒนาบุคลากรให้มีความรู ้ ความ -ให้การศึกษา อบรม (on the job
สามารถ ทักษะในการผลิตและการใช้ training)
เทคโนโลยีที่เหมาะสม - ฝึ กอบรมภายในและภายนอก
สถานศึกษา

จากตารางวิเคราะห์ขา้ งต้น สรุ ปได้วา่ กระบวนการและเทคนิ คการบริ หารงานวิชาการตามแนวคิดของการบริ หารโดยใช้


สถานศึกษาเป็ นฐาน และการบริ หารแบบมีส่วนร่ วม มีดงั นี้
กระบวนการ การบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษาใช้กระบวนการระดมทรัพยากรบุคคลให้มีส่วนร่ วมจัดการศึกษา
กระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ การประกันคุณภาพการจัดการศึกษา การพัฒนา ครู -นักเรี ยน การจัดแหล่งเรี ยนรู้ การสร้าง
บรรยากาศทางวิชาการด้วยการส่ งเสริ มให้ใช้กระบวนการวิจยั สร้างองค์ความรู ้ใหม่เพื่อการบริ หารงาน และเพื่อการ
แก้ปัญหา จัดกิจกรรมส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ เต็มตามศักยภาพ ให้มีความรู ้คู่คุณธรรม มีความเข้าใจ
ศรัทธา และเชื่อมัน่ การปกครองระบอบประชาธิ ปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข บริ หารโดยยึดหลักเศรษฐกิจ
พอเพียง ส่ งเสริ มภูมิปัญญาท้องถิ่น องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นและเอกชนให้มีส่วนร่ วมในการบริ หารงานวิชาการ สร้าง
บรรยากาศเพื่อส่ งเสริ มการค้นคว้าวิจยั ให้เกิดขึ้นทั้งในกลุ่มครู นักเรี ยนและจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน
เทคนิค การบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษาใช้กระบวนการกลุ่ม การทางานเป็ นทีม ในรู ปแบบคณะกรรมการ ให้
เรี ยนรู้จากประสบการณ์จริ ง จัดการเรี ยนรู ้ให้เกิดขึ้นทุกเวลา/สถานที่ และร่ วมมือกับทุกฝ่ าย จัดกิจกรรมเสริ มสร้างคุณธรรม ใช้
กระบวนการวิจยั เป็ นส่ วนหนึ่ งของการจัดการเรี ยนรู ้ ยกย่องเชิ ดชูผทู ้ ี่ส่งเสริ มสนับสนุ นการจัดการศึกษา กาหนดเป็ นนโยบายให้
ครู (ทุกคน) นักเรี ยน (รายห้อง) นาเสนองานวิจยั
20

เรื่องที่ 4.1.4 สิ่ งทีค่ วรคานึงถึงในการบริหารงานวิชาการ


การศึกษาสาระความรู้ในเรื่ องที่ 4.1.3 เรื่ อง กระบวนการ และเทคนิคการบริ หารงานวิชาการ ตามแนวคิดของการ
บริ หารโดยใช้สถานศึกษาเป็ นฐาน และการบริ หารแบบมีส่วนร่ วม จะเห็นได้วา่ เป็ นผลจากการวิเคราะห์ สังเคราะห์หลัก
กฎหมาย คือ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 เพียงเรื่ องเดียวเท่านั้น
เนื่องจากการบริ หารงานวิชาการเป็ นงานหลัก มีความสาคัญและครอบคลุมงานพัฒนาผูเ้ รี ยนสู่ ความเป็ นผูใ้ ฝ่ รู ้ พัฒนา
องค์กรสู่ องค์กรแห่งการเรี ยนรู ้ และพัฒนาสังคมสู่ สังคมฐานความรู ้ ฯลฯ ดังนั้น นอกเหนือจากหลักสู ตรของสถานศึกษา ที่มี
ความสาคัญ กากับการทางานวิชาการของสถานศึกษา ซึ่ งนักศึกษาจะศึกษารายละเอียดเรื่ องหลักสู ตรได้ในหน่วยที่ 5 แล้ว การ
บริ หารงานวิชาการจึงยังมีสิ่งที่ควรคานึงถึงอีกหลายประการ ได้แก่
1. แผนการศึกษาแห่ งชาติ ฉบับปรับปรุ ง (พ.ศ. 2552 -2559) กาหนดวัตถุประสงค์และแนวนโยบาย ดังนี้
วัตถุประสงค์ 1 พัฒนาคนอย่างรอบด้านและสมดุล เพื่อเป็ นฐานหลักของการพัฒนา
แนวนโยบาย
1.1 พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรี ยนรู้ในทุกระดับ และประเภทการศึกษา
1.2 ปลูกฝังและเสริ มสร้างให้ผเู ้ รี ยนมีศีลธรรม คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม มีจิตสานึก และมีความภูมิใจในความ
เป็ นไทย มีระเบียบวินยั มีจิตสาธารณะ คานึงถึงประโยชน์ส่วนรวม และยึดมัน่ ในการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอันมี
พระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข และรังเกียจการทุจริ ต ต่อต้านการซื้ อสิ ทธิ์ ขายเสี ยง
1.3 เพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชนทุกคนตั้งแต่แรกเกิดจนตลอดชีวิต ได้มีโอกาส เข้าถึงการบริ การการศึกษา
และการเรี ยนรู้ โดยเฉพาะผูด้ อ้ ยโอกาส ผูพ้ ิการ หรื อทุพพลภาพ ยากจน อยูใ่ นท้องถิ่นห่างไกล ทุรกันดาร
1.4 ผลิตและพัฒนากาลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการของประเทศและเสริ มสร้างศักยภาพการแข่งขัน และ
ร่ วมมือกับนานาประเทศ
1.5 พัฒนามาตรฐานและระบบประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งระบบประกันคุณภาพภายในและระบบการประกัน
คุณภาพภายนอก
1.6 ผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพ และมาตรฐาน มีคุณธรรม และมีคุณภาพ
ชีวติ ที่ดี
21

วัตถุประสงค์ 2 สร้างสังคมไทยให้เป็ นสังคมคุณธรรม ภูมิปัญญา และการเรี ยนรู้


แนวนโยบาย
2.1 ส่ งเสริ มการจัดการศึกษา อบรม และเรี ยนรู้ของสถาบันศาสนา และศาสนาทางสังคม ทั้งการศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
2.2 ส่ งเสริ มสนับสนุ นเครื อข่ายภูมิปัญญา และการเรี ยนรู ้ประวัติศาสตร์ ศิลปะ วัฒนธรรม พลศึกษา กีฬา เป็ นวิถี
ชีวติ อย่างมีคุณภาพ และตลอดชีวติ ส่ งเสริ มการวิจยั และพัฒนา เพื่อสร้างองค์ความรู้ นวัตกรรม และทรัพย์สินทางปั ญญา
พัฒนาระบบบริ หารจัดการความรู้ และสร้างกลไกการนาผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์ 3 พัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคม เพื่อเป็ นฐานในการพัฒนาคน และสร้างสังคมคุณธรรม ภูมิ
ปัญญา และการเรี ยนรู้
แนวนโยบาย
3.1 พัฒนาและนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพ เพิ่มโอกาสทางการศึกษา และการเรี ยนรู้
ตลอดชีวิต
3.2 เพิ่มประสิ ทธิ ภาพการบริ หารจัดการ โดยเร่ งรัดกระจายอานาจการบริ หารและการจัดการศึกษาไปสู่
สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
3.3 ส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมของภาคเอกชน ประชาชน ประชาสังคม และทุกภาคส่ วนของสังคมในการบริ หาร
จัดการศึษา และสนับสนุนส่ งเสริ มการศึกษา
3.4 ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ และการลงทุนเพื่อการศึกษา ตลอดจนบริ หารจัดการ และใช้ทรัพยากรอย่าง
มีประสิ ทธิภาพ
3.5 ส่ งเสริ มความร่ วมมือระหว่างประเทศด้านการศึกษา พัฒนาความเป็ นสากลของการศึกษา เพื่อการรองรับ
การเป็ นประชาคมอาเซี ยนและเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์ ขณะเดียวกันสามารถอยู่
ร่ วมกันกับพลโลกอย่างสันติสุข มีการพึ่งพาอาศัยและเกื้อกูลกัน
จากการศึกษาวิเคราะห์แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุ ง (พ.ศ. 2552-2559) การบริ หารงานวิชาการใน
สถานศึกษา ช่วงปี พ.ศ. 2552-2559 การพัฒนาผู้เรียนอย่างรอบด้ าน และสมดุลเพือ่ เป็ นงานหลักของการพัฒนาและมุ่งเน้ น
การพัฒนาสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน และกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน สู่ สังคมคุณธรรม
ภูมิปัญญา และการเรียนรู้
22

2) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) ซึ่งมีสาระสาคัญที่เกี่ยวข้องเป็ นบริ บทของ


สถานศึกษา ดังนี้
(1) วิสัยทัศน์ประเทศไทย มุ่งพัฒนาสู่ “สังคมอยูเ่ ย็นเป็ นสุ ขร่ วมกัน (Green and Happiness Society) คนไทยมี
คุณธรรมนาความรอบรู ้ รู ้เท่าทันโลก ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพและเป็ น
ธรรม สิ่ งแวดล้อมมีคุณภาพ และทรัพยากรธรรมชาติยงั่ ยืน อยูภ่ ายใต้ระบบบริ หารจัดการ
ประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดารงไว้ซ่ ึ งระบอบประชาธิ ปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข และอยูใ่ น
ประชาคมโลกได้อย่างมีศกั ดิ์ศรี ”
(2) พันธกิจ (ข้อ 1) พัฒนาคนให้มีคุณภาพ นาความรอบรู ้อย่างเท่าทัน มีสุขภาวะที่ดี อยูใ่ นครอบครัวที่อบอุ่น
ชุมชนที่เข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ มีความมัน่ คงในการดารงชีวิตอย่างมีศกั ดิ์ศรี ภายใต้ดุลยภาพของความหลากหลายทาง
วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม
(3) วัตถุประสงค์ (ข้อ 1) เพื่อสร้างโอกาสการเรี ยนรู ้คู่คุณธรรม จริ ยธรรมอย่างต่อเนื่อง ที่ขบั เคลื่อนด้วยการ
เชื่อมโยงบทบาท ครอบครัว สถาบันศาสนา และสถาบันการศึกษา เสริ มสร้างบริ การสุ ขภาพอย่างสมดุล ระหว่างการส่ งเสริ ม
การป้ องกัน การรักษา และการฟื้ นฟูสมรรถภาพ และสร้างความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สิน
(4) เป้ าหมาย (ข้อ 1) เป้ าหมายการพัฒนาคุณภาพคน ให้คนไทยทุกคนได้รับการพัฒนาทั้งทางร่ างกาย จิตใจ ความรู ้
ความสามารถ ทักษะการประกอบอาชีพ และมีความมัน่ คงในการดารงชีวติ . . .
(5) ยุทธศาสตร์ การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่ สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรี ยนรู ้ โดยการพัฒนาคนให้มี
คุณธรรมนาความรู ้ เกิดภูมิคุม้ กัน เสริ มสร้างสุ ขภาวะคนไทยให้มีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ อยูใ่ นสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่
เสริ มสร้างคนไทยให้อยูร่ ่ วมกันในสังคมได้อย่างมีความสันติสุข
โดยสรุ ป แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) เน้นการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ ให้
โอกาสการเรี ยนรู ้คู่คุณธรรม จริ ยธรรม อย่างต่อเนื่ อง ให้คนไทยได้รับการพัฒนาทั้งทางร่ างกาย จิตใจ ความรู้ ความสามารถ
ทักษะการประกอบอาชีพ และมีความมัน่ คงในการดารงชีวติ
3. หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มุง่ พัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคน ซึ่ งเป็ นกาลังของชาติ ให้เป็ น
มนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่ างกาย ความรู ้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและเป็ นพลโลก ยึดมัน่ ในการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข มีความรู ้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จาเป็ นต่อ
การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวติ โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถ
เรี ยนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ และมีรายละเอียดสาคัญ ดังนี้
23

3.1 หลักการ
 เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพื่อความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรี ยนรู้ เป็ นเป้ าหมาย
สาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม บนพื้นฐานของความเป็ นไทยควบคู่กบั ความเป็ นสากล
 เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมี
คุณภาพ
 เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจให้สังคมมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษาให้สอดคล้อง
กับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
 เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุน่ ทั้งด้านสาระการเรี ยนรู ้ เวลา และการจัดการเรี ยนรู ้
 เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
 เป็ นหลักสู ตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย
สามารถเทียบโอนผลการเรี ยนรู้ และประสบการณ์
3.2 จุดหมาย เพื่อให้เกิดกับผูเ้ รี ยนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 มีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนิ ยั และปฏิบตั ิตนตามหลักธรรม
ของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 มีความรู ้อนั เป็ นสากลและมีความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมี
ทักษะชีวติ
 มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่ดี มีสุขนิ สัยและรักการออกกาลังกาย
 มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมัน่ ในวิถีชีวิตและการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
 มีจิตสานึกในการอนุ รักษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุ รักษ์และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม มีจิต
สาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามในสังคม และอยูร่ ่ วมกันในสังคมอย่างมีความสุ ข
3..3 คุณภาพตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้ ช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสาคัญ ดังนี้
 ความสามารถในการสื่ อสาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
24

 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3.4 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก
 รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
 ซื่อสัตย์สุจริ ต
 มีวนิ ยั
 ใฝ่ เรี ยนรู้
 อยูอ่ ย่างพอเพียง
 มุ่งมัน่ ในการทางาน
 รักความเป็ นไทย
 มีจิตสาธารณะ
3.5 สาระการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เกิดความสมดุล 8 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
 ภาษาไทย
 คณิ ตศาสตร์
 วิทยาศาสตร์
 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
 สุ ขศึกษาและพลศึกษา
 ศิลปะ
 การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 ภาษาต่างประเทศ
โดยสรุ ป หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ มี
โครงสร้างยืดหยุน่ ทั้งด้านสาระการเรี ยนรู ้ เวลาและการจัดการเรี ยนรู ้ มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนดี มีปัญญา มีความสุ ข มี
ศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ บรรลุมาตรฐานการเรี ยนรู้ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อให้สามารถอยูร่ ่ วมกับ
ผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก
อนึ่ง ขอบเขตของงานวิชาการจากแนวทางของหลักสู ตรจะครอบคลุมในเรื่ องต่อไปนี้ ได้แก่ เรื่ องความรู ้ ความ
เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับหลักสู ตรและการนาหลักสู ตรไปใช้ในสถานศึกษา การจัดการเรี ยนการสอนให้สอดคล้องกับหลักการ
และจุดหมายของหลักสู ตรและการพัฒนาคุณภาพการเรี ยนการสอน กิจกรรมนักเรี ยนและการบริ หารกิจกรรมนักเรี ยนให้
25

ตอบสนองหลักสู ตร และเสริ มสร้างหลักสู ตรให้เป็ นผลสมบูรณ์ สื่ อการเรี ยนการสอนและกิจกรรมห้องสมุด การจัดและการ


ประเมินผลการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนรวมทั้งการนิเทศการศึกษาและการพัฒนาวิชาชีพ
4. ขอบข่ ายการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาตามกฎหมาย และสถานะของสถานศึกษา กฎกระทรวงศึกษาธิการ
ลงวันที่ 8 พฤษภาคม 2550 เรื่ อง กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบริ หารงานและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 ด้าน
วิชาการไปยังคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรื อสถานศึกษา ในอานาจหน้าที่ของตน แล้วแต่
กรณี ในด้านวิชาการ ดังนี้
(1) การพัฒนาหรื อการดาเนิ นการเกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลักสู ตรท้องถิ่น
(2) การวางแผนงานด้านวิชาการ
(3) การจัดการเรี ยนการสอนในสถานศึกษา
(4) การพัฒนาหลักสู ตรของสถานศึกษา
(5) การพัฒนากระบวนการเรี ยนรู้
(6) การวัดผล ประเมินผล และดาเนินการเทียบโอนผลการเรี ยน
(7) การวิจยั เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา
(8) การพัฒนาและส่ งเสริ มให้มีแหล่งเรี ยนรู ้
(9) การนิเทศการศึกษา
(10) การแนะแนว
(11) การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา
(12) การส่ งเสริ มชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ
(13) การประสานความร่ วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและองค์กรอื่น
(14) การส่ งเสริ มและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถานศึกษา
ประกอบการและสถาบันอื่นที่จดั การศึกษา
(15) การจัดทาระเบียบและแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา
(16) การคัดเลือกหนังสื อแบบเรี ยนเพื่อใช้ในสถานศึกษา
(17) การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

สรุ ปหลักสาคัญทีส่ ถานศึกษาจะต้ องคานึงถึงในการบริหารงานวิชาการ จากการวิเคราะห์ สังเคราะห์ พระราชบัญญัติ


การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุ ง (พ.ศ. 2552-
26

2559) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) และขอบข่ายการบริ หารงานวิชาการใน


สถานศึกษาตามกฎหมายและสถานะของสถานศึกษา ดังนี้
1) การพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ งั ร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู ้ และคุณธรรม
2) การจัดกระบวนการเรี ยนรู้ โดยมุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง การส่ งเสริ มศาสนา
ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู ้สากล ตลอดจนอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อม มีความสามารถประกอบอาชีพ รู ้จกั พึ่งตนเองมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ ใฝ่ รู ้ และเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง
3) การจัดการศึกษาโดยยึดหลักการศึกษาตลอดชีวติ ให้สังคมมีส่วนร่ วมและพัฒนาสาระและกระบวนการเรี ยนรู ้
อย่างต่อเนื่ อง
4) การจัดการศึกษาให้บุคคลที่มีความบกพร่ องด้านต่างๆ เป็ นพิเศษ และการจัดการศึกษาให้ผมู้ ีความสามารถพิเศษ
ในรู ปแบบที่เหมาะสม
5) การจัดการศึกษาโดยยึดหลักผูเ้ รี ยนสาคัญที่สุด และกระบวนการจัดการศึกษาต้องส่ งเสริ มให้ผเู้ รี ยนสามารถพัฒนา
ตามธรรมชาติ เต็มตามศักยภาพ
6) การจัดการศึกษา โดยเน้นด้านความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรี ยนรู้ และบูรณาการในเรื่ อง
(1) ความรู ้เกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธ์กบั สังคม
(2) ความรู้/ทักษะ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการจัดการ การรักษา และการให้ทรัพยากร/สิ่ งแวดล้อม
(3) ความรู ้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม กีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้
(4) ความรู้/ทักษะด้านคณิ ตศาสตร์ และภาษา
(5) ความรู้/ทักษะการประกอบอาชีพและการดารงชีวติ
7) การจัดกระบวนการเรี ยนรู้ ประกอบด้วย
(1) การจัดเนื้ อหาสาระ/กิจกรรม ตามความสนใจ และความถนัดของผูเ้ รี ยน
(2) การฝึ กทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การแก้ปัญหา
(3) การจัดกิจกรรมให้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์จริ ง ให้คิดเป็ น ทาเป็ น รักการอ่านและใฝ่ รู ้
(4) การจัดการเรี ยนการสอนสาระความรู ้ดา้ นต่างๆ อย่างสมดุลย์ และปลูกฝังคุณธรรมค่านิยม และ คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
(5) การสนับสนุนให้ผสู ้ อนจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่ อการสอน และอานวยความสะดวก เพื่อให้เกิดการ
เรี ยนรู ้ และใช้การวิจยั เป็ นส่ วนหนึ่งในกระบวนการเรี ยนรู ้
27

(6) การจัดการเรี ยนรู ้ให้เกิดขึ้นทุกเวลาและสถานที่ และร่ วมมือกับทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยน


8) การประเมินผูเ้ รี ยนและการใช้วธิ ีการที่หลากหลายในการจัดสรรโอกาสเข้าศึกษาต่อและนาผลการประเมินผูเ้ รี ยน
มาใช้ประกอบการพิจารณา
9) การจัดทาสาระหลักสู ตรส่ วนที่เกี่ยวข้องกับสภาพปั ญหาของชุมชน สังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
10) การพัฒนากระบวนการเรี ยนการสอนที่มีประสิ ทธิ ภาพและส่ งเสริ มให้ผสู ้ อนสามารถวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ที่
เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน
11) การพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะในการผลิต และการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
12) การจัดให้ผเู้ รี ยนมีสิทธิ ได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

โดยสรุ ป จากการวิเคราะห์เนื้ องานตามขอบข่ายงานวิชาการในสถานศึกษา ซึ่ งเป็ นภาระงานโดยตรงของผูบ้ ริ หาร


สถานศึกษา ครู และมีผสู ้ ่ วนได้ส่วนเสี ยกับการบริ หารงานวิชาการอีกหลายกลุ่ม ได้แก่ นักเรี ยน ผูป้ กครอง และชุมชนใน
สังคมที่โรงเรี ยนตั้งอยู่ ดังนั้น การบริ หารสถานศึกษาจึง ต้องอยูใ่ นความดูแล ส่ งเสริ ม สนับสนุนของคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีประเด็นสาคัญที่ผบู ้ ริ หารสถานศึกษาจะต้องคานึงถึงความสอดคล้องกับพระราชบัญตั ิการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ดังนี้
(1) หลักการบริหารแบบมีส่วนร่ วม ด้วยความสาคัญของการบริ หารงานวิชาการที่เปรี ยบเสมือนเป็ นหัวใจของการ
บริ หารสถานศึกษา เป็ นงานที่ตอ้ งมีส่วนสัมพันธ์กบั งานของสถานศึกษาทั้งระบบ โดยมีหลักสู ตรสถานศึกษาเป็ นแกนกลาง
ชี้นาการทางานทุกฝ่ ายของสถานศึกษา ได้แก่ ฝ่ ายบริ หารทัว่ ไป ฝ่ ายกิจการนักเรี ยน ฝ่ ายส่ งเสริ มผูเ้ รี ยน และฝ่ ายพัฒนาคุณภาพ
มาตรฐานสถานศึกษา การมีส่วนร่ วมในกระบวนการวางแผน กระบวนการปฏิบตั ิงานทุกขั้นตอนของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย จึง
เป็ นเรื่ องสาคัญที่ส่งผลไปสู่ ความสาเร็ จของการพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เป็ นผลผลิตที่มีคุณภาพ เป็ นคนดี
มีความสมบูรณ์ในความเป็ นคน
(2) การสร้ างทีมงานทีม่ ีประสิ ทธิภาพ การบริ หารสถานศึกษาในยุคของการปฏิรูปการศึกษาที่มีความเจริ ญก้าวหน้า
การปรับเปลี่ยนกลยุทธ์เชิงบริ หารนี้ เป็ นที่ประจักษ์ชดั ว่าเป็ นหน้าที่และความรับผิดชอบของผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องทุกคนที่จะต้อง
ร่ วมกันทางานเป็ นทีม การสร้างทีมงานที่มีประสิ ทธิ ภาพ เหมาะสม และสอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดเฉพาะตน และ
มีความรักในงานที่ตนจะมีส่วนดาเนินการนั้น ย่อมส่ งผลให้งานประสบผลสาเร็ จบรรลุตามวัตถุประสงค์ดว้ ยความภาคภูมิใจ
28

3. การเปลีย่ นภาพลักษณ์ ของผู้บริหารสถานศึกษา จากผูน้ าที่คอยสั่งการเพียงอย่างเดียว มาเป็ นผูน้ าที่ทาหน้าที่


ส่ งเสริ ม สนับสนุนและเชิญชวนให้ผรู ้ ่ วมงานทุกคนปฏิบตั ิงานเต็มความสามารถ ด้วยความศรัทธาในงานที่ทา

ตอนที่ 4.2
กระบวนการบริหารงานวิชาการ
หัวเรื่อง
เรื่ องที่ 4.2.1 การวางแผนการบริ หารงานวิชาการ
เรื่ องที่ 4.2.2 ยุทธศาสตร์ การนาแผนการบริ หารงานวิชาการสู่ การปฏิบตั ิ
เรื่ องที่ 4.2.3 การนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการบริ หารงานวิชาการ
แนวคิด
1. การวางแผนการบริ หารงานวิชาการ เป็ นกิจกรรมหลักอันดับแรกที่มีความสาคัญอย่างยิ่ง ต่อการจัดการสถานศึกษา
เพื่อให้บุคลากรทุกคนในสถานศึกษามีเป้ าหมายและทิศทาง การทางานด้านวิชาการร่ วมกัน เข้าใจหน้าที่ความรับผิดชอบ การจัด
กิจกรรมการเรี ยนรู ้ของตน และสามารถทางานร่ วมกับเพื่อนครู คนอื่นได้โดยไม่เกิดความขัดแย้ง ช่วยลดความไม่พอใจและ
ความท้อแท้ที่เกิดขึ้นจากการทางาน โดยขาดทิศทางและเป้ าหมายที่ชดั เจน และต้องวางแผนให้ครอบคลุมขอบข่ายการ
บริ หารงานวิชาการทั้งหมด
2. ประเด็นสาคัญที่ผบู้ ริ หารสถานศึกษาจะต้องคานึงถึงในการวางแผนการบริ หารงานวิชาการ คือ การวางแผนให้
ครอบคลุมงานวิชาการ ตามขอบข่ายการบริ หารงานวิชาการทั้งหมด ได้แก่ การบริ หารหลักสู ตร การบริ หารการเรี ยนการสอน
การบริ หารการนิเทศภายใน การบริ หารการประเมินผลการเรี ยนการสอน การบริ หารระบบข้อมูลและสารสนเทศทางวิชาการ
การบริ หารการพัฒนาบุคลากร การบริ หารการวิจยั และพัฒนา การบริ หารโครงการทางวิชาการอื่น ๆ และการบริ หารการ
ประเมินผลด้านวิชาการของสถานศึกษา

3. กระบวนการบริ หารงานวิชาการ ประกอบด้วย การวางแผนการบริ หารงาน การกาหนดยุทธศาสตร์ การบริ หารงาน


ยุทธศาสตร์ การนาแผนการบริ หารงานวิชาการสู่ การปฏิบตั ิ และการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการบริ หารงานวิชาการ
4. การประเมินผลการบริ หารงานวิชาการ เป็ นกิจกรรมในกระบวนการบริ หาร ซึ่ งผูบ้ ริ หารสถานศึกษาและ
ผูร้ ับผิดชอบ จะต้องมีการวางแผน การดาเนิ นงานอย่างเป็ นระบบ มีการกาหนดขั้นตอน และกาหนดกิจกรรมการกากับ ติดตาม
และประเมินผล ให้ชดั เจน รวมทั้งการประเมินตนเอง หรื อการประเมินคุณภาพภายในด้วย
29

วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาตอนที่ 4.2 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายความสาคัญของการวางแผนการบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษาได้
2. ระบุประเด็นสาคัญของการวางแผนการบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษาพร้อมอธิ บายรายละเอียดได้
3. อธิบายกระบวนการบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษาได้
4. ระบุข้ นั ตอนของระบบการประเมินผลการบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษาได้

เรื่องที่ 4.2.1 การวางแผนการบริหารงานวิชาการ


นักศึกษาได้ศึกษา แนวคิด หลักการเกี่ยวกับการบริ หารงานวิชาการมาแล้วในตอนที่ 4.1 มีประเด็นสาคัญที่นกั ศึกษา
จะต้องใช้เป็ นฐานการวางแผนการบริ หารงานวิชาการ ได้แก่ 1) ความรู ้เรื่ องขอบข่ายของงานวิชาการโดยละเอียด เพื่อรู ้เนื้อหา
สาระของงานวิชาการ 2) ความรู้เรื่ องบทบาทสาคัญของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในฐานะที่เป็ นผูน้ าทางวิชาการซึ่งจะต้องเป็ นผู้
กาหนดทิศทางงานวิชาการ ทาหน้าที่เป็ นผูน้ า เป็ นนักวางแผน นักจัดองค์กร ผูป้ ระสานงาน ผูแ้ ก้ไขความขัดแย้ง ผูแ้ ก้ปัญหาผู ้
จัดระบบงาน ผูบ้ ริ หารการเรี ยนการสอน นักบริ หารงานบุคลากรและทรัพยากรรวมทั้งเป็ นนักประเมินผลไปด้วยในเวลา
เดียวกัน 3) ความรู ้เรื่ องพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 จากการ
วิเคราะห์ เพื่อให้ได้หลักการ กระบวนการ และเทคนิคการบริ หารงานวิชาการตามแนวคิดของการบริ หารโดยใช้สถานศึกษาเป็ น
ฐาน และการบริ หารแบบมีส่วนร่ วม
การวางแผนการบริ หารงานวิชาการเป็ นกิจกรรมหลักอันดับแรกที่มีความสาคัญอย่างยิง่ ต่อการ จัดการสถานศึกษา
เพื่อให้บุคลากรทุกคนในสถานศึกษามีเป้ าหมายและทิศทางการทางานด้านวิชาการร่ วมกัน เข้าใจหน้าที่ความรับผิดชอบการ
จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ของตน และสามารถทางานร่ วมกับเพื่อนครู คนอื่นได้โดยไม่เกิดความขัดแย้ง ช่วยลดความไม่พอใจ
และความท้อแท้ที่เกิดขึ้นจากการทางานโดยขาดทิศทางและเป้ าหมายที่ชดั เจน
กระบวนการวางแผนประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ
1) ขั้นตอนการวางแผน ประกอบด้วย
(1) การศึกษาวิเคราะห์พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
และแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุ ง (พ.ศ. 2552-2559) การประกันคุณภาพการศึกษา และมาตรฐานการศึกษาของชาติ
(2) ศึกษาวิเคราะห์บริ บทของสถานศึกษา จัดเตรี ยมสารสนเทศสาคัญ เพื่อการวาง แผนการบริ หารงานวิชาการ
30

(3) เตรี ยมบุคลากรที่จะเข้าร่ วมวางแผน ได้แก่ ผูแ้ ทนจากหน่วยงานย่อยภายในสถานศึกษาทุกหน่วยให้มีความ


พร้อมและตระหนักในความสาคัญของการวางแผนการบริ หารงานวิชาการ
2) ขั้นดาเนินการ ประกอบด้วย
(1) การกาหนดพันธกิจ (Mission) ด้านการบริ หารงานวิชาการของสถานศึกษา เช่น
 กาหนดนโยบาย ส่ งเสริ ม สนับสนุ นและควบคุมให้มีการจัดการเรี ยนรู้เพื่อปลูกฝังคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ให้เกิดขึ้นในผูเ้ รี ยนทุกคน ได้แก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ ซื่ อสัตย์สุจริ ต มีวนิ ยั ใฝ่ เรี ยนรู ้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุ่งมัน่ ใน
การทางาน รักความเป็ นไทย และมีจิตสาธารณะ
 กาหนดนโยบาย ส่ งเสริ ม สนับสนุน ควบคุมให้ผสู้ อนจัดการเรี ยนการสอนที่มุ่งมัน่ ให้ผเู ้ รี ยนมี
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ คิดไตร่ ตรอง และมีวสิ ัยทัศน์
 สร้างเสริ มให้ผเู้ รี ยนมีความรู้และทักษะที่จาเป็ นตามหลักสู ตร
 กาหนดนโยบายให้มีการจัดกิจกรรมฝึ กฝนผูเ้ รี ยนให้มีทกั ษะในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง รักการ
เรี ยนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ฯลฯ
(2) การกาหนดเป้ าหมายของงานด้านวิชาการ (goals) ที่ตอ้ งสอดคล้องกับพันธกิจ เพื่อให้สถานศึกษาอยูไ่ ด้ตาม
ภารกิจที่กาหนด และเพื่อให้มองเห็นพันธกิจของสถานศึกษาได้ชดั เจน เป้ าหมายงานด้านวิชาการที่ดีควรมีลกั ษณะของความ
ท้าทาย (challenge) เฉพาะเจาะจงและวัดได้ (specific and measurable) สามารถบรรลุได้ (attainable) เกี่ยวข้องกับงานและมุ่ง
ไปที่ผลลัพธ์ที่ตอ้ งการ (relevant and result oriented) และควรมีกาหนดระยะเวลาที่ตอ้ งการให้งานนั้นสาเร็ จ การกาหนด
เป้ าหมายของงานด้านวิชาการ เช่น
 ผูเ้ รี ยนร้อยละ 70 เข้าร่ วมโครงการรักการอ่าน
 ผูเ้ รี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ใน
ปี การศึกษา 2552
 ร้อยละ 80 ของผูส้ อน มีความสามารถในการนาเสนองานวิจยั ในชั้นเรี ยนได้คนละ 1 ชิ้นต่อปี ฯลฯ
3) ขั้นกาหนดยุทธศาสตร์ การบริ หารงานวิชาการ (หรื อการจัดทาแผนกลยุทธ์)
ชั้นการกาหนดยุทธศาสตร์ การบริ หารงานวิชาการ เป็ นการกาหนดมาตรการการบริ หารงานวิชาการอย่างเป็ นระบบ
ให้สอดคล้องกับพันธกิจ เป้ าหมายของการบริ หารงานวิชาการที่ต้ งั ไว้ มีการพิจารณาร่ วมกันระหว่างผูบ้ ริ หารสถานศึกษา รอง
ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาทุกฝ่ าย ครู ทุกคน และผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ ด้วยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อม
ภายนอกให้เข้าใจถึงจุดแข็ง (strength) จุดอ่อน (weakness) โอกาส (opportunity) และอุปสรรค (threat) เพื่อการรู้จกั ตนเอง
ซึ่ งจะนาไปสู่ การเรี ยงลาดับความสาคัญ ของจุดเด่นสู่ การรักษามาตรฐานคุณภาพ และพัฒนาจุดด้อยเพื่อยกระดับสถานศึกษา
31

เข้าสู่ มาตรฐานคุณภาพและนาไปสู่ การกาหนดทิศทางการทางานด้านวิชาการของสถานศึกษาว่าจะพัฒนางานไปใน ทิศทางใด


ไปสู่ เป้ าหมายใด ด้วยวิธีใด ภายในระยะเวลาใด ที่กาหนดไว้เป็ นการแน่นอน นัน่ คือ ขั้นตอนการวางแผนการบริ หารงาน
วิชาการของสถานศึกษา นัน่ เอง
ประเด็นสาคัญที่ผบู้ ริ หารสถานศึกษาจะต้องคานึงถึงในการวางแผนการบริ หารงานวิชาการ คือ การวางแผนให้
ครอบคลุมงานวิชาการ ตามขอบข่ายการบริ หารงานวิชาการทั้งหมด ได้แก่ การบริ หารหลักสู ตร การบริ หารการเรี ยนการสอน
การบริ หารการนิเทศภายใน การบริ หารการประเมินผล การเรี ยนการสอน การบริ หารระบบข้อมูลและสารสนเทศทางวิชาการ
การบริ หารการพัฒนาบุคลากร การบริ หารการวิจยั และพัฒนา การบริ หารโครงการทางวิชาการอื่นๆ และการบริ หารการ
ประเมินผลด้านวิชาการของสถานศึกษา

เรื่องที่ 4.2.2 ยุทธศาสตร์ การนาแผนการบริหารงานวิชาการสู่ การปฏิบัติ


จากการศึกษาเรื่ องที่ 4.2.1 การวางแผนการบริ หารงานวิชาการและการศึกษาเรื่ องหลักสู ตร ในหน่วยที่ 5 จะได้
ข้อสรุ ปที่ช้ ีให้เห็นว่า หลักสู ตรของสถานศึกษา คือ แบบพิมพ์เขียว (Blue Print) กากับการทางานวิชาการของบุคลากรฝ่ าย
บริ หารสถานศึกษา ฝ่ ายปฏิบตั ิการสอนและฝ่ ายส่ งเสริ มสนับสนุนการสอน ซึ่ งผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยหรื อบุคลากรภายใน
สถานศึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง จะต้องทาความเข้าใจให้ตรงกันในเรื่ องต่อไปนี้ คือ
1. ความต้องการและประโยชน์ใช้สอยของผูม้ ีส่วนได้เสี ยต่อโครงสร้างหลักสู ตร (ความมุ่งหมายหรื อวัตถุประสงค์
และผลที่คาดว่าจะได้รับ)
2. รายละเอียดที่ประกอบอยูใ่ นโครงสร้างหลักสู ตร แต่ละช่วงหรื อแต่ละขั้นตอน
3. การนาหลักสู ตรไปใช้ (หน้าที่และภารกิจของผูใ้ ช้หลักสู ตร)
4. การกากับ ดูแล และตรวจสอบการใช้หลักสู ตรในแต่ละขั้นตอน
5. การประเมินผลการใช้หลักสู ตร
ระบบบริ หารงานวิชาการของสถานศึกษา จึงเริ่ มต้นจากหลักสู ตร หมุนไปสู่ การจัดการเรี ยนการสอน การจัด
กิจกรรมผูเ้ รี ยน (กิจกรรมวิชาการ) การจัดระบบสิ่ งแวดล้อมและบรรยากาศทางวิชาการของสถานศึกษาและการวัดผล
ประเมินผล ทั้งในส่ วนของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยน และผลสาเร็ จของการนาหลักสู ตรไปใช้ เพื่อพัฒนาหลักสู ตร
ตามความต้องการ ความจาเป็ นของผูเ้ รี ยน และการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมภายนอกสถานศึกษา
ในภาพรวมที่ได้จากการสารวจสภาพของสถานศึกษา (สภาพภายในด้านกายภาพ สภาพภายในด้านคุณภาพ และ
สภาพแวดล้อมภายนอก) จะส่ งผลต่อการกาหนดวิสัยทัศน์ของสถานศึกษา การกาหนดยุทธศาสตร์การดาเนินงานของ
32

สถานศึกษาและการกาหนดภารกิจของสถานศึกษาในรู ปแบบของงาน โครงการหรื อกิจกรรม ซึ่ งจะต้องสอดคล้องกับ


มาตรการการรักษาคุณภาพที่เป็ นจุดแข็ง และการลดขนาดหรื อการทาลายจุดอ่อนของสถานศึกษาที่เป็ นผลจากการประเมิน
ตนเอง
ดังนั้น การบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษา จึงมีส่วนสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับการสร้างหลักสู ตรสถานศึกษา การ
จัดทาแผนยุทธศาสตร์การบริ หารงานวิชาการ และมาตรฐานการประเมินคุณภาพสถานศึกษา และมาตรฐานการศึกษาของ
ชาติ
มาตรฐานการประเมินคุณภาพสถานศึกษา ในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับการบริ หารงานวิชาการที่จาเป็ นต้องนามาพิจารณา
จัดทาแผนงานและโครงการ ได้แก่ (ในส่ วนของการประเมินผลผลิต)
มาตรฐานที่ 1 ผูเ้ รี ยนมีความรู้ และทักษะพื้นฐานตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานที่ 3 ผูเ้ รี ยนเป็ นบุคคลแห่งการเรี ยนรู ้
มาตรฐานที่ 5 ผูเ้ รี ยนมีสุนทรี ยภาพ และลักษณะนิสัย ด้านศิลปะ ดนตรี และการกีฬา
มาตรฐานที่ 7 ผูเ้ รี ยนมีสุขนิสัย สุ ขภาพกาย และสุ ขภาพจิตที่ดี

ยุทธศาสตร์ การนาแผนการบริ หารงานวิชาการไปสู่ การปฏิบตั ิ เป็ นกิจกรรมภายหลังการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ ระดับ


สถานศึกษาเรี ยบร้อยแล้ว โดยดาเนินการในขั้นตอนของการกาหนดภารกิจของสถานศึกษาในรู ปของงาน โครงการหรื อ
กิจกรรมที่สถานศึกษาจะต้องดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ของสถานศึกษา
ภายหลังจากที่สถานศึกษาได้จดั ทาแผนยุทธศาสตร์ ของระดับสถานศึกษา กาหนดมาตรการดาเนิ นการและเขียน
โครงการเสร็ จเรี ยบร้อย จึงดาเนินการตามขั้นตอนต่อไป ดังนี้
การประสานแผน เนื่ องจากสถานศึกษามีขอบข่ายงานที่กว้าง มีโครงสร้างองค์กรที่สลับซับซ้อน ทั้งในแนวราบและ
แนวดิ่ง กลุ่มงานที่แสดงกับภารกิจของสถานศึกษา คือ กลุ่มงานบริ หารทัว่ ไป กลุ่มงานวิชาการและกิจการนักเรี ยน และกลุ่ม
งานบริ หารสนับสนุน งานโครงการตามแผนยุทธศาสตร์ ของสถานศึกษาจึงเกิดขึ้นจากการพิจารณาจัดทาของกลุ่มบุคลากร
แต่ละกลุ่มงาน ซึ่ งหากเป็ นการจัดทาเบ็ดเสร็ จเพื่อนาไปใช้ในครั้งเดียว จะเกิดความสับสน ขัดข้อง และมีปัญหาในเชิงปฏิบตั ิ
โดยเฉพาะในเรื่ องของเวลา สถานที่ กลุ่มเป้ าหมาย การบริ หารทรัพยากรในภาพรวมของสถานศึกษา และความซ้ าซ้อนของ
งาน ขั้นตอนที่จะแก้ปัญหาที่กล่าวข้างต้นได้ คือ ขั้นตอนของการประสานแผน ซึ่ งวัตถุประสงค์สาคัญของการประสานแผน
คือ การบูรณาการโครงการที่มีทิศทางการดาเนิ นการ วัตถุประสงค์ของโครงการ กลุ่มเป้ าหมายของผูด้ าเนินการที่คล้ายคลึง
กันสามารถรวมเข้าเป็ นโครงการเดียวกันหรื อดาเนินโครงการในช่วงเวลาเดียวกันได้การประสานแผนเข้าด้วยกันนี้เพื่อจัดทา
แผนปฏิบตั ิการประจาปี ของสถานศึกษาต่อไป
33

การนาแผนไปใช้ หรื อการนาแผนไปสู่ การปฏิบตั ิ คือ ขั้นตอนดาเนินโครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี ของ


สถานศึกษา ในขั้นตอนดาเนิ นโครงการตามแผนนี้ สถานศึกษามีความจาเป็ นที่จะต้องจัดให้มีระบบกากับ ติดตาม และ
ประเมินผล ซึ่ งจะต้องดาเนิ นการเป็ น 3 ระยะ คือ ก่อนดาเนินโครงการ (ระยะเตรี ยมการ) ระหว่างดาเนิ นโครงการ และเมื่อ
สิ้ นสุ ดการดาเนิ นโครงการ การวางระบบ กากับ ติดตาม และประเมินผล จะจัดทาประกอบไว้ในภารกิจหรื องานบริ หาร
สถานศึกษา
การกากับ ติดตาม และประเมินผล เป็ นกระบวนการของการตรวจสอบ ควบคุม ส่ งเสริ ม สนับสนุน เร่ งรัดงาน และ
ในบางกรณี จะหมายรวมไปถึง การให้คาแนะนา ให้กาลังใจ เพื่อให้การดาเนินการเป็ นไปตามเป้ าหมาย ซึ่งเป็ นหน้าที่โดยตรง
ของผูบ้ ริ หารงานหรื อหัวหน้าโครงการ
ในส่ วนของการบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษา การกากับ ติดตาม และประเมินผลโครงการจึงเป็ นภารกิจสาคัญ
ของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา รองผูอ้ านวยการฝ่ ายวิชาการและฝ่ ายอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งหัวหน้าโครงการที่ได้รับแต่งตั้งเป็ น
พิเศษ
อนึ่ง ยุทธศาสตร์ การดาเนิ นงานเพื่อการรับรองมาตรฐานการจัดการศึกษาของสถานศึกษานี้ ยุทธศาสตร์ การ
ดาเนินงานที่สาคัญประการแรก คือ การกาหนดโครงสร้างการบริ หารแผน โดยให้หน่วยงานย่อยภายในสถานศึกษา และ
หน่วยงานภายนอกสถานศึกษาที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ต้องเข้ามามีส่วนร่ วมอย่างจริ งจังในการกาหนดแผน โครงงานและงานของ
หน่วยงานย่อย เพื่อดาเนินการขั้นปฏิบตั ิ มีการกาหนดเป้ าหมายและเกณฑ์ช้ ีวดั ความสาเร็ จของการดาเนิ นงานตามช่วงเวลาที่
กาหนด ทรัพยากรที่ตอ้ งใช้ และผูร้ ับผิดชอบที่ชดั เจน แล้วดาเนินการให้เป็ นผลสาเร็ จ
การมอบหมายงานแก่ ทมี งาน (คณะกรรมการ) เป็ นการมอบหมายทั้งอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ด้วยความ
จริ งใจ เพื่อความสาเร็ จของงานที่รวดเร็ ว และเพิ่มพูนทักษะและความเชี่ยวชาญในการทางานของทีมงานเพื่อนครู ให้สูงขึ้น
การประสานงาน เพื่อสร้างความร่ วมมือระหว่างทีมงานแต่ละโครงการ และหน่วยงานย่อยภายในสถานศึกษา
สามารถดาเนินงานต่างๆ ตามแผนได้อย่างราบรื่ น และสอดคล้องกัน
การกากับติดตามงาน เพื่อผลสัมฤทธิ์ ของการบริ หารงานวิชาการ และสามารถนาผลจากการกากับติดตามมาเป็ น
แนวทางในการปรับปรุ งหรื อปรับเปลี่ยนวิธีดาเนินการอย่างสอดคล้องกับปั ญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการนาแผนไปปฏิบตั ิ
การประเมินผลการบริหารงานตามแผน เป็ นขั้นตอนที่มีความสาคัญมากของยุทธศาสตร์ การนาแผนการบริ หารงานสู่
การปฏิบตั ิ เพราะการประเมินผลจะเป็ นตัววัด และบอกให้ผบู้ ริ หารสถานศึกษา ผูว้ างแผน รวมทั้งผูเ้ กี่ยวข้องกับแผนทุกฝ่ ายได้
รู ้วา่ แผนหรื อโครงการที่กาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ การปฏิบตั ิงานของสถานศึกษา ซึ่ งต้องใช้ท้ งั กาลังคน กาลังแรงงานและ
34

ค่าใช้จ่าย (งบประมาณ) นั้น เมื่อเสร็ จสิ้ นแผนแล้วผลที่ได้เป็ นประการใด เป็ นไปตามที่คาดหมายและมุ่งหวังมากน้อยเพียงใด


คุม้ ค่าหรื อไม่ ควรดาเนิ นโครงการต่อไป ควรหยุด หรื อควรปรับปรุ งแก้ไขอย่างไรต่อไป
การประเมินผลควรกาหนดไว้เป็ นส่ วนหนึ่ งของแผนงานโครงการ เพื่อให้ผบู้ ริ หารสถานศึกษา ผูบ้ ริ หารโครงการและ
ผูเ้ กี่ยวข้องอื่นๆ ได้รับทราบความเป็ นไปของการดาเนินโครงการสามารถตรวจสอบ ควบคุมและติดตามงานได้ ในส่ วนของ
ผูป้ ฏิบตั ิงานจะสามารถปฏิบตั ิงานได้ตามแผน มีความระมัดระวัง และเตรี ยมพร้อมที่จะทางานมากขึ้น เพื่อเตรี ยมรับการ
ตรวจสอบการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน อันเป็ นส่ วนหนึ่งของการประเมินศักยภาพของผูป้ ฏิบตั ิงานโดยฝ่ ายบริ หารได้อีก
ประการหนึ่ง

เรื่องที่ 4.2.3 การนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการบริหารงานวิชาการ


การนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการบริ หารงานวิชาการของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา โดยที่นกั ศึกษาได้ทาความเข้าใจมา
ตั้งแต่ตน้ แล้วว่า การบริ หารงานวิชาการ คือ การบริ หารงานเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณสมบัติอนั พึงประสงค์ ตามความ
คาดหวังของหลักสู ตร ชุมชน สังคม ความคาดหวังของสถานศึกษาและความคาดหวังของตัวผูเ้ รี ยน งานวิชาการจึงเป็ นงานที่
เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทุกชนิดในสถานศึกษา โดยเฉพาะเกี่ยวกับการปรับปรุ งคุณภาพการเรี ยนการสอนให้ได้ผลดีและมี
ประสิ ทธิ ผล เกิดประโยชน์สูงสุ ดกับผูเ้ รี ยน
จากลักษณะงานที่มีขอบข่ายกว้างขวาง เกี่ยวพันกับบุคลากรทุกกลุ่มภายในสถานศึกษา และบุคลากรภายนอก
สถานศึกษาอีกบางส่ วน เป็ นผลทาให้ผบู ้ ริ หารสถานศึกษาต้องให้ความเอาใจใส่ ต่อกระบวนการบริ หารงานวิชาการด้วยการ
จัดระบบการบริ หารที่ต่อเนื่อง ครบวงจร เริ่ มต้นจากการวางแผนบนพื้นฐานของสภาพปั จจุบนั อันเป็ นบริ บทของสถานศึกษา
ความมุ่งหวังหรื อความต้องการของบุคลากรทุกกลุ่มที่มีส่วนเกี่ยวข้อง การกาหนดยุทธศาสตร์ การปฏิบตั ิงานที่มีอตั ราความ
เป็ นไปได้สูง การทาความเข้าใจให้ตรงกันในแผนงานโครงการที่กาหนดไว้เป็ นมาตรการปฏิบตั ิงานตามแผนยุทธศาสตร์ การ
นาแผนสู่ การปฏิบตั ิ การนิเทศ ติดตาม ประเมินผลระหว่างการดาเนิ นโครงการแต่ละโครงการ เพื่อปรับแผนเป็ นระยะๆ เมื่อ
เกิดปั ญหาข้อขัดข้องในทางปฏิบตั ิ และการประเมินผลในขั้นตอนสุ ดท้ายภายหลังเสร็ จสิ้ นโครงการ รวมไปถึงภาพรวมการ
ประเมินผลการบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษาเป็ นขั้นตอนสุ ดท้าย
การนิเทศ เป็ นกระบวนการทางานร่ วมกันระหว่างผูน้ ิเทศ ได้แก่ ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา รองผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ครู ตน้ แบบหรื อหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้าโครงการ ฯลฯ และครู ในสถานศึกษาเดียวกัน โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนางานในหน้าที่ความรับผิดชอบ ในลักษณะของเพื่อนช่วยเพื่อน เป็ นการนาความสามารถพิเศษของครู
คนหนึ่งมาช่วยเหลือ เพื่อประโยชน์ของเพื่อนครู คนอื่นๆ ที่มีความสามารถในเรื่ องนั้นด้อยกว่า หรื อเพื่อการช่วยเหลือให้
คาแนะนาในเรื่ องของการบริ หารโครงการสู่ เป้ าหมายที่กาหนดไว้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
35

การติดตาม เป็ นกระบวนการของการควบคุม ดูแล ให้งานโครงการดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง สามารถควบคุมช่วงเวลา


การปฏิบตั ิงาน (ให้เสร็ จสิ้ นตามช่วงเวลาที่กาหนด) และสามารถแก้ไขปั ญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในระหว่างการปฏิบตั ิงาน
โครงการได้ทนั ท่วงที ไม่เกิดผลเสี ยหรื อข้อบกพร่ องต่องาน โครงการในภาพรวม เมื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ ของโครงการใน
ขั้นตอนสุ ดท้าย
การประเมินผล เป็ นขั้นตอนที่มีความสาคัญมากของการวางแผน เพราะการประเมินผลจะเป็ นตัววัด และบอกให้
ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ผูว้ างแผน รวมทั้งผูเ้ กี่ยวข้องกับแผนทุกฝ่ ายได้รู้วา่ แผนหรื อโครงการที่กาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ การ
ปฏิบตั ิงานของสถานศึกษา ซึ่ งต้องใช้ท้ งั กาลังคน กาลังแรงงาน และค่าใช้จ่าย (งบประมาณ) นั้น เมื่อเสร็ จสิ้ นแผนแล้วผลที่
ได้เป็ นประการใด เป็ นไปตามที่คาดหมายและมุ่งหวังมากน้อยเพียงใด คุม้ ค่าหรื อไม่ ควรดาเนินโครงการต่อไป ควรหยุด
หรื อควรปรับปรุ งแก้ไขอย่างไรต่อไป
การประเมินผลควรกาหนดไว้เป็ นส่ วนหนึ่ งของแผนงานโครงการ เพื่อให้ผบู ้ ริ หารสถานศึกษา ผูบ้ ริ หารโครงการและ
ผูเ้ กี่ยวข้องอื่นๆ ได้รับทราบความเป็ นไปของการดาเนินโครงการ สามารถตรวจสอบ ควบคุมและติดตามงานได้ ในส่ วนของ
ผูป้ ฏิบตั ิงานจะสามารถปฏิบตั ิงานได้ตามแผน มีความระมัดระวัง และเตรี ยมพร้อมที่จะทางานมากขึ้น เพื่อเตรี ยมรับการ
ตรวจสอบการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน อันเป็ นส่ วนหนึ่งของการประเมินศักยภาพของผูป้ ฏิบตั ิงานโดยฝ่ ายบริ หารได้อีก
ประการหนึ่ง
สาหรับรู ปแบบการประเมินที่นิยมใช้กนั ทัว่ ไป เรี ยกว่ารู ปแบบ CIPP Model ของสตัฟเฟิ ลบีม (D.L. Strufflebeam) ที่
มุ่งประเมินองค์ประกอบ 4 ประเภทของงานโครงการ ได้แก่
C: Context หมายถึง สภาวะแวดล้อมหรื อบริ บท
I: Input หมายถึง ปัจจัยหรื อทรัพยากร
P: Process หมายถึง กระบวนการดาเนินงาน
P: Product หมายถึง ผลผลิตหรื อผลลัพธ์ของงาน
แนวทางการประเมินในแต่ละองค์ประกอบ มีรายละเอียดดังภาพที่ 4.2
36

การประเมินสภาพแวดล้อม ทั้งสภาพเศรษฐกิจ
การประเมินก่อน สังคมเป็ นการประเมินความต้องการ และความ
การดาเนินงาน การประเมินบริ บท จาเป็ นว่าต้องมีงานนั้นหรื อไม่ ตลอดจนปั ญหา
และอุปสรรคต่างๆ เพื่อกาหนดโครงการ

การตรวจสอบความพร้อมด้านทรัพยากรทั้งด้าน
ปริ มาณ และคุณภาพ และระบบบริ หารจัดการ และ
การประเมินปั จจัย วิธีการ เพื่อกาหนดทางเลือกที่เหมาะสมที่จะบรรลุ
วัตถุประสงค์เพื่อการเตรี ยมและเขียนโครงการ/งาน

การประเมินการดาเนินงาน จุดอ่อน จุดแข็ง ปั ญหา


การประเมินระหว่าง การประเมิน และอุปสรรคในการดาเนินงาน มูลเหตุที่ทาให้สามารถ
การดาเนินงาน กระบวนการ หรื อไม่สามารถดาเนินงานเพื่อปรับปรุ งการดาเนินงานให้
สามารถทางานสาเร็ จ ซึ่งต้องอาศัยการเร่ งรัดและติดตาม
ความก้าวหน้าด้วย

การประเมินเพื่อเปรี ยบเทียบผลผลิตที่เกิดขึ้นกับ
การประเมินเมื่อสิ้ นสุ ด การประเมินผลผลิต วัตถุประสงค์ ความต้องการ หรื อเป้ าหมายที่
การดาเนินงาน กาหนดไว้ รวมทั้งการประเมินผลกระทบ และ
ผลลัพธ์ของนโยบาย/แผนงาน/โครงการ

ภาพที่ 4.2 รู ปแบบการประเมิน แบบ CIPP MODEL


ที่มา: กลม สุ ดประเสริ ฐ (2544) การบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษา กรุ งเทพมหานคร ทิปส์ พับบลิเคชัน่ หน้า 89
37

การประเมินโครงการตามกระบวนการของสตัฟเฟิ ลบีม หรื อที่เรี ยกว่า CIPP Model นี้ มีลกั ษณะเป็ นการวิเคราะห์
ระบบเพื่อการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาว่า ควรดาเนิ นโครงการนั้นต่อไปหรื อไม่ จะมีการปรับปรุ งแก้ไขเพื่อให้
เหมาะสมอย่างไร หรื อควรล้มเลิกโครงการนั้น หากผลสัมฤทธิ์ ไม่ได้ตามเป้ าหมาย และเกิดผลกระทบในทางลบที่ชดั เจน
ดังนั้น ภาระงานสาคัญของการบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษาของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา คือ การกาหนดนโยบาย
การดาเนิ นการด้านวิชาการ การชี้แจงทาความเข้าใจร่ วมกันในนโยบายกับผูส้ อนและผูเ้ กี่ยวข้องทุกฝ่ ายทุกคน การชี้ แนะ การ
อานวยความสะดวกด้านงบประมาณ ด้านบุคลากร การนิเทศ การติดตาม และการประเมินผลงาน เพื่อสรุ ปรายงานประจาปี
ภาระงานต่างๆ เหล่านี้ จะต้องดาเนินการตามลาดับอย่างต่อเนื่ อง

ตอนที่ 4.3
บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการบริหารงานวิชาการ
หัวเรื่อง
เรื่ องที่ 4.3.1 บทบาทการพัฒนาความเป็ นผูน้ าทางวิชาการ
เรื่ องที่ 4.3.2 บทบาทการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการบริ หารงานวิชาการ
เรื่ องที่ 4.3.3 บทบาทการพัฒนาสถานศึกษาด้านวิชาการ

แนวคิด
1. บทบาทการพัฒนาความเป็ นผูน้ าทางวิชาการ เป็ นบทบาทสาคัญที่ผบู้ ริ หารสถานศึกษาต้องฝึ กฝนและพัฒนาความรู้
ความสามารถอย่างต่อเนื่ องตลอดเวลา ด้วยการศึกษาเพิม่ เติมจากสถาบันการศึกษา ศึกษาจากผูเ้ ชี่ยวชาญ หรื อศึกษาด้วย
ตนเอง เพื่อพัฒนาองค์ความรู ้แห่งวิชาชีพ สมรรถนะในการปฏิบตั ิงานและการบ่มเพาะคุณธรรม จริ ยธรรมที่ส่งเสริ มให้มี
ความคิดดี เฉี ยบแหลม มีความเป็ นคนดี รวมทั้งการปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างในการเรี ยนรู ้ตลอดชีวติ เป็ นตัวอย่างที่ดีแก่
ผูร้ ่ วมงาน
2. ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในฐานะของผูน้ าทางวิชาการที่แท้จริ ง ต้องมีวสิ ัยทัศน์ มีทศั นะกว้างไกล มีความสามารถที่จะ
ทาให้ผรู ้ ่ วมงานยอมรับความคิดในการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการศึกษาในการบริ หารงานวิชาการและยินดี ร่วม
ปฏิบตั ิงานด้วย
38

3. ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในฐานะผูน้ าทางวิชาการ ต้องมีความรู ้ ความสามารถ และมีความมุ่งมัน่ ที่จะพัฒนา


สถานศึกษา ด้วยการพัฒนาทั้งระบบ ให้เป็ นองค์กรเรี ยนรู ้อยู่ ตลอดเวลา ใช้ระบบบริ หารสถานศึกษาแบบยึดผูเ้ รี ยนเป็ น
สาคัญ และกระจายอานาจให้ประชาชนทุกภาคส่ วนมีส่วนร่ วมในการจัดการสถานศึกษา

วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาตอนที่ 4.3 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. บอกความสาคัญของความเป็ นผูน้ าทางวิชาการของผูบ้ ริ หารสถานศึกษาได้
2. ยกตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการบริ หารงานวิชาการได้
3. วางแผนการพัฒนาสถานศึกษาด้านวิชาการได้

เรื่องที่ 4.3.1 บทบาทการพัฒนาความเป็ นผู้นาทางวิชาการ

ทรัสตี (Trusty: 1986 อ้างถึงใน รุ จิ ภู่สาระ และจันทรานี สงวนนาม 2545: 30-32) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับหน้าที่ของ
ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในฐานะที่เป็ นผูน้ าทางวิชาการไว้ 17 ประการ ตามที่ปรากฏรายละเอียดในเรื่ องที่ 4.1.2 ซึ่ งสรุ ปให้เห็นว่า
ผูบ้ ริ หารสถานศึกษามีบทบาทหน้าที่ในการส่ งเสริ มและสร้างความเชื่ อมัน่ ให้เพื่อนครู ในสถานศึกษาปฏิบตั ิหน้าที่ดา้ น
วิชาการไปในทิศทางที่ถูกต้องตามเป้ าหมาย ด้วยการร่ วมวางแผนและสนับสนุนเพื่อนครู ให้ปฏิบตั ิงานวิชาการเต็มความ
สามารถซึ่ งหมายความว่าผูบ้ ริ หารสถานศึกษาต้องมีภาวะผูน้ าทางวิชาการ คือ มีความสามารถนาบุคคลในสถานศึกษาให้
ร่ วมมือปฏิบตั ิงานจนบรรลุเป้ าหมายของสถานศึกษาอย่างมีประสิ ทธิภาพ ด้วยความเข้าใจ และมีความสุ ข
บทบาทการพัฒนาความเป็ นผูน้ าทางวิชาการ เป็ นบทบาทสาคัญที่ผบู้ ริ หารสถานศึกษาต้องฝึ กฝนและพัฒนาความรู้
ความสามารถอย่างต่อเนื่ องตลอดเวลา ด้วยการศึกษาเพิม่ เติมจากสถาบันการศึกษา ศึกษาจากผูเ้ ชี่ยวชาญหรื อศึกษาด้วยตนเอง
เพื่อพัฒนาองค์ความรู ้แห่งวิชาชีพ สมรรถนะในการปฏิบตั ิงานและการบ่มเพาะคุณธรรม จริ ยธรรม ที่ส่งเสริ มให้มีความคิดดี
เฉี ยบแหลม มีความเป็ นคนดี (ด้านส่ วนตัว ครอบครัว สังคม) รวมทั้งการปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างในการเรี ยนรู ้ตลอดชีวติ
เป็ นตัวอย่างที่ดีแก่ผรู ้ ่ วมงานโดยปฏิบตั ิให้เป็ นกิจนิสัย จนเกิดเป็ นลักษณะนิสัยที่ดีและพร้อมที่จะสร้างบรรยากาศภายใน
สถานศึกษาให้เป็ นแหล่งพัฒนาการเรี ยนรู ้ของครู นักเรี ยน และบุคลากรที่เกี่ยวข้องได้ต่อไป
ทั้งนี้ ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาอาจแสดงภาวะผูน้ าทางวิชาการด้วยการกาหนดยุทธศาสตร์ การพัฒนาผูป้ ระกอบวิชาชีพ
ทางการศึกษา (ครู ) โดยยึดระบบการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งผูบ้ ริ หารสถานศึกษาสามารถจะเลือกใช้ยทุ ธวิธี หรื อแนว
39

ดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็ จที่เหมาะสม ตามพื้นฐานสภาพทัว่ ไปของสถานศึกษา ตามความพร้อมและความต้องการจาเป็ น


ของครู ดังนี้
1. ปรับกระบวนทัศน์ในการสร้างความรู ้ ความเข้าใจ เพื่อให้เกิดพลังความคิด (Power of Idea) ร่ วมกัน ด้วยเทคนิค
ต่างๆ เช่น AIC (Affective Influence Control) และ FSC (Future Search Conference)
2. ระดมพลังแกนนาและประสานเครื อข่าย รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อกาหนดยุทธวิธีให้แผนยุทธศาสตร์ ที่วาง
ไว้สู่การปฏิบตั ิ พร้อมทั้งจัดให้มีการประชุม ชี้แจง เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ด้วยการจัดทาคู่มือพัฒนา สื่ อ และเอกสาร
ประกอบต่างๆ
3. บริ หารจัดการแบบบูรณาการ โดยนา Function มาบูรณาการกับ Agenda, Area กับบริ บทของสังคม วัฒนธรรม
หลักศาสนา ภูมิปัญญาท้องถิ่น และกระแสโลกาภิวตั น์
4. ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการสนับสนุนส่ งเสริ มให้เกิดจิตสานึก ขวัญกาลังใจ และความพร้อมของผู้
ประกอบวิชาชีพอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
5. นาความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับ ประยุกต์ใช้ให้เกิดความประหยัด รวดเร็ ว และมีคุณภาพ
6. ปฏิบตั ิการโดยการประกันคุณภาพด้วยกระบวนการ PDCA
7. ประเมินและติดตามผลแบบมีส่วนร่ วมทุกฝ่ ายและตามสภาวะที่เป็ นจริ ง
8. สนับสนุน ส่ งเสริ มการพัฒนาวิชาชีพ ด้วยการเรี ยนรู ้แบบต่างๆ การนาเสนอผลงานการประชุม สัมมนา การวิจยั
รวมทั้งเพิ่มพูนความรู ้ความสามารถ ความเป็ นมืออาชีพให้แก่ผปู ้ ระกอบวิชาชีพอย่างทัว่ ถึง
9. ยกย่อง เชิดชูเกียรติ ให้เห็นที่ประจักษ์

เรื่องที่ 4.3.2 บทบาทในการใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพือ่ การบริหารงานวิชาการ

การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการบริ หารงานวิชาการนี้ นับได้วา่ เป็ นการปฏิบตั ิทางการบริ หาร นวัตกรรม ที่


สนับสนุ นการสร้างความคิดใหม่ๆ จากทุกคนและทุกที่ในสถานศึกษา โรเบิร์ต บี. ทัคเกอร์ (Robert B. Tucker, สมพงษ์ สุ วรรณ
จิตกุล (แปล) 2552: 10-20) ชี้ให้เห็นว่า สาระสาคัญ 5 ประการ ต่อการพัฒนากระบวนการนวัตกรรม คือ
1. นวัตกรรมจะต้องเป็ นกระบวนการที่มีวนิ ยั คือ มีกระบวนการในการจัดการต่อความคิด
ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น มีการค้นคว้าอย่างต่อเนื่ อง การหาทรัพยากรมาใช้ และความสามารถฟันฝ่ าอุปสรรคด้วยความอดทน
ได้
40

2. นวัตกรรมจะต้องเป็ นกระบวนการที่ครอบคลุมหลายด้าน คือ ผูบ้ ริ หารทุกคน หน่วยงานย่อยทุกหน่วยจะต้องรับรู ้


ให้ความร่ วมมือและร่ วมกันคิด ร่ วมกันทาให้ความคิดใหม่ดาเนินการได้อย่างเป็ นรู ปธรรม
3) นวัตกรรมจะต้องรวมถึงการจัดระเบียบ เป็ นระบบ และการค้นหาโอกาสใหม่ๆ อย่างต่อเนื่ อง
4) นวัตกรรมต้องถูกกาหนดจากผูบ้ ริ หารระดับสู งและเกี่ยวข้องกับทุกหน่วยงานในองค์กร มีระบบการบริ หาร
ความคิด (Idea Management Systems) เพื่อสรรหาความคิด และนวัตกรรมใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง
5) นวัตกรรมจะต้องมุ่งเน้นที่ลูกค้า (หรื อนักเรี ยนในสถานศึกษา)
ขอบข่ายการบริ หารงานวิชาการในสถานศึกษาที่ปรากฏในเรื่ องที่ 4.1.4 จานวน 17 รายการนั้น รายการที่ 17 เรื่ องการ
พัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาซึ่ งเมื่อพิจารณาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 9 เทคโนโลยี เพื่อการศึกษา มาตรา 63-มาตรา 69 ในประเด็นของผูเ้ รี ยน ผู้เรี ยนมีสิทธิได้ รับการ
พัฒนาขีดความ สามารถในการใช้ เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษาในโอกาสแรกที่ทาได้ เพือ่ ให้ มีความรู้ และทักษะเพียงพอที่จะใช้
เทคโนโลยีเพือ่ การแสวงหาความรู้ ด้วยตนเองได้ อย่ างต่ อเนื่องตลอดชี วติ (มาตรา 66)
ดังนั้น สถานศึกษาซึ่งมีอานาจหน้าที่และมีวตั ถุประสงค์ในการจัดการศึกษา เพื่อความเจริ ญงอกงามของผูเ้ รี ยน ต้อง
ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการบริ หารงานวิชาการ ได้แก่ การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เพื่อการประมวลข้อมูลอันเป็ น
สาระทางวิชาการให้เป็ นสารสนเทศ เพื่อจัดเก็บอย่างเป็ นระบบ ผูเ้ รี ยนสามารถใช้ขอ้ มูลดังกล่าวได้ทนั ตามความต้องการ ผูส้ อน
สามารถเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการสอนได้ในระยะเวลาอันสั้น ผูเ้ รี ยนเห็นคุณค่าของเทคโนโลยีที่เป็ นวิธีการสอนแนวใหม่ เอ็ดดี้
(Eadie, 2001 อ้างถึงใน ปราวีณยา สุ วรรณณัฐโชติ 2549) ได้สรุ ปผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักเรี ยนจากการใช้ ICT
(Information and Communications Technology) ในการเรี ยนการสอนว่าช่วยพัฒนาทักษะความคิดอย่างมีเหตุผล การคิด
แก้ปัญหาและช่วยเสริ มการเรี ยนรู ้เกี่ยวกับวิธีการเรี ยนรู้และสร้างสรรค์ให้นกั เรี ยนได้แสดงออกถึงความกระตือรื อร้น และ
ความสนใจกิจกรรมการเรี ยน และความเมื่อมีการใช้ ICT เป็ นเครื่ องมือการเรี ยนรู้ ทาให้นกั เรี ยนใช้เวลาและความสนใจใน
กิจกรรมการเรี ยนมากขึ้น อีกทั้งยังเป็ นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครู และนักเรี ยน ในลักษณะที่มีการปฏิสัมพันธ์มากขึ้น
อัมบาช (Umbach, 1998 อ้างถึงใน ปราวีณยา สุ วรรณณัฐโชติ 2549) ได้ศึกษาการใช้คอมพิวเตอร์ในรัฐแคลิฟอร์ เนีย
ประเทศสหรัฐอเมริ กา เพื่อค้นหาโรงเรี ยนที่เป็ นตัวอย่างที่ดีดา้ นการบริ หาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการ
สื่ อสาร โดยวิเคราะห์และสรุ ปเป็ นลาดับความสาคัญของสิ่ งที่ควรปฏิบตั ิในการบริ หาร และใช้ ICT ของโรงเรี ยนไว้
ตามลาดับ ได้แก่ การวางแผนก่อนเป็ นลาดับแรก แล้วจึงค่อยดาเนิ นการ การพัฒนาบุคลากร การฝึ กอบรมครู เป็ นการพิเศษ
ทางด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสารในการส่ งผ่านหลักสู ตรและการสอน จัดให้มีบุคลากรช่วยเหลือ
ทางด้านเทคนิคเพื่อสนับสนุนครู จัดให้มีอุปกรณ์เครื่ องมือที่เหมาะสมและพอเพียงต่อ การใช้ของครู และนักเรี ยน อัมบาช
41

พบว่า โรงเรี ยนที่เป็ นตัวอย่างที่ดีมีการใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อวัตถุประสงค์ทางด้าน หลักสู ตรและการสอนในโรงเรี ยน ดังนี้ การ


นาเสนอบทเรี ยนในชั้นเรี ยนการสร้างสถานการณ์จาลอง การทาวิจยั ของครู การทาวิจยั ของนักเรี ยน การจัดทารายงานและ
การนาเสนอรายงานของนักเรี ยน การจัดการทดลองทางด้านวิทยาศาสตร์ และนาเสนอข้อมูล การติดต่อสื่ อสารระหว่างชั้นเรี ยน
โรงเรี ยน รัฐหรื อประเทศต่างๆ การติดต่อสื่ อสารระหว่างนักวิทยาศาสตร์และนักวิจยั การสอนโดยการใช้ซอฟแวร์ มาตรฐาน
การสอนการออกแบบทางศิลปะด้วยการใช้คอมพิวเตอร์ วิชาทางธุ รกิจ การสร้างโฮมเพจของชั้นเรี ยนหรื อโรงเรี ยน การ
แสดงผลงานของนักเรี ยนผ่านทางเวปไซด์ และการฝึ กปฏิบตั ิ
จากการศึกษาวิจยั โครงการวิจยั การเปลี่ยนผ่านทางการศึกษาสู่ ยคุ เศรษฐกิจฐานความรู ้ ในโครงการวิจยั ย่อย เรื่ อง
การวิเคราะห์เปรี ยบเทียบคุณภาพการศึกษาของไทย และมาตรฐานการศึกษาที่ควรจะเป็ น (วชิราพร อัจฉริ ยโกศล และคณะ,
2547) ได้ศึกษากรณี ตวั อย่างโรงเรี ยน 2 แห่ง ซึ่ งจัดให้เป็ นโรงเรี ยนที่มีการปฏิบตั ิการดีเลิศ (Best Practices) โดยศึกษาจาก
ข้อมูลหลายแหล่ง ได้แก่ การสัมภาษณ์ผเู ้ ชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้อง ศึกษาเอกสารรายงานของโครงการวิจยั ที่สาคัญ 3 โครงการ
(โครงการวิจยั การวิจยั และพัฒนาปฏิรูปการเรี ยนรู ้ท้ งั โรงเรี ยน โครงการ School Net Thailand และโครงการ SITE ของ
สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) และการสังเกตเยีย่ มชม โรงเรี ยนเพื่อคัดเลือกในขั้นสุ ดท้าย
ผลการวิจยั ลักษณะเด่นของโรงเรี ยนที่ได้รับการคัดเลือก คือ โรงเรี ยนใช้ ICT เพื่อการเรี ยนการสอน มีความเด่นชัด
ที่มุ่งเน้นไปที่นกั เรี ยน สามารถนา ICT ไปบูรณาการกับการเรี ยนการสอน ได้ใช้ ICT เป็ นสื่ อการเรี ยนรู้ของนักเรี ยนได้ ดัง
ตัวอย่างกิจกรรมการเรี ยนการสอนของโรงเรี ยนไผทอุดมศึกษา โครงงานภาษาไทย “กาลเวลาผันเปลี่ยนไปกับดวงใจที่ใคร่ รู้
ตอน: ตามรอยนิราศพระบาท” (http: //www.patai.th.edu/nirat/index.htm)
โดยสรุ ป จะเห็นได้วา่ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการบริ หารงานวิชการในสถานศึกษา ควรกาหนดเป็ นแผนยุทธศาสตร์การ
พัฒนา ICT เพื่อรับการสนับสนุนและมีการดาเนิ นงานอย่างต่อเนื่อง และมีความจาเป็ นอย่างยิง่ ที่ครู ผสู ้ อนต้องได้รับการ
พัฒนา ด้วยการฝึ กอบรมความรู้ในการประยุกต์ใช้ ICT ในการสอน และเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู ้แก่ผเู ้ รี ยนเพิ่มขึ้น เป็ นการ
มุ่งเน้นที่การเรี ยนรู ้ดว้ ยเทคโนโลยี
ปราวีณยา สุ วรรณณัฐโชติ (2549) ได้ให้ความเห็นไว้วา่ การบริ หารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร
ในสถานศึกษา สถานศึกษาควรดาเนินการดังนี้ คือ มีการวางแผนอย่างรอบคอบ โดยได้รับความร่ วมมือจากภายในสถานศึกษา
และภายนอกสถานศึกษา โดยเฉพาะจากชุมชนที่สถานศึกษาตั้งอยู่ ให้มีการฝึ กอบรมครู ผสู ้ อนอย่างต่อเนื่ อง มีการสนับสนุน
ทางด้านเทคนิคแก่ครู จัดหางบประมาณสนับสนุ นในระยะยาวที่ครอบคลุมความต้องการจาเป็ น มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่ อสารบูรณาการร่ วมไปกับหลักสู ตรและการสอน และมีการประเมินผลการดาเนินงานและผลลัพธ์อย่างต่อเนื่ อง
42

ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในฐานะของผูน้ าทางวิชาการที่แท้จริ ง ต้องมีวิสัยทัศน์ มีทรรศนะกว้างไกล มีความสามารถที่


จะทาให้ผรู ้ ่ วมงานยอมรับความคิดในการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อการศึกษาในการบริ หารงานวิชาการและยินดี
ร่ วมปฏิบตั ิงานด้วย

เรื่องที่ 4.3.3 บทบาทการพัฒนาสถานศึกษาด้ านวิชาการ

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 9 กาหนดให้การ
จัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยดึ หลักการกระจายอานาจไปสู่ เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และ
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ให้ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา และให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน
องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ
สถาบันสังคมอื่นๆ มีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา จึงเป็ นผลให้สถานศึกษาทุกแห่งต้องดูแลรับผิดชอบการบริ หารจัดการ
สถานศึกษาด้วยตนเองมากขึ้น มีอานาจในการตัดสิ นใจเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรและแก้ปัญหาในการบริ หารจัดการได้เต็ม
ตามศักยภาพ สถานศึกษาต้องแสดงความรับผิดชอบในผลของการปฏิบตั ิงานต่อสาธารณชนในเขตพื้นที่บริ การของ
สถานศึกษา
ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในฐานะผูน้ าทางวิชาการต้องมีความรู้ ความสามารถ และมีความมุ่งมัน่ ที่จะพัฒนาสถานศึกษา
ด้วยการพัฒนาทั้งระบบ ให้เป็ นองค์กรเรี ยนรู ้อยูต่ ลอดเวลา ใช้ระบบบริ หารสถานศึกษาแบบยึดผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ และ
กระจายอานาจให้ประชาชนทุกภาคส่ วนมีส่วนร่ วมในการจัดการสถานศึกษา
องค์กรที่มีลกั ษณะขององค์กรเรี ยนรู ้ตามแนวคิดของ ปี เตอร์ เอ็ม เซ็งเก้ (Peter M. Zenge) คือ องค์กรที่บุคลากร
ภายในองค์กรมีคุณลักษณะ 5 ประการ ดังนี้
1) มีการคิดที่เป็ นระบบ คิดบ่อยๆ จนเป็ นนิสัย มีลกั ษณะการคิดที่เป็ นสัญลักษณ์เฉพาะตัว และมีพฤติกรรมที่เป็ นไป
ตามวิธีคิด
2) ไม่ติดยึด ยึดมัน่ ถือมัน่ และมีอคติ
3) มีความฝัน ความต้องการ มีแรงบันดาลใจ กล้าคิด กล้าแสดงออก และมีความสนุกที่จะสานฝันให้เป็ นจริ ง
4) มีการเรี ยนรู้เป็ นทีม ด้วยความสามัคคี
5) สร้างสรรค์ผลงานที่เป็ นสาระเป็ นประโยชน์ตรงตามยุทธศาสตร์ขององค์กร ตรงตามความฝันหรื อวิสัยทัศน์
(vision) ที่กาหนดไว้ร่วมกัน
43

การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็ นองค์กรเรี ยนรู้ ด้วยวิธีการพัฒนาครู ในสถานศึกษาให้มีลกั ษณะ 5 ประการนี้ เป็ นการ


พัฒนาสถานศึกษาให้มีการเจริ ญเติบโตอย่างยัง่ ยืน ครู มีความสนุกสนาน มีความสุ ข อยากมาทางาน องค์กรเรี ยนรู้เป็ นรู ปแบบ
การบริ หารที่เน้นการพัฒนา สภาวะผูน้ าในองค์กร (leadership) ควบคู่ไปกับการเรี ยนรู ้ร่วมกัน (team learning) ซึ่งจะเป็ นผลให้
เกิดการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนองค์ความรู ้ (knowledge) ประสบการณ์ (experience) และทักษะ (skill) ระหว่างกันและกัน เพื่อ
นามาใช้ในการปฏิบตั ิงานให้ได้ผลดีเลิศเหนื อองค์กรอื่น และมีระดับพัฒนาความสามารถขององค์กรที่เป็ นไปอย่างรวดเร็ ว
(วีรวุธ มาฆะศิรานนท์ 2545)
การใช้ระบบบริ หารสถานศึกษาแบบยึดผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ คือ การให้ความสาคัญกับผูเ้ รี ยน การจัดกิจกรรมทาง
วิชาการภายในสถานศึกษา โดยคานึงถึงความเหมาะสมกับผูเ้ รี ยน และประโยชน์สูงสุ ดที่ผเู ้ รี ยนจะได้รับ การเปิ ดโอกาสให้
ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการวางแผน การดาเนินการ การประเมินผล การจัดกิจกรรมเพื่อให้เกิดการเรี ยนรู ้อย่างแท้จริ ง ผูเ้ รี ยนมี
การพัฒนาทั้งกาย ปั ญญา อารมณ์และปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผูอ้ ื่น
การกระจายอานาจให้ประชาชนทุกภาคส่ วนมีส่วนร่ วมในการจัดการสถานศึกษา ได้แก่ การกาหนดองค์ประกอบ
และหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษา ที่สถานศึกษาต้องปฏิบตั ิตามกฎหมาย คณะกรรมการเครื อข่ายผูป้ กครองทั้งระดับ
ห้องเรี ยน ระดับชั้นและระดับโรงเรี ยน สมาคมผูป้ กครองและครู ฯลฯ สถานศึกษาใดที่สามารถดึงองค์กรต่างๆ ที่กล่าว
ข้างต้น เข้าสู่ ระบบบริ หารสถานศึกษา ด้วยปฏิสัมพันธ์และมนุษยสัมพันธ์ที่ดีของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา สถานศึกษาย่อมได้รับ
การพัฒนาที่ยงั่ ยืน สอดคล้องกับความต้องการของผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง ชุมชน และท้องถิ่น
ดังนั้น ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาจึงเป็ นบุคคลที่มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาสถานศึกษาด้านวิชาการ คุณลักษณะความเป็ น
ผูน้ าทางวิชาการของผูบ้ ริ หารที่สอดคล้องกับบทบาท จะเป็ นเหตุนาสู่ การประสบความสาเร็ จด้านการบริ หารงานวิชาการของ
สถานศึกษา สู่ เป้ าหมายของนโยบายและแนวดาเนินการของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในที่สุด
44

บรรณานุกรม

กมล ภู่ประเสริ ฐ. (2544) การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา กรุ งเทพมหานคร ทิปส์ พับบลิเคชัน่


กระทรวงศึกษาธิการ (2551) หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กรุ งเทพมหานคร โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด
กิติมา ปรี ดีดิลก (2532) การบริ หารและการนิเทศการศึกษาเบิ้องต้น กรุ งเทพมหานคร โรงพิมพ์อกั ษรพิพฒั น์
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักงาน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ฉบับที่ ๑๐
พุทธศักราช ๒๕๕๐ - ๒๕๕๔ (อัดสาเนา)
คุรุสภา (2549) คู่มือการประกอบวิชาชี พทางการศึกษา กรุ งเทพมหานคร โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว
ชุมศักดิ์ อินทร์ รักษ์ (2545) การบริ หารงานวิชาการ ปั ตตานี ภาควิชาการบริ หารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ธีระพล อรุ ณะกสิ กร และคนอื่นๆ (2550) รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กรุ งเทพมหานคร วิญญูชน
ปราวีณยา สุ วรรณณัฐโชติ (2549) การบริหารและการใช้ ICT เพือ่ การเรียนรู้ ในโรงเรี ยน: ประสบการณ์จาก Best Practices
ของไทย
ปรี ยาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2535) การบริหารงานวิชาการ กรุ งเทพมหานคร ศูนย์สื่อเสริ มกรุ งเทพมหานคร
พิชยั เสงี่ยมจิตต์ (2542) การบริหารงานเฉพาะด้ านในสถาบันการศึกษา อุบลราชธานี สถาบันราชภัฎอุบลราชธานี
ราชกิจจานุ เบกษา กระทรวงศึกษาธิการ กฎกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการกระจายอานาจการ
บริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 ลงวันที่ 8 พฤษภาคม 2550 (อัดสาเนา)
รุ จิร์ ภู่สาระ และจันทรานี สงวนนาม (2545) การบริ หารหลักสู ตรในสถานศึกษา กรุ งเทพมหานคร บุก๊ พอยท์
วชิราพร อัจฉริ ยโกศล และคณะ (2547) การวิเคราะห์ เปรี ยบเทียบคุณภาพการศึกษาของไทย และมาตรฐานการศึกษาทีค่ วร
จะเป็ น (อัดสาเนา)
วีรวุธ มาฆะศิรานนท์ (2545) คัมภีร์บริ หาร องค์ กรเรี ยนรู้ ส่ ู TQM. พิมพ์ครั้งที่ 5 กรุ งเทพมหานคร สานักพิมพ์ธีระป้ อม
วรรณกรรม
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2553) แผนการศึกษาแห่ งชาติ ฉบับปรับปรุ ง (พ.ศ. 2552-2559)
กรุ งเทพมหานคร สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
45

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2)


พ.ศ. 2545. กรุ งเทพมหานคร บริ ษทั พริ กหวานกราฟฟิ ค จากัด
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2548) มาตรฐานการศึกษาของชาติ กรุ งเทพมหานคร สานักงานเลขาธิการสภา
การศึกษา
สมพงษ์ สุ วรรณจิตกุล (2552) องค์ กรนวัตกรรม กรุ งเทพมหานคร โรงพิมพ์นาอักษรการพิมพ์
อุทยั บุญประเสริ ฐ (2537) การบริ หารหลักสู ตร: หัวใจของการบริหารงานวิชาการ เอกสารประกอบการสอน อัดสาเนา 2537
อุทยั บุญประเสริ ฐ (2545) การบริ หารจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน กรุ งเทพมหานคร โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
อาภา บุญช่วย (2537) การบริ หารงานวิชาการในโรงเรี ยน กรุ งเทพมหานคร โอเดียนสโตร์

You might also like