You are on page 1of 224

รายงานวิจยั

การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมเพื่อพัฒนารู ปแบบ


การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
: กรณี ศึกษา โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์”
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1
Participatory Action Research for Developing a Teachers Development Model
to Make Them Be Able to Manage Learning with Emphasis on Thinking
: A Case in Ban Tha Wat “Kuru Rat Bamrung Wit” school under the Office
of Sakon Nakhon Educational Service Area 1

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. สาราญ กาจัดภัย และคณะ


คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

งานวิจยั นี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจยั สาหรับบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร


จากงบประมาณแผ่นดิน ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2551

เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2553


รายงานวิจยั

การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมเพื่อพัฒนารู ปแบบ


การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
: กรณี ศึกษา โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์”
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1
Participatory Action Research for Developing a Teachers Development Model
to Make Them Be Able to Manage Learning with Emphasis on Thinking
: A Case in Ban Tha Wat “Kuru Rat Bamrung Wit” school under the Office
of Sakon Nakhon Educational Service Area 1

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. สาราญ กาจัดภัย และคณะ


คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

งานวิจยั นี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจยั สาหรับบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร


จากงบประมาณแผ่นดิน ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2551

เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2553


คานา

“การคิด” เป็ นความสามารถที่มีอยูใ่ นตัวผูเ้ รี ยนทุกคน ซึ่งสามารถพัฒนาได้ถา้ ได้รับ


การฝึ กอย่างเหมาะสม และผูท้ ี่มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาการคิดของผูเ้ รี ยนก็คือ “ครู ผสู้ อน”
ดังนั้นครู ผสู ้ อนจึงจาเป็ นต้องได้รับการส่ งเสริ มให้มีศกั ยภาพในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด อย่าง
มีระบบ จริ งจัง และต่อเนื่อง ซึ่งในอดีตที่ผา่ นมา การพัฒนาครู นิยมจัดในรู ปแบบการฝึ กอบรม ที่มกั
บริ หารจัดการทุกอย่างเสร็ จสรรพภายในช่วงเวลาสั้น ๆ โดยทีมงานจัดการอบรมและวิทยากร เมื่อ
อบรมเสร็ จก็แยกย้ายกันไป ไม่มีการนิเทศ ติดตามผล ทาให้การพัฒนาครู ไม่ประสบผลสาเร็ จ
เท่าที่ควร
ด้วยเหตุน้ ี ผูว้ จิ ยั จึงได้ทาการพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ” โดยอาศัยแนวคิดพื้นฐานสาคัญ 3 ประการ คือ การฝึ กอบรมอย่างมี
ส่ วนร่ วม การฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน และการอบรมเพื่อแก้ไขปั ญหาการปฏิบตั ิงาน
แบบครบวงจร ซึ่ งรู ปแบบการพัฒนาครู ดงั กล่าวสามารถนาไปใช้ได้จริ งอย่างมีประสิ ทธิ ผล ดังนั้น
หน่วยงานหรื อผูเ้ กี่ยวข้องกับการพัฒนาครู รวมทั้งนักวิจยั ทัว่ ไป สามารถนาไปขยายผล หรื อ
ประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดในพื้นที่เป้ าหมาย
อื่น ๆ ต่อไป
โอกาสนี้ คณะผูว้ จิ ยั ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ที่ให้ทุนสนับสนุนการทาวิ จยั
ขอขอบคุณคณะผูบ้ ริ หาร และคณะครู ทุกท่านของโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” สังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1 ที่ให้ความร่ วมมืออย่างดียงิ่ ในการดาเนินการวิจยั
คุณค่าและประโยชน์อนั พึงมีจากงานวิจยั นี้ ทีมนักวิจยั ขอมอบแด่ผสู ้ นใจศึกษา ตลอดจนผูม้ ี
พระคุณทุกท่าน

สาราญ กาจัดภัย และคณะ


บทสรุปสาหรับผู้บริหาร

การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมเพื่อพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถใน


การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด : กรณี ศึกษา โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์”
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1 มีสาระสาคัญโดยสรุ ป ดังนี้

ทีม่ าและความสาคัญ
“การคิด” เป็ นความสามารถที่มีอยูใ่ นตัวผูเ้ รี ยนทุกคน ซึ่งสามารถพัฒนาได้ถา้ ได้รับ
การฝึ กอย่างเหมาะสม และผูท้ ี่มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาการคิดของผูเ้ รี ยนก็คือ “ครู ผสู้ อน”
ดังนั้นครู ผสู ้ อนจึงจาเป็ นต้องได้รับการส่ งเสริ มให้มีศกั ยภาพในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด อย่าง
มีระบบ จริ งจัง และต่อเนื่อง ซึ่งในอดีตที่ผา่ นมา การพัฒนาครู นิยมจัดในรู ปแบบการฝึ กอบรม ที่มกั
บริ หารจัดการทุกอย่างเสร็ จสรรพภายในช่วงเวลาสั้น ๆ โดยทีมงานจัดการอบรมและวิทยากร เมื่อ
อบรมเสร็ จก็แยกย้ายกันไป ไม่มีการนิเทศ ติดตามผล ทาให้การพัฒนาครู ไม่ประสบผลสาเร็ จ
เท่าที่ควร
ด้วยเหตุน้ ี ผูว้ จิ ยั จึงสนใจพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ” โดยอาศัยแนวคิดพื้นฐานสาคัญ 3 ประการ คือ การฝึ กอบรมอย่างมี
ส่ วนร่ วม การฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน และการอบรมเพื่อแก้ไขปั ญหาการปฏิบตั ิงาน
แบบครบวงจร ซึ่ งรู ปแบบการพัฒนาครู ดงั กล่าว หน่วยงานหรื อผูเ้ กี่ยวข้องกับการพัฒนาครู รวมทั้ง
นักวิจยั ทัว่ ไป สามารถนาไปขยายผล หรื อประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการ
เรี ยนรู้ที่เน้นการคิดในพื้นที่เป้ าหมายอื่น ๆ ต่อไป

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. ศึกษาสภาพ ปั ญหา และความต้องการของครู ในโรงเรี ยนเป้ าหมาย เกี่ยวกับการพัฒนาครู
ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
2. พัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่ เน้นการคิด
3. เปรี ยบเทียบความรู ้ของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด ก่อนและหลัง
การพัฒนา
4. ประเมินความสามารถของครู ในการจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
5. ศึกษาความพึงพอใจของครู ต่อการใช้รูปแบบการพัฒนาครู
วิธีการวิจัย
การวิจยั ครั้งนี้ ใช้วธิ ี การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม โดยผสมผสานทั้งการวิจยั เชิง
ปริ มาณและเชิงคุณภาพ กลุ่มเป้ าหมายที่สนใจเข้าร่ วมโครงการ ได้แก่ ครู โรงเรี ยนบ้านท่าวัด
“คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษาสกลนครเขต 1 ปี การศึกษา 2551 จานวน
14 คน ซึ่งการดาเนินการวิจยั ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นเตรี ยมการ 2) ขั้นศึกษาปั ญหาและ
กาหนดวิธีการแก้ไข 3) ขั้นวางแผนปฏิบตั ิการแก้ปัญหา 4) ขั้นวางแผนติดตามและประเมินผล
5) ขั้นปฏิบตั ิการตามแผนที่วางไว้ และ 6) ขั้นประเมินผลการปฏิบตั ิการแก้ปัญหา

ผลการวิจัย
ผลการวิจยั สรุ ปได้ ดังนี้
1. ครู ทุกคนมีความเห็นสอดคล้องกันว่า ความสามารถในการคิดของนักเรี ยนอยูใ่ นเกณฑ์
ไม่น่าพอใจ ควรส่ งเสริ มให้ครู ได้รับการพัฒนาความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด โดย
การจัดอบรมเชิงปฏิบตั ิการทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ จัดให้มีพี่เลี้ยงคอยให้คาแนะนา จัดระบบนิเทศ
ติดตาม และประเมินผลอย่างใกล้ชิดและสม่าเสมอ จัดให้มีชุดการเรี ยนรู ้เพื่อทบทวนและศึกษาเพิ่ม
ด้วยตนเอง จัดหาตัวอย่างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด รวมทั้งหนังสื อ ตารา และรายงาน
การวิจยั ที่เกี่ยวข้องไว้ในห้องสมุดของโรงเรี ยน จัดทาเอกสารแนะนา Website รวมทั้งวิธีการสื บค้น
จัดหาตัวอย่างนวัตกรรมเพื่อการเรี ยนรู ้ ที่เน้นพัฒนาการคิด เชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญสาธิต
การสอนเน้นการคิดในสถานการณ์จริ ง และศึกษาดูงานโรงเรี ยนที่ประสบความสาเร็ จในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
2. รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด มีองค์ประกอบ
ดังนี้ 1) ชื่อรู ปแบบ 2) ความเป็ นมาและความสาคัญ 3) แนวคิดทฤษฎีพ้นื ฐาน 4) หลักการ
5) วัตถุประสงค์ 6) เนื้อหา 7) กระบวนการ 8) สื่ อและแหล่งเรี ยนรู ้ และ 9) การวัดและประเมินผล
ซึ่งรายละเอียดพอสังเขปในบางองค์ประกอบหลัก ๆ ดังนี้
2.1 แนวคิดพื้นฐานของรู ปแบบ ได้แก่ การฝึ กอบรมอย่างมีส่วนร่ วม การฝึ กอบรมโดยใช้
โรงเรี ยนเป็ นฐาน และการอบรมเพื่อแก้ไขปั ญหาการปฏิบตั ิงานแบบครบวงจร
2.2 หลักการสาคัญของรู ปแบบ ได้แก่ 1) บุคลากรทุกคนในโรงเรี ยนรับรู้เข้าใจ ต้องการ
และยินดีเข้าร่ วมกิจกรรม 2) ใช้กระบวนการมีส่วนร่ วมระหว่างบุคลากรในโรงเรี ยนและทีมวิทยากร
ภายนอก ในการวิเคราะห์ปัญหาและค้นหาแนวทางแก้ไข 3) ทีมวิทยากรทาหน้าที่เป็ นที่ปรึ กษา
ผูอ้ านวยความสะดวก ผูใ้ ห้การช่วยเหลือ ชี้แนะ และให้ขอ้ มูลป้ อนกลับ ทั้งนี้เพื่อเป็ นการสร้าง
ความสัมพันธ์ที่ดี และความมัน่ ใจในการทางานร่ วมกัน 4) มุ่งเปลี่ยนแปลงทั้งความรู ้ ความสามารถ
ในการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด การนาแผนการจัดการเรี ยนรู ้สู่การปฏิบตั ิจริ งใน
ห้องเรี ยน รวมทั้งเจตคติที่ดีต่อการสอนเพื่อพัฒนาการคิดของผูเ้ รี ยน และ 5) การพัฒนาครู จะต้อง
ดาเนินการอย่างต่อเนื่ อง และเว้นระยะเวลาการทากิจกรรมต่าง ๆ ของรู ปแบบพอสมควร เพื่อให้ครู
ได้มีโอกาสทบทวนความรู ้ ศึกษาค้นคว้าเพิม่ เติม และฝึ กปฏิบตั ิจริ งด้วยตนเอง
2.3 วัตถุประสงค์หลักของรู ปแบบ คือ 1) เพื่อพัฒนาความรู้ ของครู เกี่ยวกับการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด และ 2) เพื่อพัฒนาความสามารถของครู ในการจัด ทาแผนการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด และการนาแผนการจัดการเรี ยนรู้ ไปใช้
2.4 เนื้อหาของรู ปแบบ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์ผเู้ รี ยน การคิด และการพัฒนาการคิด
2) รู ปแบบการสอน วิธีสอน และเทคนิคการสอนที่ส่งเสริ มการคิดของผูเ้ รี ยน 3) การเลือกสื่ อ
อุปกรณ์ นวัตกรรม แหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ที่ส่งเสริ มการคิดของผูเ้ รี ยน 4) วิธีการวัดและประเมิน
ความสามารถในการคิดของผูเ้ รี ยน 5) การออกแบบการเรี ยนรู้ที่เน้น การคิด และ 6) การเขียน
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
2.5 กระบวนการของรู ปแบบ แบ่งออกเป็ น 2 ระยะ คือ ระยะเตรี ยมการก่อนการพัฒนา
และระยะปฏิบตั ิการ นิเทศ และติดตามการพัฒนา ซึ่ งกิจกรรมการพัฒนาครู ประกอบด้วย
1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบตั ิการ ซึ่ งมีท้ งั การเพิ่มพูนความรู ้เชิงทฤษฎี และการฝึ ก
ทักษะปฏิบตั ิในสถานการณ์จาลอง หรื อตามกิจกรรมฝึ กทักษะที่จดั เตรี ยมไว้
2) กิจกรรมสาธิ ตการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดโดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ
3) กิจกรรมส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง จากแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ได้แก่ ชุดการเรี ยนรู้
ด้วยตนเอง หนังสื อ ตารา และรายงานการวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างแผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่เน้น
การคิด และเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต
4) กิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ได้แก่ การจัดหาพี่เลี้ยงให้คาแนะนาเกี่ยวกับ
การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด การติดตามให้คาปรึ กษา ให้การช่วยเหลือ ชี้แนะ และให้ขอ้ มูล
ป้ อนกลับโดยทีมวิทยากร ซึ่ งสามารถจัดได้หลายรู ปแบบ ได้แก่ การเยีย่ มโรงเรี ยน การให้คาปรึ กษา
ทางโทรศัพท์ การตรวจชิ้นงานและให้ขอ้ มูลป้ อนกลับเพื่อการปรับปรุ งแก้ไข รวมทั้งการเรี ยนรู้จาก
โรงเรี ยนที่ประสบความสาเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ที่ เน้นการคิด
2.6 สื่ อ และแหล่งเรี ยนรู ้ มีหลายรู ปแบบ เช่น เอกสารประกอบการอบรม ชุ ดนาเสนอ
เพาเวอร์พอยต์ประกอบการบรรยายของวิทยากร ชุดการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง ฐานข้อมูลงานวิจยั ที่
เกี่ยวข้องจากเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต ตัวอย่างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ และนวัตกรรมการเรี ยนการสอนที่
เน้นการพัฒนาการคิด หนังสื อ ตาราต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งบุคคลที่มีความรู ้ ความสามารถใน
การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
2.7 การวัดและประเมินผล วัดและประเมินผลตามวัตถุประสงค์ของรู ปแบบโดยใช้
แบบทดสอบความรู ้เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด แบบประเมินความเหมาะสมของ
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด และแบบสอบถามความพึงพอใจของครู ต่อการใช้รูปแบบ
การพัฒนาครู
3. ผลการใช้รูปแบบพัฒนาครู พบว่า
3.1 ก่อนการพัฒนา ครู กลุ่มเป้ าหมายมีคะแนนเฉลี่ยของความรู ้เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้
ที่เน้นการคิดเท่ากับร้อยละ 45.73 แต่หลังการพัฒนามีคะแนนเฉลี่ยสู งขึ้นเป็ นร้อยละ 73.93 ซึ่งสู ง
กว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3.2 หลังการพัฒนาครู กลุ่มเป้ าหมายทุกคนมีความสามารถในการจัดทาแผนการจัด
การเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดผ่านเกณฑ์ที่กาหนด กล่าวคือ แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ครู กลุ่มเป้ าหมายสร้าง
ขึ้น มีความเหมาะสมผ่านเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 3.50 ขึ้นไป (คะแนนเต็ม 5)
4. หลังการพัฒนา ครู กลุ่มเป้ าหมายมีความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการพัฒนาครู
ในภาพรวมอยูใ่ นระดับมากที่สุด

ข้ อเสนอแนะ
จากผลการวิจยั ดังกล่าวข้างต้น จะเห็นว่ารู ปแบบที่ผวู ้ จิ ยั พัฒนาขึ้นสามารถนาไปใช้พฒั นา
ครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดได้อย่างเหมาะสม ดังนั้นผูว้ จิ ยั จึงมี
ข้อเสนอแนะ ดังนี้
1. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงาน และสถาบันการศึกษาที่มีบทบาทเกี่ยวข้องกับ
การพัฒนาครู ควรส่ งเสริ มให้มีการนารู ปแบบนี้ ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาครู ให้มีความสามารถ
ในการจัดการเรี ยนการสอนเพื่อพัฒนาการคิดของนักเรี ยนอย่างกว้างขวาง
2. การนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น การคิดที่
พัฒนาขึ้นไปใช้ ผูบ้ ริ หารและครู ทุกคนในโรงเรี ยนต้องมีความพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง
3. การพัฒนาครู ตามรู ปแบบที่พฒั นาขึ้น มุ่งเน้นให้ครู สามารถเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่
เน้นการคิด และนาไปใช้ในสถานการณ์หอ้ งเรี ยนจริ ง ซึ่งจาเป็ นต้องได้รับการนิเทศ ให้คาปรึ กษา
และให้ขอ้ มูลย้อนกลับอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นในการนารู ปแบบการพัฒนาครู น้ ีไปใช้ จึงต้องมุ่งเน้นให้
ครู ที่เข้ารับการพัฒนาได้ปฏิบตั ิจริ งอย่างต่อเนื่อง ภายใต้การดูแลช่วยเหลือของวิทยากร ซึ่งจะช่วย
เสริ มสร้างให้ครู มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดอย่างมีประสิ ทธิ ภ าพ
4. การนารู ปแบบการพัฒนาครู ที่พฒั นาขึ้นไปใช้ ควรมีการศึกษาความสามารถในการคิด
ของนักเรี ยนที่เปลี่ยนแปลงไปภายหลังที่ครู นาแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิดไปใช้ใน
สถานการณ์จริ งอย่างจริ งจัง
5. ควรนาแนวคิดการฝึ กอบรมครู โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน การฝึ ก อบรมแบบมีส่วนร่ วม
และการอบรมเพื่อแก้ไขปั ญหาแบบครบวงจร ไปพัฒนารู ปแบบการฝึ กอบรมครู ให้มีความรู ้ ทักษะ
และเจตคติที่ดีในประเด็นอื่น ๆ เช่น การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ การวิจยั เพื่อพัฒนา
การเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน เป็ นต้น
หัวข้ อวิจัย การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม เพื่อพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด : กรณี ศึกษาโรงเรี ยนบ้านท่าวัด
“คุรุราษฎร์ บารุ งวิทย์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1
ชื่ อผู้วจิ ัย ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. สาราญ กาจัดภัย และคณะ
คณะ ครุ ศาสตร์
สถาบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
ปี การศึกษา 2552

บทคัดย่ อ

การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพ ปัญหา และ


ความต้องการของครู ในโรงเรี ยนเป้ าหมาย เกี่ยวกับการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด 2) พัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น
การคิด 3) เปรี ยบเทียบความรู ้ของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด ก่อนและหลังการพัฒนา
4) ประเมินความสามารถของครู ในการจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด และ 5) ศึกษา
ความพึงพอใจของครู ต่อการใช้รูปแบบการพัฒนาครู
กลุ่มเป้ าหมายเป็ นครู โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” สังกัดสานักงานพื้นที่
การศึกษาสกลนครเขต 1 ปี การศึกษา 2551 จานวน 14 คน ซึ่งการดาเนินการวิจยั มี 6 ขั้นตอน ได้แก่
1) ขั้นเตรี ยมการ 2) ขั้นศึกษาปั ญหาและกาหนดวิธีการแก้ไข 3) ขั้นวางแผนปฏิบตั ิการแก้ปัญหา
4) ขั้นวางแผนติดตามและประเมินผล 5) ขั้นปฏิบตั ิการตามแผนที่วางไว้ และ 6) ขั้นประเมินผล
การปฏิบตั ิการแก้ปัญหา ผลการวิจยั สรุ ปได้ดงั นี้
1. ครู ทุกคนมีความเห็นสอดคล้องกันว่า ความสามารถในการคิดของนักเรี ยนอยูใ่ นเกณฑ์
ไม่น่าพอใจ ควรส่ งเสริ มให้ครู ได้รับการพัฒนาความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด โดย
การจัดอบรมเชิงปฏิบตั ิการทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ จัดให้มีพี่เลี้ยงคอยให้คาแนะนา จัดระบบนิเทศ
ติดตาม และประเมินผลอย่างใกล้ชิดและสม่าเสมอ จัดให้มีชุดการเรี ยนรู ้ เพื่อทบทวนและศึกษาเพิ่ม
ด้วยตนเอง จัดหาตัวอย่างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด รวมทั้งหนังสื อ ตารา และรายงาน
การวิจยั ที่เกี่ยวข้องไว้ในห้องสมุดของโรงเรี ยน จัดทาเอกสารแนะนา Website รวมทั้งวิธีการสื บค้น
จัดหาตัวอย่างนวัตกรรมเพื่อการเรี ยนรู ้ที่เน้นพัฒนาการคิ ด เชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญสาธิต
การสอนเน้นการคิดในสถานการณ์จริ ง และศึกษาดูงานโรงเรี ยนที่ประสบความสาเร็ จในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
2. รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด มีแนวคิด
พื้นฐานสาคัญ 3 ประการ คือ การฝึ กอบรมอย่างมีส่วนร่ วม การฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน
และการอบรมเพื่อแก้ไขปั ญหาการปฏิบตั ิงานแบบครบวงจร องค์ประกอบของรู ปแบบ
ประกอบด้วย 1) ชื่อรู ปแบบ 2) ความเป็ นมาและความสาคัญ 3) แนวคิดทฤษฎีพ้นื ฐาน 4) หลักการ
5) วัตถุประสงค์ 6) เนื้อหา 7) กระบวนการ 8) สื่ อและแหล่งเรี ยนรู้ และ 9) การวัดและประเมินผล
3. ผลการใช้รูปแบบพัฒนาครู พบว่า 1) ก่อนการพัฒนา ครู มีคะแนนเฉลี่ยของความรู ้
เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดเท่ากับร้อยละ 45.73 แต่หลังการพัฒนามีคะแนนเฉลี่ยสู งขึ้น
เป็ นร้อยละ 73.93 ซึ่ งสู งกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) หลังการพัฒนา
ครู ทุกคนมีความสามารถในการจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดผ่านเกณฑ์ที่กาหนด
กล่าวคือ แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ครู กลุ่มเป้ าหมายสร้างขึ้น มีความเหมาะสมผ่านเกณฑ์ที่กาหนดไว้
และ 3) หลังการพัฒนา ครู มีความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการพัฒนาครู ในภาพรวมอยูใ่ นระดับ
มากที่สุด
TITLE Participatory Action Research for Developing a Teachers
Development Model to Make Them Be Able to Manage Learning
with Emphasis on Thinking: A Case in Ban Tha Wat “Kuru Rat
Bamrung Wit” School under the Office of Sakon Nakhon Educational
Service Area 1
AUTHOR Asst. Prof. Dr. Sumran Gumjudpai and others
FACULTY Faculty of Education
INSTITUTION Sakon Nakhon Rajabhat University
ACADEMIC YEAR 2009

ABSTRACT
The objectives of this participatory action research were (1) to study the state,
problem, and need of teachers in the target school concerning development of teachers to be able
to manage learning with emphasis on thinking, (2) to develop a model for development of
teachers to be able to manage learning with emphasis on thinking, (3) to compare teachers’
knowledge of learning management with emphasis on thinking before and after development,
(4) to evaluate teachers’ ability to make a learning plan with emphasis on thinking and
(5) to investigate teachers’ satisfaction with implementing the teachers development plan.
The target group were 14 teachers at Ban Tha Wat “Kuru Rat Bumrung Wit” School
under the Office of Sakon Nakhon Educational Service Area 1 in academic year 2008. The study
consisted of 6 steps: (1) preparation, (2) problem investigation and specifying how to resolve
the problem, (3) planning to resolve the problem, (4) following-up and evaluating the results,
(5) implementing the plan and (6) evaluating the results of problem solution. The findings can be
concluded as follows:
1. Every teacher had a congruent opinion that students’ ability to think was in
the unsatisfactory criterion, so teachers should be promoted with ability development.
They should be able to manage learning with emphasis on thinking through attending a workshop
both in theory and practice. A trainer should be assigned to give some advice. Close and regular
supervision, following-up and evaluation should be conducted. A package of learning
for review and further learning by themselves should be given. The example of a lesson plan with
emphasis on thinking should be prepared and the school library should have books, texts, related
research reports. Documents for introducing websites should be produced including how to
search examples of innovation for learning with emphasis on thinking. Experts in demonstrating
instruction with emphasis on thinking in the real situation should be invited. A field trip to a
successful school in learning management with emphasis on thinking should be made.
2. The model for development of teachers to be able to manage learning with
emphasis on thinking was based on three important basic ideas like participatory training,
school-based training, and training for resolving performance problems comprehensively.
Components of the model comprised (1) model name, (2) its background and importance,
(3) basic theory ideas (4) principle, (5) objectives, (6) content, (7) process, (8) media and sources
of learning, and (9) measurement and evaluation.
3. The results of implementing the teachers development model revealed (1) that
before the development, teachers had an average score of 45.73 % for their knowledge about
learning management with emphasis on thinking, whereas after the development they got an
average score of 73.93 %which was higher than before the development significantly at the
.01 level; (2) that after the development every teacher had their ability to make a learning
management plan with emphasis on thinking and met the criterion; and (3) that after the
development, teachers were satisfied with implementation of the overall teachers development
model at the highest level.
กิตติกรรมประกาศ

การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมครั้งนี้ สาเร็ จได้ดว้ ยความร่ วมมือร่ วมใจอย่างดียงิ่ จาก
คณะผูบ้ ริ หาร และคณะครู ทุกท่านของโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” สังกัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1 ทีมนักวิจยั ซาบซึ้ งในไมตรี จิต และรู ้สึกอบอุ่นใจทุกครั้งที่ลง
พื้นที่ทาวิจยั จึงขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสู งมา ณ ที่น้ ี
ขอขอบพระคุณอธิการบดี ผูบ้ ริ หาร และทีมงานของสถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสกลนครทุกท่าน ที่ให้การสนับสนุนและอานวยความสะดวกในการทาวิจยั
คุณค่าและประโยชน์อนั พึงมีจากงานวิจยั นี้ ทีมนักวิจยั ขอมอบแด่ผสู ้ นใจศึกษา ตลอดจนผูม้ ี
พระคุณทุกท่าน

สาราญ กาจัดภัย และคณะ


พฤษภาคม 2553
สารบัญ

บทที่ หน้า

1 บทนา....................................................................................…...………………………. 1
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา........…..…………………………………… 1
คาถามการวิจยั ................................................................…………………………… 5
วัตถุประสงค์ของการวิจยั ............................................................………………….… 5
ขอบเขตของการวิจยั ...............................................................………………….…... 6
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ…………………………………………………………. 7
นิยามศัพท์เฉพาะ.....................................................................…………………….… 8

2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง.................................................…….………………….. 10
แนวคิดเกี่ยวกับการวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม..………………………..………. 10
แนวคิดเกี่ยวกับการวางระบบติดตามและประเมินผลการพัฒนาครู ………………… 14
แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาครู ……………….……………………………………….. 19
ทฤษฎี หลักการ แนวคิดเกี่ยวกับการคิดและการพัฒนาการคิด……………………….. 26
ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรี ยนเป้ าหมาย (โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์”) …… 46
งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง …………………………………………………………………… 49
กรอบแนวคิดในการวิจยั ……………………………………………………………… 55

3 วิธีดาเนินการวิจยั ……………………………………………………………………….. 56
ขั้นที่ 1 ขั้นเตรี ยมการ ………………………………………………………………… 56
ขั้นที่ 2 ขั้นศึกษาปั ญหาและกาหนดวิธีการแก้ไข ……………………………………. 58
ขั้นที่ 3 ขั้นวางแผนปฏิบตั ิการแก้ปัญหา ……………………………………………… 60
ขั้นที่ 4 ขั้นวางแผนติดตามและประเมินผล …………………………………………. 61
ขั้นที่ 5 ขั้นปฏิบตั ิการตามแผนที่วางไว้ ……………………………………………… 64
ขั้นที่ 6 ขั้นประเมินผลการปฏิบตั ิการแก้ปัญหา ……………………………………… 65
สารบัญ (ต่อ)

บทที่ หน้า

4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล………………………………………………………………....... 66
ผลการศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการพัฒนาความสามารถ
ในการจัดการเรี ยนรู้ ที่เน้นการคิด………………………………………………… 66
ผลการพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้
ที่เน้นการคิด ……………………………………………………………………… 73
ผลการศึกษาความสามารถของครู ในการจัดการเรี ยนการรู้ที่เน้นการคิด ..….……….. 85
ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถใน
การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ……………………………………………………. 97

5 สรุ ป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ……………………………………………………… 100


สรุ ปผลการวิจยั ………………………………………………………………………. 100
อภิปรายผล…………………………………………………………………………… 104
ข้อเสนอแนะ…………………………………………………………………………. 108

บรรณานุกรม ………………………………………………………………………………. 110

ภาคผนวก…………………………………………………………………………………… 112
ภาคผนวก ก เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ……………………………….…. 113
ภาคผนวก ข ตัวอย่างชุดการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง ……..……………………………….…. 135
ภาคผนวก ค ตัวอย่างเอกสารแนะนาขั้นตอนการสื บค้นงานวิจยั ทางการศึกษา ………... 157
ภาคผนวก ง ภาพกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบตั ิการ ……..……………………………….…. 163
ภาคผนวก จ ตัวอย่างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ครู กลุ่มเป้ าหมายจัดทาขึ้น …………….…. 169

ข้อมูลทีมนักวิจยั จากมหาวิยาลัยราชภัฏสกลนคร ……………………………………………. 206


สารบัญตาราง

ตาราง หน้า

1 ตัวอย่างการเปรี ยบเทียบการฝึ กอบรมแบบมีส่วนร่ วมน้อยและแบบมีส่วนร่ วมมาก ………. 21


2 ตัวอย่างวิธีการหรื อขั้นตอนการพัฒนาทักษะการคิดพื้นฐาน………………………………. 29
3 ตัวอย่างวิธีการหรื อขั้นตอนการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสู ง ……………………………….. 31
4 ตัวอย่างวิธีการหรื อขั้นตอนการพัฒนาลักษณะการ ……………………………………….. 33
5 ข้อมูลทัว่ ไปของครู โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” ……………………………. 67
6 ผลการประเมินตนเอง และความต้องการพัฒนาตนเองเกี่ยวกับความสามารถ
ในการจัดการเรี ยนที่เน้นการคิด ของครู โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” …… 71
7 ผลการสารวจความต้องการเกี่ยวกับรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถ
ในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ……………………………………………………….. 72
8 ผลการเปรี ยบเทียบความรู ้ ความเข้าใจของครู กลุ่มเป้ าหมายเกี่ยวกับการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ก่อนและหลังการพัฒนาตามรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด (วัดด้วยแบบทดสอบ)
จาแนกเป็ นรายบุคคล …………………………………………………………………….. 86
9 ผลการเปรี ยบเทียบความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด
ของครู กลุ่มเป้ าหมาย ก่อนและหลังการพัฒนาตามรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด (วัดด้วยแบบทดสอบ) ………………….. 87
10 ผลการเปรี ยบเทียบความรู ้ ความเข้าใจของครู กลุ่มเป้ าหมายเกี่ยวกับการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ก่อนและหลังการพัฒนาตามรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด (วัดด้วยแบบประเมินตนเอง)
จาแนกเป็ นรายบุคล……………………………………………………………………. 88
11 ผลการเปรี ยบเทียบความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด
ของครู กลุ่มเป้ าหมาย ก่อนและหลังการพัฒนาตามรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด (วัดด้วยแบบประเมินตนเอง) …………. 89
12 ผลการประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด
ที่ครู พฒั นาขึ้นกับเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้ ประเมินโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ 3 ท่าน จาแนกเป็ นรายบุคคล …. 89
สารบัญตาราง (ต่อ)

ตาราง หน้า

13 ผลการประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดที่ครู พฒั นาขึ้น


ในภาพรวมของครู 14 คน กับเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้ ประเมินโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ 3 ท่าน …………. 94
14 ผลการศึกษาความพึงพอใจของครู กลุ่มเป้ าหมาย 14 คน เกี่ยวกับการใช้รูปแบบ
การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด …………………… 97
15 ผลการวิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ………………………………………………………………. 123

1
สารบัญภาพ

ภาพ หน้า

1 แนวคิดเกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษาและหลักการบริ หาร
ที่เป็ นระบบครบวงจร ………………………………………………………………. 15
2 รู ปแบบการติดตามและประเมินผลการพัฒนาครู ให้เป็ นนักวิจยั แกนนาในเรื่ อง
การวิจยั ในชั้นเรี ยน ………………………………………………………………… 17
3 กรอบแนวคิดของการอบรมอย่างมีส่วนร่ วม ………………………………………….. 20
4 กระบวนการอบรมแบบครบวงจร …………………………………………………….. 22
5 กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ ……………………………………………………. 35
6 กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ……………………………………………….. 41
7 กรอบแนวคิดในการวิจยั ……………………………………………………………….. 55
8 ลงพื้นที่โรงเรี ยนเป้ าหมายเพื่อประสานความร่ วมมือ …………………………………... 58
9 กรอบแนวคิดของการอบรมอย่างมีส่วนร่ วม …………………………………………… 77
10 กระบวนการอบรมแบบครบวงจร …………………………………………………….. 79
11 ประชุมชี้แจง และปรึ กษาหารื อเกี่ยวกับโครงการวิจยั ………………………………… 164
12 ประชุมชี้แจง และปรึ กษาหารื อเกี่ยวกับโครงการวิจยั ………………………………… 165
13 ฝึ กออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนเน้น การคิด …………………………………… 166
14 ร่ วมกิจกรรมสาธิ ตการจัดการเรี ยนรู ้เน้นการคิด (การคิดแบบหมวก 6 ใบ) …………… 167
15 ฝึ กทักษะการสื บค้นข้อมูลทางอินเตอร์ เน็ต เกี่ยวกับงานวิจยั นวัตกรรม
เพื่อพัฒนาการคิด และอื่น ๆ ……………………………………………………….. 168
บทที่ 1

บทนา

ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา

สังคมโลกในปัจจุบนั ได้กา้ วหน้าและเปลี่ยนแปลงสู่ ยคุ ของข้อมูลข่าวสาร บุคคลทัว่ มุมโลก


สามารถติดต่อสื่ อสารถึงกันได้ภายในไม่กี่เสี้ ยวนาที ทาให้เกิดข้อมูลข่าวสารมากมายหลากหลาย
รู ปแบบ ซึ่ งมีท้ งั คุณและโทษ จาเป็ นและไม่จาเป็ นต่อการดาเนินชีวติ ถ่ายทอดสู่ คนทุกชาติทุกภาษา
อย่างรวดเร็ ว ผูบ้ ริ โภคข้อมูลข่าวสารที่ขาดปั ญญาในการไตร่ ตรองอย่างรอบคอบ อาจมีผลทาให้
ตนเอง คนใกล้ชิด สังคมรอบข้าง ตลอดจนประเทศชาติเดือดร้อน ดังนั้น การพัฒนาความสามารถ
ในการคิดให้กบั คนในสังคมยุคข้อมูลข่าวสารจึงเป็ นสิ่ งจาเป็ นอย่างยิง่ เพราะเชื่อว่า คนที่มีทกั ษะ
การคิดที่ดี จะสามารถตัดสิ นใจเลือกหรื อไม่เลือกบริ โภคข้อมูลข่าวสารนั้น ๆ ได้อย่างเหมาะสม
“การคิด” เป็ นความสามารถที่มีอยูแ่ ล้วในตัวมนุษย์ทุกคน แต่จะมีความแตกต่างกันในแง่
ของคุณภาพในการคิด บางคนคิดแล้วได้สิ่งที่มีประโยชน์ บางคนคิดแล้วได้สิ่งที่เป็ นโทษ บางคนคิด
สับสนและไม่ได้อะไรออกมา และยังมีบางคนที่ยงั ไม่รู้ ไม่สนใจว่า ตัวเองคิดอะไร และได้อะไรจาก
การคิดบ้าง ซึ่ งในบรรดาคนทั้งหมดที่กล่าวมานั้น คนที่ได้เปรี ยบมากที่สุดคือ คนที่คิดแล้วได้สิ่งที่มี
ประโยชน์ เรี ยกได้วา่ คนนั้นคิดเป็ น โดยที่การคิดเป็ นนี้ทุกคนสามารถพัฒนาได้ ถ้าได้รับการฝึ ก
อย่างเหมาะสม (ทิศนา แขมมณี และคณะ. 2544 : 113)
การฝึ กการคิดควรทาอย่างต่อเนื่อง โดยการฝึ กเหมาะสมสามารถกระทาได้ในรู ปแบบ
การให้การศึกษา เพราะการศึกษาเป็ นกระบวนการเรี ยนรู้เพื่อความเจริ ญ งอกงามของบุคคลและ
สังคมโดยการถ่ายทอดความรู ้ การอบรม การสื บสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลง
ความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู ้อนั เกิดจากการจัดสภาพแวดล้อมสังคม การเรี ยนรู้
และปั จจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ (สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). 2547:2) ซึ่งจะเห็นได้จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้มุ่งเน้นปลูกฝังให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั พึ่งตนเอง มี
ความริ เริ่ มสร้างสรรค์ ใฝ่ รู ้และเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในมาตรา 24 ระบุ
ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ให้กบั ผูเ้ รี ยนโดยการฝึ กทักษะ
กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู ้มาใช้ในการป้ องกันและ
แก้ไขปั ญหา รวมทั้งจัดกิจกรรมให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์จริ ง ฝึ กปฏิบตั ิ ให้ทาได้ คิดเป็ น
2

ทาเป็ น รักการอ่านและเกิดการใฝ่ รู ้อย่างต่อเนื่อง (สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ


การศึกษา (องค์การมหาชน). 2547:13-14) สุ วทิ ย์ มูลคา (2547ก : 10) กล่าวถึงเหตุผลที่ครู ตอ้ งสอน
ให้นกั เรี ยนมีทกั ษะและกระบวนการคิด พอสรุ ปได้ดงั นี้ 1) เป็ นไปตามมาตรฐานการศึกษาระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานด้านผูเ้ รี ยน มาตรฐานที่ 4 ซึ่ งระบุวา่ ผูเ้ รี ยนต้องมีความสามารถใน
การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ ตรอง และมีวสิ ัยทัศน์
2) เป็ นความจาเป็ นที่จะต้องนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน 3) เป็ นจุดหมายหนึ่งในหลักสู ตรการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่ งระบุวา่ ผูเ้ รี ยนต้องมีทกั ษะและกระบวนการ โดยเฉพาะทาง
คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ทักษะการคิด การสร้างปัญญา และทักษะในการดาเนินชีวติ และ 4) เป็ น
หนึ่งในเกณฑ์การผ่านช่วงชั้นและการจบหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่ งระบุวา่ นักเรี ยนต้องผ่าน
การประเมินการอ่าน การคิดวิเคราะห์ และการเขียน ให้ได้ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
ถึงแม้วา่ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
ได้ระบุให้สถานศึกษาทุกแห่งฝึ กทักษะ กระบวนการคิดให้กบั ผูเ้ รี ยนอย่างต่อเนื่อง แต่ผลผลิตจาก
การจัดการศึกษากลับไม่เป็ นไปตามที่คาดหวัง ดังจากผลการวิจยั ในการหาองค์ประกอบ ทักษะ และ
ความสามารถที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ของนักการศึกษาหลายท่าน พบว่า “ทักษะการคิด” เป็ นตัวบ่งชี้ที่มี
ความสัมพันธ์มากที่สุดกับความสามารถในการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน ในขณะที่ ผลการวิจยั ของอวยพร
เรื องตระกูล และสุ วมิ ลว่องวาณิ ช (อวยพร เรื องตระกูล และสุ วมิ ล ว่องวาณิ ช . 2547 อ้างถึงใน
สมบัติ การจนารักพงค์. 2549 : 3) ซึ่ งศึกษาเกี่ยวกับทักษะการคิดของนักเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษา
ปี ที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ในสถานศึกษาทุกสังกัดใน 5 ภูมิภาคทัว่ ประเทศไทย กลับพบว่า
จานวนสถานศึกษาทั้ง 2 ระดับ ชั้นมีนกั เรี ยนที่มีทกั ษะการคิดอยูใ่ นระดับคุณภาพดีไม่ถึงร้อยละ 50
ของจานวนสถานศึกษาทั้งหมด นอกจากนั้น ทั้ง 2 ระดับชั้นยังมีนกั เรี ยนที่มีทกั ษะการแสวงหา
ความรู ้อยูใ่ นระดับคุณภาพดีไม่ถึงร้อยละ 10 นอกจากนั้นผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานรอบแรก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน) หรื อ สมศ. พบว่า สถานศึกษาส่ วนใหญ่ ไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานด้านคุณภาพ
ผูเ้ รี ยน มาตรฐานที่ 4 “ผูเ้ รี ยนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มี
ความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ ตรอง และมีวสิ ัยทัศน์ ”
ในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นไปตามผลลัพธ์ที่คาดหวังของหลักสู ตร
คุณภาพการจัดการเรี ยนการสอนของครู เป็ นปัจจัยที่มีความสาคัญ อย่างมาก สถานศึกษาทุกแห่ง
ต้องดาเนินการให้ได้มาตรฐาน ซึ่งการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรอบที่ 2
ด้านการเรี ยนการสอน มาตรฐานที่ 10 (สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน). มปป. : 13) ระบุอย่างชัดเจนว่า “ครู ตอ้ งมีความสามารถในการจัด
3

การเรี ยนการสอนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ” กล่าวคือ 1) ต้องมีความรู้


ความเข้าใจเป้ าหมายการจัดการศึกษาและหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) ต้องมีการวิเคราะห์
ศักยภาพของผูเ้ รี ยนและเข้าใจผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคล 3) ต้องมีความสามารถในการจัดการเรี ยน
การสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ 4) ต้องมีความสามารถใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรี ยนรู้ของ
ตนเองและผูเ้ รี ยน 5) ต้องมีการประเมินผลการเรี ยนการสอนที่สอดคล้องกับสภาพการเรี ยนรู ้ที่จดั ให้
ผูเ้ รี ยน และอิงพัฒนาการของผูเ้ รี ยน 6) ต้องมีการนาผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรี ยนการสอน
เพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนได้เต็มตามศักยภาพ และ 7) ต้องมีการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนและนา
ผลไปใช้พฒั นาผูเ้ รี ยน ทั้งนี้เนื่องมาจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รอบแรก ด้านการเรี ยนการสอน พบว่า มาตรฐานดังกล่าวข้างต้น สถานศึกษาส่ วนใหญ่ไม่ผา่ น
เกณฑ์มาตรฐาน
“ครู ผสู้ อน” มีบทบาทสาคัญในการส่ งเสริ มให้คุณลักษณะที่คาดหวังของผูเ้ รี ยนบรรลุ
จุดมุ่งหมายของการจัดการเรี ยนการสอนตามแนวหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
กล่าวคือ ถ้ามุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้และทักษะการสื บค้น ครู ตอ้ งจัดกิจกรรม ประสบการณ์ ให้
พวกเขาได้สืบค้น เสาะแสวงหา และสรุ ปองค์ความรู้ ถ้ามุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนเกิดทักษะการคิด
การจัดการ และการแก้สถานการณ์ ครู ตอ้ งจัดกิจกรรมให้พวกเขาได้ฝึกคิด และสรุ ปองค์ความรู้
ถ้ามุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนมีความรู้ ทักษะการสื บค้น และทักษะไอซีที ครู ตอ้ งจัดกิจกรรมให้พวกเขาได้ฝึก
ใช้สื่อเทคโนโลยีสืบค้นข้อมูล และถ้ามุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ครู ตอ้ งจัด
ประสบการณ์ให้พวกเขาได้ทาร่ วมกับครู เพื่อน และชุมชน (สมบัติ การจนารักพงค์. 2549 : 6)
จากสภาพ และปั ญหาเกี่ยวกับการพัฒนาการคิดของผูเ้ รี ยนดังกล่าว จะเห็นว่า ผูท้ ี่มีบทบาท
สาคัญในการฝึ กทักษะและกระบวนการคิดให้กบั ผูเ้ รี ยนคือ “ครู ผสู้ อน” ดังนั้น จึงมีความจาเป็ นอย่าง
ยิง่ ที่จะต้องพัฒนาทักษะของครู ในการจัดการเรี ยนการสอนเพื่อเสริ มสร้างความสามารถในการคิด
ของผูเ้ รี ยน ซึ่งการฝึ กครู ให้มีทกั ษะในการเสริ มสร้างความสามารถในการคิดของผูเ้ รี ยนนี้ตอ้ ง
กระทาอย่างมีระบบ จริ งจัง และต่อเนื่อง และต้องอาศัยการมีส่วนร่ วมจากหลายฝ่ าย เช่น อาจารย์
คณะครุ ศาสตร์ หรื อคณะศึกษาศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ อาจต้องทาหน้าที่เป็ นวิทยากร ให้
ความรู้ความเข้าใจและฝึ กทักษะกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนเพื่อ พัฒนาการคิด หรื ออาจเป็ น
พี่เลี้ยงคอยให้คาปรึ กษา ศึกษานิเทศก์ของเขตพื้นที่การศึกษา อาจต้องเข้ามามีส่วนร่ วมเกี่ยวกับ
การนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ในขณะเดียวกันทั้งครู ผสู้ อนตลอดจนผูบ้ ริ หารก็ตอ้ งเห็น
ความสาคัญในการจัดการเรี ยนการสอนเพื่อให้ผเู้ รี ยนได้ฝึกทักษะการคิด ใช้กระบวนการคิด
ตลอดเวลา โดยครู ผสู ้ อนในทุกกลุ่มสาระจาเป็ นต้องสอดแทรกทักษะการคิด กระบวนการคิดในวิชา
ของตนตลอดการเรี ยนการสอน เป็ นต้น
4

ที่ผา่ นมา การฝึ กอบรมครู มกั บริ หารจัดการทุกอย่างเสร็ จสรรพภายในช่วงเวลาสั้น ๆ โดย


ทีมงานจัดการอบรมและวิทยากร เมื่ออบรมเสร็ จ ก็แยกย้ายกันไป ไม่มีการนิเทศ ติดตามผล ส่ วนใน
ปัจจุบนั ได้มีการนาเอาแนวคิด “การฝึ กอบรมอย่างมีส่วนร่ วม” มาใช้ในการฝึ กอบรม ซึ่ งมักจะใช้กนั
อย่างกว้างขวางในวงการสาธารณสุ ข แต่ในวงการศึกษายังมีไม่มากนัก ซึ่งแนวคิดการฝึ กอบรม
อย่างมีส่วนร่ วมนี้ ใช้กลวิธีและข้อดีของการมีส่วนร่ วมมาพัฒนาศักยภาพของผูเ้ ข้ารับการอบรม
โดยการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ให้ตามความสนใจของผูเ้ ข้าอบรมภายใต้กรอบของหลักสู ตร
บนหลักการและทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็ นในการมีส่วนร่ วม มีการเตรี ยมการและการออกแบบหลักสู ตร
ที่ดี มีรูปแบบกระบวนการอบรมที่เหมาะสม (จงกลนี ชุติมาเทวินทร์ . 2544 : 124-125) นอกจากนี้
การฝึ กอบรมครู ในอดีตยังขาดการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลอย่างจริ งจังภายหลังที่ครู หรื อ
ผูเ้ ข้ารับการอบรมกลับไปปฏิบตั ิงานในสถานการณ์จริ ง
อีกแนวคิดหนึ่งเกี่ยวกับการฝึ กอบรมที่น่าจะนามาประยุกต์ใช้ก็คือ การฝึ กอบรมโดยใช้
โรงเรี ยนเป็ นฐาน ซึ่ งมีแนวคิดที่วา่ การฝึ กอบรมที่ดีจะต้องให้ความสาคัญทั้งการเพิ่มพูนความรู ้
ความสามารถ ทักษะการทางานและเจตคติที่ดีต่อการทางานของบุคคลในองค์การ โดยการอบรม
ต้องทาให้ครบระบบอย่างทัว่ ถึง ทั้งระดับบริ หารและระดับปฏิบตั ิเพื่อเอื้อซึ่ งกันและกัน ในอันที่ จะ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพขององค์การ ดังนั้น การฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ น
ฐานในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง จาเป็ นต้องเพิ่มพูนทั้งความรู ้ความสามารถ และทักษะในการทางาน รวมทั้ง
กระตุน้ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเจตคติต่อการทางานที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องนั้นๆ ให้กบั บุคลากรทั้ง
โรงเรี ยน เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาในแนวทางเดียวกันทั้งโรงเรี ยน (ประวิต เอราวรรณ์
และคณะ. 2541 : 19)
อย่างไรก็ตาม ในการฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานหากต้องการให้ดาเนินการอย่างเป็ น
ระบบ สอดคล้องกับสภาพจริ งในโรงเรี ยน ผูว้ จิ ยั เห็นว่า “การอบรมเพื่อแก้ไขปั ญหาการปฏิบตั ิงาน
แบบครบวงจร” ก็น่าจะเป็ นอีกแนวคิดหนึ่งที่น่าจะนามาประยุกต์ใช้ร่วมกัน ทั้งนี้เพราะการอบรม
ตามแนวคิดนี้ ประยุกต์เอากระบวนการวิจยั ปฏิบตั ิการมาใช้ โดยมุ่งแก้ปัญหาภายในองค์กรหนึ่ง ๆ
ซึ่ งขั้นตอนการอบรม เริ่ มจากองค์กรนั้น ๆ มองเห็ นปั ญหา หรื อมองเห็นความจาเป็ นจะต้อ แก้ปัญหา
ฝ่ ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องพิจารณากระบวนการแก้ปัญหาร่ วมกัน เสนอและเลือกแนวทางแก้ปัญหา
จากนั้นวางแผนปฏิบตั ิการ ซึ่ งในแผนปฏิบตั ิการอาจมีการอบรม เป็ น วิธีการหนึ่งร่ วมกับวิธีการอื่น ๆ
ที่เลือกไว้ เมื่อวางแผนเสร็ จก็ดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ไปตามแผน มีการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล
เป็ นระยะ ๆ รวมทั้งภายหลังที่ผเู ้ ข้ารับการอบรมกลับไปปฏิบตั ิงานในสถานการณ์จริ ง
(จงกลนี ชุติมาเทวินทร์ . 2544 : 28)
5

จากแนวคิดการฝึ กอบรมอย่างมีส่วนร่ วม การฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน และ


การอบรมเพื่อแก้ไขปั ญหาการปฏิบตั ิงานแบบครบวงจร ดังกล่าวข้างต้น น่าจะเป็ นประโยชน์
อย่างยิง่ ต่อ “การพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ”
ที่ผวู้ จิ ยั สนใจศึกษา ซึ่งถ้ารู ปแบบการพัฒนาครู ดงั กล่าวสามารถนาไปใช้ได้จริ งอย่างมีประสิ ทธิภาพ
ประสิ ทธิผล ก็จะช่วยให้ท้ งั ครู ผสู ้ อนและผูเ้ รี ยนในโรงเรี ยนนาร่ อง (โรงเรี ยนเป้ าหมายของ
การพัฒนา) มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่วางไว้ อีกทั้งยังสามารถนาไปประยุกต์ ใช้ในโรงเรี ยน
อื่น ๆ ต่อไป

คาถามการวิจัย

การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้กาหนดปั ญหาการวิจยั หลัก ๆ ดังนี้


1. สภาพ ปัญหา และความต้องการของครู ในโรงเรี ยนเป้ าหมาย เกี่ยวข้องกับการพัฒนาครู
ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด เป็ นอย่างไร
2. รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ที่สอดคล้อง
กับโรงเรี ยนเป้ าหมายมีองค์ประกอบอะไรบ้าง อย่างไร
3. ความสามารถของครู ในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด หลังการพัฒนาตามรู ปแบบ
การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด เป็ นอย่างไร ในประเด็นต่อไปนี้
3.1 ความรู้ ความเข้าใจของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด หลังการพัฒนา
ตามรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด สู งกว่าก่อน
การพัฒนาหรื อไม่ อย่างไร ทั้งในแง่ของการประเมินด้วยแบบทดสอบ และแบบประเมินตนเอง
3.2 แผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่เน้นการคิดที่ครู จดั ทาขึ้น มีความเหมาะสมผ่านเกณฑ์ที่
กาหนดไว้ หรื อไม่ อย่างไร ตามความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญ
4. ครู มีความพึงพอใจเพียงใดต่อการใช้รูปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้กาหนดวัตถุประสงค์ของการวิจยั ดังนี้


1. เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการของครู ในโรงเรี ยนเป้ าหมาย เกี่ยวข้องกับ
การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
6

2. เพื่อพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด


ที่สอดคล้องกับสภาพ ปั ญหา และความต้องการของครู ในโรงเรี ยนเป้ าหมาย
3. เพื่อศึกษาความสามารถของครู ในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด หลังการพัฒนาตาม
รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น การคิด โดยกาหนดเป็ น
วัตถุประสงค์ยอ่ ย ดังนี้
3.1 เพื่อเปรี ยบเทียบความรู ้ ความเข้าใจของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด
ก่อนและหลังการพัฒนาตามรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้น
การคิด ทั้งในแง่ของการประเมินด้วยแบบทดสอบ และแบบประเมินตนเอง
3.2 เพื่อประเมินความสามารถของครู ในการจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
โดยพิจารณาจากความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู้
4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครู ต่อการใช้รูปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถใน
การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิ ด

ขอบเขตของการวิจัย

การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้กาหนดขอบเขตของการวิจยั ดังนี้


1. โรงเรียนและกลุ่มเป้าหมาย
1.1 โรงเรี ยนเป้ าหมาย คือ โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” สังกัดสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาสกลนครเขต 1 ซึ่ งตั้งอยูห่ มู่ที่ 3 ตาบลเหล่าปอแดง อาเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
1.2 ครู กลุ่มเป้ าหมาย เป็ นครู ผสู ้ อนในโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” สังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนครเขต 1 จานวน 14 คน เป็ นครู ผชู้ าย 7 คน และครู ผหู้ ญิง 7 คน
2. ผู้มีส่วนร่ วมในการวิจัย
2.1 ผูว้ จิ ยั ภายนอก ได้แก่ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สาราญ กาจัดภัย และ
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ประยูร บุญใช้ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
2.2 ครู ผสู้ อนในโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาสกลนครเขต 1 จานวน 14 คน (ครู กลุ่มเป้ าหมาย)
2.3 ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาสกลนครเขต 1
7

3. ตัวแปรทีศ่ ึกษา
1. ตัวแปรต้ น ได้แก่ การใช้รูปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้
ที่เน้นการคิด
2. ตัวแปรตาม ได้แก่
2.1 สภาพ ปัญหา และความต้องการของครู เกี่ยวข้องกับการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
2.2 ความสามารถของครู ในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ประกอบด้วย 2 ตัวแปรย่อย
คือ ความรู้ ความเข้าใจของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด และความสามารถในการจัดทา
แผนการเรี ยนรู้ ที่เน้นการคิด
2.3 ความพึงพอใจของครู ต่อการใช้รูปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการ
จัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
4. ระเบียบวิธีวจิ ัยทีใ่ ช้
ระเบียบวิธีวจิ ยั หลักที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ คือ การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม
(Participatory Action Research) โดยมีการศึกษาข้อมูลต่าง ๆ ทั้งเชิงปริ มาณและเชิงคุณภาพ
5. ระยะเวลาทีใ่ ช้ ในการวิจัย
ระยะเวลาที่ใช้ในการปฏิบตั ิการวิจยั แบบมีส่วนร่ วม คือ ภาคเรี ยนที่ 1 และภาคเรี ยนที่ 2
ปี การศึกษา 2551

ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ

การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมครั้งนี้ ก่อให้เกิดประโยชน์ที่สาคัญดังนี้


1. ได้รูปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ที่มี
ความสอดคล้องกับสภาพ ปั ญหา และความต้องการของครู ในโรงเรี ยนเป้ าหมาย สามารถนาไปใช้
พัฒนาครู กลุ่มเป้ าหมายให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดได้อย่างมีประสิ ทธิ ผลอีก
ทั้งสามารถนาไปพิจารณาปรับใช้กบั โรงเรี ยนอื่นที่มีบริ บทใกล้เคียงกับโรงเรี ยนเป้ าหมาย
2. เป็ นแนวทางหนึ่งในการช่วยแก้ปัญหาการขาดทักษะการคิดของนักเรี ยน รวมทั้งการขาด
ทักษะการจัดการเรี ยนการสอนโดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญของครู ผสู้ อนซึ่งเป็ นปัญหาที่สะท้อนมา
จากผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก (พ.ศ. 2544-2548) โดยสานักงานรับรอง มาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรื อ สมศ.
8

นิยามศัพท์ เฉพาะ

การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมเพื่อพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถใน


การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด ผูว้ จิ ยั ได้นิยามศัพท์เฉพาะ ดังนี้
1. การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ วม หมายถึง กระบวนการแสวงหาความรู้ตามหลักการ
ของการวิจยั เชิงวิทยาศาสตร์ ซึ่ งมีวตั ถุประสงค์มุ่งไปที่การแก้ปัญหาหรื อพัฒนากลุ่มเป้ าหมาย โดย
อาศัยการมีส่วนร่ วมของกลุ่มเป้ าหมาย ทั้งในแง่ของผูร้ ่ วมกระบวนการวิจยั และผูม้ ีหุน้ ส่ วนใน
การใช้ประโยชน์ของการวิจยั ดังนั้นในการวิจยั ครั้งนี้ จึงเป็ นการทางานร่ วมกันระหว่างคณะผูว้ จิ ยั
ในฐานะเป็ นนักวิจยั ภายนอกจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร กับกลุ่มเป้ าหมาย ซึ่ งได้แก่
ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนและครู ผสู ้ อนโรงเรี ยนบ้านท่าวัด สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร
เขต 1 ในฐานะเป็ นนักวิจยั ภายใน ซึ่งกระบวนการวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมที่ใช้มี 6 ขั้นตอน
ได้แก่ ขั้นเตรี ยมการ ขั้นศึกษาปั ญหาและกาหนดวิธีการแก้ไข ขั้นวางแผนปฏิบตั ิการแก้ปัญหา
ขั้นวางแผนติดตามและประเมินผล ขั้นปฏิบตั ิการตามแผนที่วางไว้ และขั้นประเมินผล
การปฏิบตั ิการแก้ปัญหา
2. รู ปแบบการพัฒนาครู ให้ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด หมายถึง
แบบแผนการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ให้กบั ครู โดยมีเป้ าหมายสาคัญเพื่อให้ครู มีความรู ้
ความเข้าใจและความสามารถในการจัดการเรี ยนการสอนเพื่อพัฒนาการคิดของผูเ้ รี ยน ซึ่งในการจัด
ประสบการณ์การเรี ยนรู ้น้ ีใช้หลักการสาคัญ 3 ประการ คือ (1) การพัฒนาไปด้วยกันทั้งโรงเรี ยน
(2) การมีส่วนร่ วมระหว่างผูฝ้ ึ ก (วิทยากร) ผูร้ ับการฝึ ก (ครู ) และผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน และ
(3) การพัฒนาหรื อแก้ปัญหาแบบครบวงจร โดยเริ่ มต้นจากการระบุปัญหาและค้นหาสาเหตุ
การเลือกประเด็นปั ญหาที่ตอ้ งการแก้ไข การแสงหาและเลือกวิธีการแก้ปัญหา การวางแผน
แก้ปัญหาและแผนการติดตามประเมินผล การจัดทาแผนปฏิบตั ิการ การปฏิบตั ิตามแผนปฏิบตั ิการ
ที่วางไว้ การติดตามและประเมินผล การให้ขอ้ มูลย้อนกลับเพื่อการปรับปรุ ง ดาเนินการปรับปรุ ง
แก้ไขต่อไปจนกว่าปั ญหาจะหมดไปหรื อคลี่คลายอยูใ่ นเกณฑ์ที่พอใจ
3. ความสามารถของครู ในการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด หมายถึง ผลลัพธ์อนั เกิดจากการที่
ครู ได้รับการพัฒนาตามรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น
การคิด ซึ่ งในที่น้ ีพิจารณาได้จาก 2 ตัวชี้วดั ได้แก่ (1) ความรู ้ ความเข้าใจของครู เกี่ยวกับการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด และ (2) ความสามารถในการจัดทาแผนการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด โดยที่
9

3.1 ความรู้ ความเข้ าใจของครู เกีย่ วกับการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด หมายถึง


พฤติกรรมทางปั ญญาของครู ที่บ่งบอกว่ามีความรอบรู ้เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการสอนเพื่อพัฒนา
การคิดของผูเ้ รี ยน ในขอบข่ายเนื้อหาสาระที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การวิเคราะห์ผเู ้ รี ยน ทักษะการคิด
ลักษณะการคิด และกระบวนการคิดต่าง ๆ รู ปแบบการสอน วิธีสอน และเทคนิคการสอนต่าง ๆ ที่
ส่ งเสริ มการคิดของผูเ้ รี ยน การเลือกสื่ อ อุปกรณ์ นวัตกรรม แหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ที่ส่งเสริ มการคิดของ
ผูเ้ รี ยน วิธีการวัดและประเมินความสามารถในการคิดของผูเ้ รี ยน การออกแบบการเรี ยนรู้ที่เน้น
การคิด และการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด โดยที่พฤติกรรมทางปั ญญาดังกล่าวข้างต้น
อาจแสดงออกโดยการบอก การบรรยาย การอธิ บาย การยกตัวอย่าง หรื อการตัดสิ น คุณค่า ซึ่ งในที่น้ ี
สามารถวัดได้โดยใช้แบบทดสอบ ความรู ้ ความเข้าใจของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด
และแบบประเมินตนเองที่ผวู ้ จิ ยั สร้างขึ้น
3.2 ความสามารถในการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด หมายถึง พฤติกรรม
ทางปัญญาของครู ที่แสดงออกในการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด โดยพิจารณาได้จาก
ความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ที่ครู กลุ่มเป้ าหมายแต่ละคนพัฒนาขึ้น
ประเมินโดยผูเ้ ชี่ยวชาญตามแบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เ น้นการคิด ซึ่ง
มีระดับความเหมาะสมเป็ นมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด
4. ความพึงพอใจของครู ต่อการใช้ รูปแบบการพัฒนาครู ให้ มีความสามารถในการจัด
การเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด หมายถึง ความรู ้สึก หรื อความคิดเห็นในเชิงบวกของครู กลุ่มเป้ าหมาย
เกี่ยวกับการได้รับการพัฒนาตามรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น
การคิด ซึ่ งในที่น้ ีสามารถวัดได้โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจของครู ต่อการใช้รูปแบบ
การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ที่ผวู ้ จิ ยั สร้างขึ้น
10

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วข้ อง

การวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง แล้วทาการวิเคราะห์และ


สังเคราะห์ เรี ยบเรี ยงนาเสนอตามลาดับหัวข้อต่อไปนี้
1. แนวคิดเกี่ยวกับการวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม
2. แนวคิดเกี่ยวกับการวางระบบติดตามและประเมินผลการพัฒนาครู
3. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาครู
4. ทฤษฎี หลักการ แนวคิดเกี่ยวกับการคิดและการพัฒนาการคิด
5. ข้อมูลพื้นฐานของโรงเรี ยนเป้ าหมาย (โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์”)
6. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

แนวคิดเกีย่ วกับการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ วม

1. การวิจัยปฏิบัติการ
การวิจยั ปฏิบตั ิการ เป็ นการวิจยั ประเภทหนึ่งที่ผทู้ าวิจยั คือผูป้ ฏิบตั ิงานในองค์การหรื อมี
ส่ วนเกี่ยวข้องในองค์การนั้น ซึ่ งอาจมีคนเดียว หรื อหลายคน หรื อทุกคนในองค์การ ได้ดาเนินการ
แก้ไขปั ญหาหรื อพัฒนาองค์การให้ดีข้ ึนโดยนาเอาวิธีการ แนวทาง หรื อกิจกรรมต่าง ๆ ที่ผา่ น
การพิจารณาตรวจสอบเบื้องต้นแล้วว่าเหมาะสม ไปทดลองปฏิบตั ิการตามแผนที่วางไว้ มี
การติดตาม ตรวจสอบและประเมินกระบวนการปฏิบตั ิงาน และผลลัพธ์ยอ่ ย ๆ ที่ตอ้ งการให้เกิดขึ้น
ในแต่ละขั้นตอนของการทางาน รวมทั้งปั ญหาอุปสรรคต่าง ๆ สะท้อนผลการประเมินที่ได้ให้กบั
องค์การเป็ นระยะ เพื่อใช้เป็ นข้อมูลสาหรับการวางแผนปรับปรุ งแก้ไขในส่ วนยังเป็ นปั ญหา จากนั้น
ดาเนินการแก้ไขปั ญหาหรื อพัฒนาต่อไป จนกระทัง่ ปั ญหาที่เกิดขึ้นในองค์การนั้นได้รับการคลี่คลาย
หรื อเป้ าหมายของการพัฒนานั้นบรรลุผลตามต้องการ (สาราญ กาจัดภัย และคณะ. 2547 : 10)
11

2. การวิจัยแบบมีส่วนรวม
การวิจยั แบบมีส่วนร่ วม เป็ นกระบวนการค้นหาข้อมูลร่ วมกันระหว่างนักวิจยั และ
กลุ่มเป้ าหมาย เพื่อใช้ในอธิ บายปั ญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนหรื อองค์การที่สนใจศึกษา การวิจยั
ประเภทนี้ จะไม่เรี ยกกกลุ่มเป้ าหมายในการทาวิจยั ว่ากลุ่มตัวอย่าง หรื อกลุ่มผูใ้ ห้ขอ้ มูลเหมือน
การวิจยั ทัว่ ไป แต่จะเรี ยกว่า “นักวิจยั ภายใน หรื อนักวิจยั ร่ วม” เพราะบทบาทของกลุ่มเป้ าหมาย
ไม่ใช่เพียงแค่ผใู ้ ห้ขอ้ มูล แต่เป็ นผูม้ ีส่วนร่ วมในการทาวิจยั ในขณะที่นกั วิจยั เอง (นักวิจยั ภายนอก)
ก็ไม่ใช่เพียงเป็ นผูส้ ังเกตการณ์ภายนอกเท่านั้น แต่จะเข้ามามีส่วนร่ วมในปั ญหาของกลุ่มเป้ าหมายที่
นักวิจยั ทางานร่ วมอยูด่ ว้ ย (สาราญ กาจัดภัย และคณะ.2547 : 11)

3. การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ วม
การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม (Participatory action research) หรื อ PAR เป็ น
กระบวนการค้นคว้าแสวงหาความรู้ตามหลักการของการวิจยั เชิงวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีวตั ถุประสงค์
มุ่งไปที่การแก้ปัญหาในการพัฒนา โดยอาศัยการมีส่วนร่ วมของชุ่มชน (กลุ่มเป้ าหมาย) ทั้งในแง่ของ
ผูร้ ่ วมกระบวนการวิจยั และผูม้ ีหุน้ ส่ วนในการใช้ประโยชน์ของการวิจยั การใช้ PAR อย่างถูกต้อง
จะเกิดผลสัมฤทธิ์ กบั กลุ่มเป้ าหมายอย่างน้อย 3 ประการ คือ 1) ได้เรี ยนรู ้เพิ่มขึ้น 2) มีการกระทามาก
ขึ้น และ 3) มีการเผยแพร่ พลังความรู ้กนั มากขึ้น ดังนั้น PAR จึงไม่ใช่แค่กระบวนการสื บค้นปั ญหา
และแก้ปัญหาเท่านั้น แต่เป็ นกระบวนการกระตุน้ ให้กลุ่มเป้ าหมายมีการกระทาต่อปั ญหาเหล่านั้น
การกระทาอย่างหนึ่งอย่างใดต่อปั ญหาทาให้กลุ่มเป้ าหมายได้มีโอกาสเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี
ผลสุ ดท้ายกลุ่มเป้ าหมายมิได้เพียงเรี ยนรู ้การแก้ปัญหา แต่ได้เพิ่มพูนความรู ้ให้พร้อมที่จะเผชิญกับ
ปัญหาที่ยากไปกว่านี้ (กมล สุ ดประเสริ ฐ. 2540 : 8-9)
กิจกรรมของการวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม มีลกั ษณะ 3 ประการที่เชื่อมโยงเข้า
ด้วยกันอย่างผสมกลมกลืน คือ (เฉลียว บุรีภกั ดี และคณะ. 2545 : 238)
1. เป็ นการค้นคว้าวิจยั เพื่อให้ได้คาตอบที่จาเป็ น เช่น ข้อมูลความจริ งปัญหาเชิงพัฒนาที่
จะต้องแก้ไข สมมติฐานสาหรับการทดสอบต่อไป แผนการดาเนินงานสาหรับการพัฒนาหรื อ
แก้ปัญหา และการติดตามประเมินผลการพัฒนาแก้ไขปั ญหา
2. เป็ นการมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกลุ่มเป้ าหมาย ผูซ้ ่ ึ งเป็ นทั้งผูร้ ่ วมดาเนินการวิจยั และ
ผูไ้ ด้รับผลลัพธ์ของการวิจยั
3. เป็ นการปฏิบตั ิการในการดาเนินชีวติ จริ ง มิใช่เป็ นการจาลองจากชีวติ จริ งมาเพื่อ
การวิจยั และผูเ้ ข้ามามีส่วนร่ วมในการวิจยั จะเป็ นผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยในกิจกรรมครั้งนี้
12

4. รู ปแบบการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ วม
การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม อาจมีรูปแบบของการมีส่วนแบบหนึ่งแบบใดใน
3 รู ปแบบ ต่อไปนี้ (เฉลียว บุรีภกั ดี. 2545 : 239)
1. มีนกั วิจยั จากภายนอกเป็ นนักวิจยั หลักในระยะแรก ๆ หรื อวงรอบแรก ๆ ของ
กระบวนการวิจยั โดยมีประชาชนในท้องถิ่น (หรื อผูป้ ฏิบตั ิงานในองค์การ) ซึ่ งเป็ นกลุ่มเป้ าหมาย
เข้ามาเป็ นนักวิจยั ร่ วม (นักวิจยั ภายใน) จนกระทัง่ ถึงระยะหนึ่งหรื อวงจรรอบหลัง ๆ จึงค่อยถ่ายโอน
ความรับผิดชอบของบทบาทผูน้ าของนักวิจยั หลักจากภายนอกไปยังสมาชิกในชุมชนเอง (หรื อใน
องค์การ) โดยอาจจะมีนกั วิจยั หลักหรื ออาจไม่มีก็ได้
2. ไม่มีนกั วิจยั หลักจากภายนอก แต่อาจมีผใู้ ห้คาปรึ กษาคนเดียวหรื อเป็ นคณะผูใ้ ห้
คาปรึ กษา และมีสมาชิกผูร้ ่ วมวิจยั จากชุมชนท้องถิ่น (หรื อจากองค์การ) นั้น ดาเนินการจัดรู ป
องค์กรคณะผูว้ จิ ยั ขึ้นเองตามที่เหมาะสมกับลักษณะปั ญหาเชิงพัฒนาที่ตอ้ งการแก้ไขของชุมชน
ท้องถิ่น (หรื อองค์การ)
3. รู ปแบบอื่นที่ดดั แปลงหรื อประยุกต์ไปจากรู ปแบบในข้อ 1 และข้อ 2 เช่น ไม่เรี ยก
นักวิจยั หลักจากภายนอกและไม่เรี ยกผูใ้ ห้คาปรึ กษา แต่อาจเรี ยกว่า ผูอ้ านวยกระบวนการ
(Facilitator) เป็ นต้น

5. ขั้นตอนของกระบวนการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ วม
จากการศึกษาเอกสารเกี่ยวกับขั้นตอนของกระบวนการวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม
(กมล สุ ดประเสริ ฐ. 2540 : 12-15 ; พันธุ์ทิพย์ รามสู ต. 2540 :42-52 ; เฉลียว บุรีภกั ดี. 2545 :
244-249) ผูว้ จิ ยั ได้ทาการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และปรับขั้นตอนต่าง ๆ ของกระบวนการวิจยั
ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมได้ เป็ น 6 ขั้นตอนหลัก ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นเตรี ยมการ ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย ๆ ได้แก่
1.1 เลือกชุมชนเป้ าหมายที่ตอ้ งการพัฒนา
1.2 เข้าสู่ ชุมชน เพื่อหาความร่ วมมือจากผูเ้ กี่ยวข้อง สร้างความสัมพันธ์ที่ดี และสร้าง
ความไว้วางใจและการยอมรับในชุมชน
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นศึกษาปั ญหา และกาหนดแนวทางหรื อวิธีการแก้ไข ประกอบด้วย
กิจกรรมย่อย ๆ ได้แก่
2.1 สารวจข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
2.2 แนะนาให้สมาชิกในชุมชนรู ้จกั กับหลักการและแนวคิดของ PAR
2.3 บุปัญหา และจัดเรี ยงลาดับความสาคัญของปัญหา
13

2.4 แนะนาวงจรของการวิจยั เพื่อให้รู้วา่ PAR นั้นจะนาไปสู่ การแก้ปัญหาของ


ชุมชนโดยผ่านกระบวนการวิจยั
2.5 เลือกประเด็นปั ญหาที่จะวิจยั จากปั ญหาต่าง ๆ ของชุมชน
2.6 วิเคราะห์สาเหตุของปั ญหา และกาหนดวิธีการหรื อทางเลือกในการแก้ไข
2.7 เสนอผลการวิเคราะห์ปัญหา และวิธีการแก้ไขต่อชุมชน
ขั้นตอนที่ 3 วางแผนปฏิบตั ิการแก้ปัญหา ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย ๆ ได้แก่
3.1 ตั้งทีมงานจัดทาแผนปฏิบตั ิการแก้ปัญหา ให้ความรู ้เกี่ยวกับการจัดทา
แผนปฏิบตั ิการพอสังเขป
3.2 จัดทาแผนปฏิบตั ิการแก้ปัญหาตามวิธีการที่กาหนดไว้ โดยแนวทางการจัดทา
แผนนั้น ควรให้ครอบคลุมตามประเด็นคาถามหลัก ๆ ดังนี้ ปั ญหาที่ตอ้ งการแก้ไขคืออะไร คาดหวัง
ให้เกิดผลลัพธ์อะไรบ้างกับชุมชนหลังปั ญหานั้นได้รับการแก้ไข การที่จะบรรลุตามผลลัพธ์ที่
คาดหวังนั้น ๆ จะต้องทาโครงการอะไรบ้าง ใครหรื อกลุ่มใดเป็ นผูร้ ับผิดชอบแต่ละโครงการ และแต่
ละโครงการจะดาเนินการช่วงไหน ใช้เวลานานเท่าไหร่
3.3 กาหนดรายละเอียดของโครงการที่กาหนดไว้ในแผนปฏิบตั ิการ เช่น
วัตถุประสงค์ของโครงการคืออะไร ประกอบด้วยกิจกรรมอะไรบ้าง แต่ละกิจกรรมมีข้ นั ตอน
การดาเนินงานอย่างไร ใครรับผิดชอบ มีแหล่งทุนหรื อทรัพยากรซึ่ งเป็ นปั จจัยป้ อนอะไรบ้าง
มีแนวทางการติดตามและประเมินผลโครงการหรื อกิจกรรมต่าง ๆ อย่างไร รวมทั้งมีการจัดทา
กาหนดการหรื อปฏิทินปฏิบตั ิงานอย่างชัดเจนหรื อไม่
ขั้นตอนที่ 4 วางแผนการติดตามและประเมินโครงการ ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย ๆ
ได้แก่
4.1 ตั้งทีมงานติดตามและประเมินโครงการ และให้ความรู ้เกี่ยวกับการติดตามและ
ประเมินโครงการพอสังเขป
4.2 กาหนดวัตถุประสงค์ของการติดตามและประเมินโครงการ ระบุชนิด ประเภท
ของข้อมูลที่จะใช้ประเมินผล แหล่งข้อมูล วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่ องมือที่ใช้ วิธีวเิ คราะห์ขอ้ มูล
และการแปลผล
4.3 จัดทากาหนดการในการติดตามและประเมินผลในแต่ละกิจกรรม
4.4 ชี้แจงแผนการติดตามและประเมินโครงการให้ผรู ้ ับผิดชอบโครงการทราบ
14

ขั้นตอนที่ 5 ปฏิบตั ิการตามแผนที่วางไว้ ซึ่ งการทางานในขั้นตอนนี้ จะมีลกั ษณะ


ผสมผสานกันแบบเป็ นวงจรตามกระบวนการวิจยั ปฏิบตั ิการ PAOR กล่าวคือ P = Plan (วางแผน)
A = Act (ปฏิบตั ิตามแผน) O = Observe (สังเกต ตรวจสอบ) และ R = Reflect (ให้ขอ้ มูลย้อนกลับ
เพื่อการปรับปรุ งแก้ไขหรื อพัฒนาให้ดีข้ ึน ) และเมื่อโครงการสิ้ นสุ ดมีการประเมินผลในภาพรวม
ดังนั้น ขั้นตอนนี้ จึงประกอบด้วยกิจกรรมย่อย ๆ ได้แก่
5.1 นาแผนการปฏิบตั ิการแก้ปัญหา หรื อแผนปฏิบตั ิงานตามกิจกรรมต่าง ๆ ที่ระบุ
ไว้ในโครงการ และแผนการติดตามและประเมินโครงการ (Plan) ไปปฏิบตั ิจริ ง (Act)
5.2 ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลระหว่างการปฏิบตั ิงาน (Observe) และให้
ข้อมูลย้อนกลับเพื่อประกอบการพิจารณาวางแผนปรับปรุ งแก้ไขงานหรื อพัฒนาดี ข้ ึน (Reflect) โดย
ทีมงานติดตามและประเมินโครงการ ร่ วมกับกลุ่มทางานของโครงการ
5.3 วางแผนปรับปรุ งแก้ไขหรื อพัฒนางาน (Plan) ลงมือปรับปรุ งแก้ไขหรื อพัฒนา
ให้ดีข้ ึนตามแผนใหม่ที่วางไว้ (Act) ดาเนินการตามวงจร PAOR ไปเรื่ อย ๆ จนกว่าปั ญหานั้นได้รับ
การแก้ไขหรื อพัฒนาไปในทิศทางที่ตอ้ งการ
5.4 ประเมินรวมเมื่อเสร็ จสิ้ นโครงการ
ขั้นตอนที่ 6 การเตรี ยมการถอนตัวและเผยแพร่ ผลงาน เป็ นขั้นตอนสร้างทักษะใน
การใช้ PAR ในชุมชน ก่อนนักวิจยั ภายนอกจะถอนตัวออกจากชุมชนเป้ าหมาย และเผยแพร่ งานวิจยั
ซึ่ งการถอนตัวของนักวิจยั ต้องค่อยเป็ นค่อยไป และจะคอยช่วยเหลือชุมชนในการใช้ PAR ในปัญหา
ที่ซบั ซ้อน มีการเยีย่ มเยียนชุมชนเป็ นระยะ ๆ หรื อสร้างเครื อข่ายกลุ่ม PAR ในท้องถิ่นอื่น ๆ

แนวคิดเกีย่ วกับการวางระบบติดตามและประเมินผลการพัฒนาครู

ตามหลักการบริ หาร การประกันคุณภาพ เป็ นกระบวนการบริ หารจัดการเพื่อให้บรรลุ


เป้ าหมายในการพัฒนาคุณภาพให้เป็ นไปตามมาตรฐานที่ตอ้ งการ ซึ่งการทาให้บรรลุเป้ าหมาย
ดังกล่าว ต้องยึดหลักการทางานที่เป็ นระบบครบวงจร อันประกอบด้วย 4 กระบวนการหลัก คือ
กระบวนการวางแผน (Plan : P) กระบวนการปฏิบตั ิตามแผน (Do : D) กระบวนการตรวจสอบ
ประเมินผล (Check : C) และกระบวนการปรับปรุ งแก้ไขข้อบกพร่ อง (Action : A) ในขณะที่ระบบ
การประกันคุณภาพการศึกษา มีแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเสนอแนวทาง
การดาเนินงานเป็ น 3 ขั้นตอน คือ 1) การควบคุมคุณภาพการศึกษา 2) การตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษา และ 3) การประเมินคุณภาพการศึกษา (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2543 : 7-9)
15

ถ้าพิจารณาแนวคิดเกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษาและหลักการบริ หาร
ที่เป็ นระบบครบวงจรดังกล่าวข้างต้น จะเห็นว่ามีความสอดคล้องกัน ดังแสดงในภาพ 1
(สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2543 : 10)

ร่ วมกันวางแผน

P การควบคุมคุณภาพ

ร่ วมกันปรับปรุ ง A D ร่ วมกันปฏิบตั ิ

การตรวจสอบ
และประเมินคุณภาพ
C
ร่ วมกันตรวจสอบ

ภาพ 1 แนวคิดเกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษาและหลักการบริ หาร


ที่เป็ นระบบครบวงจร

ดังนั้นการวางระบบติดตามและประเมินผลการพัฒนาคุณภาพขององค์การใด
องค์การหนึ่ง อาจใช้ระบบติดตามและประเมินผล ดังนี้
1. ติดตามและประเมินผลกระบวนการควบคุมคุณภาพ โดยการตรวจสอบว่า องค์กรได้
มีการร่ วมกันวางแผนปฏิบตั ิการ และได้ร่วมกันปฏิบตั ิตามแผน หรื อไม่ อย่างไร
2. ติดตามและประเมินผลกระบวนการตรวจสอบคุณภาพ และกระบวนประเมินคุณภาพ
โดยการตรวจสอบว่า
2.1 องค์กรได้มีการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการทางานตามกิจกรรม
ต่าง ๆ ในแผนปฏิบตั ิการ รวมทั้งการสะท้อนข้อมูลจากการประเมินผลแก่สมาชิกเพื่อประกอบ
การพิจารณาปรับปรุ งแก้ไขงาน หรื อไม่ อย่างไร
2.2 องค์กรได้มีการปรับปรุ งแก้ไขเพื่อพัฒนาคุณภาพของงานให้ดีข้ ึน หรื อไม่ อย่างไร
3. ติดตามและประเมินผลความต่อเนื่องในการทางานแบบครบวงจร PDCA โดยการ
ตรวจสอบว่า องค์กรได้มีทางานตามระบบ PDCA อย่างต่อเนื่อง จนกระทัง่ คุณภาพของงานเป็ นไป
ตามเป้ าหมายที่พึงประสงค์ หรื อไม่ อย่างไร
16

สาราญ กาจัดภัย และคณะ (2547 : 59-69) ได้พฒั นาระบบติดตามและประเมินผล


การพัฒนาครู ให้เป็ นนักวิจยั แกนนาในเรื่ องการวิจยั ในชั้นเรี ยน โดยมีหลักการว่า การติดตามและ
ประเมินผลการพัฒนาครู ให้เป็ นนักวิจยั แกนนาในเรื่ องการวิจยั ในชั้นเรี ยนต้องกระทาควบคู่ไปกับ
การดาเนินโครงการ นับตั้งแต่การเลือกโครงการ การวางแผนโครงการ การดาเนินงานโครงการ
จนกระทัง่ การประเมินผลสรุ ปของโครงการ โดยให้ผเู ้ กี่ยวข้องกับโครงการ เข้ามามีส่วนร่ วมใน
การประเมินร่ วมกับนักประเมินภายนอก (ทีมนักวิจยั ) ในทุกกระบวนการทางาน ซึ่งการประเมิน
แบบมีส่วนร่ วม ไม่ได้หมายความเพียงว่าเป็ นการทบทวนการทางาน แต่เป็ นการตรวจสอบปั ญหา
เพื่อจะแก้ไขปั ญหานั้นร่ วมกัน และยังเป็ นการตรวจสอบความสาเร็ จร่ วมกัน เพื่อที่จะเรี ยนรู ้จากมัน
ด้วย โดยกลุ่มจะร่ วมกันตั้งกฎเกณฑ์ช้ ีวดั ของกลุ่มเอง กาหนดวิธีการ และกาหนดแนวทางใน
การทางาน สาหรับใช้ตรวจสอบปั ญหาและแก้ไขปั ญหาของเขาเอง การติดตามและประเมิน
โครงการแบบมีส่วนร่ วมมีการดาเนินงาน 3 ระยะคือ 1) ประเมินการเตรี ยมโครงการ 2) ประเมิน
การปฏิบตั ิงาน และ 3) ประเมินผลสรุ ปของโครงการ ซึ่ งในแต่ละระยะมีรายละเอียดดังนี้
ระยะที่ 1 ประเมินการเตรียมโครงการ มีวตั ถุประสงค์ ดังนี้
1. เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของวัตถุประสงค์ โดยพิจารณาจาก
1.1 ความสอดคล้องกับความต้องการจาเป็ นของโรงเรี ยน
1.2 ความเป็ นไปได้ที่จะบรรลุผล
2. เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการ
3. เพื่อรวบรวมสารสนเทศจากการประเมิน และให้ขอ้ มูลสะท้อนกลับแก่ทีมงานดาเนิน
โครงการเพื่อพิจารณาปรับปรุ งแก้ไข
ระยะที่ 2 ประเมินการปฏิบัติงาน มีวตั ถุประสงค์ ดังนี้
1. เพื่อติดตาม ดูแล และตรวจสอบความก้าวหน้าของของโครงการ โดยพิจารณา
ความสอดคล้องกันระหว่างการปฏิบตั ิงานกับแผนที่วางไว้ในแต่ละกิจกรรม
2. เพื่อศึกษาปั ญหาที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างการดาเนินงานตามแผนที่วางไว้
3. เพื่อศึกษาความเหมาะสมและความเพียงพอของทรัพยากรต่าง ๆ (ปัจจัยป้ อน) ที่ใช้ใน
การปฏิบตั ิงานแต่ละกิจกรรมของโครงการ
4. เพื่อรวบรวมสารสนเทศจากการประเมิน และให้ขอ้ มูลสะท้อนกลับแก่ทีมงานดาเนิน
โครงการเพื่อพิจารณาปรับปรุ งแก้ไข
ระยะที่ 3 ประเมินผลสรุ ปของโครงการ มีวตั ถุประสงค์ ดังนี้
1. เพื่อตรวจสอบการบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
2. เพื่อศึกษาผลกระทบและผลพลอยได้อนั เกิดจากโครงการ
17

จากหลักการ แนวคิด และวัตถุประสงค์ของการติดตามและประเมินผลการพัฒนาครู ให้เป็ น


นักวิจยั แกนนาในเรื่ องการวิจยั ในชั้นเรี ยน นามากาหนดเป็ นรู ปแบบการติดตามและประเมินผลได้
ดังภาพ 2

การติดตามและประเมินโครงการแบบมีส่วนร่ วม

ระยะที่ 1 ประเมินการเตรี ยมโครงการ ระยะที่ 2 ประเมินการปฏิบตั ิงาน

P การควบคุมคุณภาพ
D
การวางแผนโครงการ การปฏิบตั ิงานตามแผน

1. ตรวจสอบความเหมาะสมของ
วัตถุประสงค์ของโครงการ C
- ความสอดคล้องกับความต้องการ การติดตาม ตรวจสอบ
จาเป็ น การปฏิบตั ิงาน
การตรวจสอบ
- ความเป็ นไปได้ที่จะบรรลุผล
และประเมิน
2. ตรวจสอบความเหมาะสมของ
คุณภาพ A
กิจกรรมของโครงการ
การสะท้อนผล
3. ให้ขอ้ มูลย้อนกลับเพื่อการปรับปรุ ง
และการปรับปรุ งแก้ไข
แก้ไข
ระยะที่ 3 ประเมินผลสรุ ปของโครงการ 1. ความสอดคล้องกันระหว่าง
การปฏิบตั ิงานกับแผนที่วางไว้
1. การบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของ 2. ปั ญหาที่อาจเกิดขึ้นในระหว่าง
โครงการ การดาเนินงานตามแผน
2. ผลกระทบและผลพลอยได้ 3. ความเหมาะสมและความเพียงพอ
อันเกิดจากโครงการ ของทรัพยากรที่ใช้ในการปฏิบตั ิงาน
4. ให้ขอ้ มูลย้อนกลับเพื่อการปรับปรุ งแก้ไข

การติดตามและประเมินโครงการแบบมีส่วนร่ วม

ภาพ 2 รู ปแบบการติดตามและประเมินผลการพัฒนาครู ให้เป็ นนักวิจยั แกนนาในเรื่ อง


การวิจยั ในชั้นเรี ยน
18

รู ปแบบการติดตามและประเมินผลการพัฒนาครู ให้เป็ นนักวิจยั แกนนาในเรื่ องการวิจยั


ในชั้นเรี ยน ดังปรากฏในภาพ 2 อธิ บายได้ ดังนี้
1. การติดตามและประเมินโครงการใช้รูปแบบการประเมินแบบมีส่วนร่ วมควบคู่ไปกับ
การดาเนินงานโครงการ
2. การดาเนิ นงานติดตามและประเมินโครงการแบ่งเป็ น 3 ระยะ คือ ประเมินการเตรี ยม
โครงการ ประเมินการปฏิบตั ิงาน และประเมินผลสรุ ปของโครงการ
3. การดาเนินงานโครงการเป็ นการทางานแบบครบวงจร PDCA คือ การวางแผน
โครงการ (Plan) การปฏิบตั ิงานตามแผน (Do) การติดตามและตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน (Check)
และการสะท้อนผลการปฏิบตั ิงานและการปรับปรุ งแก้ไข (Act) โดยที่ ขั้นการวางแผนโครงการและ
ขั้นการปฏิบตั ิงานตามแผนจัดเป็ นกระบวนการควบคุมคุณภาพ ส่ วนขั้นติดตาม ตรวจสอบ
การปฏิบตั ิงาน กับขั้นการสะท้อนผลและการปรับปรุ งแก้ไขจัดเป็ นกระบวนการตรวจสอบและ
ประเมินคุณภาพ
4. การประเมินการเตรี ยมโครงการ เป็ นการประเมินการวางแผนโครงการ โดยการ
ตรวจสอบว่าวัตถุประสงค์ของโครงการมีความสอดคล้องกับความต้องการจาเป็ นของโรงเรี ยน
หรื อไม่ และมีความเป็ นไปได้เพียงใดที่จะบรรลุผล จากนั้นให้ขอ้ มูลย้อนกลับแก่ทีมงานดาเนิน
โครงการเพื่อประกอบการพิจารณาปรับปรุ งแก้ไข
5. การประเมินการปฏิบตั ิงาน เป็ นการติดตาม และประเมินผลการทางานใน 3 ส่ วน คือ
การปฏิบตั ิงานตามแผน การติดตามและตรวจสอบการปฏิบตั ิงาน การสะท้อนผลและการปรับปรุ ง
แก้ไข โดยมุ่งตรวจสอบว่า การปฏิบตั ิงานกับแผนที่วางไว้มีความสอดคล้องกันหรื อไม่ อย่างไร
มีปัญหาอะไรบ้างที่เกิดขึ้นในระหว่างการดาเนินงานตามแผน ทรัพยากรต่าง ๆ (ปัจจัยป้ อน) ที่ใช้ใน
การปฏิบตั ิงานมีความเหมาะสมและเพียงพอหรื อไม่ อย่างไร จากนั้นให้ขอ้ มูลย้อนกลับแก่ทีมงาน
ดาเนินโครงการเพื่อประกอบการพิจารณาปรับปรุ งแก้ไข
6. การประเมินผลสรุ ปของโครงการ เป็ นการตรวจสอบว่า ผลผลิตของโครงการได้
บรรลุตามวัตถุประสงค์หรื อไม่ อย่างไร มีผลกระทบ และผลพลอยได้อะไร หรื อไม่ อันเนื่องมาจาก
การดาเนินงานของโครงการ
19

จากแนวคิดเกี่ยวกับการวางระบบติดตามและประเมินผลการพัฒนาครู ดา้ นการวิจยั ใน


ชั้นเรี ยนดังกล่าวข้างต้น จะเห็นว่าการติดตามและประเมินผลการพัฒนาครู ถือเป็ นส่ วนหนึ่งของ
การพัฒนาครู โดยดาเนินกระบวนการอย่างเป็ นระบบเริ่ มตั้งแต่ช่วงก่อนการพัฒนา ระหว่าง
การพัฒนา และหลังเสร็ จสิ้ นการพัฒนา มีการให้ขอ้ มูลย้อนกลับตลอดระยะของการติดตามและ
ประเมินผล สอดคล้องกับกระบวนการวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม ดังนั้นจึงน่าจะเหมาะสม
สาหรับนามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่
เน้นกระบวนการคิด

แนวคิดเกีย่ วกับการพัฒนาครู

การพัฒนาครู มีหลากหลายรู ปแบบ แต่เท่าที่ผา่ นมาส่ วนใหญ่ จะใช้รูปแบบของการฝึ กอบรม


โดยที่การฝึ กอบรมครู มกั บริ หารจัดการทุกอย่างเสร็ จสรรพภายในช่วงเวลาสั้น ๆโดยทีมงานจัดการ
อบรมและวิทยากร เมื่ออบรมเสร็ จก็แยกย้ายกันไป ไม่มีการนิเทศ ติดตามผล ทาให้การฝึ กอบรมครู
ไม่เกิดประสิ ทธิ ผลเท่าที่ควร แต่ในปัจจุบนั ได้มีการนาเอาแนวคิด การอบรมอย่างมีส่วนร่ วม
การอบรมเพื่อแก้ไขปั ญหาการปฏิบตั ิงานแบบครบวงจร และการอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน
มาใช้ในการพัฒนาครู ให้มีความรู ้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง ซึ่ งน่าจะเป็ นแนวคิดที่
เหมาะสมกับการวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม เพื่อพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถ
ในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นกระบวนการคิดในครั้งนี้ ดังนั้น ในการนาเสนอประเด็นหัวข้อแนวคิด
เกี่ยวกับการพัฒนาครู ผูว้ จิ ยั จึงมุ่งเน้นไปที่แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาครู ท้ งั 3 แนวคิดดังกล่าว

1. แนวคิดการอบรมอย่างมีส่วนร่ วม
แนวคิดของการอบรมอย่างมีส่วนร่ วม เป็ นแนวคิดของการอบรมแนวใหม่ที่ใช้กลวิธีและ
ข้อดีของการมีส่วนร่ วมมาพัฒนาศักยภาพของผูเ้ ข้าอบรม โดยการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ให้ตาม
ความสนใจของผูเ้ ข้าอบรมในกรอบของหลักสู ตร บนหลักการและทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็ นในการมี
ส่ วนร่ วม ซึ่ งกรอบแนวคิดของการอบรมอย่างมีส่วนร่ วมมีลกั ษณะดัง ภาพ 3
(จงกลนี ชุติมาเทวินทร์ . 2544 : 125)
20

วัตถุประสงค์ของการอบรม

การเตรี ยมการ หลักสูตร


และการออกแบบ (เนื้อหา, กระบวนการ, เทคนิค, วิธีการ )
หลักสูตร
บทบาทของบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ผูเ้ ข้ารับการอบรมระบุเรื่ องที่ตอ้ งการเรี ยนรู ้


ระบุปัญหาและสาเหตุ

ปั จจัยนาเข้าวิชาการ
(ความรู ้, เทคโนโลยี, ประสบการณ์)

กระบวนการอบรม แผนการ/โครงการ
การแก้ไขปั ญหา/การนาเอาความรู ้ไปใช้

การปฏิบตั ิตามแผน

การติดตามประเมินผล

ภาพ 3 กรอบแนวคิดของการอบรมอย่างมีส่วนร่ วม

การอบรมอย่างมีส่วนร่ วมเป็ นกระบวนการที่ให้ผเู ้ ข้าอบรมได้เข้ามามีส่วนร่ วมในการอบรม


ตั้งแต่การวางแผน การเตรี ยมการ การออกแบบหลักสู ตร การดาเนินการอบรม รวมทั้งการติดตาม
และประเมินผล ทั้งนี้เพื่อให้เกิดทักษะของการทางานแบบมีส่วนร่ วม ซึ่ งการมีส่วนร่ วมในลักษณะ
เช่นนี้ จะเป็ นการจัดหลักสู ตรเพื่อประโยชน์ของผูเ้ ข้าอบรมที่แท้จริ ง ผูเ้ ข้าอบรมจะรู ้สึกว่าตนเองเป็ น
ส่ วนหนึ่งของหลักสู ตร ทาให้เกิดความกระตือรื อร้น และความมุ่งมัน่ ที่จะเรี ยนรู้และพัฒนาตนเอง
(จงกลนี ชุติมาเทวินทร์ . 2544 : 126) ซึ่ งลักษณะการอบรมอย่างมีส่วนร่ วมจะยึดเอาผูเ้ ข้าอบรมเป็ น
ศูนย์กลางของการเรี ยนรู ้ วิทยากรเป็ นผูท้ าหน้าที่ในการเอื้ออานวยให้เกิดการเรี ยนรู ้ เกิ ดการพัฒนา
ตนเองบนความสามารถและศักยภาพของตนเอง ตามแผนหรื อตามวัตถุประสงค์ที่วางเอาไว้ โดย
การเรี ยนรู ้ในลักษณะนี้ต้ งั อยูบ่ นพื้นฐานของทฤษฎีดงั นี้ (จงกลนี ชุติมาเทวินทร์ . 2544 : 128)
1. แรงจูงใจของผูเ้ ข้าอบรมจะสามารถนาไปสู่ การปฏิบตั ิและการมีส่วนร่ วม ฉะนั้น
วิทยากรจึงจาเป็ นจะต้องมีเทคนิควิธีจูงใจที่ไม่ใช่การบังคับ
21

2. นอกจากศักยภาพและแรงจูงใจของผูเ้ ข้ารับการอบรมแล้ว วิธีการของผูฝ้ ึ กอบรมหรื อ


วิทยากรยังเป็ นสิ่ งสาคัญในสัมฤทธิ ผลของการเรี ยนรู ้ รวมทั้งบรรยากาศทัว่ ๆ ไปของการฝึ กอบรม
3. การฝึ กอบรมและการดาเนินกิ จกรรมฝึ กอบรม ควรจะเป็ นการร่ วมมือร่ วมใจกัน
ระหว่างผูเ้ ข้าอบรมและวิทยากรหรื อทีมอบรม
ตัวอย่างการเปรี ยบเทียบการฝึ กอบรมแนวเก่ากับการอบรมแนวใหม่ที่มุ่งให้ผเู ้ ข้าอบรม
เรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง ดังแสดงในตาราง 1 (นริ นทร์ชยั พัฒนพงศา. 2547: 90)

ตาราง 1 ตัวอย่างการเปรี ยบเทียบการฝึ กอบรมแบบมีส่วนร่ วมน้อยและแบบมีส่วนร่ วมมาก

การฝึ กอบรมแนวทางเก่า (มีส่วนร่ วมน้อย) การฝึ กอบรมแนวทางใหม่ (มีส่วนร่ วมมาก)


1. มีการถ่ายทอดความรู ้หรื อบอกความรู ้แก่ 1. ฝึ กให้ผเู้ ข้าอบรมรู้จกั ค้นหาความรู้ดว้ ยตนเอง
ผูเ้ ข้าอบรม (ต่อไปรู ้วธิ ี หาความรู้ได้เอง)
2. มักฝึ กอบรมให้ผเู ้ ข้าอบรมจดจาหรื อท่องจา 2. ฝึ กให้ผเู ้ ข้าอบรมรู ้จกั คิดอย่างมีเหตุผล
3. มักฝึ กอบรมให้ผเู ้ ข้าอบรมต่างคนต่างเรี ยน 3. ฝึ กให้ทราบวิธีการทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นหรื อ
หรื อเรี ยนรู้แบบตัวใครตัวมัน เรี ยนรู ้โดยใช้กระบวนการกลุ่ม
4. การเรี ยนรู้มกั เป็ นแบบเผด็จการ คือวิทยากร 4. การเรี ยนรู้มีลกั ษณะประชาธิปไตยโดย
มักผูกขาดความคิดทุกอย่าง เริ่ มต้นจาก การฝึ กอบรมเริ่ มต้นจากการคานึงถึงสภาพ
วิทยากร กิจกรรม ฝึ กอบรมยึดความสะดวก ของผูเ้ ข้าอบรม กิจกรรมการฝึ กอบรมยึด
สบายของวิทยากรเป็ นหลักวิทยากรเป็ น ผลประโยชน์ของผูเ้ ข้าอบรม
ผูใ้ ห้ผเู้ ข้าอบรมเป็ นผูร้ ับ
5. การแสดงออกเป็ นการทาตามคาสั่งของ 5. กิจกรรมส่ วนใหญ่จะปรึ กษากันระหว่าง
วิทยากร วิทยากรกับผูเ้ ข้าอบรม ซึ่งยอมรับในเหตุผล
ของกันและกัน

จากแนวคิดการอบรมอย่างมีส่วนร่ วมข้างต้น พอสรุ ปได้วา่ การอบรมอย่างมีส่วนร่ วมเป็ น


แนวทางการพัฒนาผูเ้ ข้าอบรมให้มีความรู้ ทักษะและเจตคติที่ดีในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง ซึ่ง กระบวนการ
ฝึ กอบรมอาศัยการมีส่วนร่ วมกันระหว่างผูเ้ ข้าอบรมกับวิทยากร เริ่ มตั้งแต่การวางแผน การตรี ยมการ
การออกแบบหลักสู ตร การดาเนินการอบรม รวมทั้งการติดตามและประเมินผล ซึ่งลักษณะของ
การอบรมอย่างมีส่วนร่ วมจะยึดเอาผูเ้ ข้ารับการอบรมเป็ นศูนย์กลางของการเรี ยนรู้ วิทยากรมีบทบาท
เป็ นผูท้ าหน้าที่ในการเอื้ออานวยให้เกิดการเรี ยนรู ้ เกิดการพัฒนาตนเองบนความสามารถและ
ศักยภาพของตนเอง ตามแผนหรื อตามวัตถุประสงค์ที่วางเอาไว้
22

2. การอบรมอย่างมีส่วนร่ วม เพือ่ แก้ปัญหาการปฏิบัติงานแบบครบวงจร


จงกลนี ชุติมาเทวินทร์ (2544 : 28) เสนอกระบวนการอบรมแบบครบวงจร โดยดัดแปลง
มาจากรู ปแบบของ แบรี่ สมิท และเบรน เดลาเฮย์ (Smith & Delahaye) ซึ่ งได้แบ่งขั้นตอนการอบรม
เป็ น 22 ขั้นตอนดังภาพ 4

1. ปั ญหาหรื อความจาเป็ น

2. ระบุปัญหา

3. ระบุสาเหตุของปั ญหา

4. นิยามปั ญหา หยุด

5. เสนอทางเลือกเพื่อแก้ปัญหา
เลือกวิธีอื่นที่ไม่ใช่การ
6. ประเมินทางเลือก อบรม
หยุด
7. ตกลงใจเลือกวิธีการ 8. แนวทางเลือก
แก้ปัญหาทางใดทางหนึ่ง
สัมฤทธิ์ผล ไม่สมั ฤทธิ์ผล
เลือก
22. ตรวจสอบพฤติกรรม 9. วิเคราะห์หาความจาเป็ น การฝึ กอบรม

21. วัดผลการปฏิบตั ิงาน 11. ระบุวธิ ีวดั ผล 10. ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์


ภายหลังการอบรม การปฏิบตั ิงาน ในวัตถุประสงค์

20. การติดตามผล 13. เตรี ยมแบบทดสอบ 12. ระบุกลุ่มเป้ าหมายและ


เนื้อหาวิชาอบรม
19. ผูอ้ บรมกลับไปทางาน 16. ทดลองแบบทดสอบ
14. เตรี ยมเทคนิคการอบรม
18. วัดการเรี ยนรู ้หลังอบรม

17. ดาเนินการอบรม 15. พัฒนาสื่ อและอุปกรณ์การสอน

ภาพ 4 กระบวนการอบรมแบบครบวงจร
23

จากภาพ 4 อธิ บายเพิ่มเติม ดังนี้ (จงกลนี ชุติมาเทวินทร์ (2544 : 29-34)


1. กิจกรรมในขั้นตอนที่ 1-8 เป็ นกิจกรรมวางแผนการอบรม โดยเริ่ มจากให้องค์กรต่าง ๆ
ที่เข้ารับการอบรมมองเห็นปั ญหาหรื อความจาเป็ นว่าจะต้องแก้ไขปั ญหาใด จากนั้นฝ่ ายต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องพิจารณากระบวนการแก้ปัญหาร่ วมกัน โดยระบุรายการของปั ญหาว่ามีอะไรบ้าง ปั ญหา
ของใคร รู ้ได้อย่างไรว่ามีปัญหา ระบุถึงสาเหตุของแต่ละปั ญหาเพื่อจะดูวา่ ใครบ้างที่จะต้องร่ วม
รับผิดชอบในการแก้ปัญหา จากนั้นนิยามปั ญหาให้ถูกต้องเพื่อจะได้ทราบว่าจะต้องใช้ทรัพยากร
อะไรบ้างในการขจัดปั ญหา จากนั้นเสนอทางเลือก แล้วเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินทางเลือก
และตัดสิ นใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดหรื อเหมาะสมที่สุด ซึ่ งทางเลือกนั้นจะดาเนินการในลักษณะ
ของการอบรม หรื อในลักษณะอื่นที่ไม่ใช่การอบรม ซึ่ งถ้าเป็ นกรณี หลังก็ให้เสนอทางเลือกที่เป็ น
ประโยชน์ต่อไป
2. กิจกรรมในขั้นตอนที่ 9 เป็ นขั้นตอนต่อจากหลังการตัดสิ นใจเลือกการแก้ปัญหาโดย
การอบรม ในขั้นตอนนี้จะทาการวิเคราะห์ความจาเป็ นในการอบรม ว่าบุคลากรในองค์กรนั้น ๆ ขาด
ทักษะด้านใด มีความจาเป็ นจะต้องอบรมในเรื่ องอะไรบ้าง อะไรที่รู้แล้ว และอะไรที่ยงั ไม่รู้ ซึ่ง
การวิเคราะห์ความจาเป็ นกระทาได้หลายวิธีร่วมกัน เช่น การวิเคราะห์จากลักษณะงานในตาแหน่ง
และแผนงาน หรื อวิเคราะห์จากภาระงาน หรื อวิเคราะห์จากข้อมูลที่ได้จากการนิเทศ สั งเกตการณ์
รวมถึงการใช้แบบสารวจหรื อแบบสัมภาษณ์ต่าง ๆ
3. กิจกรรมในขั้นตอนที่ 10 เป็ นการนิยามพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพื่อใช้เป็ นข้อมูลใน
การเขียนวัตถุประสงค์ของการอบรม ว่ามีพฤติกรรมด้านใดบ้างที่จาเป็ นต่อการปฏิบตั ิงานนั้น ๆ
และผูเ้ ข้าอบรมจะต้องทาได้ภายหลังสิ้ นสุ ดการอบรม ซึ่ งกิจกรรมในขั้นตอนนี้จะเป็ นกุญแจนาไปสู่
การปฏิบตั ิการอื่น ๆ โดยเฉพาะการประเมินผล
4. กิจกรรมในขั้นตอนที่ 11 เป็ นการระบุเกณฑ์และวิธีวดั ผลการปฏิบตั ิงาน ซึ่ งขั้นตอนนี้
จะมีผลต่อการตัดสิ นใจในการเลือกวิธีประเมินผล รวมถึงการเลือกเทคนิควิธีอบรม และสิ่ งอื่น ๆ ที่
เกี่ยวข้อง ซึ่ งสิ่ งต่าง ๆ เหล่านี้จะต้องเตรี ยมเอาไว้ล่วงหน้าก่อนการอบรมเช่นกัน
5. กิจกรรมในขั้นตอนที่ 12 เป็ นการระบุกลุ่มเป้ าหมายและเนื้อหาวิชาที่จะใช้ใน
การอบรม ใครบ้างที่จาเป็ นจะต้องเข้าอบรม ระดับบริ หารหรื อระดับปฏิบตั ิการ จัดลาดับความสาคัญ
ก่อนหลัง ทั้งนี้เพื่อจะได้กาหนดเนื้อหาวิชาที่จะอบรมเข้าไปในหลักสู ตรให้เหมาะสมกับ
กลุ่มเป้ าหมายนั้น ๆ
6. กิจกรรมในขั้นตอนที่ 13 และ 16 เป็ นการสร้างและตรวจสอบคุณภาพของ
แบบทดสอบสาหรับไว้ใช้ในการทดสอบก่อนและหลังการอบรม
24

7. กิจกรรมในขั้นตอนที่ 14 เป็ นการเลือกวิธีการอบรมโดยให้สอดคล้องกับประเภทของ


การอบรม เช่น การอบรมที่เกี่ยวข้องกับเทคนิคจะใช้วธิ ี การอบรมแบบสาธิ ต การฝึ กอบรมทางด้าน
ทฤษฎีจะเน้นวิธีการบรรยาย การฝึ กอบรมที่เน้นการทางานเป็ นทีมหรื อการเรี ยนรู้จากประสบการณ์
ก็จะใช้วธิ ี การอบรมอย่างมีส่วนร่ วม และเลือกกิ จกรรมการอบรมให้สอดคล้องกับวิธีการนั้น ๆ
8. กิจกรรมในขั้นตอนที่ 15 เป็ นการพัฒนาสื่ อและอุปกรณ์ในการอบรม ซึ่งในการพัฒนา
สื่ อต้องสอดคล้องและสนับสนุนกับเนื้อหา กิจกรรมการอบรม ระดับบุคคล และวัย โดยสื่ อและ
อุปกรณ์ที่ดีจะต้องช่วยในการเรี ยนรู ้ สามารถดึงดูดความสนใจของผูเ้ ข้าอบรมได้อย่างต่อเนื่อง
9. กิจกรรมในขั้นตอนที่ 17 เป็ นการดาเนินการอบรมตามแผนที่วางไว้ นักฝึ กอบรม
จะต้องประยุกต์ใช้ศิลปะต่าง ๆ เพื่อสร้างทีมงานที่เข้มแข็งและมีประสิ ทธิ ภาพ ซึ่ งแต่ละคนจะต้อง
ทุ่มเทเพื่อความสาเร็ จโดยมุ่งไปที่ตวั ผูเ้ ข้าอบรมเป็ นสาคัญ
10. กิจกรรมขั้นตอนที่ 18 เป็ นการวัดผลหลังอบรมเพื่อนาไปเปรี ยบเทียบกับก่อนอบรม ว่า
มีสัมฤทธิ ผลต่างกันอย่างไร ในขณะเดียวกันก็นาไปเทียบเคียงกับการวัดผลการปฏิบตั ิงานใน
ขั้นตอนที่ 21 รวมทั้งความสามารถในการประยุกต์เอาความรู ้ไปใช้ในการปฏิบตั ิงาน
11. กิจกรรมในขั้นตอนที่ 19 เป็ นขั้นตอนที่ผเู ้ ข้าอบรมกลับไปปฏิบตั ิงาน ซึ่ งในขั้นตอนนี้
ทั้งตัวผูเ้ ข้าอบรม และผูบ้ ริ หารก็จะได้ทราบถึงผลของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการทางาน และ
เมื่อเวลาผ่านไปสักระยะหนึ่งจะจัดให้มีการติดตามผล
12. กิจกรรมในขั้นตอนที่ 20 และ 21 เป็ นการติดตามผลเพื่อดูผลการปฏิบตั ิงาน นัน่ คือเป็ น
การวัดผลลัพธ์ของการฝึ กอบรมที่มีต่องาน ซึ่ งในขั้นตอนนี้จะต้องเป็ นความร่ วมมือของหัวหน้างาน
ผูจ้ ดั การอบรม วิทยากร รวมทั้งตัวผูป้ ฏิบตั ิงานเอง
13. กิจกรรมในขั้นตอนที่ 22 เป็ นการนาข้อมูลที่ได้ในขั้นตอนที่ 21 มาร่ วมกันวิเคราะห์วา่
พฤติกรรมหลังอบรมเป็ นพฤติกรรมที่พึงประสงค์หรื อไม่ พอใจหรื อไม่ และการฝึ กอบรมมี
ผลสัมฤทธิ์ ต่องานหรื อไม่ ถ้าใช่ก็ถือว่าการฝึ กอบรมครั้งนี้ประสบผลสาเร็ จในการแก้ปัญหา
การปฏิบตั ิงาน แต่ถา้ ไม่ใช่ จะต้องหาเหตุผลหรื อสาเหตุต่าง ๆ มาอธิ บาย แล้วย้อนกลับไปทบทวน
ขั้นตอนขั้นตอนที่ 4 เพื่อนิยามปั ญหาใหม่อีกครั้ง แล้วดาเนินเป็ นวงจรใหม่อีกรอบ จนกว่าปั ญหา
ต่าง ๆ จะได้รับการแก้ไขหรื อคลี่คลายไปในทางที่ดี
จากการอบรมอย่างมีส่วนร่ วม เพื่อแก้ปัญหาการปฏิบตั ิงานแบบครบวงจร ดังกล่าวข้างต้น
จะเห็นว่า เป็ นการอบรมที่มุ่งแก้ปัญหาการปฏิบตั ิงานที่เป็ นระบบ โดยความร่ วมมือร่ วมใจกันทั้ง
วิทยากร ผูบ้ ริ หาร และผูป้ ฏิบตั ิงาน เริ่ มตั้งแต่ข้ นั ตอนแรกจนถึงขั้นสุ ดท้าย กล่าวคือ ตั้งแต่การระบุ
ปั ญหาหาทางเลือกในการแก้ปัญหาและวิธีการ ตกลงใจร่ วมกันและปฏิบตั ิการ ติดตามผลและยืนยัน
ว่าปั ญหานั้นได้แก้ไขเสร็ จสิ้ น
25

3. แนวคิดการอบรมโดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน


การฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน เป็ นรู ปแบบการฝึ กอบรมอย่างหนึ่งที่มีแนวคิดที่วา่
การฝึ กอบรมที่ดีจะต้องให้ความสาคัญทั้งการเพิ่มพูนความรู ้ความสามารถ ทักษะการทางานและ
เจตคติที่ดีต่อการทางานของบุคคลในองค์การ โดยการอบรมต้องทาให้ครบระบบอย่างทัว่ ถึง
ทั้งระดับบริ หารและระดับปฏิบตั ิเพื่อเอื้อซึ่ งกันและกัน ในอันที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อ
เพิ่มประสิ ทธิ ภาพขององค์การ ดังนั้น การฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง
จาเป็ นต้องเพิ่มพูนทั้งความรู ้ความสามารถ และทักษะในการทางาน รวมทั้งกระตุน้ ให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงเจตคติต่อการทางานที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องนั้นๆ ให้กบั บุคลากรทั้งโรงเรี ยน เพื่อให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาในแนวทางเดียวกันทั้งโรงเรี ยน ซึ่ งขั้นตอนสาคัญในการกาหนด
โปรแกรมการฝึ กอบรมโดยใช้โ รงเรี ยนเป็ นฐาน มี 6 ขั้นตอน 19-20) ได้แก่ 1) การระบุปัญหา
2) การตั้งเกณฑ์ 3) การระบุแนวทางแก้ไขปั ญหาที่อาจเป็ นไปได้ 4) การนาแนวทางนั้นไปใช้
5) การประเมินโปรแกรม และ6) การพิจารณาปรับปรุ งแก้ไข (ถ้าจาเป็ น) โดยโปรแกรมดังกล่าวมี
ลักษณะเฉพาะสาคัญ ได้แก่ 1) เริ่ มที่ความต้องการของครู และโรงเรี ยน 2) จะต้องอยูภ่ ายใต้ภาวะผูน้ า
ของผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนหรื อส่ วนกลาง 3) จะต้องใช้สังกัปสาคัญ (Key concepts) และคาสาคัญ
(Key words) ที่ได้กาหนดไว้ในกระบวนการวางแผน การนาไปใช้และการประเมิน 4) กิจกรรมทุก
อย่างจะต้องกระทาเพื่อตอบสนองความต้องการของโรงเรี ยน และทุกคนต้องให้ความร่ วมมือ และ
5) กระบวนการฝึ กอบรมถือเป็ นหน้าที่ที่ตอ้ งปฏิบตั ิดว้ ยความเข้าใจ (ประวิต เอราวรรณ์ และคณะ.
2541 : 19-21)
จากการศึกษาปั จจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการฝึ กอบรมครู โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานของ
ประวิต เอราวรรณ์ และคณะ (2541:37-45) กลุ่มตัวอย่างเป็ นศึกษานิเทศก์จงั หวัด 22 คน (22 จังหวัด
จังหวัดละ 1 คน) ผูบ้ ริ หาร ครู และนักเรี ยนของโรงเรี ยนเป้ าหมายจาก 22 จังหวัด จังหวัดละ 1 โรง
และในจานวนนี้เลือกศึกษาเชิงลึกจานวน 4 โรง ผลการศึกษา พบว่า ปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพ
การฝึ กอบรมครู ในรู ปแบบการใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานมี 5 ด้าน คือ 1) ด้านความพร้อมของโรงเรี ยน
ได้แก่ ผูบ้ ริ หาร ครู และโรงเรี ยนมีความพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง 2) ด้านปัจจัยภายนอกโรงเรี ยน
ได้แก่ การสนับสนุนโครงการจากผูบ้ ริ หารระดับอาเภอหรื อจังหวัด 3) ด้านการวางแผนการอบรม
ได้แก่ การคัดเลือกโรงเรี ยน การศึกษาข้อมูลพื้นฐานของโรงเรี ยน 4) ด้านการฝึ กอบรม ได้แก่
เป้ าหมายการอบรม หลักสู ตร/เนื้อหา ตารางการอบรม วิทยากร สถานที่ฝึกอบรม กระบวนการ
อบรม การประเมินผล และองค์ประกอบในการอบรมอื่น ๆ และ 5) ด้านกระบวนการนิเทศ ได้แก่
การวางแผนการนิเทศ รู ปแบบหรื อวิธีการนิเทศ การพัฒนากระบวนการนิเทศภายในโรงเรี ยน
บทบาทของศึกษานิเทศก์ และการประเมินความต้องการจาเป็ นในการพัฒนาครู
26

จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นว่าแนวคิดทฤษฎีพ้นื ฐานทั้ง 3 ประการ ที่ใช้เป็ นแนวทางใน


การพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิดมี
จุดเน้นสาคัญสอดคล้องกันคือ การมีส่วนร่ วมในการพัฒนาของบุคลากรทุกคนในโรงเรี ยน โดย
ประเด็นที่ร่วมกันพัฒนานั้นเป็ นเรื่ องที่สอดคล้องกับสภาพ ปั ญหาและความต้องการของ ซึ่ งแนวคิด
เหล่านี้สอดคล้องและเหมาะสมอย่างยิง่ ที่ผวู ้ จิ ยั เลือกใช้กระบวนการวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม
มาใช้ในการดาเนินการพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น
กระบวนการคิด

ทฤษฎี หลักการ แนวคิดเกีย่ วกับการคิดและการพัฒนาการคิด

1. มิติของการคิด
ทิศนา แขมมณี และคณะ (2544 : 103-112) ได้กล่าวถึง มิติของการคิดโดยสรุ ปดังนี้
มิติของการคิดมี 6 ด้าน ได้แก่ 1) มิติดา้ นข้อมูลหรื อเนื้อหาที่ใช้ในการคิด 2) มิติดา้ นคุณสมบัติที่
เอื้ออานวยต่อการคิด 3) มิติดา้ นทักษะการคิด 3) มิติดา้ นลักษณะการคิด 4) มิติดา้ นกระบวนการคิด
5) มิติดา้ นการควบคุมและประเมินการคิดของตนเอง
1.1 มิติดา้ นข้อมูลหรื อเนื้อหาที่ใช้ในการคิด กล่าวคือ บุคคลไม่สามารถคิดโดยไม่มี
เนื้อหาของการคิดได้ ซึ่ งเนื้อหาของการคิด อาจจัดเป็ น 3 ด้านใหญ่ ๆ ได้แก่ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมและสิ่ งแวดล้อม และข้อมูลวิชาการ
1.2 มิติดา้ นคุณสมบัติที่เอื้ออานวยต่อการคิด เป็ นคุณสมบัติส่วนตัวบางประการของ
บุคคลที่มีผลต่อการคิดและคุณภาพของการคิด เช่น ความเป็ นผูม้ ีใจกว้าง เป็ นธรรม ใฝ่ รู ้
กระตือรื อร้น ช่างวิเคราะห์ผสมผสาน ขยัน กล้าเสี่ ยง อดทน มีค วามมัน่ ใจในตนเอง และมี
มนุษยสัมพันธ์ เป็ นต้น
1.3 มิติดา้ นทักษะการคิด “ทักษะการคิด” เป็ นคาที่แสดงถึงพฤติกรรมการคิด ที่มี
ลักษณะเป็ นรู ปธรรมเพียงพอที่ใช้ให้มองเห็นพฤติกรรมหรื อการกระทาที่ชดั เจนของการคิดนั้น ๆ
โดยทัว่ ไปสามารถแบ่งได้ 3 ระดับ คือ 1) ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ซึ่ งส่ วนมากเป็ นทักษะทาง
การสื่ อสาร เช่น ทักษะการฟัง การจา การอ่าน การรับรู ้ การพูด การเขียน การอธิ บาย เป็ นต้น
2) ทักษะที่เป็ นแกนสาคัญ เป็ นทักษะที่ใช้กนั มาก เช่น ทักษะการสังเกต การเปรี ยบเทียบ การตีความ
การขยายความ การอ้างอิง เป็ นต้น และ 3) ทักษะการคิดขั้นสู ง เป็ นทักษะการคิดที่ซบั ซ้อนขึ้น และ
ยากขึ้นกว่าทักษะแกนสาคัญ เช่น ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการสังเคราะห์ ทักษะการทานาย ทักษะ
การตั้งสมมติฐาน ทักษะการจัดระบบ เป็ นต้น
27

1.4 มิติดา้ นลักษณะการคิด “ลักษณะการคิด” เป็ นคาที่มีลกั ษณะเป็ นนามธรรม ซึ่ งเป็ นสิ่ ง
ที่แสดงให้เห็นว่า คนเรามีลกั ษณะการคิดหลายแบบ เช่น การคิดคล่อง การคิดหลากหลาย การคิด
ละเอียดลออ การคิดให้ชดั เจน การคิดกว้าง การคิดไกล การคิดลึกซึ้ ง การคิดอย่างมีเหตุผล เป็ นต้น
1.5 มิติดา้ นกระบวนการคิด “กระบวนการคิด” เป็ นการคิดที่ตอ้ งดาเนินการไปเป็ นลาดับ
ขั้นตอนที่จะช่วยให้การคิดนั้นประสบผลสาเร็ จตามจุดมุ่งหมายของการคิดนั้น ๆ ซึ่ งในแต่ละลาดับ
ขั้นตอนอาจต้องอาศัยทักษะการคิด หรื อลักษณะการคิดจานวนมาก กระบวนการคิดที่สาคัญมีหลาย
กระบวนการ เช่น กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ กระบวนการคิดแก้ปัญหา กระบวนการคิด
ริ เริ่ มสร้างสรรค์ กระบวนการตัดสิ นใจ เป็ นต้น
1.6 มิติดา้ นการควบคุมและประเมินการคิดของตนเอง หรื อ “การควบคุมการรู้คิด
ของตนเอง” ซึ่ งหมายถึง การรู ้ตวั ถึงความคิดของตนเองในการกระทาอะไรอย่างใดอย่างหนึ่ง
หรื อการประเมินการคิดของตนเอง และใช้ความรู ้น้ นั ในการควบคุมหรื อปรับการกระทาของตนเอง
การคิดในลักษณะนี้เรี ยกว่า “การคิดอย่างมียทุ ธศาสตร์ ” ซึ่งครอบคลุมการวางแผน การควบคุม
กากับการกระทาของตนเอง การตรวจสอบความก้าวหน้าและการประเมินผล

2. ทักษะการคิด ลักษณะการคิด และวิธีการพัฒนา


คณะทางานเอกสารชุด “สานฝัน ด้วยการคิด” ซึ่งจัดพิมพ์โดยศูนย์บริ หารโครงการหนึ่ง
อาเภอ หนึ่งโรงเรี ยนในฝัน สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิ การ ได้รวบรวม และเรี ยบเรี ยงสาระเกี่ยวกับทักษะการคิด
ลักษณะการคิด และวิธีการพัฒนา พอสรุ ปได้ดงั นี้ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
2548 :26-42 )
2.1 ทักษะการคิด และวิธีการพัฒนา
ทักษะการคิด เป็ นพฤติกรรมการคิดที่มีลกั ษณะเป็ นรู ปธรรมเพียงพอที่ช่วยให้มองเห็น
การกระทาที่ชดั เจนของการคิดนั้น ๆ ทักษะการคิดแบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ ทักษะการคิดพื้นฐาน
และทักษะการคิดขั้นสู ง โดยที่ทกั ษะการคิดพื้นฐานยังแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทย่อย ได้แก่ ทักษะ
การสื่ อสาร และทักษะการคิดที่เป็ นแกน ดังรายละเอียดพอสังเขปต่อไปนี้
2.1.1 ทักษะการคิดพืน้ ฐาน
2.1.1.1 ทักษะการสื่ อสาร เช่น ทักษะการฟัง ทักษะการจา ทักษะการอ่าน
ทักษะการรับรู ้ ทักษะการเก็บความรู ้ ทักษะการใช้ความรู ้ ทักษะการอธิ บาย ทักษะการบรรยาย
ทักษะการพูด ทักษะการทาความกระจ่าง ทักษะการเขียน ทักษะการแสดงออก ฯลฯ
28

2.1.1.2 ทักษะการคิดที่เป็ นแกน ได้แก่


1) ทักษะการสังเกต หมายถึง การรับรู ้และรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสิ่ งใด
สิ่ งหนึ่งโดยใช้ประสาทสัมผัสหลายด้านเพื่อให้ได้รายละเอียดเกี่ยวกับสิ่ งนั้น
2) ทักษะการสารวจ การสารวจมี 2 ความหมาย ประการแรก การสารวจ
(Exploring) หมายถึง การค้นหาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งที่ยงั ไม่รู้หรื อรู ้นอ้ ยอย่างมีจุดหมายด้วยวิธีการต่าง ๆ
เพื่อให้ได้ขอ้ มูลมากที่สุด ประการที่สอง การสารวจ (Surveying) หมายถึง การพิจารณาตรวจสอบ
สิ่ งที่สังเกตอย่างมีจุดหมาย เพื่อให้ได้ขอ้ เท็จจริ งและความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่ งนั้น
3) ทักษะการจัดหมวดหมู่ หมายถึง การนาสิ่ งต่าง ๆ ที่มีสมบัติเหมือนกัน
ตามเกณฑ์มาจัดเป็ นกลุ่ม โดยแต่ละกลุ่มมีสมบัติตามที่ตอ้ งการและไม่เหมือนกับกลุ่มอื่น ๆ
4) ทักษะการจาแนกประเภท หมายถึง การนาสิ่ งต่าง ๆ ออกมาแยกเป็ น
กลุ่มตามเกณฑ์ตามเกณฑ์ที่ได้รับการยอมรับทางวิชาการ หรื อยอมรับทัว่ ไป
5) ทักษะการเปรี ยบเทียบ หมายถึง การเทียบเคียงสิ่ ง 2 สิ่ งขึ้นไป ตาม
เกณฑ์ที่กาหนด เพื่อให้เห็นความเหมือนหรื อความต่าง เพื่อหาความสัมพันธ์เชื่อมโยง หรื อเพื่อใช้ใน
การหาทางเลือกที่ดีที่สุด
6) ทักษะการเชื่อมโยง หมายถึง การบอกความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล
อย่างมีความหมาย
7) ทักษะการแปลความ หมายถึง การเรี ยบเรี ยงและถ่ายทอดข้อมูลใน
รู ปแบบวิธีการใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิมแต่ยงั คงรักษาสาระเดิมไว้
8) ทักษะการตีความ หมายถึง การบอกความหมายหรื อความสัมพันธ์
ของข้อมูลหรื อสาระที่แฝงอยูไ่ ม่ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจน โดยการเชื่อมโยงกับบริ บทความรู ้
ประสบการณ์เดิม หรื อข้อมูลอื่น
9) ทักษะการทาความกระจ่าง หมายถึง การให้รายละเอียดหรื อคาอธิ บาย
เพิ่มเติมให้เกิดความชัดเจน
10) ทักษะการสรุ ปย่อ หมายถึง การจับเฉพาะใจความสาคัญของเรื่ องที่
ต้องการสรุ ป และนามาเรี ยบเรี ยงให้กระชับ
11) ทักษะการสรุ ปลงความเห็น หมายถึง การให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับ
ข้อมูล หรื อเรื่ องที่ศึกษาโดยการเชื่อมโยงและอ้างอิงจากความรู้หรื อประสบการณ์เดิม หรื อข้อมูลอื่น
สาหรับตัวอย่างวิธีการหรื อขั้นตอนการพัฒนาทักษะการคิดพื้นฐาน (กล่าวถึง
เฉพาะทักษะการคิดที่เป็ นแกน) ดังแสดงในตาราง 2
29

ตาราง 2 ตัวอย่างวิธีการหรื อขั้นตอนการพัฒนาทักษะการคิดพื้นฐาน

ทักษะการคิดพื้นฐาน ขั้นตอน/วิธีการ
1. ทักษะการสังเกต 1. รับรู ้สิ่งที่สงั เกต
(Observing) 2. ใช้ประสาทสัมผัสหลายทาง (ตา หู จมูก ลิน้ กาย) รับรู ้และสารวจสิ่ งที่สงั เกต
3. รวบรวมข้อมูลการสังเกตทั้งด้านคุณลักษณะและปริ มาณ
4. รายงานข้อมูลการสังเกตตรงตามข้อมูลเชิงประจักษ์
5. รายงานข้อมูลการสังเกตโดยไม่ตีความข้อมูล
2. ทักษะการสารวจ 1. กาหนดสิ่ งหรื อเรื่ องจะไปสารวจค้นหา
(Exploring) 2. กาหนดวิธีการที่จะสารวจค้นหาสิ่ งหรื อเรื่ องที่กาหนด
3. ใช้วธิ ีการที่กาหนดในการสารวจค้นหาเรื่ องหรื อสิ่ งที่ตอ้ งการให้ได้มากที่สุด
3. ทักษะการสารวจ 1. กาหนดสิ่ งหรื อเรื่ องจะไปสารวจ
(Surveying) 2. ใช้วธิ ีการต่าง ๆ เข้าไปรับรู ้ขอ้ มูลทั้งที่เป็ นข้อเท็จจริ งหรื อความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่ งนั้น
3. ใช้วธิ ีการที่กาหนดในการสารวจค้นหาเรื่ องหรื อสิ่ งที่ตอ้ งการให้ได้มากที่สุด
4. ทักษะการจัด 1. สังเกตความเหมือน ความต่าง และภาพรวมของสิ่ งต่างๆ ที่จะจัดกลุ่ม
หมวดหมู่ 2. กาหนดเกณฑ์ของสิ่ งที่จะมารวมกลุ่มเดียวกัน ซึ่งแต่ละกลุ่มมีเกณฑ์ต่างกันไป
(Categorizing) 3. จาแนกหรื อแยกสิ่ งต่าง ๆ เข้ากลุ่มตามเกณฑ์ที่กาหนด
4. ได้สิ่งต่าง ๆ จัดเป็ นกลุ่มๆ
5. ทักษะการจาแนก 1. สังเกตสิ่ งที่สนใจจะจาแนกประเภท
ประเภท 2. สังเกตภาพรวม สังเกตสิ่ งที่เหมือน และสิ่ งที่ต่างกัน
(Classifying) 3. กาหนดเกณฑ์จาแนกประเภทที่ได้รับการยอมรับทางวิชาการหรือยอมรับทัว่ ไป
ในการแยกสิ่ งต่าง ๆ ออกจากกัน
4. แยกสิ่ งต่าง ๆ ออกจากกันตามเกณฑ์
5. จัดกลุ่มที่มีลกั ษณะเหมือนกันไว้ดว้ ยกัน
6. ได้ผลการจาแนกประเภทในแบบต่าง ๆ
6. ทักษะ 1. กาหนดสิ่ งที่จะนามาเปรี ยบเทียบกัน
การเปรี ยบเทียบ 2. กาหนดวัตถุประสงค์หรื อเป้ าหมายของการเปรี ยบเทียบ
(Comparing) 3. กาหนดเกณฑ์การเปรี ยบเทียบ (ใช้เกณฑ์เดียวกันในการเปรี ยบเทียบ)
4. แจกแจงรายละเอียดของสิ่ งที่นามาเปรี ยบเทียบตามเกณฑ์
5. นาเสนอผลการเปรี ยบเทียบตามเกณฑ์ให้เห็นชัดเจน
6. ประเมินผลการเปรี ยบเทียบ
7. นาผลการเปรี ยบเทียบไปใช้ประโยชน์ตามเป้ าหมาย
30

ตาราง 2 (ต่อ)

ทักษะการคิดพื้นฐาน ขั้นตอน/วิธีการ
7. ทักษะการเชื่อมโยง 1. พิจารณาข้อมูลต่าง ๆ
(Connecting) 2. เลือกข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกันมาสัมพันธ์กนั ให้มีความหมาย
3. อธิบายความสัมพันธ์ของข้อมูล
8. ทักษะการแปลความ 1. ทาความเข้าใจในสาระและความหมายของสิ่ งที่จะแปลความ
(Translating) 2. หากลวิธีนาเสนอสาระและความหมายนั้นในรู ปแบบวิธีการใหม่ แต่ให้ยงั คงสาระ
และความหมายเดิม
3. ดาเนินการเรี ยบเรี ยงและถ่ายทอดสาระและความหมายนั้นตามกลวิธีที่กาหนด
9. ทักษะการตีความ 1. ศึกษาข้อมูล/ข้อความ/เรื่ องที่ตอ้ งการตีความให้ชดั เจน
(Interpreting) 2. หาความหมายของข้อความที่ไม่ได้มีบอกไว้ โดย
2.1 เชื่อมโยงข้อมูล/ข้อความที่มีกบั ข้อความอื่น ๆ ทั้งที่มีอยูแ่ ละที่เป็ นความรู ้หรื อ
ประสบการณ์เดิม
2.2 เชื่อมโยงข้อมูลอย่างมีเหตุผล
3. ระบุความหมายที่แฝงอยูโ่ ดยอธิบายเหตุผลประกอบ
10. ทักษะการทา 1. ระบุสิ่งที่สงสัยหรื อคลุมเครื อ
ความกระจ่าง 2. ใช้วธิ ีต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความชัดเจน เช่น เปรี ยบเทียบ ยกตัวอย่าง แปลความ
(Clarifying) ขยายความ ตีความ อธิบาย สรุ ป อ้างอิง ให้เหตุผล
11. ทักษะการสรุ ปย่อ 1. ศึกษาเรื่ องที่ตอ้ งการสรุ ปย่อให้เข้าใจ
(Summarizing) 2. จับเฉพาะใจความสาคัญของเรื่ อง โดย
2.1 จับจุดมุ่งหมายของเรื่ อง
2.2 ลาดับเหตุการณ์ของเรื่ อง
2.3 ระบุเหตุการณ์หรื อความหมายของเรื่ องที่จาเป็ นต่อการเข้าใจเรื่ องให้ครบถ้วน
2.4 ตัดรายละเอียดปลีกย่อยต่าง ๆ ที่ไม่จาเป็ นต่อการเข้าใจ
2.5 นาเหตุการณ์หรื อความหมายของเรื่ องที่สาคัญจาเป็ น ขาดไม่ได้ต่อการเข้าใจเรื่ อง
มาเรี ยบเรี ยงเรื่ องให้กระชับ
12. ทักษะการลงสรุ ป 1. ศึกษาข้อมูลทั้งหมด
ความเห็น 2. จัดกระทากับข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ ตามความเหมาะสม และสรุ ปสาระสาคัญของ
(Drawing conclusion) ข้อมูล/เรื่ องที่ศึกษา
3. ให้ความเห็นเกินไปจากข้อมูลที่มีอยู่ โดยอาศัย การเชื่อมโยง การใช้เหตุผล และ
อ้างอิงจากความรู ้หรื อประสบการณ์เดิมหรื อจากข้อมูลอื่น ๆ
4. อธิบายความคิดเห็นโดยใช้เหตุผลประกอบ
31

2.1.2 ทักษะการคิดขั้นสู ง
2.1.1.1 ทักษะการให้คาจากัดความ หมายถึง การระบุลกั ษณะเฉพาะที่สาคัญของ
สิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
2.1.1.2 ทักษะการวิเคราะห์ หมายถึง การแยกแยะข้อมูล หรื อส่ วนประกอบของ
สิ่ งใดสิ่ งหนึ่งออกเป็ นส่ วนย่อย ๆ และตรวจสอบหรื อจัดโครงสร้างความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ
ต่าง ๆ
2.1.1.3 ทักษะการสังเคราะห์ หมายถึง การนาเอาส่ วนประกอบของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
มาผสมผสานรวมกัน เพื่อให้เกิดสิ่ งใหม่ที่มีเอกลักษณ์ และคุณสมบัติเฉพาะที่แตกต่างไปจากสิ่ งเดิม
2.1.1.4 ทักษะการประยุกต์ให้ความรู ้ หมายถึง การนาความรู ้ที่มีอยูไ่ ปใช้ใน
สถานการณ์ใหม่ที่มีลกั ษณะแตกต่างไปจากเดิม
2.1.1.5 ทักษะการประเมิน หมายถึง การตัดสิ นคุณค่าหรื อคุณภาพของสิ่ งหนึ่ง
สิ่ งใด โดยการนาผลจากการวัดไปเทียบกับเกณฑ์
สาหรับตัวอย่างวิธีการหรื อขั้นตอนการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสู ง ดังแสดงใน
ตาราง 3

ตาราง 3 ตัวอย่างวิธีการหรื อขั้นตอนการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสู ง

ทักษะการคิดขั้นสูง ขั้นตอน/วิธีการ
1. ทักษะการให้ 1. ศึกษาองค์ประกอบ/ลักษณะ/สมบัติที่หลากหลายของสิ่ งหนึ่งสิ่ งใด
คาจากัดความ 2. คัดสมบัติเฉพาะหรื อสมบัติร่วมของสิ่ งนั้น
(Defining) 3. นาสมบัติร่วมเหล่านั้นมาเรี ยบเรี ยงเป็ นข้อความให้กะทัดรัด ชัดเจน สละสลวย
2. ทักษะการวิเคราะห์ 1. ศึกษาข้อมูลหรื อสิ่ งที่ตอ้ งการวิเคราะห์
(Analyzing) 2. กาหนดวัตถุประสงค์/เป้ าหมายของการวิเคราะห์
3. กาหนดเกณฑ์ในการวิเคราะห์
4. แยกแยะ/แจกแจงส่วนประกอบของสิ่ งนั้น
5. แจกแจงรายละเอียดของส่วนประกอบทั้งหมด
6. ตรวจสอบ/จัดโครงสร้าง หรื อความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบใหญ่ และ
ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบย่อย
3. ทักษะ 1. ศึกษาส่วนประกอบหรื อวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ตอ้ งการสังเคราะห์
การสังเคราะห์ 2. กาหนดวัตถุประสงค์ของสิ่ งใหม่ที่ตอ้ งการสร้างหรื อสังเคราะห์ข้ ึน
(Synthesizing) 3. เลือกข้อมูลที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของสิ่ งใหม่ที่ตอ้ งการ
4. นาข้อมูลมาจัดทากรอบแนวคิดสาหรับสร้างสิ่ งใหม่
32

ตาราง 3 (ต่อ)

ทักษะการคิดขั้นสูง ขั้นตอน/วิธีการ
5. สร้างสิ่ งใหม่ตามวัตถุประสงค์และกรอบแนวคิดที่กาหนด โดยผสมผสาน
ส่วนประกอบ/ข้อมูลที่เลือก รวมทั้งข้อมูลอื่น ๆ ตามความเหมาะสมและความจาเป็ น
4. ทักษะการประยุกต์ 1. สารวจลักษณะของสถานการณ์ใหม่
ใช้ความรู ้ 2. ทบทวนข้อมูลหรื อความรู ้ที่มี
(Applying) 3. คัดเลือกข้อมูล ความรู ้ที่มีลกั ษณะสอดคล้องกับลักษณะของสถานการณ์ใหม่
4. ตรวจสอบความเป็ นเหตุเป็ นผล หรื อความเหมาะสมระหว่างข้อมูลกับสถานการณ์
5. ใช้ความรู ้ในสถานการณ์ใหม่
5. ทักษะการประเมิน 1. ตั้งเกณฑ์ที่ใช้ตดั สิ นคุณค่าหรื อคุณภาพ
(Evaluating) 2. นาข้อมูลที่ได้จากการวัดมาเทียบกับเกณฑ์
3. ระบุระดับของคุณค่าหรื อคุณภาพของสิ่ งนั้น

2.2 ลักษณะการคิด และวิธีการพัฒนา


ลักษณะการคิดเป็ นคาที่บอกลักษณะต่าง ๆ ของการคิด เป็ นนามธรรม มีคาวิเศษณ์
บอกลักษณะเฉพาะ ซึ่ งมุ่งเน้นในลักษณะของมาตรฐานการคิด ดังนี้
2.2.1 คิดคล่อง หมายถึง คิดอย่างรวดเร็ วให้ได้ขอ้ มูลจานวนมาก
2.2.2 คิดหลากหลาย หมายถึง คิดให้ได้ขอ้ มูลหลายประเภท
2.2.3 คิดละเอียด หมายถึง คิดให้ได้ขอ้ มูลที่เป็ นรายละเอียดของสิ่ งที่คิดตาม
จุดประสงค์ของการคิด
2.2.4 คิดชัดเจน หมายถึง คิดที่ผคู ้ ิดรู ้วา่ ตนเองรู ้และไม่เข้าใจอะไร และสงสัยอะไร
ในเรื่ องที่คิด
2.2.5 คิดอย่างมีเหตุผล หมายถึง ใช้หลักเหตุผลในการคิดในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง
2.2.6 คิดถูกทาง หมายถึง คิดที่ทาให้ได้ความคิดที่เป็ นประโยชน์ต่อส่ วนรวมและเป็ น
ประโยชน์ในระยะยาว
2.2.7 คิดกว้าง หมายถึง คิดโดยพิจารณาถึงองค์ประกอบ แง่มุมต่าง ๆ ของเรื่ องที่คิด
อย่างครอบคลุม
2.2.8 คิดลึกซึ้ ง หมายถึง คิดที่ทาให้เข้าใจความซับซ้อนของโครงสร้างและระบบ
ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุในโครงสร้างของเรื่ องที่คิด
2.2.9 คิดไกล หมายถึง คิดที่ทาให้สามารถอธิบายเหตุการณ์ในอนาคตได้
สาหรับตัวอย่างวิธีการหรื อขั้นตอนการพัฒนาลักษณะการคิด ดังแสดงในตาราง 4
33

ตาราง 4 ตัวอย่างวิธีการหรื อขั้นตอนการพัฒนาลักษณะการคิด

ลักษณะการคิด ขั้นตอน/วิธีการ
1. คิดคล่อง 1. กาหนดประเด็นที่ตอ้ งการคิด
2. คิดเชื่อมโยงเรื่ องที่คิดกับความรู/้ ประสบการณ์/ความรู ้สึก/ความคิดเห็นของตนอย่าง
รวดเร็ วให้ได้ขอ้ มูลจานวนมาก
2. คิดหลากหลาย 1. กาหนดประเด็นที่ตอ้ งการคิด
2. คิดถึงประเภท/ชนิด/แบบ/ลักษณะที่แตกต่างกันของสิ่ งที่คิดให้ได้จานวนมาก
3. หาตัวอย่างของประเภท/ชนิด/แบบ/ลักษณะของสิ่ งที่คิด
3. คิดละเอียด 1. พิจารณาเรื่ องที่คิดว่า มีประเด็นใดที่ตอ้ งการรายละเอียดเพิ่มขึ้นและเพื่อจุดประสงค์ใด
2. ขยายข้อมูลหรื อหาข้อมูลของประเด็นที่คิดให้ได้รายละเอียดเพิ่มเติมมากขึ้น
4. คิดชัดเจน 1. พิจารณาข้อมูล/เรื่ องที่คิด
2. ตรวจสอบว่าตนเองรู ้/ไม่รู้ เข้าใจ/ไม่เข้าใจ หรื อสงสัยอะไร
3. คิดหาคาตอบและวิธีการอธิบายความเข้าใจของตนในเรื่ องที่ตนรู ้
5. คิดอย่างมีเหตุผล 1. รวบรวมข้อมูลในสิ่ งที่คิด
2. จาแนกข้อมูลในเรื่ องที่คิด ที่เป็ นข้อเท็จจริ ง และความคิดเห็นออกจากกัน
3. พิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อเท็จจริ งและความคิดเห็น
4. พิจารณาเรื่ องที่คิดโดยใช้หลักเหตุผลแบบนิรนัย และ/หรื อแบบอุปนัย บนฐานข้อมูล
ที่น่าเชื่อถือได้
6. คิดถูกทาง 1. คิดตัดสิ นใจในทางที่เป็ นประโยชน์ต่อส่วนรวม
2. คิดตัดสิ นใจในทางที่เป็ นประโยชน์ระยะยาวมากกว่าประโยชน์ระยะสั้น
7. คิดกว้าง 1. คิดถึงองค์ประกอบ/แง่มุมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องที่คิดให้ได้มากทีส่ ุด
2. หาข้อมูลรายละเอียดขององค์ประกอบ/แง่มุมของเรื่ องที่คิดให้ได้มากที่สุด
8. คิดลึกซึ้ง 1. รวบรวมส่วนประกอบและข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่ องที่คิดอย่างครอบคลุม
2. เชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่ซบั ซ้อนของรายละเอียดในส่วนประกอบต่าง ๆ เพื่อให้เห็น
โครงสร้างหรื อภาพรวมของเรื่ องที่คิด
3. หาส่วนประกอบที่มีความสาคัญหรื อมีอิทธิพลต่อเรื่ องที่คิด
4. หาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของส่วนประกอบต่าง ๆ ที่โยงใยของเรื่ องที่คิด
5. วิเคราะห์หาสาเหตุที่แท้จริ งของปั ญหา/เรื่ องที่คิด
9. คิดไกล 1. นาข้อมูล/ปั จจัยรอบด้านของเรื่ องที่คิดมาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
2. ทานายความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปั จจัยต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องเป็ นขั้น ๆ ไป โดยอาศัย
ข้อมูลและข้อเท็จจริ งต่าง ๆ เป็ นฐานในการทานาย
3. ประเมินความเหมาะสมและความเป็ นได้ของความสัมพันธ์เชิงสาเหตุแต่ละขัน้ ตอน
4. ลงความเห็นการทานายเหตุการณ์ในอนาคต
34

3. กระบวนการคิดและวิธีการพัฒนา
กระบวนการคิด เป็ นการคิดที่ที่ตอ้ งดาเนินไปตามขั้นตอนที่จะช่วยให้ประสบ
ความสาเร็ จตามจุดมุ่งหมายของการคิดนั้น ๆ กระบวนการคิดมีองค์ประกอบสาคัญ 3 ส่ วน คือ
1) จุดมุ่งหมายของกระบวนการ 2) ลาดับขั้นตอน และ 3) การปฏิบตั ิตามขั้นตอน ซึ่ งกระบวนการคิด
ในปั จจุบนั มีหลายกระบวนการ เช่น กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ กระบวนการคิดแก้ปัญหา
กระบวนการคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ กระบวนการคิดวิเคราะห์ เป็ นต้น
3.1 กระบวนการคิดวิเคราะห์
กระบวนการคิดวิเคราะห์ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน (สุ วทิ ย์ มูลคา. 2547 ก : 19) ดังนี้
ขั้นที่ 1 กาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการวิเคราะห์ เป็ นการกาหนดวัตถุสิ่งของ เรื่ องราว หรื อ
เหตุการณ์ต่าง ๆ ขึ้นมา เพื่อเป็ นต้นเรื่ องที่จะใช้วเิ คราะห์ เช่น พืช สัตว์ หิ น ดิน รู ปภาพ บทความ
เรื่ องราว เหตุการณ์หรื อสถานการณ์จากข่าว ของจริ งหรื อสื่ อเทคโนโลยีต่าง ๆ
ขั้นที่ 2 กาหนดปั ญหาหรื อวัตถุประสงค์ เป็ นการกาหนดประเด็นหรื อข้อสงสัยจาก
ปั ญหาของสิ่ งที่ตอ้ งการวิเคราะห์ ซึ่ งอาจจะกาหนดเป็ นคาถาม หรื อเป็ น การกาหนดวัตถุประสงค์
ของการวิเคราะห์เพื่อค้นหาความจริ ง สาเหตุ หรื อความสาคัญ เช่น ภาพนี้ บทความนี้ตอ้ งการสื่ อ
หรื อบอกอะไรที่สาคัญที่สุด
ขั้นที่ 3 กาหนดหลักการหรื อกฎเกณฑ์ เป็ นการกาหนดข้อกาหนดสาหรับใช้แยก
ส่ วนประกอบของสิ่ งที่กาหนดให้ เช่น เกณฑ์ในการจาแนกสิ่ งที่เหมือนกันหรื อแตกต่างกัน
หลักเกณฑ์ในการหาลักษณะความสัมพันธ์เชิงเหตุผล อาจจะเป็ นลักษณะความสัมพันธ์ที่มี
ความคล้ายคลึงกันหรื อขัดแย้งกัน
ขั้นที่ 4 พิจารณาแยกแยะ เป็ นการพินิจ พิเคราะห์ทาการแยกแยะ กระจายสิ่ งที่
กาหนดให้ออกเป็ นส่ วนย่อย ๆ โดยอาจใช้เทคนิคคาถาม ใคร (Who) อะไร (What) ที่ไหน (Where)
เมื่อไร (When) และ อย่างไร (How)
ขั้นที่ 5 สรุ ปคาตอบ เป็ นการรวบรวมประเด็นที่สาคัญ เพื่อหาข้อสรุ ปเป็ นคาตอบหรื อ
ตอบปั ญหาของสิ่ งที่กาหนดให้
3.2 กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังภาพ 5
35

หยุด เมื่อได้ขอ้ สรุ ปที่สมเหตุสมผล

ไม่สมเหตุสมผล
7. ประเมินข้อสรุ ป

6. ลงข้อสรุ ป

5. ตั้งสมมติฐาน

4. ระบุลกั ษณะของข้อมูล

ไม่น่าเชื่อถือ/ไม่เพียงพอ 3. พิจารณาความน่าเชื่อถือ และความพอเพียงของข้อมูล

2. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากแหล่งต่าง ๆ

1. ระบุหรื อทาความเข้าใจกับประเด็นปั ญหา หรื อข้อโต้แย้ง

ภาพ 5 กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ


ที่มา : ปรับจาก กรมวิชาการ (2542 : 71)

กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณทั้ง 7 ขั้นตอน มีคาอธิ บายเพิ่มเติม ดังนี้


ขั้นที่ 1 ระบุหรื อทาความเข้าใจกับประเด็นปั ญหา หรื อข้อโต้แย้ง ในที่น้ ีรวมถึงข้อ
คาถามหรื อข้ออ้างต่าง ๆ ที่นามาพิจารณา เพื่อให้เกิดความกระจ่างชัดว่า มันคืออะไร อีกทั้งยังช่วย
ทาให้ผคู ้ ิดเกิดความตระหนักในปั ญหา ข้อโต้แย้ง ข้อคาถาม หรื อข้ออ้างนั้น ๆ
ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากแหล่งต่าง ๆ เป็ นการรวบรวมข้อมูล หลักฐานที่
เกี่ยวข้องกับปั ญหา ข้อโต้แย้ง ข้อคาถาม หรื อข้ออ้าง ที่นามาคิดพิจารณาจากแหล่งต่าง ๆ ซึ่ งอาจต้อง
ใช้วธิ ี การเก็บรวบรวม และเครื่ องมือที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์
การสอบถามการศึกษาเอกสาร และการใช้ประสบการณ์เดิมที่มีอยู่
ขั้นที่ 3 พิจารณาความน่าเชื่อถือ และความพอเพียงของข้อมูล ข้อมูลหรื อหลักฐาน
ต่าง ๆ ที่ได้มาจากการเก็บรวบรวมในขั้นที่ 2 ต้องมีความน่าเชื่อถือ โดยอาจต้องใช้วธิ ีการพิจารณา
หลายอย่างร่ วมกัน เช่น วิธีการและเครื่ องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเหมาะสมหรื อไม่ บุคคลหรื อ
แหล่งให้ขอ้ มูลมีความน่าเชื่อถือเพียงใด ข้อมูลใดจาเป็ น และข้อมูลใดไม่จาเป็ น เป็ นต้น นอกจาก
36

ความน่าเชื่อถือแล้ว ยังต้องพิจารณาต่ออีกว่า ข้อมูลทั้ง หมดที่มีอยูพ่ อเพียงหรื อไม่ ถ้ายังไม่พอเพียง


หรื อยังไม่มีความน่าเชื่อถือ ผูค้ ิดจะต้องวกกลับไปดาเนินการซ้ าในขั้นที่ 2 จนกว่าจะได้ขอ้ มูลหรื อ
หลักฐานที่คิดว่ามีความน่าเชื่อถือและครบถ้วน สาหรับที่จะนาใช้ในขั้นต่อไป
ขั้นที่ 4 ระบุลกั ษณะของข้อมูล เป็ นการจัดระบบข้อมูลที่มีอยูห่ ลากหลายเป็ น
หมวดหมู่ แยกแยะความแตกต่างของข้อมูลว่าข้อมูลใดเป็ นข้อคิดเห็น ข้อมูลใดเป็ นข้อเท็จจริ ง และ
จัดเรี ยงลาดับความสาคัญของข้อมูล รวมทั้งพิจารณาถึงเงื่อนไขหรื อข้อตกลงเบื้องต้นต่าง ๆ ที่อยู่
เบื้องหลังของข้อมูลนั้น ๆ ซึ่ งการกระทาดังกล่าวจะต้องอาศัยความสามารถทั้งในการจัดระบบข้อมูล
การแยกแยะ การจัดลาดับความสาคัญ การใช้หลักเหตุผล ความรู้ และประสบการณ์เดิมใน
การตีความข้อมูลเพื่อค้นหาความหมายแท้จริ ง
ขั้นที่ 5 ตั้งสมมติฐาน เป็ นการตั้งข้อสันนิษฐานจากการวิเคราะห์เชื่อ มโยง
ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีอยูใ่ นขั้นที่ 4 อย่างมีเหตุผล เพื่อกาหนดขอบเขต แนวทาง หรื อทางเลือก
ในการพิจารณา หาข้อสรุ ปของประเด็นปั ญหา ข้อโต้แย้ง ข้อคาถาม หรื อข้ออ้างต่าง ๆ ที่หยิบยกขึ้น
มาเป็ นประเด็นในการคิด
ขั้นที่ 6 ลงข้อสรุ ป เป็ นการพิจารณาความเหมาะสม ความมีเหตุผล หรื อ
ความเป็ นไปได้มากที่สุดของสมมติฐาน หรื อข้อสันนิษฐานต่าง ๆ ในขั้นที่ 5 จากนั้นตัดสิ นใจเลือก
ทางเลือก และลงข้อสรุ ปเกี่ยวกับประเด็นปั ญหา ข้อโต้แย้ง ข้อคาถาม หรื อข้ออ้างต่าง ๆ ที่
หยิบยกขึ้นมาเป็ นประเด็นในการคิด
ขั้นที่ 7 ประเมินข้อสรุ ป เป็ นการตัดสิ นข้อสรุ ปที่ได้ในขั้นที่ 6 ว่ามีความสมเหตุ สม
ผลหรื อไม่ โดยการพิจารณาไตร่ ตรอง ทบทวนกลับไปกลับมาอย่างรอบคอบ ซึ่ งในการประเมิน
ข้อสรุ ปนี้ อาจจาเป็ นต้องพิจารณาถึงผลที่จะตามมา คุณค่าต่อการนาไปใช้ประโยชน์ ผลได้
ผลเสี ย คุณโทษ ทั้งในระยะสั้นระยะยาว ถ้าประเมินแล้วเห็นว่าความสมเหตุสมผล และ/หรื อมี
ความเหมาะสม ก็หยุดและสรุ ปผลการคิด แต่ถา้ ยังไม่สมเหตุสมผลก็ให้วกกลับไปดาเนินการซ้ าใน
ขั้นที่ 4 หรื อขั้นที่ 2
3.3 กระบวนการคิดริเริ่มสร้ างสรรค์
กระบวนการคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ เป็ นกระบวนการขยายขอบเขตความคิดที่มีอยูเ่ ดิมสู่
ความคิดที่แปลกใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน เพื่อหาคาตอบที่ดีที่สุด โดยที่องค์ประกอบสาคัญของ
ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์มี 4 องค์ประกอบ (สุ วทิ ย์ มูลคา. 2549 ก:19-20) คือ 1) ความคิด
คล่องแคล่ว (Fluency) หมายถึง ความสามารถในการคิดตอบสนองต่อสิ่ งเร้าให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะ
มากได้ หรื อความสามารถในการคิดหาคาตอบที่เด่นชุดและตรงประเด็นมากที่สุด ซึ่งจะนับปริ มาณ
ความคิดที่ไม่ซ้ ากันในเรื่ องเดียวกัน 2) ความคิดยืดหยุน่ (Flexibility) หมายถึง ความสามารถใน
37

การปรับสภาพของความคิดในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ความคิดยืดหยุน่ เน้นในเรื่ องของปริ มาณที่เป็ น


ประเภทใหญ่ ๆ ของความคิดแบบคล่องแคล่ว เป็ นตัวเสริ มและเพิ่มคุณภาพของความคิดคล่องแคล่ว
ให้มากขึ้นด้วยการจัดเป็ นหมวดหมู่และมีหลักเกณฑ์มากยิง่ ขึ้น 3) ความคิดริ เริ่ ม (Originality)
หมายถึงความสามารถในการคิดแปลกใหม่แตกต่างจากความคิดธรรมดาหรื อความคิดง่าย ๆ
ความคิดริ เริ่ มอาจจะเกิดจากการนาเอาความรู ้เดิมมาคิดดัดแปลงและประยุกต์ให้เกิดสิ่ งใหม่ข้ ึน และ
4) ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) หมายถึง ความสามารถในการมองเห็นรายละเอียดในสิ่ งที่คน
อื่นมองไม่เห็น และยังรวมถึงการเชื่อมโยงของสิ่ งต่าง ๆ อย่างมีความหมาย
สุ วทิ ย์ มูลคา (2549ก: 24-25) ได้วเิ คราะห์ สังเคราะห์ กระบวนการคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
จากแนวความคิดของนักการศึกษาต่าง ๆ และสรุ ปประบวนการคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์เป็ น 6 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 ค้นพบปั ญหา เป็ นขั้นเริ่ มต้นตั้งแต่รู้สึกกังวลใจ มีความสับสนเกิดขึ้นในใจ
พิจารณาอย่างรอบคอบ จากนั้นค้นหาสาเหตุดงั กล่าวว่าเกิดจากปั ญหาอะไร
ขั้นที่ 2 เตรี ยมการและรวบรวมข้อมูล เป็ นขั้นเตรี ยมการของผูค้ ิดที่จะศึกษาข้อมูล
พื้นฐาน และเตรี ยมข้อมูลต่างๆ ที่เป็ นข้อเท็จจริ งของเรื่ องที่ คน้ พบปั ญหาเพื่อใช้ในการคิดแก้ปัญหา
ขั้นที่ 3 วิเคราะห์ เมื่อได้ขอ้ มูลจากขั้นที่ 2 จะเป็ นขั้นคิดพิจารณาข้อมูลอย่างละเอียด
หาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล
ขั้นที่ 4 ฟูมฟักความคิด เป็ นขั้นที่อยูใ่ นความวุน่ วายของข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้มาทั้งเก่า
และใหม่ ปราศจากความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย ยังกระจัดกระจาย ไม่สามารถขมวดความคิดได้ จึง
จาเป็ นต้องมีสมาธิ ทาจิตใจให้วา่ ง รอโอกาสให้ความคิดแวบขึ้นมา
ขั้นที่ 5 ความคิดกระจ่างชัด เป็ นขั้นตอนของความคิดสับสน กระจัดกระจาย วุน่ วาย
ได้ผา่ นการเรี ยบเรี ยงเชื่อมโยงความสัมพันธ์เข้าด้วยกัน มีความกระจ่างชัดและมองเห็นภาพเกิดขึ้น
ในใจ แต่อย่างไรก็ตามขั้นนี้ยงั ไม่เกิดความเชื่อมัน่ ของสิ่ งที่คิดได้เพราะยังไม่ได้ทดสอบความคิดนั้น
ขั้นที่ 6 ทดสอบความคิด เป็ นขั้นที่นาความคิดได้จากขั้นที่ 5 ไปพิสูจน์ให้เห็น
ความจริ งและความถูกต้อง
3.4 กระบวนการคิดแก้ปัญหา
กระบวนการคิดแก้ปัญหา เป็ นความพยายามที่จะไปให้ถึงเป้ าหมาย โดยดาเนินการ
อย่างเป็ นระเบียบ และสามารถแก้ปัญหาอย่างได้ผล ซึ่ งกระบวนการคิดแก้ปัญหามี ดังนี้
(ประพันธ์ศิริ สุ เสารัจ. 2551 : 153-157)
ขั้นที่ 1 ตระหนักรู ้ปัญหา เป็ นขั้นตื่นตัวและตระหนักรู ้ถึงสิ่ งที่นาให้เป็ นปั ญหา
อยากจะทาบางสิ่ งบางอย่างให้ดีข้ ึน ซึ่ งขั้นนี้จะทาให้ผคู ้ ิดสามารถกาหนดสิ่ งที่เป็ นประเด็นปั ญหาได้
38

ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูลและค้นหาสาเหตุของปั ญหา เป็ นขั้นพิจารณาถึงสิ่ งที่ทาให้เรา


เกิดความวิตกกังวล สับสน วุน่ วายใจ เมื่อพิจารณาสิ่ งต่าง ๆ อย่างรอบคอบและมองเห็นปั ญหาแล้ว
ผูค้ ิดจะเริ่ มทาการค้นหาสาเหตุของปั ญหา โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องให้ได้มาก
ที่สุด นามาจัดเรี ยงให้เป็ นหมวดหมู่ จากนั้นทาการวิเคราะห์เพื่อค้นหาสาเหตุแท้จริ ง
ขั้นที่ 3 กาหนดหรื อระบุปัญหา เป็ นขั้นตอนที่ผคู ้ ิดสามารถระบุได้วา่ อะไรคือตัวการ
หรื อปมปั ญหาแท้จริ ง ซึ่ งขั้นตอนนี้ผคู ้ ิดจะทาการระบุปัญหาทั้งหมดให้ได้มากที่สุด จากนั้น พิจารณา
อย่างรอบคอบว่าอะไรคือปั ญหาที่แท้จริ ง อะไรคือปั ญหาใหญ่ อะไรคือปั ญหาเล็ก พร้อมกับพิจารณา
ถึงสาเหตุของปั ญหาแท้จริ งต่าง ๆ เหล่านั้น เพื่อมองหาวิธีการหรื อแนวทางแก้ปัญหาต่อไป
ขั้นที่ 4 หาแนวทางแก้ปัญหา เป็ นขั้นที่คิดค้นหาวิธีในการแก้ปัญหาที่เหมาะสมให้ได้
หลากหลายวิธี โดยพยายามคิดค้นหาวิธีท้ งั ที่เป็ นปกติ และวิธีที่แปลกใหม่ออกไป สาหรับนาไป
พิจารณาเลือกวิธีการที่เหมาะสมต่อไป
ขั้นที่ 5 ค้นหาข้อสรุ ปและเลือกวิธีการแก้ปัญหา เป็ นขั้นค้นหาข้อสรุ ปว่า จากแนวทาง
แก้ปัญหาหลากหลายในขั้นที่ 4 เหล่านั้น วิธีใดน่าจะเป็ นวิธีที่เหมาะสมที่สุด สาหรับนาไปใช้ใน
การวางแผนแก้ปัญหาต่อไป
ขั้นที่ 6 ดาเนินการแก้ปัญหา หลังจากที่เลือกวิธีแก้ปัญหาได้แล้วในขั้นที่ 5 ผูค้ ิดก็จะ
ทาการวางแผนและลงมือดาเนินการแก้ปัญหาตามแผนที่วางไว้
ในการวางแผนแก้ปัญหานั้น ประกอบด้วยประเด็นหัวข้อสาคัญ ๆ ได้แก่
ปัญหาที่ตอ้ งการแก้ไข วัตถุประสงค์ ขั้นตอนดาเนินการแก้ปัญหา (ตามวิธีที่เลือกไว้) วิธีเก็บ
รวบรวมข้อมูล และวิธีวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดังนั้นในขั้นดาเนินการแก้ปัญหานี้ ผูค้ ิดจะต้องดาเนินการให้
เป็ นไปตามแผนที่กาหนด พร้อมกับสรุ ปผลการดาเนินการแก้ปัญหา
สาหรับวิธีการพัฒนากระบวนการคิดต่าง ๆ นั้น มีนกั วิชาการ นักการศึกษาหลายท่าน
ได้เสนอรู ปแบบ วิธีการไว้มากมาย เพื่อให้ครู ผสู ้ อนได้เลือกใช้ให้เหมาะสมกับเนื้อหาวิชา
วัตถุประสงค์การเรี ยนรู้ ความสนใจ วัย และธรรมชาติของผูเ้ รี ยน แต่อย่างไรก็ตาม ครู ผสู ้ อนก็อาจ
ไม่จาเป็ นต้องเลือกหารู ปแบบวิธีการทั้งหลายเหล่านั้นก็ได้ เพียงแต่ศึกษาและทาความเข้าใจให้
กระจ่างชัดในขั้นตอนต่าง ๆ ของกระบวนการคิดนั้น ๆ จากนั้นก็ทาการออกแบบกิจกรรมการเรี ยน
การสอนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับขั้นตอนของกระบวนการคิดดังกล่าว พร้อมกับจัดทา
รายละเอียดของกิจกรรมตามแบบแผนของแผนการจัดการเรี ยนรู้
39

4. การพัฒนาการคิดของผู้เรียน
4.1 แนวทางในการพัฒนาคุณภาพการคิด
ในการประชุมที่ The Wingspread Conference Center in Racine รัฐ Wisconsin เมื่อ
เดือนพฤษภาคม 1984 ผูเ้ ข้าร่ วมประชุมเป็ นนักการศึกษาทัว่ โลกจานวน 60 คน ได้สรุ ปว่า แนวคิด
ในการพัฒนาคุณภาพการคิดมี 3 แนวทาง คือ (บุญเลี้ยง ทุมทอง. 2550 : 26-27)
1. การสอนเพื่อให้เกิดการคิดเป็ น การสอนแนวทางนี้จะประสบผลสาเร็ จได้ก็ต่อเมื่อ
ครู จดั บรรยากาศในชั้นเรี ยนให้เอื้อต่อการให้ผเู ้ รี ยนคิดคาตอบ ซึ่ งต้องเป็ นคาตอบที่เกิดจาก
การวิเคราะห์ การจัดหมวดหมู่ ประมวลข้อมูลเกี่ยวกับสิ่ งนั้น ๆ ก่อนตอบคาถาม การสอนเพื่อให้เด็ก
คิดเป็ นอาจจะเป็ นการใช้วธิ ี แทรกในบทเรี ยนวิชาต่าง ๆ ที่รวมไว้ในหลักสู ตร
2. การสอนการคิดให้เป็ นวิชาหนึ่งแยกออกมาจากวิชาที่มีการเรี ยนการสอนตามปกติ
โรงเรี ยนอาจจะสอนวิชาการคิดให้แก่เด็ก เพื่อให้ได้หลักการและทักษะการคิดที่สามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ในการเรี ยนวิชาต่าง ๆ ได้
3. การสอนกระบวนการคิด เป็ นการสอนที่เน้นให้ผเู้ รี ยนได้ตระหนักถึง
กระบวนการคิดของตนเองและบุคคลอื่น เพื่อให้เกิดทักษะการคิดและความเข้าใจกระบวนการคิด
ของตนเองในอดีต สิ่ งที่ตนจะต้องศึกษาเพิ่มเติมให้ได้แนวทางการแก้ปัญหาในอนาคต เป็ นการสอน
ที่เน้นการวางแผนเกี่ยวกับการคิด การตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมของความคิดของตน
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยศูนย์บริ หาร
โครงการหนึ่งอาเภอ หนึ่งโรงเรี ยนในฝัน ได้ให้ แนวทางส่ งเสริ มความสามารถในการคิดในเอกสาร
ชุด “สานฝัน ด้วยการคิด” ดังนี้ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2548 :17-18)
1. ส่ งเสริ มตั้งแต่อยูใ่ นครรภ์ ให้ได้รับปั จจัยที่เอื้อต่ออวัยวะที่ใช้ในการคิด เช่น อาหาร
อากาศ น้ า ดนตรี ฯลฯ
2. จัดสภาพแวดล้อมทั้งที่บา้ นและโรงเรี ยน เช่น บรรยากาศที่เอื้อต่อการใช้คาถาม
3. ใช้ชุดฝึ กโดยเฉพาะ เช่น ต้องการฝึ กทักษะบางตัวซึ่ งเป็ นการฝึ กโดยตรงโดยไม่
ผูกพันกับเนื้อหา หรื อเกมฝึ กคิดต่าง ๆ
4. จัดสอนเป็ นรายวิชา หรื อเป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชา ซึ่ งนิยมทาในระดับอุดมศึกษา
5. จัดทาเป็ นหลักสู ตรระยะสั้น เช่น หลักสู ตร 3 วัน หรื อ 5 วัน
6. บูรณาการทักษะการคิดเข้าไปในการสอนเนื้อหารายวิชาต่าง ๆ
7. ใช้รูปแบบการเรี ยนการสอนที่นกั วิชาการคิดขึ้น โดยมีทฤษฎีหรื อหลักการเกี่ยวกับ
การคิดรองรับ มีกระบวนการในการดาเนินการสอน แล้วได้ผลตามวัตถุประสงค์
8. ใช้เทคนิคที่ส่งเสริ มการคิด เช่น เทคนิคการใช้คาถาม
40

จากแนวทางการส่ งเสริ มหรื อพัฒนาการคิดของเด็กดังกล่าวข้างต้น จะเห็นว่าสามารถ


กระทาได้ต้ งั แต่เป็ นทารกในครรภ์ และเมื่อเด็กย่างสู่ วยั เรี ยนก็มีแนวทางหลากหลายรู ปแบบ เช่น
การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการคิด การฝึ กให้เด็กคิดโดยตรงโดยใช้ชุดฝึ กเฉพาะ การจัดทาเป็ น
หลักสู ตรระยะสั้น การจัดสอนเป็ นรายวิชาเฉพาะ การบูรณาการทักษะการคิดเข้าไปในการสอน
เนื้อหารายวิชาต่าง ๆ โดยจัดกิจกรรมตามรู ปแบบการเรี ยนการสอนที่นกั วิชาการคิดขึ้น หรื อใช้
เทคนิคที่ส่งเสริ มการคิด เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม ในปั จจุบนั ครู ผสู ้ อนมักนิยมใช้แนวทาง
การบูรณาการทักษะการคิดเข้าไปในการสอนเนื้อหารายวิชาต่าง ๆ ซึ่ งในการวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ก็จะ
เน้นแนวทางดังกล่าว เพราะเป็ นรู ปแบบที่อยูใ่ นวิสัยที่ครู ผสู ้ อนสามารถกระทาได้โดยไม่กระทบต่อ
เวลาที่ใช้ในการสอนเนื้อหาในบทเรี ยน
4.2 บทบาทของครู ผ้ สู อนการคิด
บทบาทของครู ผสู ้ อนการคิด มี ดังนี้ (สุ วทิ ย์ มูลคา. 2547 ข : 151)
4.2.1 ขั้นเตรียมความพร้ อมของครู
4.2.1.1 ศึกษาระเบียบ กฎหมาย พ.ร.บ. ที่เกี่ยวข้องข้อกาหนดเกี่ยวกับการคิด
4.2.1.2 ศึกษาเรี ยนรู ้เกี่ยวกับทฤษฎี หลักการ วิธีการ รู ปแบบ เทคนิค ตัวอย่าง
เกี่ยวกับการคิดและการพัฒนาการคิด
4.2.2 ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
4.2.2.1 หมัน่ ยัว่ ยุให้ผเู ้ รี ยนเกิดข้อสงสัยหรื อปั ญหา
4.2.2.2 สนับสนุนให้ผเู้ รี ยนค้นหาคาตอบหรื อมีเสรี ภาพที่ จะเลือกทากิจกรรม
4.2.2.3 สนับสนุนให้ผเู ้ รี ยนใช้เหตุผลในการตอบคาถามหรื อแก้ปัญหา
4.2.2.4 ครู พดู ให้นอ้ ยลงและฟังให้มากขึ้น
4.2.2.5 สร้างบรรยากาศที่อบอุ่นและเป็ นกันเองกับผูเ้ รี ยน
4.2.2.6 เสริ มแรงอย่างสม่าเสมอด้วยวิธีการหรื อรู ปแบบที่หลากหลาย
4.2.2.7 เปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนทุกคนได้คิด
4.2.2.8 เปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนทุกคนได้นาเสนอหรื อสะท้อนความคิด
4.2.3 ขั้นวัดและประเมินผล
4.2.3.1 กาหนดจุดมุ่งหมายของการวัด
4.2.3.2 กาหนดตัวชี้วดั หรื อพฤติกรรมเฉพาะของสิ่ งที่มุ่งวัด หรื อคุณลักษณะของ
การคิดนั้น ๆ
4.2.3.3 สร้างเครื่ องมือสาหรับใช้วดั
4.2.3.4 การตรวจให้คะแนน
41

ในการประเมินผลกระบวนการคิด สุ วทิ ย์ มูลคา (2547 ข : 157) ได้เสนอไว้ 2


แนวทางใหญ่ ๆ คือ 1) การประเมินผลด้วยการใช้แบบทดสอบ แบ่งเป็ น 2 ลักษณะ ได้แก่ การใช้
แบบทดสอบมาตรฐาน และการใช้แบบทดสอบที่ครู คิดขึ้น เอง และ 2) การประเมินตามสภาพจริ ง
โดยมุ่งประเมินความสามารถด้านต่าง ๆ ของผูเ้ รี ยน จากผลงานปฏิบตั ิจริ ง มากกว่าการทดสอบ
ด้วยข้อสอบแบบเลือกตอบ ซึ่ งจะสัมพันธ์กบั พฤติกรรมและการปฏิบตั ิจริ งในชีวติ ประจาวัน
การประเมินผลและการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้เพื่อพัฒนาการคิดนั้นมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน
อย่างแยกไม่ได้ เพราะครู ผสู ้ อนจะต้องทาหน้าที่จดั กิจกรรมการเรี ยนรู ้และประเมินผลควบคู่ไปด้วย
4.3 กระบวนการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด
สุ วทิ ย์ มูลคา (2549 ข : 9-10) ได้เสนอกระบวนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
ดังภาพ 6

1. จัดทาหน่วยการเรี ยนรู ้ 1. ขั้นเตรี ยมจัดการเรี ยนรู ้


*วางแผน (จัดทาหลักสูตร)
*กาหนดสาระการเรี ยนรู ้
2. ออกแบบการเรี ยนรู ้
*วิเคราะห์กระบวนการคิดที่เกี่ยวข้อง
- ทาความรู ้จกั ผูเ้ รี ยน วิเคราะห์ผเู ้ รี ยน
*ออกแบบแผนการจัดการเรี ยนรู ้
- เลือกวิธีจดั การเรี ยนรู ้/วิธีสอน
- กาหนดจุดประสงค์การเรี ยนรู ้
- เลือกสื่ อ/นวัตกรรม/แหล่งเรี ยนรู ้
- กาหนดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
- เลือกวิธีวดั และประเมินผลระดับชั้นเรี ยน
- กาหนดสื่ อ/แหล่งเรี ยนรู ้
- เลือกกระบวนการคิด
- กาหนดแนวทาง/วิธีการประเมินผลการเรี ยนรู ้
*จัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ในแต่ละครั้ง
3. จัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ - จุดประสงค์ สาระ กิจกรรม และการประเมินผล
ที่เน้นการคิด การเรี ยนรู ้

4. จัดการเรี ยนรู ้ตาม


2. ขั้นลงมือปฏิบตั ิ (ขั้นสอน)
แผนการจัดการเรี ยนรู ้
*การจัดการเรี ยนรู ้ตามกิจกรรมที่กาหนด
ที่เน้นการคิด
*วัดผล ประเมิน
5. วัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ - บันทึกผลหลังสอน
*พัฒนา/ปรับปรุ ง/แก้ไข

6. พัฒนา/ปรับปรุ ง/แก้ไข

ภาพ 6 กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด


42

จากภาพ 6 ข้างต้น จะเห็นได้วา่ กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด เริ่ มจาก


ขั้นแรกครู ผสู ้ อนจัดทาหน่วยการเรี ยนรู ้ จากนั้นดาเนินขั้นตอนต่อไปเรื่ อย ๆ ตามลาดับคือ ออกแบบ
การเรี ยนรู้ จัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้ นการคิด จัดการเรี ยนรู้ตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ วัดและ
ประเมินผลการเรี ยนรู ้ จนขั้นสุ ดท้ายคือ พัฒนา ปรับปรุ งหรื อแก้ไขสิ่ งต่าง ๆ ที่เป็ นปั ญหา
4.4 การออกแบบเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด
การออกแบบการเรี ยนรู ้เป็ นขั้นตอนสาคัญขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรี ยนรู้
เพราะก่อนที่ครู จะลงมือเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้จะต้องมีการออกแบบการเรี ยนรู ้ที่เหมาะสม
โดยนาเอาข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาเชื่อมโยงสัมพันธ์กนั อย่างเหมาะสม ซึ่ งข้อมูลที่จาเป็ น สาหรับ
นามาใช้ในการออกแบบการเรี ยนรู ้น้ นั สุ วทิ ย์ มูลคา (2549 ข : 12) ได้เสนอไว้ 5 ประการ
ได้แก่ 1) ข้อมูลเกี่ยวกับผูเ้ รี ยน 2) ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีจดั การเรี ยนรู ้ (รู ปแบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิค
การสอน) 3) ข้อมูลเกี่ยวกับสื่ อ อุปกรณ์ นวัตกรรม แหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ 4) ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการวัด
และประเมินผล 5) ข้อมูลเกี่ยวกับการคิด (ทักษะการคิด ลักษณะการคิด และกระบวนการคิดต่าง ๆ)
ดังนั้นครู ผสู ้ อนที่จะออกแบบการเรี ยนรู ้ เพื่อนาไปสู่ การเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่
เน้นการคิด จึงจาเป็ นจะต้องศึกษาข้อมูลทั้ง 5 เรื่ องดังกล่าวข้างต้นให้มีความรู ้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ ง
โดยดาเนินกิจกรรมสาคัญ ๆ ได้แก่ 1) ทาความรู้จกั ผูเ้ รี ยน วิเคราะห์ผเู้ รี ยน 2) เลือกวิธีจดั การเรี ยนรู้ /
วิธีสอน 3) เลือกสื่ อ นวัตกรรม หรื อแหล่งเรี ยนรู ้ 4) เลือกวิธีวดั และประเมินผลระดับชั้นเรี ยน
และ 5) เลือกกระบวนการคิด ซึ่ งกิจกรรมดังกล่าวมีรายละเอียดดังนี้
4.4.1 การวิเคราะห์ ผ้ เู รียน
การวิเคราะห์ผเู ้ รี ยน เป็ นร่ องรอยหลักฐานที่บ่งบอกว่ารู ้จกั ผูเ้ รี ยนแต่ละคนเป็ น
อย่างดี ซึ่ งการวิเคราะห์ผเู ้ รี ยนมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานของผูเ้ รี ยนรายบุคคล จาแนก
กลุ่มผูเ้ รี ยนตามศักยภาพ และใช้เป็ นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาผูเ้ รี ยนได้ตรงตามศักยภาพ
การวิเคราะห์ผเู ้ รี ยนจาเป็ นต้องอาศัยข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ จากแหล่ง
ต่าง ๆที่หลากหลายและมีความน่าเชื่อถือ เช่น บันทึกผลหลังสอน บันทึกการสังเกตพฤติกรรม
ผลการประเมินพัฒนาการรอบด้าน ผลการวัดตามจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
รายภาค/รายปี ผลจากการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริ ง เป็ นต้น ซึ่งข้อมูลผูเ้ รี ยนรายบุคคลที่
สาคัญ ได้แก่ 1) ประวัติของผูเ้ รี ยน เช่น ประวัติส่วนตัว สถานะของครอบครัวในด้านเศรษฐกิจ
ความเป็ นอยู่ การอบรมเลี้ยงดู ปั ญหาส่ วนตัว ฯลฯ 2) ผลการเรี ยนที่ผา่ นมา ผลการประเมินความรู ้
พื้นฐาน รวมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการทั้งทางด้านร่ างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
3) คุณลักษณะของผูเ้ รี ยน เช่น เจตคติต่อการเรี ยน จุดเด่น จุดด้อยที่ควรปรับปรุ ง ฯลฯ (สุ วทิ ย์ มูลคา.
2549 ข: 14)
43

4.4.2 การเลือกวิธีจัดการเรียนรู้
วิธีจดั การเรี ยนรู ้มีอยูม่ ากมายหลายวิธี แต่ละวิธีก็มีขอ้ ดีและข้อเสี ยแตกต่างกัน
ไม่มีวธิ ี จดั การเรี ยนรู ้ใดวิธีหนึ่งที่เหมาะกับเนื้อหาและจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ทุกชนิด ดังนั้ นจึง
จาเป็ นต้องรู ้จกั เลือกวิธีจดั การเรี ยนรู ้มาใช้ให้เหมาะสม โดยพิจารณาตามเกณฑ์ต่อไปนี้
(สุ วทิ ย์ มูลคา. 2549 ข: 16)
4.4.2.1 ควรเหมาะสมกับความรู ้ในเนื้อหาวิชา ความสามารถและความสนใจ
ของครู ผสู้ อน
4.4.2.2 ควรเหมาะสมกับวัย ความสามารถและความสนใจของผูเ้ รี ยน
4.4.2.3 สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของบทเรี ยน และความคิดรอบยอดที่
ครู ผสู ้ อนต้องการให้เกิดแก่ผเู ้ รี ยน
4.4.2.4 ควรเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และจานวนผูเ้ รี ยน
4.4.2.5 เป็ นวิธีที่เสนอแนะแนวทางให้ผเู ้ รี ยนได้รับความรู ้ ความเข้าใจต่อ
บทเรี ยนได้เป็ นอย่างดี โดยไม่ตอ้ งใช้เวลามาก และสามารถนาความรู ้ไปใช้ได้จริ ง
4.4.2.6 เป็ นวิธีการที่ก่อให้เกิดทักษะต่าง ๆ แก่ผเู ้ รี ยน เช่น ทักษะการแสวงหา
ความรู ้ ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการแสดงออกทางสังคม เป็ นต้น
4.4.2.7 เป็ นวิธีการที่ก่อให้เกิดเจตคติที่ดี ถูกต้องตามสภาพความต้องการของ
สังคมและเป็ นที่ยอมรับ
4.4.2.8 เป็ นวิธีการที่ก่อให้เกิดแนวทางที่จะนาความรู ้ ทักษะ และเจตคติที่ได้รับ
ไปใช้และปฏิบตั ิในชีวติ ประจาวันได้
ในการจัดการเรี ยนรู้ให้ผเู้ รี ยนได้คิด มีเทคนิคมากมายที่ครู ผสู้ อนสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ ได้ อาทิเช่น (ประพันธ์ศิริ สุ เสารัจ. 2551 : 307 )
1) การใช้คาถามกระตุน้ เพื่อให้คิด และแสวงหาคาตอบ
2) ให้ผเู ้ รี ยนแสดงความคิดเห็นมาก ๆ โดยไม่ตอ้ งคานึงถึงความถูกผิด
3) ให้ผเู ้ รี ยนฝึ กปฏิบตั ิกิจกรรมการคิดแบบต่าง ๆ (ฝึ กสังเกต ฝึ กบันทึก
ฝึ กการฟัง ฝึ กการปุจฉา วิสัชนา ฝึ กตั้งสมมติฐานหรื อตั้งคาถาม ฝึ กค้นหาคาตอบจากแหล่งต่าง ๆ
ฝึ กทาโครงงานและวิจยั ฝึ กแยกแยะข้อมูล ฯลฯ)
4) ฝึ กคิดเป็ นขั้นตอน
5) ฝึ กคิดจากง่ายไปหายาก
6) กระตุน้ และเสริ มแรงให้ผเู้ รี ยนคิดเป็ นระยะ
44

7) รับฟังความคิดเห็นของผูเ้ รี ยนอย่างสนใจ เนื่องจากอาจมีความคิดที่ดีหรื อ


แปลกแตกต่างออกไปแฝงอยู่
8) ไม่เฉลยคาตอบ แต่จะชี้แนะหรื อบอกใบ้ให้ผเู ้ รี ยนค้นหาคาตอบเอง
9) จัดแสดงสื่ ออุปกรณ์การฝึ กคิดที่หลากหลาย และให้ผเู้ รี ยนมีประสบการณ์
ตรงจากสื่ ออุปกรณ์ต่าง ๆ เหล่านั้น
10) ปลุกใจให้คิดอยูเ่ สมอ โดยใช้สถานการณ์ในชีวติ ประจาวัน และสถานการณ์
ปลุกใจให้ผเู ้ รี ยนคิดให้เป็ นประจาปกติวสิ ัยและต่อเนื่อง

หลังจากที่ได้ทาการออกแบบการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิดแล้ว ครู ผสู้ อนจะต้องลงมือเขียน


แผนการจัดการเรี ยนรู้ (ที่เน้นการคิด) ซึ่ งโดยทัว่ ไปแผนการจัดการเรี ยนรู ้มีส่วนประกอบสาคัญ ดังนี้
(สุ วทิ ย์ มูลคา. 2549 ข: 63)
ส่ วนที่ 1 ส่ วนนาหรือหัวแผนการจัดการเรียนรู้ เป็ นส่ วนประกอบที่แสดงให้เห็น
ภาพรวมว่าเป็ นแผนการจัดการเรี ยนรู ้ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ใด ใช้กบั ผูเ้ รี ยนระดับชั้นใด เรื่ องอะไร
ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมนานเท่าใด
ส่ วนที่ 2 ตัวแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้ วย
1. สาระ เป็ นกลุ่มเนื้อหาและทักษะที่ตอ้ งการสอนตามหลักสู ตร
2. มาตรฐานการเรี ยนรู ้ เป็ นผลการเรี ยนรู ้ที่ตอ้ งการให้เกิดกับผูเ้ รี ยนหลังจากได้
ผ่านกระบวนการเรี ยนรู ้ตามกลุ่มสาระนั้น ๆ ครบ 12 ปี
3. มาตรฐานการเรี ยนรู ้ช่วงชั้น เป็ นผลการเรี ยนรู ้ที่ตอ้ งการให้เกิดกับผูเ้ รี ยน
หลังจากได้ผา่ นกระบวนการเรี ยนรู ้ตามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ในแต่ละช่วงชั้น
4. ผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง เป็ นการวิเคราะห์จากมาตรฐานการเรี ยนรู้ ช่วงชั้นที่
กาหนดไว้แต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ มาจัดเป็ นผลการเรี ยนรู ้รายปี หรื อรายภาค โดยให้สัมพันธ์กบั
สาระการเรี ยนรู้รายปี หรื อรายภาค
5. สาระสาคัญ มีความหมายใน 2 ประเด็นคือ 1) สิ่ งมุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนรู ้หลังจากผ่าน
กระบวนการเรี ยนรู้แล้ว และ 2) เป็ นสิ่ งที่ตอ้ งการปลูกฝังให้เกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยนในเรื่ องนั้น ๆ อันจะ
องค์ความรู้ ความสามารถที่ติดตัวผูเ้ รี ยนไปในอนาคต ซึ่งหลักการเขียนสาระสาคัญ คือ
1) ครอบคลุมจุดประสงค์ และขอบข่ายเนื้อหาสาระที่กาหนดไว้ในหลักสู ตรหรื อหน่วยการเรี ยนรู ้
และ 2) กะทัดรัด ได้ความชัดเจนสมบูรณ์ ส่ วนรู ปแบบการเขียนสาระสาคัญนั้น เขียนได้ 2 แบบ คือ
แบบความเรี ยง และแบบแบ่งเป็ นหัวข้อย่อย
45

6. จุดประสงค์การเรี ยนรู้ เขียนได้ 2 แบบ คือ เขียนเฉพาะจุดประสงค์การเรี ยนรู้


หรื อเขียนจุดประสงค์การเรี ยนรู้ที่ประกอบด้วย จุดประสงค์ปลายทางและจุดประสงค์นาทาง
7. สาระการเรี ยนรู้ /เนื้อหา หมายถึงความรู้หรื อประสบการณ์ที่จาเป็ นและนามาใช้
เป็ นสื่ อในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
ซึ่ งมีหลักการเขียน ดังนี้ 1) ระบุขอบข่ายเรื่ องที่จะให้เรี ยนในช่วงเวลานั้น และ 2) สอดคล้องกับ
สาระสาคัญที่กาหนดไว้
8. กิจกรรม/กระบวนการเรี ยนรู ้ มีหลักการเขียนดังนี้ 1) เป็ นลาดับขั้นตอนตาม
กระบวนการเรี ยนรู้ที่เหมาะสมกับธรรมชาติของเนื้อหาวิชาที่จะสอน 2) สอดคล้องกับความสนใจ
และสภาพชีวติ จริ งของผูเ้ รี ยน 3) ผูเ้ รี ยนได้เป็ นผูส้ ร้างความรู้และสรุ ปความรู้ดว้ ยตนเอง 4) ให้
ผูเ้ รี ยนได้ลงมือปฏิบตั ิจริ ง 5) ใช้เทคนิคการจัดการเรี ยนรู ้ที่เหมาะสมที่จะช่วยให้ผเู ้ รี ยนกระตือรื อร้น
ในการเรี ยนรู้
9. สื่ อ/นวัตกรรม/แหล่งเรี ยนรู ้ ลักษณะของสื่ อ/นวัตกรรม/แหล่งเรี ยนรู ้ที่ดี มีดงั นี้
1) สอดคล้องกับกิจกรรมการเรี ยนรู ้ 2) มีคุณภาพ และ 3) ผูเ้ รี ยนมีโอกาสได้ใช้อย่างทัว่ ถึง
10. การวัดและประเมินผล มีหลักการดังนี้ 1) ต้องสอดคล้องและครอบคลุม
มาตรฐานการเรี ยนรู้ 2) มีจุดหมายทั้งเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยน เพื่อปรับปรุ งการจัดการเรี ยนรู ้ และเพื่อ
ตัดสิ นผลการเรี ยน และ 3) ใช้เครื่ องมือที่มีคุณภาพและหลากหลาย
11. บันทึกผลหลังการจัดการเรี ยนรู้ การเขียนบันทึกผลหลังการจัดการเรี ยนรู้ควร
ครอบคลุม 3 หัวข้อ ดังนี้ 1) ผลการจัดการเรี ยนรู ้ โดยเขียนบรรยายผลที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรม
การเรี ยนรู ้ให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรี ยนรู้ 2) ปัญหาอุปสรรค และ 3) แนวทางแก้ไขสภาพ
ปั ญหาที่เกิดขึ้น
12. เอกสารประกอบการจัดการเรี ยนรู้ ท้ายแผนการจัดการเรี ยนรู้จะมีเอกสาร
ประกอบการจัดการเรี ยนรู ้ ซึ่ งอาจเขียนในรู ปของภาคผนวก ตัวอย่างเช่น ใบความรู ้ รู ปภาพ
ประกอบการเรี ยนรู้ บัตรกิจกรรมหรื อใบงาน แบบทดสอบ แบบฝึ กหัด แบบประเมินและเกณฑ์
ตัดสิ น ฯลฯ
46

ข้ อมูลพืน้ ฐานของโรงเรียนเป้ าหมาย (โรงเรียนบ้ านท่ าวัด “คุรุราษฎร์ บารุงวิทย์ ”)

จากเอกสารสารสนเทศของโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” สังกัดสานักงานเขต


พื้นที่การศึกษาสกลนครเขต 1 ปี การศึกษา 2551 มีประเด็นสาคัญดังนี้
1. สั งกัดและทีต่ ้งั
โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร
เขต 1 ตั้งอยูห่ มู่ที่ 3 ตาบลเหล่าปอแดง อาเภอเมือง จังหวัดสกลนคร

2. ประวัติ
โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” เริ่ มก่อตั้งเมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2466
ณ บริ เวณวัดมหาพรหมโพธิราชในปัจจุบนั โดยมีครู ใหญ่คนแรกชื่อ นายเสาร์ หาญมนตรี อาคาร
เรี ยนเดิมเป็ นศาลาวัด 4 ห้องเรี ยน พื้นที่ 132 ตารางเมตร ซึ่งคับแคบและมีปัญหาเมื่อถึงวันพระ
ประชาชนต้องใช้สถานที่ประกอบพิธีทางศาสนา ทาให้การเรี ยนการสอนต้องหยุดชะงักไม่ต่อเนื่อง
พ.ศ. 2473 นายเขียน ศรี อานาม ครู ใหญ่เห็นว่าศาลาการเปรี ยญชารุ ดมาก จึง ได้
ขอความร่ วมมือจากนายบัวอ่อน พรหมสาขาฯ และขุนภูมิศกั ดิ์ ศึกษาธิ การอาเภอ ร่ วมมือกับราษฎร
ในหมู่บา้ นปลูกสร้างศาลาหลังใหม่แล้วเสร็ จเมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2479
พ.ศ. 2495 นายสว่าง วงศ์รัตนะ ตาแหน่งครู ใหญ่ เห็นว่าศาลาการเปรี ยญที่ใช้
ชารุ ดและเป็ นอุปสรรคในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา จึงได้ยา้ ยโรงเรี ยนออกจากวัดโดย
ร่ วมมือกับราษฎรไปปลูกสร้างอาคารเรี ยนหลังใหม่เป็ นเอกเทศในที่ดินของโรงเรี ยนที่จบั จองไว้
พื้นที่ 12 ไร่ เศษ คือที่ดินที่เป็ นที่ต้ งั โรงเรี ยนในปั จจุบนั โดยสร้างแบบ ป.1 มีมุขกลาง 4 ห้องเรี ยน
ทางราชการสมทบให้เงินสนับสนุน 50,000 บาท สร้างเสร็ จเมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2502 ตั้งชื่อ
ใหม่วา่ โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” ตั้งแต่น้ นั มาโรงเรี ยนได้รับการสนับสนุนจากทาง
ราชการและราษฎรในหมู่บา้ น จัดสรรงบประมาณก่อสร้างอาคารต่าง ๆ จนถึงปัจจุบนั ดังนี้
พ.ศ. 2521 ได้รับงบประมาณจัดสรรอาคาร สปช.216 ราคา 480,000 บาท
พ.ศ. 2522 ได้รับงบประมาณสร้างส้วมแบบ อ.11 ขนาด 2 ที่ ราคา 15,000 บาท
พ.ศ. 2525 ได้รับงบประมาณสร้างส้วมแบบ สามัญ 401 ขนาด 5 ที่ ราคา 888,888 บาท
พ.ศ. 2526 ได้เข้าร่ วมโครงการ กศ.พช.ได้รับงบประมาณสนับสนุนเป็ นจานวนเงิน
78,800 บาท
พ.ศ. 2527 ได้รับประมาณก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ แบบ203/200 เป็ นเงิน
250,000 บาท
47

พ.ศ. 2531 ได้รับงบประมาณต่อเติมอาคาร สปช. 216 ชั้นล่างจนแล้วเสร็ จ


พ.ศ.2534 ได้รับงบประมาณสร้างประปาโรงเรี ยนเป็ นเงิน 10,600 บาท
พ.ศ. 2540 ได้รับจัดสรรงบประมาณสร้างห้องวิทยาศาสตร์และห้องปฏิบตั ิการทางภาษา
เป็ นจานวนเงิน 85,000 บาท
พ.ศ. 2542 ได้รับเงินกองทุนเพื่อการศึกษา จากคุณยุทธนา จารัสโรจน์ เป็ นเงิน 45,790 บาท
พ.ศ. 2550 ได้ร้ื อถอนอาคารโรงอาหารหลังเก่าและได้สร้างหลังใหม่แทนที่เดิมโดยใช้งบ
ที่ได้รับการบริ จาคจากชาวบ้านและชาวใต้หวัน งบประมาณ 250,000 บาท

3. สภาพของชุ มชน
บ้านท่าวัดเหนือ และบ้านท่าวัดใต้ เดิมเป็ นหมู่บา้ นเดียวกันเรี ยกว่าบ้านท่าวัด หมู่ 3
ตาบลเหล่าปอแดง อาเภอเมือง จังหวัดสกลนคร ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2531 ได้แบ่งเขตการปกครอง
ออกเป็ น 2 หมู่บา้ นเรี ยกชื่อว่า บ้านท่าวัดเหนือ หมู่ที่ 3 ผูใ้ หญ่บา้ นคนปั จจุบนั คือนายชาญชัย
พลเยีย่ ม และบ้านท่าวัดใต้ หมู่ที่ 9 ผูใ้ หญ่บา้ นคนปั จจุบนั นายอุทิศ หอมจันทร์ หมู่บา้ นทั้งสอง
ตั้งอยูร่ ิ มหนองหาร ซึ่ งเป็ นหนองน้ าขนาดใหญ่รองรับน้ าที่ ไหลมาจากลาน้ าพุงและระบายออกไป
ทางลาน้ าก่าออกสู่ ลาน้ าโขงที่อาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม ลักษณะของชุมชน ตั้งบ้านเรื อน
ชิดกัน ส่ วนมากจะเป็ นบ้านไม้ การขยายบ้านเรื อนออกไปทาได้ยาก เพราะติดทุ่งนาและหนองหาร
พื้นที่โดยทัว่ ไปเป็ นที่ลุ่มและมีที่ดินจากัด ประชาชนส่ วนหนึ่งบุกรุ กหนองหารเพื่อ ปลูกสร้างที่อยู่
อาศัย สภาพทัว่ ไปของบ้านท่าวัดทั้ง 2 หมู่เหมือนกับชาวบ้านอีสานทัว่ ไปคืออยูก่ นั เป็ นครอบครัว
ใหญ่ ยึดถือจารี ตประเพณี ที่ถือกันมาตั้งแต่โบราณ เช่ นประเพณี บุญกองข้าว บุญห่อข้าวสาก
ประเพณี สงกรานต์ ฯลฯ
ประชากรหมู่ที่ 3 บ้านท่าวัดเหนือมี 293 ครัวเรื อน เป็ นชาย 672 คน หญิง 674 คน
ส่ วนหมู่ที่ 11 บ้านท่าวัดใต้มี 174 ครัวเรื อน เป็ นชาย 380 คน หญิง 375 คน รวมทั้งสองหมู่บา้ น 476
ครัวเรื อน เป็ นชาย 1,052 คน หญิง 1,049 คน ซึ่ งทุกคนเชื้อชาติไทย นับถือศาสนาพุทธ ส่ วนมาก
เรี ยนจบการศึกษาภาคบังคับ( ป.4 หรื อ ป.6 และ ม.3) แต่ปัจจุบนั เปลี่ยนค่านิยมและเห็นประโยชน์
ของการศึกษา นิยมส่ งบุตรหลานศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ภาษาที่ใช้ในการสื่ อสารคือ “ภาษาย้อ”
อาชีพส่ วนใหญ่ (ประมาณร้อยละ 90) ทานา โดยหลังฤดูเก็บเกี่ยวจะทาการปลูกพืชในฤดูแล้งเป็ น
อาชีพเสริ ม เช่น มะเขือเทศ และพืชผักสวนครัว มีรายได้เฉลี่ยค่อนข้างต่า เพียงครอบครัวละ
ประมาณ 15,000 บาท / ปี
48

4. ข้ อมูลพืน้ ฐานของโรงเรียน
4.1 วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์ของโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” คือ ยึดผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
สร้างสรรค์คุณธรรมความดี โดยมีชุมชนร่ วมมือ นาสื่ อเทคโนโลยีสู่การเรี ยนรู ้ มุ่งสู่ การศึกษาต่อและ
ประกอบอาชีพ
4.2 พันธกิจ
พันธกิจของโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” ได้แก่
4.2.1 จัดการศึกษาให้กบั นักเรี ยนตั้งแต่ช้ นั อนุบาลถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
4.2.2 นักเรี ยนได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานการเรี ยนรู้เต็มศักยภาพ
4.2.3 นักเรี ยนได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถทางเทคโนโลยี และใช้
เทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนรู้ การสื่ อสาร และการจัดการที่เหมาะสม
4.3 คติพจน์
คติพจน์ของโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” คือ “ความรู้ดี มีพลานามัย
วินยั เด่น”
4.4 ตราสั ญลักษณ์ และสี ประจาโรงเรียน
ตราสัญลักษณ์ของโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” คือ
“ดอกบัว พระอาทิตย์ หนองหาร” ส่ วนสี ประจาโรงเรี ยนคือ สี ม่วง-ขาว
4.5 เขตบริการของโรงเรีย น
เขตบริ การของโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” มี 2 หมู่บา้ น คือบ้านท่าวัด
เหนือหมู่ที่ 3 และบ้านท่าวัดใต้ หมู่ที่ 9 ตาบลเหล่าปอแดง อาเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร
4.6 การจัดการศึกษา
โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” จัดการศึกษา 3 ระดับ คือ ระดับก่อน
ประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
4.7 จานวนห้ องเรียน
จานวนห้องเรี ยนของโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” มีท้ งั หมด 11
ห้องเรี ยน แบ่งเป็ นระดับก่อนประถมศึกษา 2 ห้องเรี ยน ระดับประถมศึกษา 6 ห้องเรี ยน และ
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น3 ห้องเรี ยน
4.8 จานวนบุคลากร
จานวนบุคลากรของโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” มีท้ งั หมด 16 คน
แบ่งเป็ น ผูอ้ านวยการโรงเรี ยน ข้าราชการครู ชาย 7 คน หญิง 7 คน และนักการภารโรงอีก 1 คน
49

4.9 อาคารเรียนและอาคารประกอบ
โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” มีอาคารเรี ยนและอาคารประกอบ ดังนี้
4.9.1 อาคารเรี ยน แบบ ป.1ฉ 2 จานวน 1 หลัง 3 ห้อง
4.9.2 อาคารเรี ยน แบบ สปช.216 จานวน 1 หลัง 6 ห้อง
4.9.3 อาคารเรี ยน แบบ สปช.105/26 จานวน 1 หลัง 6 ห้อง
4.9.4 อาคารเอนกประสงค์ แบบ 203/26 จานวน 1 หลัง 1 ห้อง
4.9.5 ส้วม จานวน 3 หลัง 11 ห้อง
4.9.6 อาคารโรงอาหาร จานวน 1 หลัง
4.10 จานวนนักเรียนและห้ องเรียน ปี การศึกษา 2551
โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” ปี การศึกษา 2551 มีจานวนนักเรี ยน
ทั้งหมด 270 คน จาก 11 ห้องเรี ยน โดยมีรายละเอียด ดังนี้
4.10.1 ระดับก่อนประถมศึกษา มี 2 ห้องเรี ยน คือ อนุบาลปี ที่ 1 และอนุบาลปี ที่ 2
ซึ่งมีนกั เรี ยน 26 คน และ 23 คน ตามลาดับ
4.10.2 ระดับประถมศึกษา มี 6 ห้องเรี ยน คือ ประถมศึกษาปี ที่ 1 ถึงประถมศึกษาปี ที่
6 ระดับชั้นละ 1 ห้องเรี ยน โดยมีจานวนนักเรี ยนทั้งหมด 146 คน แบ่งเป็ น ประถมศึกษาปี ที่1,2,3,4,5
และ 6 จานวน 23,19,25,25,32 และ 22 คน ตามลาดับ
4.10.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มี 3 ห้องเรี ยน คือ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ถึงมัธยมศึกษา
ปี ที่ 3 ระดับชั้นละ 1 ห้องเรี ยน โดยมีจานวนนักเรี ยนทั้งหมด 75 คน แบ่งเป็ น มัธยมศึกษาปี ที่1,2
และ 3 จานวน 23,29 และ 23 คน ตามลาดับ

งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง

ผูว้ จิ ยั ได้ศึกษางานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาครู ดังนี้


1. ประวิต เอราวรรณ์ และคณะ (2541) ได้ศึกษารู ปแบบการฝึ กอบรมครู โดยใช้โรงเรี ยน
เป็ นฐาน : การพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอนแบบมีส่วนร่ วมเพื่อเสริ มสร้างทักษะชีวติ ใน
การป้ องกันโรคเอดส์ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการเรี ยนรู ้ของครู และการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมการสอนของครู ที่ผา่ นการฝึ กอบรมการสอนเจตคติและทักษะชีวติ เพื่อป้ องกันโรคเอดส์
และเพื่อศึกษาปัจจัยและเงื่อนไขการพัฒนาครู ในรู ป แบบการฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน
ลักษณะการวิจยั เป็ นการวิจยั เชิงบรรยายโดยใช้การสารวจด้วยแบบสอบถาม การสังเกตแบบมี
ส่ วนร่ วม การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการวิเคราะห์เอกสารรายงานวิจยั กลุ่มตัวอย่าง
50

ประกอบด้วย ศึกษานิเทศก์จงั หวัด 22 คน ผูบ้ ริ หาร ครู และนักเรี ยนในโรงเรี ยนนาร่ อง 22 โรงและ
ในจานวนนี้เลือกศึกษาเชิงลึกจานวน 4 โรงเรี ยน
ผลการวิจยั พบว่า ปั จจัยที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการฝึ กอบรมครู ในรู ปแบบ School Based
Program มี 5 ด้าน คือ 1) ด้านความพร้อมของโรงเรี ยน ได้แก่ ผูบ้ ริ หาร ครู และโรงเรี ยนมี
ความพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง 2) ด้านปั จจัยภายนอกโรงเรี ยน ได้แก่ การสนับสนุนโครงการจาก
ผูบ้ ริ หารระดับอาเภอหรื อจังหวัด และสภาพชุมชนที่ต้ งั โรงเรี ยนมีภาวะคุกคามจากปั ญหาเอดส์
3) ด้านการวางแผนการอบรม ได้แก่ การคัดเลือกโรงเรี ยน และการศึกษาข้อมูลพื้นฐานของโรงเรี ยน
4) ด้านการฝึ กอบรม ได้แก่ เป้ าหมายการอบรม หลักสู ตร เนื้อหา ตารางการอบรม วิทยากร สถานที่
ฝึ กอบรม กระบวนการอบรม การประเมินผล และองค์ประกอบในการฝึ กอบรมอื่น ๆ 5) ด้าน
กระบวนการนิเทศ ได้แก่ การวางแผนการนิเทศ รู ปแบบหรื อวิธีการนิเทศ การพัฒนากระบวนการ
นิเทศภายในโรงเรี ยน บทบาทของศึกษานิเทศก์ และการประเมินความต้องการจาเป็ นในการพัฒนา
ของครู สาหรับการเรี ยนรู ้ภายหลังการฝึ กอบรมของครู จะแบ่งออกเป็ น 4 ระยะ 1) ระยะลองผิดลอง
ถูกในการการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้กระบวนการเรี ยนรู ้แบบมีส่วนร่ วม 2) ระยะเผชิญ
ปั ญหาในห้องเรี ยนเกี่ยวกับพฤติกรรมการเรี ยนของนักเรี ยนและบทบาทการสอนของครู 3) ระยะ
คลี่คลายความรู ้ความเข้าใจต่อกระบวนการเรี ยนรู ้แบบมีส่วนร่ วม และ 4) ระยะเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมการสอนของครู ซึ่ งปั จจัยที่มีต่อผลการเรี ยนรู ้ของครู คือ พื้นฐานความรู ้และทักษะ
การสอนเดิมของครู และการฝึ กอบรมที่ใช้รูปแบบการฝึ กอบรมแบบมี ส่วนร่ วม
2. ทวีศกั ดิ์ นพกร และคณะ (2541. อ้างถึงใน สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน). 2546 : 7-14) ได้ทาวิจยั เรื่ อง การปฏิรูปการศึกษาทั้งโรงเรี ยน
แบบมีส่วนร่ วม : กรณี ศึกษาโรงเรี ยนเทศบาล 2 (วัดคูหาสวรรค์) เทศบาลเมืองพิษณุโลก ภายใต้
ความช่วยเหลือขององค์การยูนิเซฟ ลักษณะงานวิจยั เป็ นการผสมผสานระหว่าง การวิจยั ปฏิบตั ิการ
แบบมีส่วนร่ วม การวิจยั เชิงสารวจ และการสัมภาษณ์แนวลึก โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อ 1) ส่ งเสริ มให้
ครู รู้จกั ตนเอง เข้าใจผูอ้ ื่น เข้าใจนักเรี ยน และมีทกั ษะการทางานเป็ นทีม 2) ส่ งเสริ มใช้กระบวนการ
สอนแบบทักษะชีวติ 3) ให้ครู เข้าใจหลักสู ตร สามารถวิเคราะห์หลักสู ตร และสร้างแบบการสอน
แบบบูรณาการ และ 4) ให้ครู สอนโดยใช้ผเู ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง ด้วยทักษะการเรี ยนรู ้แบบมีส่วนร่ วม
การพัฒนาครู ท้ งั โรงเรี ยนมีการฝึ กอบรมต่อเนื่องทั้งปี 12 ครั้ง กลุ่มเป้ าหมายหลักเป็ นครู โรงเรี ยน
เทศบาล 2 (วัดคูหาสวรรค์) 31 คน เป็ นครู ประจาการ 29 คน ครู ช่วยสอน 9 คน ซึ่ งครู ส่วนใหญ่เป็ น
ผูห้ ญิง มีครู ผชู้ ายเพียง 5 คนเท่านั้น
51

ผลการวิจยั พบว่า ครู ส่วนใหญ่เปลี่ยนวิธีคิด วิธีสอน วิธีปฏิบตั ิตนกับเพื่อนร่ วมงานและ


นักเรี ยน ผูบ้ ริ หารและคณะครู ตลอดจนนักเรี ยนเปลี่ยนแบบแผนความสัมพันธ์ระหว่างกันไปเป็ น
ความสัมพันธ์ในเชิงบวก เชิงรักสนับสนุนมากขึ้น นักเรี ยนมีโอกาสทางการเรี ยนรู ้ที่สร้างสรรค์
สนุกสนานมากขึ้น และรู ้สึกว่าได้มีกระบวนการสร้างสรรค์คนสามารถคิดได้อย่างหลากหลาย
และครู ให้โอกาสเรี ยนรู้โดยผ่านการเล่น ซึ่ งไม่เคยมีโอกาสเช่นนี้มาก่อน อย่างไรก็ตามในรอบปี เศษ
ที่ผา่ นมาครู ส่วนใหญ่ยงั เห็นว่า ความพยายามในการบูรณาการการเรี ยนการสอนร่ วมกันทุกวิชา ยัง
เป็ นเป้ าหมายที่ไม่อาจกล่าวได้วา่ บรรลุผลแล้ว หากแต่เป็ นเป้ าหมายที่ตอ้ งอาศัยความรู ้ความเข้าใจ
ทักษะและความสามารถเพิ่มขึ้นกว่าที่มีอยู่
3. วาสนา คุณาอภิสิทธิ์ (2547 : ออนไลน์) ได้ทาวิจยั เรื่ อง “การพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู
ในการจัดทาสาระหลักสู ตร กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา” โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ
พัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู และพัฒนารู ปแบบการจัดทาสาระหลักสู ต ร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
สุ ขศึกษาและพลศึกษาตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มตัวอย่างได้มา
แบบเจาะจงเลือก เป็ นครู ผสู้ อนสุ ขศึกษาและครู ผสู้ อนพลศึกษา ตั้งแต่ระดับชั้น ป.1-ม.6 จานวน
65 คน จากกรุ งเทพมหานคร และจังหวัดเพชรบุรี โดยแบ่งออกเป็ น กลุ่มควบคุม 4 โรงเรี ยน
ประกอบด้วย โรงเรี ยนราชวินิต โรงเรี ยนอนุบาลเพชรบุรี โรงเรี ยนสายน้ าผึ้ง และโรงเรี ยน
เบญจมเทพอุทิศ กลุ่มทดลอง 4 โรงเรี ยนประกอบด้วย โรงเรี ยนพญาไท โรงเรี ยนวัดดอนไก่เตี้ย
โรงเรี ยนบดินทรเดชา 1 และโรงเรี ยนพรหมาณุ สรณ์ ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 3 ช่วง ช่วงที่ 1
การอบรมเชิงปฏิบตั ิการโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน โรงเรี ยนละ 3 วัน ด้วยการใช้รูปแบบการจัดทา
สาระหลักสู ตรที่ผวู ้ จิ ยั พัฒนาขึ้น 5 ใบงาน 8 ขั้นตอน ช่วงที่ 2 การนิเทศติดตามผลหลังการอบรม
เพื่อให้คาปรึ กษาแนะนา และประเมินพฤติกรรมการจัดการเรี ยนรู้ของครู ผสู้ อน ช่วงที่ 3
การประชุมสัมมนาสรุ ปผล และประเมินเจตคติของครู ผสู ้ อนเกี่ยวกับรู ปแบบการพัฒนาครู
ผลการวิจยั พบว่า 1) รู ปแบบการจัดทาสาระหลักสู ตร 5 ใบงาน 8 ขั้นตอน ที่ผวู้ จิ ยั
พัฒนาขึ้นมีประสิ ทธิ ผลต่อการพัฒนาครู ผสู ้ อนสุ ขศึกษาและพลศึกษา ในระดับประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษา ทั้งในกรุ งเทพมหานคร และจังหวัดเพชรบุรี ให้มีความรู ้ความสามารถและเจตคติดีข้ ึน
อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และทาให้ได้สาระหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและ
พลศึกษา ของทุกโรงเรี ยนที่มีคุณภาพอยูใ่ นระดับดี และ 2) รู ปแบบการพัฒนาครู ในการจัดทาสาระ
หลักสู ตร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษา ซึ่งประกอบด้วย โปรแกรม 3 ช่วง คือ ช่วงที่ 1
การอบรมครู แบบใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน โรงเรี ยนละ 3 วัน เพื่อการจัดทาสาระหลักสู ตร ช่วงที่ 2
การนิเทศติดตามผลตามหลักกัลยาณมิตร และการประเมินพฤติกรรมการจัดการเรี ยนรู ้ของครู
ช่วงที่ 3 การประชุมสัมมนาสรุ ปผล และการประเมินเจตคติเกี่ยวกับรู ปแบบการพัฒนาครู ใน
52

การจัดทาสาระหลักสู ตรตามหลักกัลยาณมิตรและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม มีประสิ ทธิผลที่


เหมาะสมกับการนาไปใช้พฒั นาครู ในสภาวการณ์ปัจจุบนั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ
สานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานควรได้นาไปใช้พฒั นาครู ต่อไป
4. อนันต์ เพียรพานิชย์ (2550 : ออนไลน์) ได้ทาวิจยั เรื่ อง “การพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู
สู่ การปฏิรูปการเรี ยนรู ้ โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน” โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารู ปแบบการพัฒนา
ครู สู่การปฏิรูปการเรี ยนรู ้โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน 2)ประเมินรู ปแบบการพัฒนาพัฒนาครู สู่การ
ปฏิรูปการเรี ยนรู้โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน การวิจยั แบ่งเป็ น 2 ระยะ คือระยะที่ 1 การพัฒนารู ปแบบ
การพัฒนาครู สู่การปฏิรูปการเรี ยนรู ้โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน กลุ่มตัวอย่างเป็ นครู จากโรงเรี ยนใน
กลุ่มเครื อข่ายศรี ปทุม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 1 จานวน 71 คน และ
ผูเ้ ชี่ยวชาญในการพัฒนาครู จานวน 5 คน เก็บข้อมูลจากแบบสอบถามสภาพการจัดการเรี ยนรู ้
มโนทัศน์ และความต้องการจาเป็ นในการพัฒนาครู ระยะที่ 2 เป็ นการประเมินรู ปแบบการพัฒนาครู
สู่ การปฏิรูปการเรี ยนรู ้โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน กลุ่มตัวอย่างเป็ นครู ตน้ แบบการปฏิรูปเรี ยนรู ้จาก
โรงเรี ยนในกลุ่มเครื อข่ายศรี ปทุม จานวน 22 คน ได้มาโดยการเป็ นอาสาสมัคร การเก็บรวบรวม
ข้อมูล ใช้การสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเคราะห์เอกสาร การสังเกตแบบมีส่วนร่ วม
การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปริ มาณ ใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ สถิติอนุมานได้แก่ การทดสอบด้วย
ค่าที ส่ วนการวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจยั พบว่า รู ปแบบการพัฒนาครู สู่การปฏิรูปการเรี ยนรู ้โดยใช้โ รงเรี ยนเป็ นฐาน
ที่เหมาะสม มี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ การวางแผนการพัฒนา การปฏิบตั ิการพัฒนา และการประเมิน
การพัฒนา ผลการประเมินรู ปแบบการพัฒนาครู สู่การปฏิรูปการเรี ยนรู ้โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานของ
ผูเ้ ชี่ยวชาญ พบว่า โครงสร้างรู ปแบบการพัฒนาครู และกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ ตามแนวปฏิรูป
มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด และมีประสิ ทธิภาพด้านความเหมาะสม ความเป็ นไปได้
ความชัดเจน ความง่ายต่อการนาไปใช้ อยูใ่ นระดับมาก ถึงมากที่สุด ผลการประเมินรู ปแบบ
การพัฒนาครู สู่การปฏิรูปการเรี ยนรู ้โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานของครู พบว่า โครงสร้างรู ปแบบ
การพัฒนาครู มีความเป็ นประโยชน์ มีความเป็ นไปได้ มีความถูกต้อง มีความเหมาะสม และครู มี
ความพึงพอใจ ต่อกระบวนการพัฒนาครู และการบริ หารจัดการของผูว้ จิ ยั ด้านกระบวนการพัฒนา
ครู ด้านการอานวยความสะดวก ด้านการสนับสนุน ด้านการสร้างความกระจ่างชัด ด้านการมี
ส่ วนร่ วม ด้านการมีเสรี ทางการคิด อยูใ่ นระดับมาก
53

5. บุญชวน วงศ์ชา (2550 : ออนไลน์) ได้ทาการวิจยั เรื่ อง “การพัฒนาครู เรื่ อง การเขียน


แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญด้วยการประชุมปฏิบตั ิการ โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน
โรงเรี ยนโนนค้อวิทยาคม จังหวัดศรี สะเกษ”โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1) ปฏิบตั ิการพัฒนาครู เรื่ อง
“การเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ” ด้วยการประชุมปฏิบตั ิการ โดยใช้
โรงเรี ยนเป็ นฐาน 2) เปรี ยบเทียบความรู้ ความสามารถ ในการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น
ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญของครู ระหว่างก่อนและหลังการพัฒนา และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของผูเ้ กี่ยวข้อง
ที่มีต่อการพัฒนาครู กลุ่มเป้ าหมายแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเป้ าหมายหลัก ได้แก่ ครู ผสู้ อนใน
โรงเรี ยนโนนค้อวิทยาคม จังหวัดศรี สะเกษ จานวน 24 คน และกลุ่มเป้ าหมายร่ วม ได้แก่ นักเรี ยน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2,3, 4 และชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 จานวน 120 คน ผูป้ กครองนักเรี ยน จานวน
120 คน และคณะกรรมการสถานศึกษาอีก 15 คน ออกแบบการวิจยั ปฏิบตั ิการเป็ นแบบกลุ่มเดียว
ประเมินก่อนและหลังการพัฒนา เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ได้แก่ แผนการการประชุมปฏิบตั ิการ
การพัฒนาครู หลักสู ตรการประชุมปฏิบตั ิการ นวัตกรรม และแบบวัดต่าง ๆ สาหรับ
กระบวนการวิจยั ปฏิบตั ิการแบ่งออกเป็ น 4 ขั้นคือ ขั้นวางแผน ขั้นปฏิบตั ิการ ขั้นสังเกตและ
บันทึกผล และขั้นการสะท้อนผล หลักสู ตรการประชุมปฏิบตั ิการแบ่งเป็ น 3 ระยะ ดาเนินการ
ประชุมปฏิบตั ิการ รวมทั้งสิ้ น 40 ครั้ง โดยใช้คาบที่ 7 ของทุกวันพฤหัสบดีของทุกสัปดาห์
ปฏิบตั ิการโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน เครื่ องมือในการ เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม
ประเมินความรู้ ความสามารถของครู แบบประเมินคุณภาพแผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ น
สาคัญ แบบบันทึกการสังเกต แบบสอบถามความพึงพอใจต่อโครงการการพัฒนา มีการวิเคราะห์
ข้อมูลทั้งเชิงปริ มาณ และเชิงคุณภาพ
ผลการวิจยั พบว่า 1) หลังการพัฒนา ครู กลุ่มเป้ าหมายมีความรู ้ ความสามารถ ในการเขียน
แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ เพิ่มขึ้นจากก่อนการพัฒนา โดยที่ ก่อนการพัฒนา
มีความรู้ ความสามารถ อยูใ่ นระดับปานกลาง แต่หลังการพัฒนาอยูใ่ นระดับมาก และ
2) ความพึงพอใจของผูท้ ี่เกี่ยวข้องทั้งครู นักเรี ยน ผูป้ กครองนักเรี ยน และคณะกรรมการสถานศึกษา
ต่างมีความพึงพอใจต่อโครงการการพัฒนาครู ด้วยการประชุมปฏิบตั ิการ โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน
อยูใ่ นระดับมาก
54

จากงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง จะเห็นว่า การพัฒนาครู โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน และฝึ กอบรมแบบ


มีส่วนร่ วม เป็ นรู ปแบบที่เหมาะสม สามารถเปลี่ยนวิธีคิด วิธีสอน วิธีปฏิบตั ิตนของครู ตามเป้ าหมาย
ของการพัฒนาอย่างได้ผล ซึ่งรู ปแบบการพัฒนาครู โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานที่เหมาะสม มี 3
องค์ประกอบ ได้แก่ การวางแผนการพัฒนา การปฏิบตั ิการพัฒนา และการประเมินการพัฒนา
โดยที่กระบวนการพัฒนาครู ควรแบ่งเป็ นช่วง ๆ เริ่ มด้วยการฝึ กอบรมครู แบบใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน
จากนั้นมีการนิเทศติดตามผลตามหลักกัลยาณมิตร และการประเมินพฤติกรรมการจัดการเรี ยนรู ้
ของครู รวมทั้งการประชุ มสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ซึ่ งการพัฒนาครู ในรู ปแบบดังกล่าว
สามารถสร้างความพึงพอใจของผูท้ ี่เกี่ยวข้องทั้งครู นักเรี ยน ผูป้ กครองนักเรี ยน และคณะกรรมการ
สถานศึกษา อย่างไรก็ตาม การฝึ กอบรมครู โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานให้มีประสิ ทธิภาพ ควรพิจารณา
ถึงความพร้อมของโรงเรี ยน อันได้แก่ ผูบ้ ริ หาร และครู ตอ้ งมีความพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง ดังนั้นใน
การนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิดที่
พัฒนาขึ้นไปใช้ จะต้องคานึงถึงปั จจัยดังกล่าวด้วย
55

กรอบแนวคิดในการวิจัย

การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมครั้งนี้ ผูว้ จิ ยั ได้กาหนดกรอบแนวคิดในการวิจยั


ดังภาพ 7

ศึกษาสภาพ ปั ญหา และความต้องการ ศึกษาทฤษฎี หลักการ แนวคิด ที่เกี่ยวข้อง


ของครู ในโรงเรี ยนเป้ าหมาย เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด

ร่ างรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มี ศึกษาแนวคิด หลักการ ขั้นตอน วิธีการเกี่ยวกับ


ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม
ที่เน้นการคิด
ศึกษาแนวคิด การฝึ กอบรมอย่างมีส่วนร่ วม
การฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน และการอบรม
ประชุมกลุ่มเป้ าหมาย และผูเ้ กี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปั ญหาการปฏิบตั ิงานแบบครบวงจร
เพื่อวิพากย์ให้ขอ้ เสนอแนะ และ
ร่ วมกันปรับรู ปแบบให้เหมาะสม ศึกษาแนวคิด หลักการ วิธีการวางระบบติดตามและ
และสอดคล้องกับความต้องการ ประเมินผลการพัฒนาครู

ร่ วมกันวางแผนปฏิบตั ิการพัฒนาครู
ตามรู ปแบบที่กาหนดขึ้น
ปฏิบตั ิการตามแผนที่วางไว้ ควบคู่ไปกับ
การสังเกต ติดตาม และประเมินผลเป็ นระยะ ๆ
ให้ขอ้ มูลย้อนแก่ผเู ้ กี่ยวข้อง
เพื่อการปรับปรุ ง แก้ไข

ประเมินผลสรุปรวม
1. ความสามารถของครู ในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด ซึ่งพิจาณาจาก ความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
การจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด และความสามารถในการจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด
2. ความพึงพอใจของครู ต่อการใช้รูปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด

ภาพ 7 กรอบแนวคิดในการวิจยั
56

บทที่ 3

วิธีดาเนินการวิจยั

การวิจยั ครั้งนี้ ใช้รูปแบบการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม (Participated action


research : PAR) โดยอาศัยการทางานร่ วมกันระหว่างคณะผูว้ จิ ยั และบุคลากรทุกคนในโรงเรี ยน
บ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษาสกลนครเขต 1 ปี การศึกษา 2551
อันประกอบด้วย ผูอ้ านวยการโรงเรี ยน และครู ผสู้ อน 14 คน ซึ่ งขั้นตอนการดาเนินการวิจยั มี
6 ขั้นตอน ได้แก่
ขั้นที่ 1 ขั้นเตรี ยมการ
ขั้นที่ 2 ขั้นศึกษาปั ญหาและกาหนดวิธีการแก้ไข
ขั้นที่ 3 ขั้นวางแผนปฏิบตั ิการแก้ปัญหา
ขั้นที่ 4 ขั้นวางแผนติดตามและประเมินผล
ขั้นที่ 5 ขั้นปฏิบตั ิการตามแผนที่วางไว้
ขั้นที่ 6 ขั้นประเมินผลการปฏิบตั ิการแก้ปัญหา
รายละเอียดในแต่ละขั้นตอน มีดงั นี้

ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมการ

ในขั้นเตรี ยมการ ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย ดังนี้

กิจกรรมที่ 1.1 เพิ่มพูนความรู ้ให้กบั คณะผูว้ จิ ยั


กิจกรรมเพิ่มพูนความรู ้ให้กบั คณะผูว้ จิ ยั ดาเนินการ ดังนี้
1. คณะผูว้ จิ ยั ร่ วมกันศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง เพื่อสังเคราะห์ให้ได้องค์ความรู ้ต่าง ๆ
ต่อไปนี้
1.1 ความรู ้กบั การวิเคราะห์ผเู้ รี ยน
1.2 ความรู ้เกี่ยวกับทักษะการคิด ลักษณะการคิด และกระบวนการคิดต่างๆ
1.3 ความรู ้เกี่ยวกับรู ปแบบการสอน วิธีสอน และเทคนิคการสอนต่าง ๆ ที่ส่งเสริ ม
การคิดของผูเ้ รี ยน
1.4 ความรู ้เกี่ยวกับการเลือกสื่ อ อุปกรณ์ นวัตกรรม แหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ที่ส่งเสริ ม
การคิดของผูเ้ รี ยน
1.5 ความรู ้เกี่ยวกับวิธีการวัดและประเมินความสามารถในการคิดของผูเ้ รี ยน
57

1.6 ความรู ้เกี่ยวกับการออกแบบการเรี ยนรู ้ที่เน้นกระบวนการคิด


1.7 ความรู ้เกี่ยวกับการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด
1.8 ความรู ้เกี่ยวกับการประเมินแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นกระบวนการคิด
1.9 ความรู ้เกี่ยวกับการการฝึ กอบรมรู ปแบบต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นการฝึ กอบรมอย่างมี
ส่ วนร่ วม การฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน และการฝึ กอบรมเพื่อแก้ไขปั ญหาการปฏิบตั ิงาน
แบบครบวงจร
1.10 ความรู ้เกี่ยวกับการติดตามและประเมินโครงการ
1.11 ความรู ้เกี่ยวกับการวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม
2. คณะผูว้ จิ ยั ร่ วมกันวิเคราะห์เชื่อมโยงความสัมพันธ์องค์ความรู้ ต่าง ๆ จากการศึกษา
ในข้อ 1 เพื่อลงสรุ ปให้เห็นภาพของ แนวคิด หลักการ กระบวนการ วิธีการ และอื่น ๆ สาหรับใช้
เป็ นแนวทางในการสร้างรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น การคิด
ร่ วมกับคณะครู ในโรงเรี ยนพื้นที่เป้ าหมาย

กิจกรรมที่ 1.2 เสริมสร้ างความร่ วมมือจากโรงเรียนพืน้ ทีเ่ ป้ าหมาย


การเสริ มสร้างความร่ วมมือจากโรงเรี ยนพื้นที่เป้ าหมาย ดาเนินการดังนี้
1. คณะผูว้ จิ ยั ศึกษาทฤษฎี แนวคิด ขั้นตอนต่าง ๆ ของการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมี
ส่ วนร่ วม (PAR) จากเอกสารที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความชัดเจน และมีความเข้าใจตรงกันใน
หลักการ และทิศทางของการดาเนินการวิจยั
2. เลือกโรงเรี ยนพื้นที่เป้ าหมาย เป็ นโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” สังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 1 ซึ่ งเป็ นโรงเรี ยนเครื อข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
ตั้งอยูบ่ า้ นท่าวัด หมู่ที่ 3 ตาบลเหล่าปอแดง อาเภอเมือง จังหวัดสกลนคร อาณาเขตของหมู่บา้ นตั้งอยู่
ริ มฝั่งหนองหาร
3. ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” จากเอกสาร
สารสนเทศของโรงเรี ยน ซึ่ งได้แก่ สังกัดและที่ต้ งั ประวัติ สภาพของชุมชน วิสัยทัศน์ พันธกิจ
คติพจน์ เขตบริ การของโรงเรี ยน การจัดการศึกษา จานวนห้องเรี ยน จานวนบุคลากร อาคารเรี ยน
และอาคารประกอบ จานวนนักเรี ยนและห้องเรี ยน
4. พบผูอ้ านวยการโรงเรี ยน เพื่อชี้แจงรายละเอียดของโครงการวิจยั พร้อมกับสอบถาม
ความต้องการเข้าร่ วมโครงการ ซึ่ งปรากฏว่าผูอ้ านวยการโรงเรี ยนมีความยินดีเป็ นอย่างยิง่ ที่
มหาวิทยาลัยจะเข้ามาร่ วมพัฒนาบุคลากรของโรงเรี ยน เพราะทางโรงเรี ยนเองก็กาลังเร่ งพัฒนางาน
ด้านต่าง ๆ
58

5. พบครู ทุกคนในโรงเรี ยนพื้นที่เป้ าหมาย เพื่อชี้แจงรายละเอียดของโครงการวิจยั


ประสานความร่ วมมือ สร้างความสัมพันธ์ที่ดี สร้างความไว้วางใจ และการยอมรับ รวมทั้ง
แนะนาแนวคิด หลักการ ความสาคัญ และขั้นตอนการวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม พอสังเขป

ภาพ 8 ลงพื้นที่โรงเรี ยนเป้ าหมายเพื่อประสานความร่ วมมือ

ขั้นที่ 2 ขั้นศึกษาปัญหาและกาหนดวิธีการแก้ไข

การศึกษาปั ญหาและกาหนดวิธีการแก้ไข ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย ดังนี้

กิจกรรมที่ 2.1 สร้ างแบบสารวจสภาพ ปัญหา และความต้ องการพัฒนาความสามารถใน


การจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด
การสร้างแบบสารวจสภาพ ปัญหา และความต้องการพัฒนาความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด มีข้ นั ตอนดังนี้
1. กาหนดประเด็นที่ตอ้ งการสารวจ อันประกอบด้วย
1.1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส
วุฒิการศึกษาสู งสุ ด ประสบการณ์ในการสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ที่สอน ระดับการศึกษาที่ สอน
และระดับชั้นที่สอน
1.2 สภาพ และปัญหาในการจัดการเรี ยนการสอน ได้แก่ การเข้ารับการอบรมเพื่อ
พัฒนาตนเองในช่วง 3 ปี ที่ผา่ นมา การใช้แผนการจัดการเรี ยนรู ้ในการเรี ยนการสอน การสร้าง
แผนการจัดการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง แบบการสอนที่ครู ชอบใช้ในการจั ดการเรี ยนการสอน จุดเด่น
ของครู ที่เกี่ยวข้องกับการเรี ยนการสอน จุดควรปรับปรุ งของครู ที่เกี่ยวข้องกับการเรี ยนการสอน
ปั ญหาหรื ออุปสรรคในการจัดการเรี ยนการสอน ความสามารถในการคิดขั้นสู งของนักเรี ยนตาม
ความคิดเห็นของครู และความคิดเห็นของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ ที่เน้นการคิด
59

1.3 การประเมินตนเอง และความต้องการพัฒนาตนเองเกี่ยวกับความสามารถใน


การจัดการเรี ยนที่เน้นกระบวนการคิด ซึ่ งประกอบด้วยรู ้ต่าง ๆ เกี่ยวกับการคิดขั้นสู ง รู ปแบบ
การสอนวิธีสอน และเทคนิคการสอนต่าง ๆ ที่ช่วยพัฒนากระบวนการคิดของนัก เรี ยน การออกแบบ
กิจกรรมการเรี ยนรู ้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดของนักเรี ยน การเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้น
กระบวนการคิด การออกแบบและสร้างนวัตกรรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนากระบวนการคิดของนักเรี ยน
การวัดและประเมินกระบวนการคิดของนักเรี ยน และการเขียนรายงานการใช้ นวัตกรรมเพื่อพัฒนา
กระบวนการคิดของนักเรี ยน
2. กาหนดลักษณะของแบบสารวจ ดังนี้
2.1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม มีท้ งั ประเภทเช็ครายการ (Check list) และเติม
คาตอบลงในช่องว่างที่กาหนด
2.2 สภาพ และปัญหาในการจัดการเรี ยนการสอน มีท้ งั ประเภทเช็ครายการ เติมคาตอบ
ลงในช่องว่างที่กาหนด และประเภทคาถามปลายเปิ ด
2.3 การประเมินตนเอง และความต้องการพัฒนาตนเองเกี่ยวกับความสามารถใน
การจัดการเรี ยนที่เน้นการคิด เป็ นประเภทมาตรประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ
3. สร้างแบบสารวจสภาพ ปัญหา และความต้องการพัฒนาความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ตามที่วางแผนไว้
4. นาแบบสารวจสภาพ ปัญหา และความต้องการพัฒนาความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ไปทดลองให้ครู กลุ่มเป้ าหมายอ่านข้อคาถามต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบว่า
ข้อคาถามแต่ละข้ออ่านแล้วเข้าใจตรงกันหรื อไม่

กิจกรรมที่ 2.2 สารวจสภาพ ปัญหา และความต้ องการพัฒนาความสามารถใน


การจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด
การสารวจสภาพ ปัญหา และความต้องการพัฒนาความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่
เน้นการคิด มีข้ นั ตอนดังนี้
1. นาแบบสารวจสภาพ ปัญหา และความต้องการพัฒนาความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มเป้ าหมายทั้ง 14 คน โดยให้เวลาตอบอย่าง
เต็มที่
2. นาข้อมูลที่ได้มาทาการวิเคราะห์ ดังนี้
2.1 ข้อมูลเชิงปริ มาณ วิเคราะห์ดว้ ยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย
และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
2.1 ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) และการแจงนับเป็ น
ความถี่ หรื อร้อยละ
60

3. สรุ ปผลการสารวจสภาพ ปัญหา และความต้องการพัฒนาความสามารถในการจัด


การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด เตรี ยมนาเสนอให้กลุ่มเป้ าหมายทราบร่ วมกัน

กิจกรรมที่ 2.3 กาหนดแนวทางหรือวิธีการพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้


ทีเ่ น้ นการคิด
การกาหนดแนวทางหรื อวิธีการพัฒนาความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
มีข้ นั ตอนดังนี้
1. คณะผูว้ จิ ยั วิเคราะห์ผลการสารวจสภาพ ปัญหา และความต้องการพัฒนาความสามารถ
ในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด แล้วนามากาหนดแนวทาง วิธีการ หรื อกิจกรรมการพัฒนา จากนั้น
สร้างเป็ นแบบสอบถามเพื่อให้ครู กลุ่มเป้ าหมายพิจารณาว่าแนวทาง วิธีการ หรื อกิจกรรมการพัฒนา
ในแต่ละรายการมีความเหมาะสมเพียงใด โดยลักษณะของแบบสอบถามเป็ นมาตรประมาณค่า 5
ระดับ นอกจากนั้นยังเพิม่ ข้อคาถามปลายเปิ ดเพื่อให้ครู เสนอแนวทาง วิธีการ หรื อกิจกรรม
การพัฒนาได้อย่างเต็มที่
2. คณะผูว้ จิ ยั แจ้งผลการสารวจสภาพ ปัญหา และความต้องการพัฒนาความสามารถใน
การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ให้ครู กลุ่มเป้ าหมายทุกคนทราบ พร้อมกับให้ตอบแบบสอบถามใน
ข้อ 1 จากนั้นนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
และแปลความหมายเป็ นระดับความเหมาะสม (มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด) รวมทั้งใช้
การวิเคราะห์เนื้อหาในกรณี ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ
3. สรุ ปผลการกาหนดแนวทาง วิธีการ หรื อกิจกรรมการพัฒนาความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิ ด เตรี ยมนาเสนอให้กลุ่มเป้ าหมายทราบร่ วมกัน

ขั้นที่ 3 ขั้นวางแผนปฏิบัติการแก้ปัญหา

การวางแผนปฏิบตั ิการแก้ปัญหา มีกิจกรรมดาเนินการต่าง ๆ ดังนี้

กิจกรรมที่ 3.1 นาเสนอและอภิปรายรู ปแบบการพัฒนาครู ให้ มีความสามารถในการจัด


การเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด
การนาเสนอและอภิปรายรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด มีข้ นั ตอนดังนี้
1. คณะผูว้ จิ ยั และตัวแทนกลุ่มเป้ าหมายร่ วมกันสร้างรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด โดยองค์ประกอบของรู ปแบบดังกล่าว
61

ได้แก่ 1) ชื่อรู ปแบบ 2) ความเป็ นมาและความสาคัญของรู ปแบบ 3) แนวคิดทฤษฎีพ้นื ฐานของ


รู ปแบบ 4) หลักการของรู ปแบบ 5) วัตถุประสงค์ของรู ปแบบ 6) เนื้อหาของรู ปแบบ 7) กระบวนการ
ของรู ปแบบ 8) สื่ อ และแหล่งเรี ยนรู ้ และ 9) การวัดและประเมินผลรู ปแบบ
2. คณะผูว้ จิ ยั นาเสนอผลการกาหนดแนวทางหรื อวิธีการพัฒนาความสามารถใน
การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด ติดตามด้วยรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถใน
การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
3. กลุ่มเป้ าหมายแสดงความคิดเห็น อภิปราย และให้ขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับ รู ปแบบ
การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
4. สรุ ปและปรับปรุ งแก้ไขรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่
เน้นการคิด

กิจกรรมที่ 3.2 จัดทาแผนปฏิบัติการพัฒนาครู ให้ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้


ทีเ่ น้ นการคิด
การจัดทาแผนปฏิบตั ิการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
มีข้ นั ตอนการดาเนินการดังนี้
1. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนปฏิบตั ิการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
2. ให้ความรู ้เกี่ยวกับการจัดทาแผนปฏิบตั ิการพอสังเขป แก่คณะกรรมการจัดทา
แผนปฏิบตั ิการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
3. จัดทาแผนปฏิบตั ิการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิดตาม
รู ปแบบที่พฒั นาขึ้น
4. กาหนดรายละเอียดของกิจกรรมต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ ในแผนปฏิบตั ิการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด

ขั้นที่ 4 ขั้นวางแผนติดตามและประเมินผล

การวางแผนติดตามและประเมินผล มีกิจกรรมการดาเนินการต่าง ๆ ดังนี้

กิจกรรมที่ 4.1 จัดทาแผนติดตามและประเมินผลการพัฒนาครู ให้ มีความสามารถในการจัด


การเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด
การจัดทาแผนติดตามและประเมินผลการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด มีข้ นั ตอนการดาเนินการดังนี้
62

1. แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมิน ผลการพัฒนาครู ให้มีความสามารถใน


การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
2. ให้ความรู ้เกี่ยวกับการติดตามและประเมินผลพอสังเขป แก่คณะกรรมการติดตามและ
ประเมินการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
3. กาหนดกรอบการติดตามและประเมินผล ได้แก่ วัตถุประสงค์ของการติดตามและ
ประเมินผล ระบุชนิด และประเภทของข้อมูลที่จะใช้ประเมินผล ระบุแหล่งข้อมูล กาหนดวิธีการ
เก็บรวบรวมข้อมูล และเครื่ องมือที่ใช้ และกาหนดวิธีวเิ คราะห์ขอ้ มูลและการแปลผล
4. ทากาหนดการติดตามและประเมินผลการพัฒนาครู ให้มีความสามารถใน
การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
5. ชี้แจงเกี่ยวกับแผนการติดตามและประเมินประเมิน ผลการพัฒนาครู ให้มีความสามารถใน
การจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด ให้ครู กลุ่มเป้ าหมายและผูเ้ กี่ยวข้องทราบ

กิจกรรมที่ 4.2 สร้ างเครื่องมือติดตามและประเมินผลการพัฒนาครู ให้ มีความสามารถใน


การจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด
เครื่ องมือติดตามและประเมินผลการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น
การคิด ประกอบด้วย 1) แบบทดสอบความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด
2) แบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้ นการคิด และ 3) แบบสอบถาม
ความพอใจต่อการใช้รูปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
ซึ่ งรายละเอียดการสร้างและหาคุณภาพของเครื่ องมือดังกล่าว มีดงั นี้

1. แบบทดสอบความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด


การสร้างและหาคุณภาพของแบบทดสอบความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้
ที่เน้นการคิด มีข้ นั ตอนดังนี้
1.1 ร่ างแบบทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด เป็ น
แบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ โดยครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดในรู ปแบบการพัฒนาครู
ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
1.2 ให้ผเู้ ชี่ยวชาญด้านการวัดผล และด้านหลักสู ตรและการสอนของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สกลนคร จานวน 3 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา
1.2.1 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.มารศรี กลางประพันธ์ (วัดผลการศึกษา/
จิตวิทยาการศึกษา/วิจยั พฤติกรรมศาสตร์ ) มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
1.2.2 ดร.อุษา ปราบหงษ์ (หลักสู ตรและการสอน) มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
1.2.3 ดร.พจมาน ชานาญกิจ (หลักสู ตรและการสอน) มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
63

1.3 ตรวจสอบความยาก และอานาจจาแนกรายข้อของแบบทดสอบ โดยทดลองใช้กบั


กลุ่มนักศึกษาปริ ญญาโท สาขาหลักสู ตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ปี การศึกษา
2550 (รุ่ น 6 และรุ่ น 7) จานวน 52 คน ซึ่ งนักศึกษาทั้งหมดเป็ นครู ฝ่ายปฏิบตั ิการสอนในโรงเรี ยน
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จาก 4 จังหวัด คือ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร และกาฬสิ นธุ์
ผลการตรวจสอบความยาก และอานาจจาแนกรายข้อของแบบทดสอบ พบว่า ข้อสอบแต่ละข้อใน
40 ข้อที่คดั เลือกไว้ มีค่าความยากอยูใ่ นช่วงตั้งแต่ 0.39 ถึง 0.75 และมีค่าอานาจจาแนกอยูใ่ นช่วง
ตั้งแต่ 0.21 ถึง 0.93
1.4 ตรวจสอบความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบทั้งฉบับ โดยใช้สูตร KR-20 ของ
คูเดอร์ ริ ชาร์ ดสัน พบว่า แบบทดสอบมีค่าความเชื่อมัน่ เท่ากับ 0.91 ซึ่ งถือว่าอยูใ่ นระดับสู ง

2. แบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด


การสร้างและหาคุณภาพของแบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่
เน้นการคิด มีข้ นั ตอนดังนี้
2.1 กาหนดประเด็นการประเมิน โดยอิงกับองค์ประกอบของแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่
สาคัญ ๆ
2.2 จัดระดับคุณภาพของความเหมาะสมเป็ น 5 ระดับ คือมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย
และน้อยที่สุด ซึ่งเกณฑ์ให้คะแนนเป็ น 5,4,3,2 และ 1 ตามลาดับ
2.3 เขียนรายการประเมินในแต่ละประเด็น จากนั้นนาไปปรึ กษาผูเ้ ชี่ยวชาญจานวน
3 ท่าน ดังรายชื่อต่อไปนี้ เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง เหมาะสม และรับข้อแนะนาต่าง ๆ มา
ปรับปรุ ง แก้ไขให้สมบูรณ์
2.3.1 ดร.อุษา ปราบหงษ์ (หลักสู ตรและการสอน) มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
2.3.2 ดร.พจมาน ชานาญกิจ (หลักสู ตรและการสอน) มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
2.3.3 นางสาวพวงพยอม ศรี หาบัติ ครู ชานาญการพิเศษ (ภาษาไทย) โรงเรี ยน
สตรี ราชินูทิศ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 1

3. แบบสอบถามความพึงพอใจต่ อการใช้ รูปแบบการพัฒนาครู ให้ มีความสามารถใน


การจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด
การสร้างและหาคุณภาพของแบบสอบถามความพึงพอใจเกี่ยวกับการใช้รูปแบบ
การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด มีข้ นั ตอนดังนี้
3.1 กาหนดประเด็นที่ตอ้ งการสอบถาม ดังนี้
3.1.1 ความพอใจในการมีส่วนร่ วมในการกาหนดรู ปแบบ
3.1.2 ความพอใจในความสอดคล้องกับความต้องการ
64

3.1.3 ความพอใจในแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน


3.1.4 ความพอใจที่ได้รับรู ้ เข้าใจ และได้เข้าร่ วมกิจกรรม
3.1.5 ความพอใจในกระบวนการพัฒนาครู
3.1.6 ความพอใจในกิจกรรมต่าง ๆ ของกระบวนการพัฒนาครู
3.1.7 ความพอใจที่ช่วยเสริ มสร้างเจตคติที่ดีต่อการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
3.1.8 ความพอใจที่ช่วยเสริ มสร้างความมัน่ ใจในการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่
เน้นการคิด
3.1.9 ความพอใจของครู ในการทดลองสอนโดยใช้แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
ที่ครู สร้างขึ้น
3.1.10 ความพอใจของนักเรี ยนที่ได้เรี ยนตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
ที่ครู สร้างขึ้น
3.1.11 ความพอใจในการกล้าคิด กล้าแสดงความคิดเห็นของนักเรี ยน
3.2 ศึกษาขั้นตอนและวิธีการสร้างแบบสอบถามประเภทมาตรประมาณค่าของลิเคอร์ ท
สาหรับนามาประยุกต์ใช้ในการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจครั้งนี้
3.3 เลือกลักษณะของแบบสอบถามความพึงพอใจเป็ นประเภทมาตรประมาณค่า 5 ระดับ
คือ พึงพอใจในระดับ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด โดยมีการให้คะแนนเป็ น 5 ,4 ,3,
2 และ 1 คะแนน ตามลาดับ
3.4 สร้างข้อคาถามซึ่ งมีลกั ษณะเป็ นข้อความทางบวก โดยให้ครอบคลุมสิ่ งที่ตอ้ งการวัด
ตามประเด็นที่กาหนดไว้ในข้อ 3.1
3.5 ให้ผเู้ ชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม โดยใช้ดชั นี
ความสอดคล้อง (IOC) ระหว่างข้อคาถามกับประเด็นที่ตอ้ งการวัด ซึ่งรายชื่อผูเ้ ชี่ยวชาญ เป็ นชุด
เดียวกันกับชุดตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้น
กระบวนการคิด
3.6 เลือกข้อคาถามที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป ส่ วนข้อที่ไม่ผา่ นเกณฑ์
ปรับปรุ งแก้ไขตามข้อแนะนาของผูเ้ ชี่ยวชาญ ซึ่ งผลการคัดเลือกได้ขอ้ คาถามได้ท้ งั หมด 11 ข้อ
3.7 จัดพิมพ์และทาสาเนาแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ เพื่อใช้ในการวิจยั ต่อไป

ขั้นที่ 5 ขั้นปฏิบัติการตามแผนทีว่ างไว้

ประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้
1. นาแผนปฏิบตั ิงานตามกิจกรรมต่างๆ ที่ระบุในโครงการ และแผนการติดตามและ
ประเมินโครงการ ไปปฏิบตั ิจริ ง
65

2. ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลระหว่างการปฏิบตั ิงาน


3. ให้ขอ้ มูลย้อนกลับแก่ผเู ้ กี่ยวข้องเพื่อประกอบการวางแผนปรับปรุ ง
4. วางแผนปรับปรุ ง และดาเนินการตามแผนต่อไปจนกว่าจะดีข้ ึน

ขั้นที่ 6 ขั้นประเมินผลการปฏิบัติการแก้ปัญหา

ประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้
1. วิเคราะห์ความสามารถของครู ในการจัดการเรี ยนการรู้ที่เน้นการคิด ดังนี้
1.1 เปรี ยบเทียบความรู ้ ความเข้าใจของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการรู้ที่เน้นการคิด
ก่อนและหลังการพัฒนาตามรู ปแบบที่พฒั นาขึ้น โดยพรรณนาด้วยสถิติพ้นื ฐานได้แก่ ร้อยละ
ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้การทดสอบที
แบบ 2 กลุ่มไม่อิสระกัน (Dependent Samples t-test) ซึ่ งในที่น้ ี ได้ทาการวิเคราะห์ท้ งั ที่เป็ นข้อมูลที่
ได้จากแบบทดสอบ และแบบประเมินตนเอง
1.2 วิเคราะห์ความสามารถในการจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด โดยใช้
การประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิ ดที่ครู พฒั นาขึ้นกับเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้
โดยผูเ้ ชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน ซึ่ งเป็ นอาจารย์สอนระดับปริ ญญาโทสาขาหลักสู ตรและการสอน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร และมีความเชี่ยวชาญด้านหลักสู ตรและการสอน ได้แก่
2.1.1 ผศ.ดร.ประยูร บุญใช้
2.1.2 ผศ.ดร.สาราญ กาจัดภัย
2.1.3 ผศ.ดร.ภูมิพงศ์ จอมหงษ์พิพฒั น์
2.1.4 ดร.อุษา ปราบหงษ์
2.1.5 ดร.พจมาน ชานาญกิจ
เกณฑ์ประเมินความเหมาะสม คือ ค่าเฉลี่ย 4.50 – 5.00, 3.50 – 4.49, 2.50 – 3.49,
1.50 – 2.49 และ 1.00 – 1.49 หมายถึง แผนการจัดการเรี ยนรู้มีความเหมะสมมากที่สุด มาก
ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ตามลาดับ โดยที่ ความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ผา่ น
เกณฑ์ตอ้ งมีค่าตั้งแต่ 3.50 ขึ้นไป (ระดับมากขึ้นไป)
2.2 ประเมินความพึงพอใจของครู กลุ่มเป้ าหมายต่อการใช้รูปแบบการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด โดยพรรณนาด้วยสถิติพ้นื ฐาน ได้แก่ค่าเฉลี่ย และ
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เกณฑ์ประเมินความพึงพอใจ คือ ค่าเฉลี่ย 4.50 – 5.00, 3.50 – 4.49, 2.50 – 3.49,
1.50 – 2.49 และ 1.00 – 1.49 หมายถึง ความพึงพอใจในระดับมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และ
น้อยที่สุด ตามลาดับ
66

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

การนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล แยกตามหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้


1. ผลการศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการพัฒนาความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้
ที่เน้นการคิด
2. ผลการพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
3. ผลการศึกษาความสามารถของครู ในการจัดการเรี ยนการรู้ที่เน้นการคิด ได้แก่
3.1 ผลการเปรี ยบเทียบความรู ้ ความเข้าใจของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการรู้ที่เน้น
การคิด ก่อนและหลังการพัฒนาตามรู ปแบบที่สร้างขึ้น ทั้งในแง่ของการประเมินด้วยแบบทดสอบ
และแบบประเมินตนเอง
3.2 ผลการประเมินความสามารถของครู ในการจัดทาแผนการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ซึ่ง
ประเมินจากความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดที่ครู พฒั นาขึ้นกับเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้
โดยผูเ้ ชี่ยวชาญ
4. ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถใน
การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด

ผลการสารวจสภาพ ปัญหา และความต้ องการพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้


ทีเ่ น้ นกระบวนการคิด

ตอนที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไปของครู โรงเรียนบ้ านท่ าวัด “คุรุราษฎร์ บารุ งวิทย์ ”


ข้อมูลทัว่ ไปของครู โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” ทั้ง 14 คน ปรากฏ
ดังตาราง 5
67

ตาราง 5 ข้อมูลทัว่ ไปของครู โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์”

ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
รายการ
(จานวนผูต้ อบทั้งหมด 14 คน)
1. เพศ เป็ นชาย 7 คน และหญิง 7 คน
2. อายุ อายุเฉลี่ย 48 ปี ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุ 4.51 ปี
อายุต่าสุ ด 37 ปี และสู งสุ ด 57 ปี
3. สถานภาพสมรส ทุกคนแต่งงานแล้วและยังอาศัยอยูด่ ว้ ยกัน
4. วุฒิการศึกษาสู งสุ ด 1. ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ป.วช.) สาขาช่างกลโรงงาน
ซึ่ งขณะนี้กาลังศึกษาต่อในระดับปริ ญญาตรี จานวน 1 คน
2. ปริ ญญาตรี (ค.บ.) จานวน 12 คน จาแนกตามสาขา ดังนี้
คหกรรมศาสตร์ 3 คน เกษตรศาสตร์ /เกษตรกรรม 2 คน
เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา 2 คน
บริ หารการศึกษา การศึกษาปฐมวัย การประถมศึกษา
ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย สาขาละ 1 คน
3. ปริ ญญาโท 1 คน สาขาบริ หารการศึกษา
(กาลังศึกษาต่อระดับปริ ญญาโท 2 คน ในสาขาหลักสู ตร
และการสอน)
5. ประสบการณ์ในการสอน มีประสบการณ์ในการสอนเฉลี่ย 24 ปี ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
7.47 ปี มีประสบการณ์ในการสอนน้อยสุ ด 6 ปี (มีเพียงคนเดียว
นอกนั้นเกิน 15 ปี ) และมากสุ ด 37 ปี
6. กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ที่สอน มีสอนตรงหรื อใกล้เคียงกับสาขาที่สาเร็ จการศึกษาระดับสู งสุ ด
เพียง 3 คน ครู ส่วนใหญ่สอนเกิน 1 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
7. ระดับการศึกษาที่สอน สอนเฉพาะระดับปฐมวัย 1 คน สอนเฉพาะระดับประถมศึกษา
7 คน สอนเฉพาะระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2 คน สอนทั้งระดับ
ปฐมวัยและระดับประถมศึกษา 1 คน และสอนทั้งระดับ
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น 3 คน ไม่มีใคร
ที่สอนทั้ง 3 ระดับ
8. ระดับชั้นที่สอน มี 4 คนที่สอนในระดับชั้นเดียว นอกนั้นสอนเกิน 1 ระดับชั้น
68

จากตาราง 5 ครู ผสู้ อนทุกคนในโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” มีท้ งั หมด 14 คน


เป็ นชาย 7 คน หญิง 7 คน อายุต่าสุ ด 37 ปี สู งสุ ด 57 ปี โดยเฉลี่ยอายุ 48 ปี ครู ทุกคนแต่งงานแล้วและ
ยังอาศัยอยูด่ ว้ ยกัน จบการศึกษาระดับปริ ญญาโท (สาขาบริ หารการศึกษา) 1 คน กาลังศึกษาต่อระดับ
ปริ ญญาโท (สาขาหลักสู ตรและการสอน) 2 คน จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี (ครุ ศาสตร์บณั ฑิต)
12 คน จาแนกเป็ น สาขาคหกรรมศาสตร์ 3 คน สาขาเกษตรศาสตร์ /เกษตรกรรม 2 คน สาขา
เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา 2 คน สาขาบริ หารการศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย สาขา
การประถมศึกษา สาขาภาษาอังกฤษ และสาขาภาษาไทย สาขาละ 1 คน และจบการศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ป.วช.) สาขาช่างกลโรงงาน ซึ่ งขณะนี้กาลังศึกษาต่อในระดับปริ ญญาตรี
1 คน ประสบการณ์ในการสอนของครู เฉลี่ย 24 ปี โดยที่มากสุ ด 37 ปี น้อยสุ ด 6 ปี ซึ่งมีอยูค่ นเดียว
นอกนั้นเกิน 15 ปี ครู ที่สอนตรงหรื อใกล้เคียงกับสาขาที่สาเร็ จการศึกษาระดับสู งสุ ด มีเพียง 3 คน
ครู ส่วนใหญ่สอนเกิน 1 กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ โดยที่สอนเฉพาะระดับปฐมวัย 1 คน สอนเฉพาะระดับ
ประถมศึกษา 7 คน สอนเฉพาะระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2 คน สอนทั้งระดับปฐมวัยและระดับ
ประถมศึกษา 1 คน และสอนทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น 3 คน ไม่มีครู ที่สอนทั้ง
3 ระดับ นอกจากนั้น มีครู เพียง 4 คนที่สอนในระดับชั้นเดียว นอกนั้นสอนเกิน 1 ระดับชั้น

ตอนที่ 2 สภาพ และปัญหาในการจัดการเรียนการสอน


ผูว้ จิ ยั ขอนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล จาแนกตามประเด็น ดังนี้
1. การเข้ ารับการอบรมเพือ่ พัฒนาตนเองในช่ วง 3 ปี ทีผ่ ่านมา
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล พบว่า จากครู ผสู ้ อนทั้งหมด 14 คน มี 1 คนไม่เคยเข้ารับ
การอบรมในเรื่ องใดเลย ที่เหลือ 13 คน เคยเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาตนเอง โดยจานวนครั้งสู งสุ ด
ของการเข้ารับการอบรม 4 ครั้ง ต่าสุ ด 1 ครั้ง เฉลี่ยประมาณ 2 ครั้ง ครู ส่วนใหญ่ (9 ใน 13 คน) ผ่าน
การอบรมเกี่ยวกับ การวิจยั ปฏิบตั ิการในชั้นเรี ยน รองลงมาตามลาดับ ได้แก่ การอบรมเพื่อพัฒนา
ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาก่อนการแต่งตั้งให้มีหรื อเลื่อนวิทยฐานะเป็ นชานาญการ
พิเศษ (4 ใน 13 คน) คอมพิวเตอร์ (3 ใน 13 คน) มารยาทไทย (2 ใน 13 คน) คุณธรรมและจริ ยธรรม
ในสถานศึกษา (2 ใน 13 คน) นอกจากนี้ยงั มีรายการหัวข้ออื่น ๆ ที่มีครู ผา่ นการอบรมรายการละคน
ได้แก่ การแนะแนวในโรงเรี ยน การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ สาหรับครู ผสู้ อนเด็กปฐมวัย การจัด
การเรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษ การเสริ มสร้างครู แกนนาประชาธิ ปไตยแบบมีส่วนร่ วม และการแก้ปัญหา
เด็กอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ ไม่รักการอ่าน และคิดไม่เป็ น
2. การใช้ แผนการจัดการเรียนรู้ ในการเรียนการสอน
ครู ทุกคนมีแผนการจัดการเรี ยนรู้ เพราะต้องส่ งให้ฝ่ายวิชาการของโรงเรี ยนตรวจ
(โดยมากเป็ นการตรวจสอบว่าส่ งกับไม่ส่งเท่านั้น ไม่ได้ดูความถูกต้องเหมาะสม) ซึ่งการจัดการเรี ยน
69

การสอน ครู ส่วนใหญ่ดาเนินการไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยมีหนังสื อเรี ยนเป็ นเอกสารสาคัญ


ประกอบการเรี ยนการสอน ในขณะที่ครู บางคนชอบสอนไปตามหนังสื อเรี ยน มีแผนการจัดการ
เรี ยนรู ้ไว้เพื่อตรวจเท่านั้น ไม่ค่อยได้ใช้
3. การสร้ างแผนการจัดการเรียนรู้ ด้วยตนเอง
ครู ท้ งั 14 คน มีแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยที่ ส่วนใหญ่ (8 ใน 14 คน) ไม่ได้สร้างเอง
ซื้ อแผนการจัดการเรี ยนรู้ สาเร็ จรู ปที่มีขายทัว่ ไปในท้องตลาด มีครู จานวนไม่มากนัก (3 ใน 14 คน)
ที่สร้างขึ้นใช้เองทั้งหมด ในขณะเดียวกันยังมีครู จานวนหนึ่ง (3 ใน 14 คน) มีท้ งั สร้างขึ้นใช้เอง
และซื้ อแผนการจัดการเรี ยนรู้สาเร็ จรู ป ทั้งนี้เนื่องมาจากมีภาระต้องสอนหลายวิชา หลายกลุ่มสาระ
การเรี ยนรู้
4. แบบการสอนทีค่ รู ชอบใช้ ในการจัดการเรียนการสอน
แบบการสอนที่ครู ชอบใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนได้แก่ 1) ครู บรรยายหรื ออธิบาย
เนื้อหาให้นกั เรี ยนฟัง 2) ครู กาหนดประเด็นให้นกั เรี ยนอภิปราย 3) การถาม- ตอบโดยครู เป็ นผูใ้ ช้
คาถาม 4) ครู สาธิตให้นกั เรี ยนดู 5) ให้นกั เรี ยนฝึ กปฏิบตั ิหรื อทดลอง 6) แบ่งกลุ่มทางาน 7) ทา
แบบฝึ กหัดท้ายบทเรี ยนหรื อแบบฝึ กทักษะ 8) ใช้สื่อการสอนประกอบ เช่น ใบงาน วัสดุ อุปกรณ์
ต่าง ๆ 9) สอนตามสามารถ และความสนใจของเด็ก และ10) สอนสอดแทรกคุณธรรมและจริ ยธรรม
5. จุดเด่ นของครู ทเี่ กีย่ วข้ องกับการเรียนการสอน
จุดเด่นของครู ที่เกี่ยวข้องกับการเรี ยนการสอน ได้แก่ 1) มีความรับผิดชอบในการดูแล
เอาใจใส่ เด็ก 2) มีความตั้งใจจริ งในการสอนเด็กให้เป็ นคนดี คนก่ง 3) เข้าใจธรรมชาติของเด็ก
4) สร้างบรรยากาศในการเรี ยนได้ดี 5) มีความสนใจใฝ่ รู้ 6) มีความรู ้เพียงพอในเนื้อหาสาระที่สอน
และ 7) มีคุณธรรม จริ ยธรรม
6. จุดควรปรับปรุ งของครู ทเี่ กีย่ วข้ องกับการเรียนการสอน
จุดควรปรับปรุ งของครู ที่เกี่ยวข้องกับการเรี ยนการสอน ได้แก่ 1) ยังขาดความรู้
เกี่ยวกับวิธีสอนหลากหลายที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ และเร้าความสนใจของเด็ก 2) ยังไม่ทุ่มเทเวลา
ให้กบั การสอนเท่าที่ควร 3) ขาดทักษะการสร้างแผนการจัดการเรี ยนรู้ 4) ไม่ค่อยใช้แผนการจัด
การเรี ยนรู ้อย่างเต็มที่ 5) ขาดการประเมินเพื่อพัฒนาเด็กอย่างต่อเนื่อง 6) การใช้สื่อและนวัตกรรม
เพื่อการเรี ยนรู ้ยงั มีนอ้ ย และไม่เหมาะสมเท่าที่ควร และ 7) ขาดการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนเพื่อแก้ปัญหา
หรื อพัฒนาผูเ้ รี ยน
70

7. ปัญหาหรืออุปสรรคในการจัดการเรียนการสอน
ปัญหาหรื ออุปสรรคในการจัดการเรี ยนการสอนของครู จาแนกได้ 3 ด้าน ดังนี้
7.1 ด้านครู ผสู้ อน ได้แก่ 1) สอนไม่ตรงสาขาที่เรี ยนมา ทาให้ขาดทักษะ กระบวนการ
สอนในบางเรื่ อง บางเนื้ อหา 2) การสอนของครู ยงั ไม่มีวธิ ี การที่หลากหลาย ทาให้ไม่น่าสนใจ
3) เวลาในการสอนค่อนข้างจากัด และ 4) ภาระงานอื่นเยอะ ทาให้ประสิ ทธิภาพในการสอนด้อยลง
7.2 ด้านนักเรี ยน ได้แก่ ความพร้อมและประสบการณ์เดิมของเด็กมีนอ้ ย
7.3 ด้านผูป้ กครอง ได้แก่ ผูป้ กครองคาดหวังสู ง ต้องการให้เด็กเขียนเป็ น อ่านเป็ น มี
ผลสัมฤทธิ์ สูง โดยไม่คานึงถึงประสบการณ์ดา้ นอื่น ๆ ของเด็ก
7.4 ด้านสื่ อ ได้แก่ ขาดสื่ อการเรี ยนการสอนที่มีคุณภาพและเร้าความสนใจเด็ก
7.5 ด้านเนื้อหาวิชา ได้แก่ เนื้อหามากทาให้สอนได้ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์
8. ความสามารถในการคิดขั้นสู งของนักเรียนตามความคิดเห็นของครู
ครู ผสู ้ อนทุกคน ประเมินว่า ความสามารถในการคิดขั้นสู งของนักเรี ยนในห้องเรี ยนที่
ตนสอนค่อนข้างต่า หรื ออยูใ่ นเกณฑ์ที่ไม่น่าพอใจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การคิดวิเคราะห์มีปัญหามาก
ที่สุด รองลงมาคือ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดแก้ปัญหา
9. ความคิดเห็นของครู เกีย่ วกับการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด
ครู ผสู้ อนมีความเห็นสอดคล้องกันว่า การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด เป็ นสิ่ งที่ดี และมี
ความจาเป็ นอย่างมาก ครู ควรได้รับการส่ งเสริ มให้มีความรู ้ความสามารถในเรื่ องดังกล่าว โดยมี
เหตุผลสนับสนุน ได้แก่ 1) เด็กสามารถนาการคิดขั้นสู งไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้ 2) สอดคล้องกับ
ผลการประเมินภายนอก และสภาพปัญหาที่แท้จริ งในโรงเรี ยน
ครู บางคนได้ให้แนวคิดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถในการคิดขั้นสู งของเด็ก
ว่า ควรค่อยเป็ นค่อยไป เพราะพื้นฐานความสามารถในด้านการคิดของเด็กค่อนข้างแตกต่างกันมาก
จาเป็ นต้องอาศัยเวลา และความต่อเนื่อง รวมทั้งการร่ วมมื อกันจากหลาย ๆ ฝ่ าย

ตอนที่ 3 ผลการประเมินตนเอง และความต้ องการพัฒนาตนเองเกีย่ วกับความสามารถใน


การจัดการเรียนทีเ่ น้ นการคิด

จากการให้ครู ผสู ้ อนทั้ง 14 คน ตอบแบบประเมินตนเอง และความต้องการพัฒนาตนเอง


เกี่ยวกับความสามารถในการจัดการเรี ยนที่เน้นการคิด ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลปรากฏดังตาราง 6
71

ตาราง 6 ผลการประเมินตนเอง และความต้องการพัฒนาตนเองเกี่ยวกับความสามารถใน


การจัดการเรี ยนที่เน้นการคิด ของครู โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์”

ประเมินตนเอง ความต้องการพัฒนาตนเอง

ส่ วนเบี่ยงเบน

ส่ วนเบี่ยงเบน
รายการ

แปลความ

แปลความ
มาตรฐาน

มาตรฐาน
ค่าเฉลี่ย
ค่าเฉลี่ย
1. ความรู ้เกี่ยวกับการคิดและ 2.98 .83 ปานกลาง 4.64 .50 มากที่สุด
การพัฒนาการคิด
2. ความรู ้เกี่ยวกับรู ปแบบการสอน 3.07 .92 ปานกลาง 4.79 .43 มากที่สุด
วิธีสอน และเทคนิคการสอน
ต่าง ๆ ที่ช่วยพัฒนาการคิดของ
นักเรี ยน
3. การออกแบบกิจกรรมการเรี ยนรู ้ 2.79 .70 ปานกลาง 4.86 .36 มากที่สุด
เพื่อพัฒนาการคิดของนักเรี ยน
4. การเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ 2.79 .89 ปานกลาง 4.79 .43 มากที่สุด
ที่เน้นการคิด
5. ความรู ้เกี่ยวกับการออกแบบ 2.64 .93 ปานกลาง 4.79 .43 มากที่สุด
และสร้างนวัตกรรมต่าง ๆ
เพื่อพัฒนาการคิดของนักเรี ยน
6. ความรู ้เกี่ยวกับการวัดและ 2.64 .93 ปานกลาง 4.79 .43 มากที่สุด
ประเมินการคิดของนักเรี ยน
7. ความรู ้เกี่ยวกับการเขียนรายงาน 2.50 1.09 ปานกลาง 4.86 .36 มากที่สุด
การใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนา
การคิดของนักเรี ยน

จากตาราง 6 พบว่า ครู ผสู ้ อนประเมินตนเองเกี่ยวกับความสามารถในการจัดการเรี ยนที่เน้น


การคิด อยูใ่ นระดับปานกลางทุกรายการ โดยรายการที่ครู ประเมิน ต่ากว่ารายการอื่น ๆ 3 อันดับท้าย
ได้แก่ ความรู ้เกี่ยวกับการเขียนรายงานการใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนาการคิดของนักเรี ยน ความรู้
เกี่ยวกับการวัดและประเมินการคิดของนักเรี ยน และความรู ้เกี่ยวกับการออกแบบและสร้าง
72

นวัตกรรมต่าง ๆ เพื่อพัฒนาการคิดของนักเรี ยน ในขณะเดียวกันครู ผสู ้ อนก็มีความต้องการที่จะ


พัฒนาตนเองในทุกรายการที่ประเมินอยูใ่ นระดับมากที่สุด

ตอนที่ 4 ผลการสารวจความต้ องการเกีย่ วกับรู ปแบบการพัฒนาครู ให้ มีความสามารถใน


การจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด

จากการให้ครู ผสู ้ อนทั้ง 14 คน ตอบแบบสารวจความต้องการเกี่ยวกับรู ปแบบการพัฒนา


ครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลปรากฏดังตาราง 7

ตาราง 7 ผลการสารวจความต้องการเกี่ยวกับรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถใน


การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด

ระดับความต้องการ

ส่ วนเบี่ยงเบน
รายการ

แปลความ
มาตรฐาน
ค่าเฉลี่ย
1. จัดอบรมเชิ งปฏิบตั ิการ ให้มีท้ งั ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ 4.43 .85 มาก
2. การจัดอบรมเชิงปฏิบตั ิการ ให้แบ่งเป็ นช่วง ๆ ตามประเด็น 4.36 .84 มาก
เนื้อหา ไม่ควรจัดรวมทุกประเด็นครั้งเดียว
3. จัดให้มีพี่เลี้ยงคอยให้คาแนะนา 4.71 1.07 มากที่สุด
4. จัดเวทีนาเสนอผลงาน 4.00 1.18 มาก
5. จัดระบบนิเทศ ติดตาม และประเมินผลอย่างใกล้ชิด 4.29 .91 มาก
และสม่าเสมอ
6. จัดให้มีชุดการเรี ยนรู ้ เพื่อทบทวนและศึกษาเพิ่มด้วยตนเอง 4.57 .85 มากที่สุด
7. จัดหาตัวอย่างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้น การคิดไว้ใน 4.57 .85 มากที่สุด
ห้องสมุดของโรงเรี ยน
8. จัดหาหนังสื อ ตารา และรายงานการวิจยั ที่เกี่ยวข้องไว้ใน 4.71 .83 มากที่สุด
ห้องสมุดของโรงเรี ยน

หมายเหตุ เกณฑ์การประเมิน 4.50 – 5.00, 3.50 – 4.49, 2.50 – 3.49, 1.50 – 2.49 และ
1.00 – 1.49 หมายถึง มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ตามลาดับ
73

จากตาราง 7 พบว่า มี 4 กิจกรรมที่ครู ผสู ้ อนต้องการในระดับมากที่สุด สาหรับนามาใช้ใน


การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ได้แก่ จัดให้มีพี่เลี้ยง คอยให้
คาแนะนา จัดให้มีชุดการเรี ยนรู ้เพื่อทบทวนและศึกษาเพิ่มด้วยตนเอง จัดหาตัวอย่างแผนการจัด
การเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด และจัดหาหนังสื อ ตารา และรายงานการวิจยั ที่เกี่ยวข้องไว้ในห้องสมุดของ
โรงเรี ยน

ตอนที่ 5 ข้ อเสนอแนะเพิม่ เติมเกีย่ วกับรู ปแบบการพัฒนาครู ให้ มีความสามารถใน


การจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด

จากข้อคาถามปลายเปิ ดให้ครู ผสู ้ อน เสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับรู ปแบบการพัฒนาครู ให้


ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ปรากฏว่า มีรูปแบบที่
เสนอแนะไว้ 4 รายการ ดังนี้
1. จัดทาเอกสารแนะนา Website รวมทั้งวิธีการสื บค้น
2. จัดหาตัวอย่างนวัตกรรมเพื่อการเรี ยนรู ้ ที่เน้นพัฒนาการคิด
3. เชิญวิทยากรที่เชี่ยวชาญด้านการสอนเน้นการคิด สาธิตการสอนในสถานการณ์จริ งใน
ห้องเรี ยน
4. ดูงานโรงเรี ยนต้นแบบที่ประสบความสาเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด

ผลการพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้ มคี วามสามารถในการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด

รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ที่พฒั นาขึ้น


มีรายละเอียดในแต่ละองค์ประกอบของรู ปแบบดังนี้

1. ชื่ อรู ปแบบ


รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด

2. ความเป็ นมาและความสาคัญของรู ปแบบ


“การคิด” เป็ นความสามารถที่มีอยูใ่ นตัวมนุษย์ทุกคน และเป็ นสิ่ งที่สามารถพัฒนาได้ ถ้า
ได้รับการฝึ กอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง โดยการฝึ กที่ดีและเหมาะสมสามารถกระทาได้ในรู ปแบบ
การให้การศึกษา เพราะการศึกษาเป็ นกระบวนการเรี ยนรู้เพื่อความเจริ ญงอกงามของบุคคลและ
สังคมโดยการถ่ายทอดความรู ้ การฝึ ก การอบรม การสื บสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลง
74

ความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู ้อนั เกิดจากการจัดสภาพแวดล้อมสังคม การเรี ยนรู ้


และปั จจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ ซึ่งจะเห็นได้จากพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้มุ่งเน้นปลูกฝังให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั
พึ่งตนเอง มีความริ เริ่ มสร้างสรรค์ ใฝ่ รู ้และเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ใน
มาตรา 24 ระบุให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ให้กบั ผูเ้ รี ยนโดย
การฝึ กทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ใน
การป้ องกันและแก้ไขปั ญหา รวมทั้งจัดกิจกรรมให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์จริ ง ฝึ กปฏิบตั ิ
ให้ทาได้ คิดเป็ น ทาเป็ น รักการอ่านและเกิดการใฝ่ รู ้อย่างต่อเนื่ อง (สานักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน. 2547:13-14)
ถึงแม้วา่ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
ได้ระบุให้สถานศึกษาทุกแห่งฝึ กทักษะ กระบวนการคิดให้กบั ผูเ้ รี ยนอย่างต่อเนื่อง แต่ผลผลิตจาก
การจัดการศึกษากลับไม่เป็ นไปตามที่คาดหวัง ดังจากผลการวิจยั ของอวยพร เรื องตระกูล และสุ วมิ ล
ว่องวาณิ ช (อวยพร เรื องตระกูล และสุ วมิ ล ว่องวาณิ ช . 2547 อ้างถึงใน สมบัติ การจนารักพงค์. 2549
: 3) ซึ่ งศึกษาเกี่ยวกับทักษะการคิดของนักเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
ในสถานศึกษาทุกสังกัดใน 5 ภูมิภาคทัว่ ประเทศไทย กลับพบว่า จานวนสถานศึกษาทั้ง 2 ระดับชั้นมี
นักเรี ยนที่มีทกั ษะการคิดอยูใ่ นระดับคุณภาพดีไม่ถึงร้อยละ 50 ของจานวนสถานศึกษาทั้งหมด
นอกจากนั้น ทั้ง 2 ระดับชั้นยังมีนกั เรี ยนที่มีทกั ษะการแสวงหาความรู ้ อยูใ่ นระดับคุณภาพดีไม่ถึง
ร้อยละ 10 นอกจากนั้นผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรอบแรก โดย
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรื อ สมศ. พบว่า
สถานศึกษาส่ วนใหญ่ ไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานด้านคุณภาพผูเ้ รี ยน มาตรฐานที่ 4 “ผูเ้ รี ยนมี
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวจิ ารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ ตรอง
และมีวสิ ัยทัศน์”
ในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เป็ นไปตามผลลัพธ์ที่คาดหวังของหลักสู ตร คุณภาพ
การจัดกระบวนการเรี ยนการสอนของครู เป็ นปัจจัยที่มีความสาคั ญอย่างมาก สถานศึกษา
ทุกแห่งต้องดาเนินการให้ได้มาตรฐาน ซึ่ งการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รอบที่ 2 ด้านการเรี ยนการสอน มาตรฐานที่ 10 (สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (องค์การมหาชน). มปป. : 13) ระบุอย่างชัดเจนว่า “ครู ตอ้ งมีความสามารถในการจัด
การเรี ยนการสอนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ” กล่าวคือ 1) ต้องมีความรู้
ความเข้าใจเป้ าหมายการจัดการศึกษาและหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) ต้องมีการวิเคราะห์
ศักยภาพของผูเ้ รี ยนและเข้าใจผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคล 3) ต้องมีความสามารถในการจัดการเรี ยน
75

การสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ 4) ต้องมีความสามารถใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรี ยนรู้ของ


ตนเองและผูเ้ รี ยน 5) ต้องมีการประเมินผลการเรี ยนการสอนที่สอดคล้องกับสภาพการเรี ยนรู ้ที่จดั ให้
ผูเ้ รี ยน และอิงพัฒนาการของผูเ้ รี ยน 6) ต้องมีการนาผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรี ยนการสอน
เพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยนได้เต็มตามศักยภาพ และ 7) ต้องมีการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนและนา
ผลไปใช้พฒั นาผูเ้ รี ยน ทั้งนี้เนื่องมาจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รอบแรก ด้านการเรี ยนการสอน พบว่า มาตรฐานดังกล่าวข้างต้น สถานศึกษาส่ วนใหญ่ไม่ผา่ นเกณฑ์
มาตรฐาน
“ครู ผสู้ อน” มีบทบาทสาคัญในการส่ งเสริ มให้คุณลักษณะที่คาดหวังของผูเ้ รี ยนบรรลุ
จุดมุ่งหมายของการจัดการเรี ยนการสอนตามแนวหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
กล่าวคือ ถ้ามุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้และทักษะการสื บค้น ครู ตอ้ งจัดกิจกรรม ประสบการณ์
ให้พวกเขาได้สืบค้น เสาะแสวงหา และสรุ ปองค์ความรู ้ ถ้ามุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนเกิดทักษะการคิด
การจัดการ และการแก้สถานการณ์ ครู ตอ้ งจัดกิจกรรมให้พวกเขาได้ฝึกคิด และสรุ ปองค์ความรู ้
ถ้ามุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ ทักษะการสื บค้น และทักษะไอซีที (ICT) ครู ตอ้ งจัดกิจกรรมให้พวกเขา
ได้ฝึกใช้สื่อเทคโนโลยีสืบค้นข้อมูล และถ้ามุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ครู ตอ้ งจัด
กิจกรรม ประสบการณ์ให้พวกเขาได้ทาร่ วมกับครู เพื่อน และชุมชน (สมบัติ การจนารักพงค์.
2549 : 6)
จากสภาพ และปั ญหาเกี่ยวกับการพัฒนาการคิดของผูเ้ รี ยนดังกล่าว จะเห็นว่า ผูท้ ี่มีบทบาท
สาคัญในการฝึ กทักษะและกระบวนการคิดให้กบั ผูเ้ รี ยนคือ “ครู ผสู้ อน” ดังนั้น จึงมีความจาเป็ น
อย่างยิง่ ที่จะต้องพัฒนาทักษะของครู ในการจัดการเรี ยนการสอนเพื่อเสริ มสร้างความสามารถใน
การคิดของผูเ้ รี ยน ซึ่งการพัฒนาครู ให้มีทกั ษะในการเสริ มสร้างความสามารถในการคิดของผูเ้ รี ยนนี้
ต้องกระทาอย่างมีระบบ จริ งจัง และต่อเนื่อง และต้องอาศัยการมีส่วนร่ วมจากหลายฝ่ าย เช่น อาจารย์
คณะครุ ศาสตร์ หรื อคณะศึกษาศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ อาจต้องทาหน้าที่เป็ นวิทยากร ให้
ความรู้ความเข้าใจและฝึ กทักษะกระบวนการจัดการเรี ยนการสอนเพื่อพัฒนาการคิด หรื ออาจเป็ น
พี่เลี้ยงคอยให้คาปรึ กษา ศึกษานิเทศก์ของเขตพื้นที่การศึกษา อาจต้องเข้ามามีส่วนร่ วมเกี่ยวกับ
การนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ในขณะเดียวกันทั้งครู ผสู ้ อนตลอดจนผูบ้ ริ หารก็ตอ้ งเห็น
ความสาคัญในการจัดการเรี ย นการสอนเพื่อให้ผเู้ รี ยนได้ฝึกทักษะการคิด ใช้กระบวนการคิด
ตลอดเวลา โดยครู ผสู ้ อนในทุกกลุ่มสาระจาเป็ นต้องสอดแทรกทักษะการคิด กระบวนการคิดในวิชา
ของตนตลอดการเรี ยนการสอน เป็ นต้น
ในอดีตที่ผา่ นมา การฝึ กอบรมครู มกั บริ หารจัดการทุกอย่างเสร็ จสรรพภายในช่วงเวลาสั้น ๆ
โดยทีมงานจัดการอบรมและวิทยากร เมื่ออบรมเสร็ จก็แยกย้ายกันไป ไม่มีการนิเทศ ติดตามผล
ในปัจจุบนั ได้มีการนาเอาแนวคิด “การฝึ กอบรมอย่างมีส่วนร่ วม” มาใช้ในการฝึ กอบรม ซึ่งมักจะ
76

ใช้กนั อย่างกว้างขวางในวงการสาธารณสุ ข แต่ในวงการศึกษายังมีไม่มากนัก ซึ่ งแนวคิด


การฝึ กอบรมอย่างมีส่วนร่ วมนี้ ใช้กลวิธีและข้อดีของการมีส่วนร่ วมมาพัฒนาศักยภาพของผูเ้ ข้ารับ
การอบรม โดยการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ให้ตามความสนใจของผูเ้ ข้าอบรมภายใต้กรอบ
ของหลักสู ตร บนหลักการและทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็ นในการมีส่วนร่ วม มีการเตรี ยมการและ
การออกแบบหลักสู ตรที่ดี มีรูปแบบกระบวนการอบรมที่เหมาะสม (จงกลนี ชุติมาเทวินทร์ . 2544 :
124-125) นอกจากนี้ การฝึ กอบรมครู ในอดีตยังขาดการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลอย่างจริ งจัง
ภายหลังที่ครู หรื อผูเ้ ข้ารับการอบรมกลับไปปฏิบตั ิงานในสถานการณ์จริ ง
อีกแนวคิดหนึ่งที่น่าจะนามาประยุกต์ใช้ก็คือ “การฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน” ที่วา่
การฝึ กอบรมที่ดีจะต้องให้ความสาคัญทั้งการเพิ่มพูนความรู ้ความสามารถ ทักษะการทางาน และ
เจตคติที่ดีต่อการทางานของบุคคลในองค์การ โดยการอบรมต้องทาให้ครบระบบอย่างทัว่ ถึง ทั้ง
ระดับบริ หารและระดับปฏิบตั ิเพื่อเอื้อซึ่ งกันและกัน ในอันที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อเพิ่ม
ประสิ ทธิ ภาพขององค์การ ดังนั้น การฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง
จาเป็ นต้องเพิ่มพูนทั้งความรู ้ความสามารถ และทักษะในการทางาน รวมทั้งกระตุน้ ให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงเจตคติต่อการทางานที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องนั้นๆ ให้กบั บุคลากรทั้งโรงเรี ยน เพื่อให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาในแนวทางเดียวกัน (ประวิต เอราวรรณ์ และคณะ. 2541 : 19)
อย่างไรก็ตาม หากต้องการให้การฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานดาเนินการอย่างเป็ น
ระบบสอดคล้องกับสภาพจริ งในโรงเรี ยน “การอบรมเพื่อแก้ไขปัญหาการปฏิบตั ิงานแบบครบ
วงจร” ก็น่าจะเป็ นอีกแนวคิดหนึ่งที่น่าจะนามาประยุกต์ใช้ร่วมกัน ทั้งนี้เพราะการอบรมตามแนวคิด
นี้ ประยุกต์เอากระบวนการวิจยั ปฏิบตั ิการมาใช้ โดยมุ่งแก้ปัญหาภายในองค์กรหนึ่ง ๆ ซึ่ งขั้นตอน
การอบรม เริ่ มจากองค์กรนั้น ๆ มองเห็นปั ญหา หรื อมองเห็นความจาเป็ นจะต้อแก้ปัญหา ฝ่ ายต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องพิจารณากระบวนการแก้ปัญหาร่ วมกัน เสนอและเลือกแนวทางแก้ปัญหา จากนั้นวางแผน
ปฏิบตั ิการ ซึ่ งในแผนปฏิบตั ิการอาจมีการอบรม เป็ นวิธีการหนึ่งร่ วมกับวิธีการอื่น ๆ ที่เลือกไว้ เมื่อ
วางแผนเสร็ จก็ดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ไปตามแผน มีการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลเป็ นระยะ ๆ
รวมทั้งภายหลังที่ผเู ้ ข้ารับการอบรมกลับไปปฏิบตั ิงานในสถานการณ์จริ ง (จงกลนี ชุติมาเทวินทร์ .
2544 : 28)
จากความสาคัญของการพัฒนาการคิดของผูเ้ รี ยน สภาพปัญหาการจัดการเรี ยนรู้ของครู และ
แนวคิดเกี่ยวกับการฝึ กอบรมครู ดงั กล่าวข้างต้น น่าจะเป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ต่อ “การพัฒนารู ปแบบ
การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ” ซึ่งถ้ารู ปแบบการพัฒนาครู
ดังกล่าวสามารถนาไปใช้ได้จริ งอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ประสิ ทธิ ผล ก็จะช่วยให้ท้ งั ครู ผสู ้ อนและ
ผูเ้ รี ยนในโรงเรี ยนเป้ าหมายมี คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่วางไว้ อีกทั้งยังสามารถนาไปประยุกต์
ใช้ในโรงเรี ยนอื่น ๆ ต่อไป
77

3. แนวคิดทฤษฎีพนื้ ฐานของรู ปแบบ


แนวคิดพื้นฐานที่ใช้ในการพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิดมี 3 ประการ คือ การฝึ กอบรมอย่างมีส่วนร่ วม การฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยน
เป็ นฐาน และการอบรมเพื่อแก้ไขปั ญหาการปฏิบตั ิงานแบบครบวงจร ซึ่ งมีรายละเอียดดังนี้
3.1 แนวคิดการฝึ กอบรมอย่างมีส่วนร่ วม
การฝึ กอบรมอย่างมีส่วนร่ วม เป็ นแนวคิดที่ใช้กลวิธีและข้อดีของการมีส่วนร่ วมมา
พัฒนาศักยภาพของผูเ้ ข้าอบรม โดยการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ให้ตามความสนใจของผูเ้ ข้าอบรม
ในกรอบของหลักสู ตร บนหลักการและทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็ นในการมีส่วนร่ วม ซึ่ งกรอบแนวคิดของ
การอบรมอย่างมีส่วนร่ วมมีลกั ษณะดังภาพ 9 (จงกลนี ชุติมาเทวินทร์ . 2544 : 125)

วัตถุประสงค์ของการอบรม
การเตรี ยมการ
หลักสูตร
และการออกแบบ
(เนื้อหา, กระบวนการ, เทคนิค, วิธีการ )
หลักสูตร
บทบาทของบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ผูเ้ ข้ารับการอบรมระบุเรื่ องที่ตอ้ งการเรี ยนรู ้


ระบุปัญหาและสาเหตุ

ปั จจัยนาเข้าวิชาการ
(ความรู ้, เทคโนโลยี, ประสบการณ์)

กระบวนการอบรม แผนการ/โครงการ
การแก้ไขปั ญหา/การนาเอาความรู ้ไปใช้

การปฏิบตั ิตามแผน

การติดตามประเมินผล

ภาพ 9 กรอบแนวคิดของการอบรมอย่างมีส่วนร่ วม
78

3.2 แนวคิดการอบรมโดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน


การฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน เป็ นรู ปแบบการฝึ กอบรมอย่างหนึ่งที่มีแนวคิด
ที่วา่ การฝึ กอบรมที่ดีจะต้องให้ความสาคัญทั้งการเพิ่มพูนความรู ้ความสามารถ ทักษะการทางาน
และเจตคติที่ดีต่อการทางานของบุคคลในองค์การ โดยการอบรมต้องทาให้ครบระบบอย่างทัว่ ถึง
ทั้งระดับบริ หารและระดับปฏิบตั ิเพื่อเอื้อซึ่ งกันและกัน ในอันที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อ
เพิ่มประสิ ทธิ ภาพขององค์การ ดังนั้น การฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง
จาเป็ นต้องเพิ่มพูนทั้งความรู ้ความสามารถ และทักษะในการทางาน รวมทั้งกระตุน้ ให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงเจตคติต่อการทางานที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องนั้นๆ ให้กบั บุคลากรทั้งโรงเรี ยน เพื่อให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาในแนวทางเดียวกันทั้งโรงเรี ยน ซึ่งขั้นตอนสาคัญในการกาหนด
โปรแกรมการฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน มี 5 ขั้นตอน คือ 1) การระบุปัญหา 2) การระบุแนว
ทางแก้ไขปั ญหาที่อาจเป็ นไปได้ 3) การนาแนวทางนั้นไปใช้ 4) การประเมินโปรแกรม และ
5) การพิจารณาปรับปรุ งแก้ไข (ถ้าจาเป็ น) (ประวิต เอราวรรณ์ และคณะ. 2541 : 19-20) โดย
โปรแกรมดังกล่าวมีลกั ษณะเฉพาะสาคัญ ได้แก่ (ประวิต เอราวรรณ์ และคณะ. 2541 : 21) 1) เริ่ มที่
ความต้องการของครู และโรงเรี ยน 2) จะต้องอยูภ่ ายใต้ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนหรื อ
ส่ วนกลาง 3) จะต้องใช้สังกัปสาคัญ (Key concepts) และคาสาคัญ (Key words) ที่ได้กาหนดไว้ใน
กระบวนการวางแผน การนาไปใช้และการประเมิน 4) กิจกรรมทุกอย่างจะต้องกระทาเพื่อ
ตอบสนองความต้องการของโรงเรี ยน และทุกคนต้องให้ความร่ วมมือ และ 5) กระบวนการฝึ กอบรม
ถือเป็ นหน้าที่ที่ตอ้ งปฏิบตั ิดว้ ยความเข้าใจ

3.3 แนวคิดการอบรมอย่างมีส่วนร่ วม เพื่อแก้ปัญหาการปฏิบัติงานแบบครบวงจร


จงกลนี ชุติมาเทวินทร์ (2544 : 27) เสนอกระบวนการอบรมแบบครบวงจร
โดยดัดแปลงมาจากรู ปแบบของ แบรี่ สมิท และเบรน เดลาเฮย์ (Smith & Delahaye) ซึ่ งได้แบ่ง
ขั้นตอนการอบรมเป็ น 22 ขั้นตอน ดังภาพ 10
79

1. ปั ญหาหรื อความจาเป็ น

2. ระบุปัญหา

3. ระบุสาเหตุของปั ญหา

4. นิยามปั ญหา หยุด

5. เสนอทางเลือกเพื่อแก้ปัญหา
เลือกวิธีอื่นที่ไม่ใช่
6. ประเมินทางเลือก การอบรม
หยุด
7. ตกลงใจเลือกวิธีการ
8. แนวทางเลือก
แก้ปัญหาทางใดทางหนึ่ง
สัมฤทธิ์ผล ไม่สมั ฤทธิ์ผล
เลือก
22. ตรวจสอบพฤติกรรม 9. วิเคราะห์หาความจาเป็ น การฝึ กอบรม

21. วัดผลการปฏิบตั ิงาน 11. ระบุวธิ ีวดั ผล 10. ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์


ภายหลังการอบรม การปฏิบตั ิงาน ในวัตถุประสงค์

20. การติดตามผล 13. เตรี ยมแบบทดสอบ 12. ระบุกลุ่มเป้ าหมายและ


เนื้อหาวิชาอบรม
19. ผูอ้ บรมกลับไปทางาน 16. ทดลองแบบทดสอบ
14. เตรี ยมเทคนิคการอบรม
18. วัดการเรี ยนรู ้หลังอบรม

17. ดาเนินการอบรม 15. พัฒนาสื่ อและอุปกรณ์การสอน

ภาพ 10 กระบวนการอบรมแบบครบวงจร

4. หลักการของรู ปแบบ
รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด มีหลักการ
สาคัญในการพัฒนา ดังนี้
80

4.1 บุคลากรทุกคนในโรงเรี ยนเป้ าหมาย (โรงเรี ยนท่าวัด “คุรุราษฏร์บารุ งวิทย์”) รับรู้


เข้าใจ ต้องการและยินดีเข้าร่ วมกิจกรรม โดยเฉพาะผูอ้ านวยการโรงเรี ยนจะต้องเห็นความสาคัญ ให้
การสนับสนุน โดยจัดทาเป็ นโครงการและแต่งตั้งคณะกรรมการรับผิดชอบโดยตรง
4.2 ใช้กระบวนการมีส่วนร่ วม (ร่ วมคิด ร่ วมตัดสิ นใจ ร่ วมปฏิบตั ิ ร่ วมประเมิน และร่ วม
รับผลที่เกิดขึ้น) ระหว่างบุคลากรในโรงเรี ยนและทีมวิทยากรภายนอก ในแต่ละขั้นตอนหรื อแต่ละ
กิจกรรมของรู ปแบบการพัฒนา
4.3 ใช้การวิเคราะห์ปัญหาร่ วมกัน ทั้งนี้เพื่อให้ผเู ้ กี่ยวข้องทุกคนทั้งบุคลากรในโรงเรี ยน
และทีมวิทยากรภายนอก รับรู ้ เข้าใจปั ญหาและสาเหตุของปั ญหาเกี่ ยวกับการจัดการเรี ยนการสอนที่
เน้นการคิดของครู ในโรงเรี ยนเป้ าหมาย
4.4 มีการค้นหาแนวทางแก้ปัญหาหรื อพัฒนาร่ วมกัน ทั้งนี้เพื่อให้ได้วธิ ี การฝึ ก กิจกรรม
เสริ ม รวมทั้งสื่ อและแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ สอดคล้องกับความต้องการของครู ทุกคนในโรงเรี ยน
4.5 ทีมวิทยากรภายนอก มีหน้าที่เป็ นที่ปรึ กษา ผูอ้ านวยความสะดวก ผูใ้ ห้การช่วยเหลือ
ชี้แนะ และให้ขอ้ มูลป้ อนกลับแก่ครู ในโรงเรี ยน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดี เสริ มสร้างความมัน่ ใจ
ในการทางาน
4.6 การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด มุ่ง
เปลี่ยนแปลงทั้งความรู ้ความเข้าใจ ความสามารถในการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด
การนาแผนการจัดการเรี ยนรู ้สู่การปฏิบตั ิจริ งในห้องเรี ยน รวมทั้งเจตคติที่ดีต่อ การสอนเพื่อพัฒนา
การคิดของผูเ้ รี ยน โดยกิจกรรมการฝึ กใช้หลากหลายลักษณะ
4.7 การพัฒนาจะต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง และเว้นระยะเวลาการทากิจกรรมต่าง ๆ
ของรู ปแบบพอสมควร เพื่อให้ครู ได้มีโอกาสทบทวนความรู ้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม และฝึ กปฏิบตั ิจริ ง
ด้วยตนเอง ภายใต้การกากับดูแลของทีมวิทยากรภายนอก

5. วัตถุประสงค์ ของรู ปแบบ


รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด มีวตั ถุประสงค์
ดังนี้
5.1 เพื่อพัฒนาความรู ้ ความเข้าใจของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการรู ้ที่เน้นการคิด
5.2 เพื่อพัฒนาความสามารถของครู ในการจัดทาแผนการรู้ที่เน้นการคิด (การเขียน
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด และการนาแผนการจัดการเรี ยนรู ้สู่การปฏิบตั ิจริ งในห้องเรี ยน)
5.3 เพื่อพัฒนาเจตคติที่ดีของครู ต่อการจัดการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาการคิดของผูเ้ รี ยน
81

6. เนือ้ หาของรู ปแบบ


การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ย นรู ้ที่เน้นการคิด มีเนื้อหาจาเป็ นต้อง
สร้างความรู ้ ความเข้าใจให้กบั ครู ดังนี้
6.1 ความรู ้พ้นื ฐานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย
6.1.1 ความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ผเู ้ รี ยน
6.1.2 ความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการคิด ลักษณะการคิด และกระบวนการคิด
ต่าง ๆ
6.1.3 ความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับรู ปแบบการสอน วิธีสอน และเทคนิคการสอน
ต่าง ๆ ที่ส่งเสริ มการคิดของผูเ้ รี ยน
6.1.4 ความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกสื่ อ อุปกรณ์ นวัตกรรม แหล่งเรี ยนรู ้
ต่าง ๆ ที่ส่งเสริ มการคิดของผูเ้ รี ยน
6.1.5 ความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการวัดและประเมินความสามารถในการคิด
ของผูเ้ รี ยน
6.2 การออกแบบการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
6.3 การเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด

7. กระบวนการของรู ปแบบ
รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ใช้การมี
ส่ วนร่ วมระหว่างวิทยากรภายนอกและบุคลากรทุกคนในโรงเรี ยน โดยมีเป้ าหมายหลักร่ วมกันคือ
พัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ซึ่งกระบวนการของรู ปแบบแบ่ง
ออกเป็ น 2 ระยะ ดังนี้
ระยะที่ 1 ระยะเตรียมการก่อนการพัฒนา
การดาเนินงานในระยะเตรี ยมการก่อนการพัฒนา มีวตั ถุประสงค์สาคัญ คือ
1. เพื่อให้ผเู ้ กี่ยวข้องทุกคนทั้งบุคลากรในโรงเรี ยนและทีมวิทยากรภายนอก รับรู ้
เข้าใจปั ญหาและสาเหตุของปั ญหาเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นการคิดของครู ในโรงเรี ยน
เป้ าหมาย
2. เพื่อค้นหาแนวทางแก้ปัญหาหรื อพัฒนาร่ วมกัน ทั้งนี้เพื่อให้ได้วธิ ี การพัฒนา
กิจกรรมเสริ ม รวมทั้งสื่ อและแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ สอดคล้องกับความต้องการของครู ทุกคนใน
โรงเรี ยน
3. เพื่อวางแผนพัฒนาความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ตามแนวทาง
ที่วางไว้
82

การดาเนินงานในระยะเตรี ยมการก่อนการพัฒนา มีข้ นั ตอนดังนี้


1. ประชุมเพื่อชี้แจงและปรึ กษาหารื อ ผูร้ ่ วมประชุมควรประกอบด้วย ผูอ้ านวยการ
โรงเรี ยน (ประธาน) ครู ทุกคนในโรงเรี ยน และวิทยากรภายนอก (ทาหน้าที่เป็ นผูด้ าเนินกิจกรรม)
โดยประเด็นชี้แจงและปรึ กษาหารื อ ได้แก่ ความเป็ นมาและความสาคัญของการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด การกาหนดวัตถุประสงค์เฉพาะ การสร้าง
ความร่ วมมือที่ดี
2. สารวจ วิเคราะห์ปัญหา ความต้องการ และแนวทางแก้ไขหรื อพัฒนาเกี่ยวกับ
การจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นการคิดของครู ในโรงเรี ยนเป้ าหมาย โดยอาจใช้วธิ ีการที่หลากหลาย
เช่น แบบสอบถาม (ปลายปิ ด/ปลายเปิ ด) การประชุมระดมสมอง การอภิปราย หรื อการพูดคุยอย่าง
ไม่เป็ นทางการ
3. ประชุมเพื่อนาเสนอผลการสารวจ วิเคราะห์ปัญหา ความต้องการ และแนวทางแก้ไข
หรื อพัฒนาเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นการคิดของครู ในโรงเรี ยนเป้ าหมาย และร่ วมกัน
วางแผนพัฒนาความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ตามแนวทางที่เลือก
4. จัดทาโครงการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด โดย
โรงเรี ยนเป้ าหมายเป็ นผูร้ ับผิดชอบโครงการ วิทยากรภายนอกเป็ นที่ปรึ กษา ผูอ้ านวยความสะดวก
ผูใ้ ห้การช่วยเหลือ ชี้แนะ และให้ขอ้ มูลป้ อนกลับแก่ครู ในโรงเรี ยน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดี
เสริ มสร้างความมัน่ ใจในการทางาน
5. จัดเตรี ยมสถานที่ อุปกรณ์ สื่ อ และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ สาหรับใช้ในการพัฒนาครู ให้
มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ซึ่ งสิ่ งต่างๆ เหล่านี้ยดื หยุน่ ได้ ถ้าภายหลังการ
ปฏิบตั ิแล้วพบว่า จาเป็ นต้องเปลี่ยนแปลงหรื อปรับปรุ ง

ระยะที่ 2 ระยะปฏิบัติการ นิเทศ ติดตามและประเมินผลการพัฒนา


การดาเนินงานในระยะนี้ มีวตั ถุประสงค์สาคัญ คือ
1. เพื่อศึกษาปั ญหาและอุปสรรคระหว่างการดาเนินการพัฒนาครู ให้ มีความสามารถ
ในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด รวมทั้งหาแนวทางและลงมือแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึ้น
2. เพื่อพัฒนาความรู ้ ความเข้าใจของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการรู ้ที่เน้น
กระบวนการคิด
3. เพื่อพัฒนาความสามารถของครู ในการจัด ทาแผนการจัดการเรี ยนการรู้ที่เน้นการคิ ด
(การเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด และการนาแผนการจัดการเรี ยนรู ้สู่ การปฏิบตั ิจริ งใน
ห้องเรี ยน)
4. เพื่อพัฒนาเจตคติที่ดี ของต่อการจัดการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาการคิดของผูเ้ รี ยน
83

การดาเนินงานในระยะนี้ มีข้ นั ตอนดังนี้


1. จัดทาแผนปฏิบตั ิการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
ตามแนวทางและแผนการที่วางไว้ในระยะที่ 1 โดยอาจจาแนกตามลักษณะกิจกรรม เช่น กิจกรรม
อบรม กิจกรรมส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง กิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เป็ นต้น
ตัวอย่างแผนปฏิบตั ิการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น
การคิด โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” ซึ่งเป็ นผลจากการดาเนินงานตามรู ปแบบ
ในระยะที่ 1

1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบตั ิการ ซึ่ งมีท้ งั การเพิ่มพูนความรู ้เชิงทฤษฎี และการฝึ ก


ทักษะปฏิบตั ิในสถานการณ์จาลอง หรื อตามกิจกรรมฝึ กทักษะที่จดั เตรี ยมไว้ โดยแบ่งการอบรมเป็ น
ช่วง ๆ ดังนี้

ครั้งที่ 1 ใช้ระยะเวลาในการอบรม 1 วัน โดยเนื้อหาที่อบรมประกอบด้วย


(1) การวิเคราะห์ผเู้ รี ยน (2) ทักษะการคิด ลักษณะการคิด และกระบวนการคิดต่าง ๆ และ (3) วิธีการ
วัดและประเมินความสามารถในการคิดของผูเ้ รี ยน
ครั้งที่ 2 ใช้ระยะเวลาในการอบรม 2 วัน โดยเนื้อหาที่อบรมประกอบด้วย
(1) รู ปแบบการสอน วิธีสอน และเทคนิคการสอนต่าง ๆ ที่ส่งเสริ มการคิด และ (2) การเลือกสื่ อ
อุปกรณ์ นวัตกรรม แหล่ งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ที่ส่งเสริ มการคิด
ครั้งที่ 3 ใช้ระยะเวลาในการอบรม 2 วัน โดยเนื้อหาที่อบรมประกอบด้วย
(1) การออกแบบกิจกรรมการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด และ (2) การเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น
การคิด
2) กิจกรรมสาธิ ตการจัดการเรี ยนรู ้ ที่เน้นการคิดโดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ
โดยจัดร่ วมกับการอบรมเชิงปฏิบตั ิการครั้งที่ 3 ใช้เวลาประมาณ 1-2 ชัว่ โมง
3) กิจกรรมส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง ได้แก่
3.1) การทบทวนและเพิม่ พูนความรู ้ดว้ ยชุดการเรี ยนรู ้ที่ทีมวิทยากร จัดทาและ/
หรื อจัดหาให้เป็ นรายบุคคล
3.2) การเพิ่มพูนความรู ้จากการศึกษาหนังสื อ ตารา และรายงานการวิจยั ที่
เกี่ยวข้อง ซึ่งทีมวิทยากรมอบให้ไว้ในห้องสมุดของโรงเรี ยน
3.3) การฝึ กทักษะการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ และการเลือ กและ/หรื อสร้าง
นวัตกรรมเพื่อการเรี ยนรู้ที่เน้นพัฒนาการคิด โดยศึกษาจากตัวอย่างที่ทีมวิทยากรมอบให้ไว้ใน
ห้องสมุดของโรงเรี ยน
84

3.4) การสื บค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ สาหรับนามาหรื อปรับใช้ในการพัฒนา


กระบวนการคิดของผูเ้ รี ยน โดยจัดทาเอกสารแนะนา Website และวิธีการสื บค้น รวมทั้งฝึ กทักษะ
การสื บค้นเป็ นรายบุคคล
4) กิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ประกอบด้วย
4.1) การจัดหาพี่เลี้ยงให้คาแนะนาเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด
(อาจเป็ นนักศึกษาระดับปริ ญญาโท และ/หรื อศิษย์เก่าสาขาหลักสู ตรและการสอนของมหาวิทยาลัยฯ
ที่ผา่ นการเรี ยนในรายวิชา “การคิดและการสอนเพื่อพัฒนาการคิด ”)
4.2) การติดตามให้คาปรึ กษา ให้การช่วยเหลือ ชี้แนะ และให้ขอ้ มูลป้ อนกลับ
แก่ครู ในโรงเรี ยน โดยทีมวิทยากร ซึ่ งสามารถจัดได้หลายรู ปแบบ ได้แก่ การเยีย่ มโรงเรี ยน การให้
คาปรึ กษาทางโทรศัพท์ การตรวจชิ้นงานและให้ขอ้ มูลป้ อนกลับเพื่อการปรับปรุ งแก้ไข
4.3) การเรี ยนรู้จากโรงเรี ยนต้นแบบที่ประสบความสาเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้
ที่เน้นการคิด โดยศึกษาผ่านสื่ อเทคโนโลยี (วีซีดีหรื อวีดิโอ) ซึ่งจัดร่ วมกับการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ
ครั้งที่ 2 ใช้เวลาประมาณ 1 ชัว่ โมง
2. ปฏิบตั ิตามแผนที่วางไว้ โดยที่สามารถยืดหยุน่ ได้ความเหมาะสม ก่อนและหลัง
การพัฒนาให้ทาการทดสอบความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการรู ้ที่เน้นการคิด ส่ วนหลัง
การพัฒนาให้มีการประเมินความสามารถในการจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด รวมทั้งผล
อันเกิดจากการนาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ไปใช้จริ งในห้องเรี ยน ซึ่งหลักการพัฒนาจะต้องดาเนินการ
อย่างต่อเนื่อง โดยเว้นระยะเวลาการฝึ กหรื อการทากิจกรรมต่าง ๆ ของรู ปแบบพอสมควร เพื่อให้ครู
ได้มีโอกาสทบทวนความรู้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม และฝึ กปฏิบตั ิจริ งด้วยตนเอง ภายใต้กากับดูแล
(นิเทศ/ติดตาม) ของทีมวิทยากรภายนอก

8. สื่ อ และแหล่ งเรียนรู้


สื่ อ และแหล่งเรี ยนรู ้ที่ใช้ในรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ย นรู้
ที่เน้นการคิด จะต้องมีหลากหลายรู ปแบบ เป็ นต้นว่า เอกสารประกอบการอบรม ชุดนาเสนอ
เพาเวอร์พอยต์ประกอบการบรรยายของวิทยากร ชุดการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง ฐานข้อมูลงานวิจยั ที่
เกี่ยวข้องจากเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต ตัวอย่างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ และนวัตกรรมการเรี ยนการสอนที่
เน้นการพัฒนาการคิด หนังสื อ ตาราต่าง ๆ ที่เกี่ ยวข้อง รวมทั้งแหล่งเรี ยนรู ้บุคคลที่มีความรู ้
ความสามารถในการการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
85

9. การวัดและประเมินผลรู ปแบบ
การวัดและประเมินผลรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการการจัดการเรี ยนรู้ที่
เน้นการคิด ดาเนินการดังนี้
9.1 เปรี ยบเทียบความรู ้ ความเข้าใจของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการรู้ที่เน้น
กระบวนการคิดก่อนและหลังการพัฒนาตามรู ปแบบที่สร้างขึ้น
9.2 ศึกษาความสามารถของครู ในการจัดทาแผนการจัดการเรี ยนการรู้ที่เน้นการคิด
หลังการฝึ กตามรู ปแบบที่พฒั นาขึ้น โดยพิจารณาจากความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น
กระบวนการคิดที่ครู พฒั นาขึ้นกับเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้ ซึ่งประเมินโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ
9.3 ศึกษาความพึงพอใจของครู ที่มีต่อการใช้รูปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถ
ในการจัดการเรี ยนการรู้ที่เน้นการคิด

ผลการศึกษาความสามารถของครู ในการจัดการเรียนการรู้ ทเี่ น้ นการคิด

การนาเสนอผลการศึกษาความสามารถของครู ในการจัดการเรี ยนรู้เน้นการคิด ผูว้ จิ ยั ขอ


นาเสนอใน 2 ประเด็นต่อไปนี้

1. ผลการเปรียบเทียบความรู้ ความเข้ าใจของครู เกีย่ วกับการจัดการเรียนการรู้ ทเี่ น้ น


การคิด ก่อนและหลังการพัฒนา
1.1 ผลการเปรี ยบเทียบความรู ้ ความเข้าใจของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการรู ้ที่เน้น
การคิด ก่อนและหลังการพัฒนา จากการวัดด้วยแบบทดสอบ
ผลการเปรี ยบเทียบความรู ้ ความเข้าใจของครู กลุ่มเป้ าหมายเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้
ที่เน้นการคิด ก่อนและหลังการพัฒนาตามรู ปแบบที่สร้างขึ้น ซึ่งวัดด้วยแบบทดสอบ ปรากฏดัง
ตาราง 4 และตาราง 5
86

ตาราง 8 ผลการเปรี ยบเทียบความรู ้ ความเข้าใจของครู กลุ่มเป้ าหมายเกี่ยวกับการจัด


การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ก่อนและหลังการพัฒนาตามรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด (วัดด้วยแบบทดสอบ)
จาแนกเป็ นรายบุคคล

ครู คะแนนก่อนการพัฒนา คะแนนหลังหลังการพัฒนา


คะแนนผลต่าง
คนที่ (คะแนนเต็ม 40) (คะแนนเต็ม 40)
1 20 26 เพิม่ ขึ้น 6
2 16 30 เพิ่มขึ้น14
3 20 30 เพิ่มขึ้น 10
4 21 27 เพิ่มขึ้น 6
5 18 35 เพิ่มขึ้น 17
6 20 35 เพิม่ ขึ้น15
7 19 29 เพิ่มขึ้น 10
8 19 31 เพิ่มขึ้น 12
9 19 32 เพิ่มขึ้น 13
10 19 25 เพิ่มขึ้น 6
11 11 32 เพิม่ ขึ้น21
12 14 22 เพิ่มขึ้น 8
13 18 27 เพิ่มขึ้น 9
14 22 33 เพิ่มขึ้น 11
18.29 29.57 เพิ่มขึ้น 11.28
ค่าเฉลี่ย
(ร้อยละ 45.73) (ร้อยละ 73.93) (ร้อยละ 28.20)

จากตาราง 8 จะเห็นว่า หลังการพัฒนาตามรู ปแบบการฝึ กครู ให้มีความสามารถในการจัด


การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด คะแนนความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิดของครู
กลุ่มเป้ าหมายทุกคนเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับก่อนการพัฒนา ซึ่ งโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 28.20 ของ
คะแนนเต็ม
87

ตาราง 9 ผลการเปรี ยบเทียบความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด


ของครู กลุ่มเป้ าหมาย ก่อนและหลังการพัฒนาตามรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด (วัดด้วยแบบทดสอบ)

จานวน คะแนน ร้อยละ ส่ วนเบี่ยงเบน ทดสอบที


ช่วงในการวัด ค่าเฉลี่ย
คน เต็ม ของค่าเฉลี่ย มาตรฐาน (t-test)
ก่อนการพัฒนา 14 40 18.29 45.73 2.89
9.54**
หลังการพัฒนา 14 40 29.57 73.93 3.82
** มีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากตาราง 9 จะเห็นว่า ก่อนการพัฒนาตามรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถใน


การจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด ครู กลุ่มเป้ าหมายมีคะแนนเฉลี่ยของความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
การจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดเท่ากับร้อยละ 45.73 แต่หลังการพัฒนามีคะแนนเฉลี่ยสู งขึ้นเป็ น
ร้อยละ 73.93 เมื่อทาการทดสอบค่าเฉลี่ยดังกล่าวด้วยสถิติทดสอบทีแบบสองกลุ่มไม่อิสระกัน
(t-test แบบ Dependent Samples) พบว่า ค่าเฉลี่ยหลังการพัฒนาสู งกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01

1.2 ผลการเปรี ยบเทียบความรู ้ ความเข้าใจของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการรู ้ที่เน้น


การคิด ก่อนและหลังการพัฒนา จากการวัดด้วยแบบประเมินตนเอง
ผลการเปรี ยบเทียบความรู้ ความเข้าใจของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการรู ้ที่เน้น
การคิด ก่อนและหลังการพัฒนาตามรู ปแบบที่สร้างขึ้น ซึ่งวัดด้วยแบบประเมินตนเอง ปรากฏดัง
ตาราง 10 และตาราง 11
88

ตาราง 10 ผลการเปรี ยบเทียบความรู ้ ความเข้าใจของครู กลุ่มเป้ าหมายเกี่ยวกับการจัด


การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ก่อนและหลังการพัฒนาตามรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด (วัดด้วยแบบประเมินตนเอง)
จาแนกเป็ นรายบุคล

ก่อนการพัฒนา หลังการพัฒนา
ครู
ค่าเฉลี่ยของการประเมิน ระดับความรู้ ค่าเฉลี่ยของการประเมิน ระดับความรู้
คนที่
ตนเอง (5 คะแนน) ความเข้าใจ ตนเอง (5 คะแนน) ความเข้าใจ
1 3.29 ปานกลาง 4.29 มาก
2 2.00 น้อย 3.71 มาก
3 3.29 ปานกลาง 4.14 มาก
4 3.43 ปานกลาง 4.57 มาก
5 2.86 ปานกลาง 4.14 มาก
6 2.86 ปานกลาง 4.14 มาก
7 2.86 ปานกลาง 4.29 มาก
8 2.71 ปานกลาง 4.00 มาก
9 2.57 ปานกลาง 3.86 มาก
10 2.43 น้อย 3.71 มาก
11 2.00 น้อย 3.71 มาก
12 2.29 น้อย 3.71 มาก
13 2.00 น้อย 4.00 มาก
14 4.14 มาก 4.71 มาก
รวม 2.77 ปานกลาง 4.05 มาก
หมายเหตุ เกณฑ์การประเมิน 4.50 – 5.00, 3.50 – 4.49, 2.50 – 3.49, 1.50 – 2.49 และ
1.00 – 1.49 หมายถึง มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ตามลาดับ

จากตาราง 10 จากการให้ครู กลุ่มเป้ าหมายทั้ง 14 คน ประเมินตนเองด้านความรู้ ความเข้าใจ


เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด พบว่า ก่อนการพัฒนา มีครู 1 คน ประเมินตนเองอยูใ่ นระดับ
มาก ครู 5 คน ประเมินตนเองอยูใ่ นระดับน้อย ที่เหลือ 8 คน ประเมินตนเองอยูใ่ นระดับปานกลาง
ส่ วนในภาพรวมของครู ท้ งั หมดอยูใ่ นระดับปานกลาง แต่ภายหลังการพัฒนา ครู ทุกคนประเมิน
ตนเองอยูใ่ นระดับมาก และในภาพรวมของครู ท้ งั หมดอยูใ่ นระดับมาก
89

ตาราง 11 ผลการเปรี ยบเทียบความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด


ของครู กลุ่มเป้ าหมาย ก่อนและหลังการพัฒนาตามรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด (วัดด้วยแบบประเมินตนเอง)

ระดับ
จานวน คะแนน ส่ วนเบี่ยงเบน ทดสอบที
ช่วงในการวัด ค่าเฉลี่ย ความรู้
คน เต็ม มาตรฐาน (t-test)
ความเข้าใจ
ก่อนการพัฒนา 14 5 2.77 .62 ปานกลาง
13.93**
หลังการพัฒนา 14 5 4.05 .35 มาก
** มีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01

จากตาราง 11 จะเห็นว่า ก่อนการพัฒนาตามรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถใน


การจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด ครู กลุ่มเป้ าหมายมีคะแนนเฉลี่ยประเมินตนเองด้านความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดเท่ากับ 2.77 (เต็ม 5 คะแนน) ซึ่ งอยูใ่ นระดับ
ปานกลาง แต่หลังการพัฒนาประเมินตนเองสู งขึ้นเป็ น 4.05 ซึ่ งอยูใ่ นระดับมาก เมื่อทาการทดสอบ
ค่าเฉลี่ยดังกล่าวด้วยสถิติทดสอบทีแบบสองกลุ่มไม่อิสระกัน (t-test แบบ Dependent Samples)
พบว่า ค่าเฉลี่ยหลังการพัฒนาสู งกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01

2. ผลการประเมินความสามารถของครู ในการจัดทาแผนการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด


ผลการประเมินความสามารถของครู ในการจัดทาแผนการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ซึ่งประเมิน
จากความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิดที่ค รู พฒั นาขึ้นกับเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้ โดย
ผูเ้ ชี่ยวชาญ 3 ท่าน ปรากฏผลดังตาราง 12 และตาราง 13

ตาราง 12 ผลการประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด


ที่ครู พฒั นาขึ้นกับเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้ ประเมินโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ 3 ท่าน จาแนกเป็ นรายบุคคล

ค่าเฉลี่ยคะแนนความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ฯ ของครู คนที่


รายการประเมิน
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
1. สาระสาคัญ 4.11 4.44 4.56 4.22 5.00 4.89 4.44 4.56 4.78 4.00 4.67 3.89 4.33 4.89
1) ครอบคลุม 3.67 4.33 4.00 4.00 5.00 4.67 4.33 4.67 4.67 4.67 4.33 3.67 4.00 5.00
จุดประสงค์
การเรี ยนรู ้
90

ตาราง 12 (ต่อ)

ค่าเฉลี่ยคะแนนความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ฯ ของครู คนที่


รายการประเมิน
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
2) ครอบคลุม 4.67 5.00 5.00 4.67 5.00 5.00 4.67 4.67 5.00 4.33 5.00 4.33 5.00 5.00
ขอบข่ายสาระ
การเรี ยนรู ้ /
เนื้อหา
3) กะทัดรัดแต่ 4.00 4.00 4.67 4.00 5.00 5.00 4.33 4.33 4.67 4.00 4.67 3.67 4.00 4.67
ได้ใจความชัดเจน
สมบูรณ์
2. จุดประสงค์ 4.67 4.87 4.80 4.80 4.93 5.00 4.80 4.80 4.80 4.67 4.93 4.33 4.60 4.93
การเรียนรู้
1) สอดคล้องและ 4.67 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 4.33 5.00 5.00
ครอบคลุมกับ
สาระการเรี ยนรู ้/
เนื้อหา
2) ระบุพฤติกรรม 4.00 4.33 4.00 4.00 4.67 5.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.67 3.33 4.00 4.67
สอดคล้องกับ
กระบวนการ
จัดการเรี ยนรู ้
3) มีความเฉพาะ 4.67 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 4.33 5.00 4.00 4.00 5.00
เจาะจง
4) มีความเป็ นไป 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00
ได้ที่จะบรรลุผล
5) สามารถวัด 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00
และประเมินผลได้
3. สาระการเรียนรู้ 4.33 4.44 4.44 4.56 4.89 4.89 4.67 4.67 4.89 4.33 4.56 4.33 4.33 4.78
1) ระบุขอบข่าย 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00
เรื่ องที่จะเรี ยน
อย่างชัดเจน
2) สอดคล้องกับ 4.00 4.33 4.00 4.67 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.67
สาระสาคัญที่
กาหนดไว้
91

ตาราง 12 (ต่อ)

ค่าเฉลี่ยคะแนนความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ฯ ของครู คนที่


รายการประเมิน
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
3) น่าสนใจ 4.00 4.00 4.33 4.00 4.67 4.67 4.00 4.00 4.67 4.00 4.67 4.00 4.00 4.67
เหมาะสมกับ
ระดับชั้นของ
ผูเ้ รี ยน
4) เหมาะสมกับ 3.33 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 3.33 4.00 3.33 3.67 4.00
กระบวนการ
เรี ยนรู ้และเวลา
4. กระบวนการ 3.86 4.29 4.38 4.10 4.90 4.81 4.29 4.48 4.57 3.95 4.57 3.81 4.24 4.86
จัดการเรียนรู้ /
กิจกรรม
การเรียนรู้
1) เป็ นลาดับ 4.00 4.00 4.00 4.00 5.00 5.00 4.33 4.67 4.67 4.00 4.67 4.00 4.00 4.67
ขั้นตอนที่
เหมาะสมกับ
ธรรมชาติของ
เนื้อหาวิชา
2) สอดคล้องกับ 3.67 4.00 4.33 4.00 5.00 5.00 4.33 4.33 5.00 4.00 4.67 3.67 4.00 5.00
จุดประสงค์
การเรี ยนรู ้ และ
สามารถทาให้
บรรลุ
จุดประสงค์
การเรี ยนรู ้ได้
3) สอดคล้องกับ 4.33 5.00 5.00 4.33 5.00 5.00 4.33 5.00 5.00 4.67 5.00 4.33 4.67 5.00
สาระการเรี ยนรู ้
4) เหมาะสมกับ 3.33 4.00 4.33 4.00 5.00 5.00 4.00 4.33 4.33 3.33 4.33 3.33 4.00 5.00
วัยธรรมชาติ
และความสนใจ
ของผูเ้ รี ยน
92

ตาราง 12 (ต่อ)

ค่าเฉลี่ยคะแนนความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ฯ ของครู คนที่


รายการประเมิน
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
5) ใช้รูปแบบ/วิธี/ 4.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 4.33 5.00 4.67 5.00 5.00
เทคนิคการจัด
การเรี ยนรู ้ที่จะ
ช่วยส่งเสริ มให้
ผูเ้ รี ยนพัฒนา
การคิด
6) ใช้เทคนิคการ 3.67 4.00 4.00 3.33 4.33 4.00 4.00 4.00 4.00 3.33 4.33 3.33 4.00 4.67
จัดการเรี ยนรู ้ที่
จะช่วยให้ผเู ้ รี ยน
กระตือรื อร้นที่
จะเรี ยนรู ้
7) กิจกรรมการ 4.00 4.00 4.00 4.00 5.00 4.67 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 3.33 4.00 4.67
เรี ยนรู ้ส่งเสริ ม
ให้ผเู ้ รี ยนสร้าง
ความรู ้และสรุ ป
ความรู ้ดว้ ย
ตนเอง
5. สื่อ/นวัตกรรม/ 4.06 4.44 4.61 4.22 4.94 4.83 4.44 4.83 4.89 4.06 4.79 3.94 4.22 4.94
แหล่ งเรียนรู้
1) สอดคล้องกับ 3.67 4.33 4.00 4.00 5.00 5.00 4.00 5.00 5.00 3.67 4.33 3.33 4.00 5.00
สาระการเรี ยนรู ้
2) สอดคล้องกับ 4.00 4.67 5.00 4.00 5.00 5.00 4.00 5.00 5.00 4.00 5.00 4.00 4.00 5.00
กิจกรรมการ
เรี ยนรู ้
3) สอดคล้องกับ 4.00 4.00 4.00 4.00 4.67 4.00 4.00 4.00 4.33 4.00 4.00 4.00 4.00 4.67
จุดประสงค์
การเรี ยนรู ้
4) มีความน่าสนใจ 4.67 5.00 5.00 4.67 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 4.67 5.00 4.33 5.00 5.00
กระตุน้ ให้เกิด
การเรี ยนรู ้
93

ตาราง 12 (ต่อ)

ค่าเฉลี่ยคะแนนความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ฯ ของครู คนที่


รายการประเมิน
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
5) ส่งเสริ มให้ 4.00 4.33 4.67 4.33 5.00 5.00 4.67 5.00 5.00 4.00 5.00 4.00 5.00 5.00
ผูเ้ รี ยนได้ฝึกคิด
6) เหมาะสมกับวัย 4.00 4.33 5.00 4.33 5.00 5.00 5.00 5.00 5.00 4.00 5.00 4.00 4.43 5.00
ของผูเ้ รี ยน
6. การวัดและ 3.57 3.89 4.00 3.89 4.78 4.67 4.00 4.22 4.11 3.78 4.22 3.56 3.78 4.67
ประเมินผล
1) มีการวัดและ 3.33 3.67 3.67 3.67 4.33 4.33 4.00 4.33 4.00 3.33 4.00 3.33 3.67 4.33
ประเมินผล
การเรี ยนรู ้
ที่หลากหลาย
2) วิธีวดั และ 4.00 4.00 4.33 4.00 5.00 5.00 4.00 4.33 4.33 4.00 4.67 4.00 4.00 5.00
เครื่ องมือวัด
สอดคล้องตาม
จุดประสงค์และ
สามารถ
ประเมิน
สิ่ งที่ตอ้ งการ
ประเมินได้จริ ง
3) มีเกณฑ์การ 3.33 4.00 4.00 4.00 5.00 4.67 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 3.33 3.67 4.67
ประเมินผล
การเรี ยนรู ้
ที่ชดั เจน
รวมทุก 4.10 4.40 4.47 4.30 4.91 4.85 4.44 4.59 4.67 4.13 4.61 3.98 4.25 4.84
องค์ ประกอบ

ระดับความ
มากทีส่ ุ ด
มากทีส่ ุ ด

มากทีส่ ุ ด
มากทีส่ ุ ด

มากทีส่ ุ ด

มากทีส่ ุ ด
,มาก
มาก

มาก
มาก

มาก

มาก

มาก
มาก

เหมาะสม

หมายเหตุ เกณฑ์ความเหมาะสม 4.50 – 5.00, 3.50 – 4.49, 2.50 – 3.49, 1.50 – 2.49 และ 1.00 – 1.49
หมายถึง มีความเหมาะสมอยูใ่ นระดับ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด
ตามลาดับ โดยที่เกณฑ์ผา่ นที่ต้ งั ไว้คือตั้งแต่ 3.50 ขึ้นไป
94

จากตาราง 12 จะเห็นว่าแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นกระบวนการคิดที่ครู กลุ่มเป้ าหมาย


ทั้ง 14 คน สร้างขึ้น มีความเหมาะสมผ่านเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 3.50 ขึ้นไป (คะแนนเต็ม 5) ต่าสุ ด
3.98 สู งสุ ด 4.91 หรื อมีความเหมาะสมในระดับมากถึงมากที่สุด โดยที่ มีครู 6 คน (ร้อยละ 42.86)
สามารถเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิดได้เหมาะสมในระดับมากที่สุด ที่เหลือ
8 คน (ร้อยละ 57.14) เขียนได้เหมาะสมในระดับมาก แสดงให้เห็นว่า ภายหลังการพัฒนา ครู ทุกคนมี
ความสามารถในการจัดทาแผนการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดผ่านเกณฑ์ที่ต้ ังไว้

ตาราง 13 ผลการประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด


ที่ครู พฒั นาขึ้นในภาพรวมของครู 14 คน กับเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้ ประเมินโดยผูเ้ ชี่ยวชาญ
3 ท่าน

ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ
รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย
มาตรฐาน ความเหมาะสม
1. สาระสาคัญ 4.48 .34 มาก
1) ครอบคลุมจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ 4.29 .47 มาก
2) ครอบคลุมขอบข่ายสาระ การเรี ยนรู ้ /เนื้อหา 4.81 .25 มากที่สุด
3) กะทัดรัดแต่ได้ใจความชัดเจนสมบูรณ์ 4.29 .42 มาก
2. จุดประสงค์ การเรียนรู้ 4.78 .17 มากทีส่ ุ ด
1) สอดคล้องและครอบคลุมกับสาระการเรี ยนรู/้ เนื้อหา 4.81 .19 มากที่สุด
2) ระบุพฤติกรรมสอดคล้องกับกระบวนการ จัด 4.81 .43 มากที่สุด
การเรี ยนรู ้
3) มีความเฉพาะเจาะจง 4.93 .38 มากที่สุด
4) มีความเป็ นไปได้ที่จะบรรลุผล 5.00 .00 มากที่สุด
5) สามารถวัดและประเมินผลได้ 5.00 .00 มากที่สุด
3. สาระการเรียนรู้ 4.58 .22 มากทีส่ ุ ด
1) ระบุขอบข่ายเรื่ องที่จะเรี ยนอย่างชัดเจน 5.00 .00 มากที่สุด
2) สอดคล้องกับสาระสาคัญที่กาหนดไว้ 4.48 .47 มาก
3) น่าสนใจเหมาะสมกับระดับชั้นของผูเ้ รี ยน 5.00 .32 มากที่สุด
4) เหมาะสมกับกระบวนการเรี ยนรู ้และเวลา 3.83 .29 มาก
4. กระบวนการจัดการเรียนรู้/ กิจกรรมการเรียนรู้ 4.36 .36 มาก
1) เป็ นลาดับขั้นตอนที่เหมาะสมกับธรรมชาติของ 4.36 .40 มาก
เนื้อหาวิชาที่สอน
95

ตาราง 13 (ต่อ)

ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ
รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย
มาตรฐาน ความเหมาะสม
2) สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ และสามารถ 4.36 .50 มาก
ทาให้บรรลุจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ได้
3) สอดคล้องกับสาระการเรี ยนรู ้ 4.76 .30 มากที่สุด
4) เหมาะสมกับวัยธรรมชาติและ ความสนใจของผูเ้ รี ยน 4.17 .58 มาก
5) ใช้รูปแบบ/วิธี/เทคนิคการจัดการเรี ยนรู ้ที่จะ ช่วย 4.86 .31 มากที่สุด
ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาการคิด
6) ใช้เทคนิคการจัดการเรี ยนรู ้ที่จะ ช่วยให้ผเู ้ รี ยน 3.93 .40 มาก
กระตือรื อร้นที่จะเรี ยนรู ้
7) กิจกรรมการเรี ยนรู ้ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนสร้างความรู ้ 4.12 .41 มาก
และสรุ ปความรู ้ดว้ ยตนเอง
5. สื่อ/นวัตกรรม/แหล่ งเรียนรู้ 4.51 .36 มากทีส่ ุ ด
1) สอดคล้องกับสาระการเรี ยนรู ้ 4.31 .59 มาก
2) สอดคล้องกับกิจกรรมการเรี ยนรู ้ 4.55 .50 มากที่สุด
3) สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ 4.12 .25 มาก
4) มีความน่าสนใจ กระตุน้ ให้เกิดการเรี ยนรู ้ 4.88 .21 มากที่สุด
5) ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกคิด 4.57 .44 มากที่สุด
6) เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รี ยน 4.64 .44 มากที่สุด
6. การวัดและประเมินผล 4.08 .40 มาก
1) มีการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย 3.86 .39 มาก
2) วิธีวดั และเครื่ องมือวัดสอดคล้องตามจุดประสงค์และ 4.33 .41 มาก
สามารถประเมินสิ่ งที่ตอ้ งการประเมินได้จริ ง
3) มีเกณฑ์การประเมินผลการเรี ยนรู ้ที่ชดั เจน 4.05 .47 มาก
รวมทุกองค์ ประกอบ 4.47 .30 มาก

หมายเหตุ เกณฑ์ความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ฯ ใช้เกณฑ์เดียวกันกับตาราง 6

จากตาราง 13 จะเห็นว่า ในภาพรวมทุกองค์ประกอบของแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด


ที่ครู กลุ่มเป้ าหมายสร้างขึ้น มีความเหมาะสมในระดับมาก (ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมเท่ากับ 4.47 จาก
คะแนนเต็ม 5) ซึ่ งผ่านเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 3.50 ขึ้นไป ซึ่ งเมื่อพิจารณาในแต่องค์ประกอบ พบว่า มี
3 องค์ประกอบที่เขียนได้เหมาะสมในระดับมากที่สุด คือ จุดประสงค์การเรี ยนรู้ สาระการเรี ยนรู้
96

และ สื่ อ/นวัตกรรม/แหล่งเรี ยนรู ้ ที่เหลือ 3 องค์ประกอบที่เขียนได้เหมาะสมในระดับมาก คือ


สาระสาคัญ กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ / กิจกรรมการเรี ยนรู ้ และการวัดและประเมินผล โดยค่าเฉลี่ย
ความเหมาะสมในองค์ประกอบการเขียนจุดประสงค์การเรี ยนรู ้มีค่ามากสุ ด ต่าสุ ดเป็ นองค์ประกอบ
การวัดและประเมินผล และเมื่อพิจารณาแยกตามรายการประเมินในแต่ละองค์ประกอบ พบว่า มี
รายการที่ครู เขียนได้เหมาะสมในระดับมากที่สุด ดังนี้
1. การเขียนสาระสาคัญ พบว่า ในภาพรวมเหมาะสมในระดับมาก แต่มี 1 รายการที่เขียนได้
เหมาะสมมากที่สุด คือ เขียนสาระสาคัญได้ครอบคลุมขอบข่ายสาระ การเรี ยนรู้ /เนื้อหา ส่ วนรายการ
อื่น ๆ อยูใ่ นระดับมาก
2. การเขียนจุดประสงค์การเรี ยนรู้ พบว่า ทั้งในภาพรวมและทุกรายการประเมินย่อยมี
ความเหมาะสมในระดับมากที่สุด
3. การเขียนสาระการเรี ยนรู ้ พบว่า ในภาพรวมเหมาะสมในระดับมากที่สุด โดยมี 2 รายการ
ที่เขียนได้เหมาะสมมากที่สุด คือ มีการระบุขอบข่ายเรื่ องที่จะเรี ยนอย่างชัดเจน และมีความน่าสนใจ
เหมาะสมกับระดับชั้นของผูเ้ รี ยน ส่ วนอีก 2 รายการเขียนได้เหมาะสมในระดับมาก คือ เขียนได้
สอดคล้องกับสาระสาคัญที่กาหนดไว้ และมีความเหมาะสมกับกระบวนการเรี ยนรู ้และเวลา
4. การเขียนกระบวนการจัดการเรี ยนรู้ / กิจกรรมการเรี ยนรู ้สาระการเรี ยนรู ้ พบว่า ใน
ภาพรวมเหมาะสมในระดับมาก โดยมี 2 รายการที่เขียนได้เหมาะสมมากที่สุด คือ ความสอดคล้อง
กับสาระการเรี ยนรู ้ และการใช้รูปแบบ/วิธี/เทคนิคการจัดการเรี ยนรู ้ที่จะช่วยส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยน
พัฒนาการคิด ส่ วนอีก 5 รายการที่เหลือเขียนได้เหมาะสมในระดับมาก
5. การเขียนสื่ อ/นวัตกรรม/แหล่งเรี ยนรู ้ พบว่า ในภาพรวมเหมาะสมในระดับมากที่สุด
โดยมี 4 รายการที่เขียนได้เหมาะสมมากที่สุด คือความสอดคล้องกับกิจกรรมการเรี ยนรู ้
ความน่าสนใจกระตุน้ ให้เกิดการเรี ยนรู ้ การส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกคิด และความเหมาะสมกับวัย
ของผูเ้ รี ยน ส่ วนอีก 2 รายการที่เหลือเขียนได้เหมาะสมในระดับมาก คือ ความสอดคล้องกับ
สาระการเรี ยนรู้ และความสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้
6. การเขียนการวัดและประเมินผล พบว่า ทั้งในภาพรวมและทุกรายการประเมินย่อยมี
ความเหมาะสมในระดับมาก
97

ผลการศึกษาความพึงพอใจของครู ต่อการใช้ รูปแบบการพัฒนาครู ให้ มี


ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด

ผลการศึกษาความพึงพอใจของครู กลุ่มเป้ าหมายทั้ง 14 คน เกี่ยวกับการใช้รูปแบบ


การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เ น้นการคิด ปรากฏดังตาราง 14

ตาราง 14 ผลการศึกษาความพึงพอใจของครู กลุ่มเป้ าหมาย 14 คน เกี่ยวกับการใช้รูปแบบ


การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด

ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ
รายการสารวจ ค่าเฉลี่ย
มาตรฐาน ความพึงพอใจ
1. ครู กลุ่มเป้ าหมายมีส่วนร่ วมในการกาหนดรู ปแบบ 4.82 .40 มากที่สุด
การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่
เน้นการคิด
2. รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัด 5.00 .00 มากที่สุด
การเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดสอดคล้องกับความต้องการ
ของครู กลุ่มเป้ าหมาย
3. การพัฒนาครู โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานเป็ นรู ปแบบที่ดี 4.73 .47 มากที่สุด
เพราะช่วยส่งเสริ มให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไป
ในทิศทางเดียวกันทั้งโรงเรี ยน
4. บุคลากรทุกคนในโรงเรี ยนรับรู ้ เข้าใจ ต้องการและยินดี 4.91 .30 มากที่สุด
เข้าร่ วมกิจกรรม โดยเฉพาะผูอ้ านวยการโรงเรี ยน
เห็นความสาคัญและให้การสนับสนุน
5. กระบวนการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัด 4.55 .52 มากที่สุด
การเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด มีความเหมาะสม
6. กิจกรรมต่าง ๆ ของกระบวนการพัฒนาครูให้มี 4.64 .50 มากที่สุด
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด
ส่งเสริ มให้ครู มีความรู ้ ความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดมากยิง่ ขึ้น
7. การได้เข้าร่ วมกิจกรรมครั้งนี้ มีผลทาให้ครู มีเจตคติที่ดี 4.55 .52 มากที่สุด
ยิง่ ขึ้นต่อการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดของนักเรี ยน
98

ตาราง 14 (ต่อ)

ส่วนเบี่ยงเบน ระดับ
รายการสารวจ ค่าเฉลี่ย
มาตรฐาน ความพึงพอใจ
8. การได้เข้าร่ วมกิจกรรมทาให้ครู มีความมัน่ ใจ มากยิง่ ขึ้น 4.36 .50 มาก
ในการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด
9. การสอนโดยใช้แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดที่ครู 4.73 .47 มากที่สุด
สร้างขึ้น ส่งเสริ มให้นกั เรี ยนมีความกระตือรื อร้นใน
การทากิจกรรมมากขึ้น
10. นักเรี ยนพอใจที่ครู จดั กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งเสริ มให้ 4.73 .47 มากที่สุด
พวกเขาได้คิด ได้แสดงความคิดเห็น และลงมือปฏิบตั ิ
จริ งร่ วมกับเพื่อน ๆ
11. นักเรี ยนกล้าคิด กล้าแสดงความคิดเห็นมากขึ้น เมื่อครู 4.36 .50 มาก
กระตุน้ โดยกิจกรรมต่าง ๆ ในแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่
เน้นการคิด
ภาพรวม 4.67 .30 มากทีส่ ุ ด

หมายเหตุ เกณฑ์การประเมิน 4.50 – 5.00, 3.50 – 4.49, 2.50 – 3.49, 1.50 – 2.49 และ
1.00 – 1.49 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย
และน้อยที่สุด ตามลาดับ

จากตาราง 14 ผลการศึกษาความพึงพอใจของครู กลุ่มเป้ าหมายทั้ง 14 คน ต่อการใช้รูปแบบ


การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด พบว่า ความพึงพอใจของครู ใน
ภาพรวมอยูใ่ นระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาในแต่ละรายการสารวจ พบว่า จาก 11 รายการ
มี 9 รายการที่ครู มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ได้แก่ 1) ครู กลุ่มเป้ าหมายมีส่วนร่ วมใน
การกาหนดรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด 2) รู ปแบบ
การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดสอดคล้องกับความต้องการของครู
กลุ่มเป้ าหมาย 3) การพัฒนาครู โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานเป็ นรู ปแบบที่ดีเพราะช่วยส่ งเสริ มให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปในทิศทางเดียวกันทั้งโรงเรี ยน 4) บุคลากรทุกคนในโรงเรี ยนรับรู้
เข้าใจ ต้องการและยินดีเข้าร่ วมกิจกรรม โดยเฉพาะผูอ้ านวยการโรงเรี ยนเห็นความสาคัญและให้
การสนับสนุน 5) กระบวนการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
มีความเหมาะสม 6) กิจกรรมต่าง ๆ ของกระบวนการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิดส่ งเสริ มให้ครู มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิดมาก
99

ยิง่ ขึ้น 7) การได้เข้าร่ วมกิจกรรมมีผลทาให้ครู มีเจตคติที่ดียงิ่ ขึ้นต่อการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น การคิดของ


นักเรี ยน 8) การสอนโดยใช้แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดที่ครู สร้างขึ้น ส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนมี
ความกระตือรื อร้นในการทากิจกรรมมากขึ้น และ 9) นักเรี ยนพอใจที่ครู จดั กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อ
ส่ งเสริ มให้พวกเขาได้คิด ได้แสดงความคิดเห็น และลงมือปฏิบตั ิจริ งร่ วมกับเพื่อน ๆ ในขณะที่มี
2 รายการที่ครู มีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมาก คือ 1) การได้เข้าร่ วมกิจกรรมทาให้ครู มีความมัน่ ใจ
มากยิง่ ขึ้นในการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด และ 2) นักเรี ยนกล้าคิด กล้าแสดง
ความคิดเห็นมากขึ้น เมื่อครู กระตุน้ โดยกิจกรรมต่าง ๆ ในแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด

นอกจากนั้นครู กลุ่มเป้ าหมายยังได้เสนอข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ ดังนี้


1. ควรจัดหาตัวอย่างนวัตกรรมส่ งเสริ มการคิดของนักเรี ยนห้องสมุดของโรงเรี ยนให้ครบ
ทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
2. ควรเน้นการเขียนรายงานการพัฒนานวัตกรรมส่ งเสริ มการคิดของนักเรี ยนด้วย (รายงาน
แบบเป็ นทางการ 5 บท) เพราะจะเป็ นประโยชน์ต่อการทาผลงานทางวิชาการ (คส. 3)
3. ควรมีตวั อย่างการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดให้ครบทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
4. ควรเพิ่มเวลาในการฝึ กทักษะการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นกระบวนการคิด
ให้มากกว่านี้
100

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์ 4 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพ


ปั ญหา และความต้องการของครู ในโรงเรี ยนเป้ าหมาย เกี่ยวข้องกับการพัฒนาครู ให้มีความสามารถ
ในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด 2) เพื่อพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถใน
การจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดที่สอดคล้องกับสภาพ ปั ญหา และความต้องการของครู ในโรงเรี ยน
เป้ าหมาย 3) เพื่อศึกษาความสามารถของครู ในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด หลังการพัฒนาตาม
รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ ที่เน้นการคิด โดยกาหนดเป็ น
วัตถุประสงค์ยอ่ ย 2 ประการ คือ 3.1) เพื่อเปรี ยบเทียบความรู ้ ความเข้าใจของครู เกี่ยวกับการจัด
การเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด ก่อนและหลังการพัฒนาตามรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถใน
การจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด ทั้งในแง่ของการประเมินด้ วยแบบทดสอบ และแบบประเมินตนเอง
3.2) เพื่อประเมินความสามารถของครู ในการจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด โดยพิจารณา
จากความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู้ และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครู ต่อการใช้
รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้ นการคิด
กลุ่มเป้ าหมายเป็ นครู โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” สังกัดสานักงานพื้นที่
การศึกษาสกลนครเขต 1 ปี การศึกษา 2551 จานวน 14 คน ซึ่ งขั้นตอนการดาเนินการวิจยั มี
6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นเตรี ยมการ 2) ขั้นศึกษาปั ญหาและกาหนดวิธีการแก้ไข 3) ขั้นวางแผน
ปฏิบตั ิการแก้ปัญหา 4) ขั้นวางแผนติดตามและประเมินผล 5) ขั้นปฏิบตั ิการตามแผนที่วางไว้ และ
6) ขั้นประเมินผลการปฏิบตั ิการแก้ปัญหา

สรุปผลการวิจัย

จากการวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม โดยอาศัยการทางานร่ วมกันระหว่างคณะผูว้ จิ ยั และ


บุคลากรทุกคนในโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” สังกัดสานักงานพื้นที่การศึกษา
สกลนครเขต 1 ปี การศึกษา 2551 อันประกอบด้วย ผูอ้ านวยการโรงเรี ยน และครู ผสู้ อน 14 คน
ได้ขอ้ สรุ ปผลการวิจยั เรี ยงลาดับตามวัตถุประสงค์ของการวิจยั ดังนี้
101

1. ผลการศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการของครู ในโรงเรี ยนเป้ าหมาย เกี่ยวข้องกับ


การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด พอสรุ ปได้วา่ ครู ทุกคนมีความเห็น
สอดคล้องกันว่า ความสามารถในการคิด โดยเฉพาะการคิดขั้นสู งของนักเรี ยนในห้องเรี ยนที่ตน
รับผิดชอบอยูใ่ นเกณฑ์ไม่น่าพอใจ ควรส่ งเสริ มให้ครู ได้รับการพัฒนาความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด โดยการจัดอบรมเชิงปฏิบตั ิการให้มีท้ งั ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ อย่างต่อเนื่อง
ตามประเด็นเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง จัดให้มีพี่เลี้ยงคอยให้คาแนะนา จัดระบบนิเทศ ติดตาม และ
ประเมินผลอย่างใกล้ชิดและสม่าเสมอ จัดให้มีชุดการเรี ยนรู้เพื่ อทบทวนและศึกษาเพิ่มด้วยตนเอง
จัดหาตัวอย่างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด รวมทั้งหนังสื อ ตารา และรายงานการวิจยั ที่
เกี่ยวข้องไว้ใน ห้องสมุดของโรงเรี ยน จัดทาเอกสารแนะนา Website รวมทั้งวิธีการสื บค้น จัดหา
ตัวอย่างนวัตกรรมเพื่อการเรี ยนรู ้ ที่เน้นพัฒนาการคิด เชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญสาธิตการสอน
เน้นการคิดในสถานการณ์จริ งในห้องเรี ยน และศึกษาดูงานโรงเรี ยนต้นแบบที่ประสบความสาเร็ จใน
การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
2. รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดที่พฒั นาขึ้น
ประกอบด้วย องค์ประกอบต่าง ๆ ได้แก่ 1) ชื่อรู ปแบบ 2) ความเป็ นมาและความสาคัญของรู ปแบบ
3) แนวคิดทฤษฎีพ้นื ฐานของรู ปแบบ 4) หลักการของรู ปแบบ 5) วัตถุประสงค์ของรู ปแบบ
6) เนื้อหาของรู ปแบบ 7) กระบวนการของรู ปแบบ 8) สื่ อและแหล่งเรี ยนรู ้ และ 9) การวัดและ
ประเมินผลรู ปแบบ ซึ่งรายละเอียดพอสังเขปในบางองค์ประกอบหลัก ๆ ดังนี้
2.1 แนวคิดพื้นฐานที่ใช้ในการพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถใน
การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิดมี 3 ประการ คือ การฝึ กอบรมอย่างมีส่วนร่ วม การฝึ กอบรมโดยใช้
โรงเรี ยนเป็ นฐาน และการอบรมเพื่อแก้ไขปั ญหาการปฏิบตั ิงานแบบครบวงจร
2.2 รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
มีหลักการสาคัญ ได้แก่ 1) บุคลากรทุกคนในโรงเรี ยนเป้ าหมายรับรู ้เข้าใจ ต้องการและยินดีเข้าร่ วม
กิจกรรม 2) ใช้กระบวนการมีส่วนร่ วมระหว่างบุคลากรในโรงเรี ยนและทีมวิทยากรภายนอก
3) ใช้การวิเคราะห์ปัญหาร่ วมกัน เพื่อให้ทุกคนรับรู ้ เข้าใจปั ญหาและสาเหตุของปั ญหาเกี่ยวกับ
การจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นการคิดของครู ในโรงเรี ยนเป้ าหมาย 4) มีการค้นหาแนวทางแก้ปัญหา
หรื อพัฒนาร่ วมกัน 5) ทีมวิทยากรภายนอก มีหน้าที่เป็ นที่ปรึ กษา ผูอ้ านวยความสะดวก ผูใ้ ห้
การช่วยเหลือ ชี้แนะ และให้ขอ้ มูลป้ อนกลับแก่ครู ในโรงเรี ยน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดี เสริ มสร้าง
ความมัน่ ใจ ในการทางาน 6) มุ่งเปลี่ยนแปลงทั้งความรู ้ ความเข้าใจ ความสามารถในการเขียน
แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด การนาแผนการจัดการเรี ยนรู ้สู่การปฏิบตั ิจริ งในห้ องเรี ยน
รวมทั้งเจตคติที่ดีต่อการสอนเพื่อพัฒนาการคิดของผูเ้ รี ยน และ 7) การพัฒนาจะต้องดาเนินการอย่าง
ต่อเนื่อง และเว้นระยะเวลาการทากิจกรรม ต่าง ๆ ของรู ปแบบพอสมควร เพื่อให้ครู ได้มีโอกาส
102

ทบทวนความรู ้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม และฝึ กปฏิบตั ิจริ งด้วยตนเอง ภายใต้การกากับดูแลของทีม


วิทยากรภายนอก
2.3 รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
มีวตั ถุประสงค์หลักเพื่อ 1) พัฒนาความรู ้ ความเข้าใจของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการรู ้ที่เน้น
กระบวนการคิด และ 2) เพื่อพัฒนาความสามารถของครู ในการจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น
การคิด และการนาแผนการจัดการเรี ยนรู้ ไปใช้
2.4 การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด มีเนื้อหา
จาเป็ นต้องสร้างความรู ้ ความเข้าใจให้กบั ครู ได้แก่ ความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ผเู ้ รี ยน
ทักษะการคิด ลักษณะการคิด และกระบวนการคิดต่าง ๆ รู ปแบบการสอน วิธีสอน และเทคนิคการ
สอนต่าง ๆ ที่ส่งเสริ มการคิดของผูเ้ รี ยน การเลือกสื่ อ อุปกรณ์ นวัตกรรม แหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ที่
ส่ งเสริ มการคิดของผูเ้ รี ยน วิธีการวัดและประเมินความสามารถในการคิด ของผูเ้ รี ยน การออกแบบ
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด การเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
2.5 กระบวนการของรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่
เน้นการคิด แบ่งออกเป็ น 2 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ระยะเตรี ยมการก่อนการพัฒนา และระยะที่ 2
ระยะปฏิบตั ิการ นิเทศ และติดตามการพัฒนา โดยที่ ระยะที่ 1 มีวตั ถุประสงค์หลัก เพื่อให้ผเู ้ กี่ยวข้อง
ทุกคนรับรู ้ เข้าใจปั ญหาและสาเหตุของปั ญหาเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นการคิดของครู
ในโรงเรี ยนเป้ าหมาย ค้นหาแนวทางแก้ปัญหาหรื อพัฒนาร่ วมกัน และวางแผนพัฒนาความสามารถ
ในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิดตามแนวทางที่วางไว้ ส่ วนระยะที่ 2 มีวตั ถุประสงค์หลัก เพื่อพัฒนา
ความสามารถของครู ในการจัดการเรี ยนการรู้ที่เน้นการคิด
กิจกรรมการพัฒนาครู ให้มีความสามารถของครู เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการรู ้
ที่เน้นการคิด ของโรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” ประกอบด้วย
1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบตั ิการ ซึ่ งมีท้ งั การเพิ่มพูนความรู ้เชิงทฤษฎี และการฝึ ก
ทักษะปฏิบตั ิในสถานการณ์จาลอง หรื อตามกิจกรรมฝึ กทักษะที่จดั เตรี ยมไว้
2) กิจกรรมสาธิ ตการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิดโดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ
3) กิจกรรมส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง จากแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ได้แก่
ชุดการเรี ยนรู้ ดว้ ยตนเอง หนังสื อ ตารา และรายงานการวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างแผนการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด และเครื อข่ายอินเตอร์เน็ต
4) กิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ได้แก่ การจัดหาพี่เลี้ยงให้คาแนะนาเกี่ยวกับ
การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด การติดตามให้คาปรึ กษา ให้การช่วยเหลือ ชี้แนะ และให้ขอ้ มูล
ป้ อนกลับแก่ครู ในโรงเรี ยนโดยทีมวิทยากร ซึ่ งสามารถจัดได้หลายรู ปแบบ ได้แก่ การเยีย่ มโรงเรี ยน
การให้คาปรึ กษาทางโทรศัพท์ การตรวจชิ้นงานและให้ขอ้ มูลป้ อนกลับเพื่อการปรับปรุ งแก้ไข
103

รวมทั้งการเรี ยนรู้จากโรงเรี ยนต้นแบบที่ประสบความสาเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด โดย


ศึกษาผ่านสื่ อเทคโนโลยี (วีซีดีหรื อวีดิโอ)
2.6 สื่ อ และแหล่งเรี ยนรู้ที่ใช้ในรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด มีหลากหลายรู ปแบบ เป็ นต้นว่า เอกสารประกอบการอบรม ชุดนาเสนอ
เพาเวอร์พอยต์ประกอบการบรรยายของวิทยากร ชุดการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง ฐานข้อมูลงานวิจยั ที่
เกี่ยวข้องจากเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต ตัวอย่างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ และนวัตกรรมการเรี ยนการสอนที่
เน้นการพัฒนาการคิด หนังสื อ ตาราต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งแหล่งเรี ยนรู ้บุคคลที่มีความรู ้
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
2.7 การวัดและประเมินผลรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ตามจุดประสงค์ของรู ปแบบ โดยใช้เครื่ องมือต่าง ๆ ได้แก่ แบบทดสอบ
ความรู ้เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด แบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัด
การเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดที่ครู สร้างขึ้น และแบบสอบถามความพึงพอใจของครู เกี่ยวกับการใช้รูปแบบ
การพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
3. ผลการใช้รูปแบบพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ ที่เน้นการคิด พบว่า
ได้ผลเป็ นที่น่าพอใจ กล่าวคือ
3.1 ก่อนการพัฒนา ครู กลุ่มเป้ าหมายมีคะแนนเฉลี่ยของความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
การจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดเท่ากับร้อยละ 45.73 แต่หลังการพัฒนามีคะแนนเฉลี่ยสู งขึ้นเป็ น
ร้อยละ 73.93 เมื่อทาการทดสอบค่าเฉลี่ยดังกล่าวด้วยสถิติทดสอบทีแบบสองกลุ่มไม่อิสระกัน พบว่า
ค่าเฉลี่ยหลังการพัฒนาสู งกว่าก่อนการพัฒนาอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3.2 หลังการพัฒนาครู กลุ่มเป้ าหมายทุกคนมีความสามารถในการจัดทาแผนการจัด
การเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดผ่านเกณฑ์ที่กาหนด กล่าวคือ แผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ครู กลุ่มเป้ าหมายสร้าง
ขึ้น มีความเหมาะสมผ่านเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 3.50 ขึ้นไป (คะแนนเต็ม 5) ต่าสุ ด 3.98 สู งสุ ด 4.91
4. หลังการพัฒนา ครู กลุ่มเป้ าหมายมีความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ในภาพรวมอยูใ่ นระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาใน
แต่ละรายการสารวจ พบว่า จาก 11 รายการสารวจ มี 9 รายการที่ครู มีความพึงพอใจในระดับมาก
ที่สุด ที่เหลืออีก 2 รายการมีความพึงพอใจในระดับมาก
104

อภิปรายผลการวิจัย

รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ที่พฒั นาขึ้นมี


ความเหมาะสม สามารถนาไปใช้ได้จริ งกับกลุ่มเป้ าหมาย และบรรลุตามวัตถุประสงค์ของรู ปแบบ
ทุกประการ กล่าวคือ ครู กลุ่มเป้ าหมายมีความรู ้ (เชิงทฤษฎี) เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น การคิด
สามารถนาความรู้ที่ได้ไปจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น การคิด และนาแผนการจัดการเรี ยนรู้ น้ นั
ไปทดลองใช้จริ งในห้องเรี ยน สร้างความพึงพอใจอย่างมากทั้งครู และนักเรี ยน ทั้งนี้เนื่องมาจาก
เหตุผลสาคัญ ดังนี้
1. รู ปแบบการพัฒนาครู ดงั กล่าวได้ถูกพัฒนาขึ้นอย่างมีระบบ เป็ นขั้นเป็ นตอนตาม
ระเบียบแบบแผนของการวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม (ร่ วมคิด ร่ วมตัดสิ นใจ ร่ วมวางแผน
ร่ วมปฏิบตั ิตามแผน ร่ วมประเมินผล และร่ วมรับผลต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น) โดยเริ่ มจาก 1) คณะผูว้ จิ ยั
ร่ วมกันศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด วิเคราะห์เชื่อมโยงความสัมพันธ์
องค์ความรู ้ต่าง ๆ ที่ได้ เพื่อลงสรุ ปให้เห็นภาพของ แนวคิด หลักการ กระบวนการ วิธีการ และอื่น ๆ
สาหรับใช้เป็ นแนวทางในการสร้างรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่
เน้นการคิด 2) คณะผูว้ จิ ยั ลงพื้นที่เพื่อเสริ มสร้างความร่ วมมือจากโรงเรี ยนเป้ าหมายและศึกษาข้อมูล
พื้นฐานของโรงเรี ยน โดยการพบปะพูดคุยกับผูอ้ านวยการโรงเรี ยน คณะครู ทุกคนในโรงเรี ยน เพื่อ
ชี้แจงรายละเอียดของโครงการวิจยั ประสานความร่ วมมือที่ดี สร้างความไว้วางใจ และการยอมรับ
รวมทั้งแนะนาแนวคิด หลักการ ความสาคัญ และขั้นตอนการวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม
พอสังเขป 3) คณะผูว้ จิ ยั ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน และครู กลุ่มเป้ าหมายร่ วมกัน ศึกษาสภาพ ปัญหา และ
ความต้องการเกี่ยวกับการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด พร้อมกับ
กาหนดแนวทางหรื อวิธีการพัฒนา จากนั้นร่ วมกันสร้างเป็ นรู ปแบบ จัดทาแผนปฏิบตั ิการ
แผนติดตามและประเมินผลการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
4) ร่ วมกันปฏิบตั ิการตามแผนที่วางไว้ พร้อมทั้งกากับ ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานหรื อ
กิจกรรมต่าง ๆ อย่างใกล้ชิดโดยใช้เครื่ องมือที่หลากหลาย ได้แก่ การสังเกต การสอบถามโดยใช้
แบบสอบถาม การพูดคุยอย่างไม่เป็ นทางการ การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ และการตรวจชิ้นงาน
และ 5) ร่ วมกันสะท้อนผลการติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานหรื อกิจกรรมต่าง ๆ และดาเนินการ
ปรับปรุ งแก้ไขทันทีเมื่อพบปั ญหาหรื อข้อบกพร่ อง
จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นว่าการใช้กระบวนการวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมใน
การพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้ นการคิดนั้น เป็ น
กระบวนการที่ดาเนินไปอย่างมีระบบ โดยทุกขั้นตอนของการวิจยั อาศัยความร่ วมมือ ร่ วมแรง
ร่ วมใจกันระหว่างคณะผูว้ จิ ยั และบุคลากรทุกคนในโรงเรี ยนเป้ าหมาย ทาให้ได้รูปแบบการพัฒนา
105

ครู ตรงกับสภาพ ปั ญหา ความต้องการของครู กลุ่มเป้ าหมาย และสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ของ


รู ปแบบที่วางไว้ ซึ่งสอดคล้องกับข้อสรุ ปของ กมล สุ ดประเสริ ฐ (2540 : 8-9) ที่กล่าวไว้วา่ การใช้
การวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วม หรื อ PAR อย่างถูกต้องจะเกิดผลสัมฤทธิ์ กบั กลุ่มเป้ าหมาย
อย่างน้อย 3 ประการ คือ 1) ได้เรี ยนรู ้เพิ่มขึ้น 2) มีการกระทามากขึ้น และ 3) มีการเผยแพร่ พลัง
ความรู ้กนั มากขึ้น ดังนั้น PAR จึงไม่ใช่แค่กระบวนการสื บค้นปั ญหาและแก้ปัญหาเท่านั้น แต่เป็ น
กระบวนการกระตุน้ ให้กลุ่มเป้ าหมายมีการกระทาต่อปั ญหาเหล่านั้น การกระทาอย่างหนึ่งอย่างใด
ต่อปั ญหาทาให้กลุ่มเป้ าหมายได้มีโอกาสเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ผลสุ ดท้ายกลุ่มเป้ าหมายมิได้
เพียงเรี ยนรู ้การแก้ปัญหา แต่ได้เพิ่มพูนความรู ้ให้พร้อมที่จะเผชิญกับปั ญหาที่ยากไปกว่านี้
นอกจากนี้ยงั สอดคล้องกับผลงานวิจยั ของ ประวิต เอราวรรณ์ และคณะ (2541 : บทคัดย่อ) ซึ่งได้
ศึกษาปัจจัยและเงื่อนไขการพัฒนาครู ในรู ปแบบการฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน ลักษณะ
กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ศึกษานิเทศก์จงั หวัด 22 คน ผูบ้ ริ หาร ครู และนักเรี ยนในโรงเรี ยนนาร่ อง
22 โรง และในจานวนนี้เลือกศึกษาเชิงลึกจานวน 4 โรงเรี ยน ผลการวิจยั พบว่า ปั จจัยสาคัญประการ
หนึ่งที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการฝึ กอบรมครู ในรู ปแบบ School Based Program คือ การมีส่วนร่ วม
ของบุคลากรในโรงเรี ยน ความพร้อมของโรงเรี ยน ได้แก่ ผูบ้ ริ หาร ครู และโรงเรี ยนมีความพร้อมที่
จะพัฒนาตนเอง
2. รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด ถูกพัฒนาขึ้น
โดยมีแนวคิด ทฤษฎีพ้นื ฐานที่เหมาะสม 3 ประการ คือ การฝึ กอบรมอย่างมีส่วนร่ วม การฝึ กอบรม
โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน และการอบรมเพื่อแก้ไขปั ญหาการปฏิบตั ิงานแบบครบวงจร ซึ่ งทั้ง 3
แนวคิดทฤษฎีดงั กล่าว มีจุดเด่นที่สาคัญดังนี้
2.1 การฝึ กอบรมอย่างมีส่วนร่ วม เป็ นแนวคิดที่ใช้กลวิธีและข้อ ดีของการมีส่วนร่ วม
มาพัฒนาศักยภาพของผูเ้ ข้าอบรม โดยการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ให้ตามความสนใจของ
ผูเ้ ข้าอบรมในกรอบของหลักสู ตร บนหลักการและทักษะต่าง ๆ ที่ จาเป็ นในการมีส่วนร่ วม
(จงกลนี ชุติมาเทวินทร์ . 2544 : 125) ซึ่ งจากแนวคิดนี้ จงกลนี ชุติมาเทวินทร์ (2544 : 27) ได้เสนอ
กระบวนการอบรมเพื่อแก้ไขปั ญหาการปฏิบตั ิงานแบบครบวงจร โดยดัดแปลงมาจากรู ปแบบของ
แบรี่ สมิท และเบรน เดลาเฮย์ (Smith & Delahaye) ซึ่งมี 22 ขั้นตอน ได้แก่ 1) สารวจปัญหาหรื อ
ความจาเป็ น 2) ระบุปัญหา 3) ระบุสาเหตุของปัญหา 4) นิยามปัญหา 5) เสนอทางเลือกเพื่อแก้ปัญหา
6) ประเมินทางเลือก 7) ตกลงใจเลือกวิธีการแก้ปัญหาทางใดทางหนึ่ง โดยที่ 8) แนวทางเลือกมี 2
แนวทางคือ เลือกการฝึ กอบรม และเลือกวิธีอื่นที่ไม่ใช่การอบรม ซึ่ งถ้าเลือกการฝึ กอบรม ให้ดาเนิน
ขั้นต่อ ๆ ไปคือ 9) วิเคราะห์หาความจาเป็ น 10) ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในวัตถุประสงค์
11)ระบุวธิ ีวดั ผลการปฏิบตั ิงาน 12)ระบุกลุ่มเป้ าหมายและเนื้อหาวิชาอบรม 13) เตรี ยมแบบทดสอบ
14) เตรี ยมเทคนิค 15) พัฒนาสื่ อและอุปกรณ์การสอน 16) ทดลองแบบทดสอบการอบรม
106

17) ดาเนินการอบรม 18) วัดการเรี ยนรู้หลังอบรม 19) ผูอ้ บรมกลับไปทางาน 20) การติดตามผล
21) วัดผลการปฏิบตั ิงานภายหลังการอบรม และ 22) ตรวจสอบพฤติกรรมหรื อผลการปฏิบตั ิงาน
2.2 การฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน เป็ นรู ปแบบการฝึ กอบรมที่ให้ความสาคัญ
ทั้งการเพิ่มพูนความรู ้ความสามารถ ทักษะการทางานและเจตคติที่ดีต่อการทางานของบุคลากรใน
โรงเรี ยน โดยการอบรมต้องทาให้ครบระบบอย่างทัว่ ถึง ทั้งระดับบริ หารและระดับปฏิบตั ิเพื่อเอื้อ
ซึ่ งกันและกัน ดังนั้นการฝึ กอบรมโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง จาเป็ นต้องเพิ่มพูน
ทั้งความรู ้ความสามารถ และทักษะในการทางาน รวมทั้งกระตุน้ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเจตคติต่อ
การทางานที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องนั้น ๆ ให้กบั บุคลากรทั้งโรงเรี ยน เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและ
พัฒนาในแนวทางเดียวกันทั้งโรงเรี ยน ซึ่ งขั้นตอนสาคัญในการกาหนดโปรแกรมการฝึ กอบรมโดย
ใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน มี 5 ขั้นตอน คือ 1) การระบุปัญหา 2) การระบุแนวทางแก้ไขปั ญหาที่อาจ
เป็ นไปได้ 3) การนาแนวทางนั้นไปใช้ 4) การประเมินโปรแกรม และ 5) การพิจารณาปรับปรุ งแก้ไข
(ถ้าจาเป็ น) โดยโปรแกรมดังกล่าวมีลกั ษณะเฉพาะสาคัญ ได้แก่ 1) เริ่ มที่ความต้องการของครู และ
โรงเรี ยน 2) จะต้องอยูภ่ ายใต้ภาวะผูน้ าของผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนหรื อส่ วนกลาง 3) จะต้องใช้สังกัป
สาคัญ (Key concepts) และคาสาคัญ (Key words) ที่ได้กาหนดไว้ในกระบวนการวางแผน
การนาไปใช้และการประเมิน 4) กิจกรรมทุกอย่างจะต้องกระทาเพื่อตอบสนองความต้องการของ
โรงเรี ยน และทุกคนต้องให้ความร่ วมมือ และ 5) กระบวนการฝึ กอบรมถือเป็ นหน้าที่ ที่ตอ้ งปฏิบตั ิ
ด้วยความเข้าใจ (ประวิต เอราวรรณ์ และคณะ. 2541 : 19-21)
จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นว่าแนวคิดทฤษฎีพ้นื ฐานทั้ง 3 ประการ ที่ใช้เป็ นแนวทาง
ในการพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิดมีจุดเน้น
สาคัญสอดคล้องกันคือ การมีส่วนร่ วมในการพัฒนาของบุคลากรทุกคนในโรงเรี ยน โดยประเด็นที่
ร่ วมกันพัฒนานั้นเป็ นเรื่ องที่สอดคล้องกับสภาพ ปั ญหาและความต้องการ ซึ่ งแนวคิดเหล่านี้
สอดคล้องและเหมาะสมอย่างยิง่ ที่ผวู ้ จิ ยั เลือกใช้กระบวนการวิจยั ปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่ วมมาใช้ใน
การดาเนินการพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
นอกจากนี้ จากการศึกษาผลงานวิจยั ที่ผา่ นมาของคนอื่น ๆ ได้ขอ้ ค้นพบที่สอดคล้องกันว่า
การพัฒนาครู โดยใช้การฝึ กอบรมตามแนวคิดทฤษฎีดงั กล่าวนี้ เป็ นรู ปแบบที่เหมาะสม สามารถ
พัฒนาครู ให้มีความรู้ ทักษะการปฏิบตั ิงานในประเด็นที่ตอ้ งการพัฒนาได้เป็ นอย่างดี รวมทั้งเกิด
เจตคติที่ดีต่อการปฏิบตั ิงานในเรื่ องนั้น ๆ ดังเช่น ผลงานวิจยั ของอนันต์ เพียรพานิชย์ (2550 :
ออนไลน์) เรื่ อง การพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู สู่การปฏิรูปการเรี ยนรู้ โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน
ดาเนินการวิจยั เป็ น 2 ระยะ คือระยะที่ 1 การพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู สู่การปฏิรูปการเรี ยนรู ้โดย
ใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน ระยะที่ 2 เป็ นการประเมินรู ปแบบการพัฒนาครู สู่การปฏิรูปการเรี ยนรู ้โดยใช้
โรงเรี ยนเป็ นฐาน กลุ่มตัวอย่างในการทดลองใช้รูปแบบเป็ นครู ตน้ แบบการปฏิรูปเรี ยนรู้จาก
107

โรงเรี ยนในกลุ่มเครื อข่ายศรี ปทุม จานวน 22 คน ได้มาโดยการเป็ นอาสาสมัคร ผลการวิจยั พบว่า


รู ปแบบการพัฒนาครู สู่การปฏิรูปการเรี ยนรู้โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานที่เหมาะสม มี 3 องค์ประกอบ
ได้แก่ การวางแผนการพัฒนา การปฏิบตั ิการพัฒนา และการประเมินการพัฒนา ส่ วนผลการประเมิน
รู ปแบบการพัฒนาครู สู่การปฏิรูปการเรี ยนรู ้โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานของผูเ้ ชี่ยวชาญ พบว่า
โครงสร้างรู ปแบบการพัฒนาครู และกระบวนการจัดการเรี ยนรู้ตามแนวปฏิรูป มีความเหมาะสมใน
ระดับมากที่สุด และมีประสิ ทธิ ภาพด้านความเหมาะสม ความเป็ นไปได้ ความชัดเจน ความง่ายต่อ
การนาไปใช้ อยูใ่ นระดับมาก ถึงมากที่สุด ผลการประเมินรู ปแบบการพัฒนาครู สู่ การปฏิรูป
การเรี ยนรู ้โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานของครู พบว่า โครงสร้างรู ปแบบการพัฒนาครู มีความเป็ น
ประโยชน์ มีความเป็ นไปได้ มีความถูกต้อง มี ความเหมาะสมและครู มีความพึงพอใจต่อ
กระบวนการพัฒนาครู และการบริ หารจัดการของผูว้ จิ ยั ด้านกระบวนการพัฒนาครู ด้านการอานวย
ความสะดวก ด้านการสนับสนุน ด้านการสร้างความกระจ่างชัด ด้านการมีส่วนร่ วม ด้านการมีเสรี
ทางการคิด อยูใ่ นระดับมาก ผลงานวิจยั ของ บุญชวน วงศ์ชา (2550 : ออนไลน์) เรื่ อง การพัฒนาครู
เรื่ อง การเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้ นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ด้วยการประชุมปฏิบตั ิการ โดยใช้
โรงเรี ยนเป็ นฐาน โรงเรี ยนโนนค้อวิทยาคม จังหวัดศรี สะเกษ กลุ่มเป้ าหมายหลักได้แก่ครู ผสู ้ อนใน
โรงเรี ยนโนนค้อวิทยาคม จังหวัด ศรี สะเกษ จานวน 24 คน และกลุ่มเป้ าหมายร่ วม ได้แก่ นักเรี ยน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2,3 , 4 และ 6 จานวน 120 คน ผูป้ กครองนักเรี ยน จานวน 120 คน และ
คณะกรรมการสถานศึกษาจานวน 15 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั ได้แก่ แผนการการประชุม
ปฏิบตั ิการการพัฒนาครู หลักสู ตรการประชุมปฏิบตั ิการ นวัตกรรม และแบบวัดต่าง ๆ
กระบวนการวิจยั ปฏิบตั ิการ แบ่งออกเป็ น 4 ขั้นคือ ขั้นวางแผน ขั้นปฏิบตั ิการ ขั้นสังเกตและ
บันทึกผล และขั้นการสะท้อนผล หลักสู ตรการประชุมปฏิบตั ิการ แบ่งเป็ น 3 ระยะ ดาเนินการ
ประชุมปฏิบตั ิการ รวมทั้งสิ้ น 40 ครั้ง เครื่ องมือในการ เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม
ประมินความรู้ ความสามารถของครู แบบประเมินคุณภาพแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ น
สาคัญ แบบบันทึกการสังเกต แบบสอบถามความพึงพอใจโครงการการพัฒนา ผลการวิจยั พบว่า
ครู ที่เข้ารับการพัฒนาแล้วมีความรู้ ความสามารถในการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่เน้นผูเ้ รี ยน
เป็ นสาคัญได้โดยถูกต้อง และเป็ นแผนที่มีคุณภาพ โดยที่ความรู้ ความสามารถ ในการเขียนแผน
การจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ของครู ก่อนการพัฒนาอยูใ่ นระดับปานกลาง หลังการพัฒนา
เพิ่มขึ้นเป็ นระดับมาก และความพึงพอใจของผูท้ ี่เกี่ยวข้องทั้ง ครู นักเรี ยน ผูป้ กครองนักเรี ยน และ
คณะกรรมการสถานศึกษา ต่างก็มีความพึงพอใจต่อโครงการการพัฒนาครู อยูใ่ นระดับมาก และ
สอดคล้องกับผลงานวิจยั ของ วาสนา คุณาอภิสิทธิ์ . (2547 : ออนไลน์) เรื่ อง การพัฒนารู ปแบบ
การพัฒนาครู ในการจัดทาสาระหลักสู ตร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษา ตามหลักสู ตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มตัวอย่างเป็ นครู สอนสุ ขศึกษาและครู ผสู ้ อนพลศึกษา
108

ตั้งแต่ระดับชั้น ป.1-ม.6 จานวน 65 คน จากกรุ งเทพมหานครและจังหวัดเพชรบุรี โดยแบ่งออกเป็ น


กลุ่มควบคุม 4 โรงเรี ยน ประกอบด้วยโรงเรี ยนราชวินิต โรงเรี ยนอนุบาลเพชรบุรี โรงเรี ยนสายน้ าผึ้ง
และโรงเรี ยนเบญจมเทพอุทิศ กลุ่มทดลอง 4 โรงเรี ยนประกอบด้วย โรงเรี ยนพญาไท โรงเรี ยน
วัดดอนไก่เตี้ย โรงเรี ยนบดินทรเดชา 1 และโรงเรี ยนพรหมาณุ สรณ์ ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
3 ช่วง ช่วงที่ 1 การอบรมเชิงปฏิบตั ิการโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน โรงเรี ยนละ 3 วัน ด้วยการใช้
รู ปแบบการจัดทาสาระหลักสู ตรที่ผวู้ จิ ยั พัฒนาขึ้น ช่วงที่ 2 การนิเทศติดตามผลหลังการอบรม
เพื่อให้คาปรึ กษาแนะนา และประเมินพฤติกรรมการจัดการเรี ยนรู ้ของครู ผสู ้ อน ช่วงที่ 3
การประชุมสัมมนาสรุ ปผล และประเมินผลเจตคติของครู ผสู ้ อนเกี่ยวกับรู ปแบบการพัฒนาครู
ผลการวิจยั พบว่า รู ปแบบการจัดทาสาระหลักสู ตรมีประสิ ทธิ ผลต่อการพัฒนาครู ผสู ้ อนสุ ขศึกษา
และพลศึกษา ในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ทั้งในกรุ งเทพมหานครและจังหวัดเพชรบุรี
กล่าวคือครู มีความรู ้ความสามารถและเจตคติดีข้ ึนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และทาให้ได้
สาระหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษาของทุกโรงเรี ยนที่มีคุณภาพอยูใ่ นระดับดี

ข้ อเสนอแนะ
1. ข้ อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้
จากผลการวิจยั พบว่า รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ ที่เน้น
การคิดที่พฒั นาขึ้น สามารถส่ งเสริ มให้ครู มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น การคิด อีกทั้งยัง
มีความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบดังกล่าว ดังนั้นจึงควรมีการนาผลการวิจยั ไปใช้ ดังนี้
1.1 ผูบ้ ริ หารและผูท้ ี่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการฝึ กอบรมและพัฒนาครู ในสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษา ควรส่ งเสริ มให้มีการนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้
ที่เน้นการคิด ซึ่งได้ผา่ นขั้นตอนการพัฒนาอย่างเป็ นระบบ ไปใช้ในการพัฒนาครู ให้มีความสามารถ
ทาหน้าที่จดั การเรี ยนการสอนเพื่อพัฒนาการคิดของนักเรี ยนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
1.2 จากผลงานวิจยั ของประวิต เอราวรรณ์ และคณะ (2541 : บทคัดย่อ) ซึ่งได้ศึกษาปัจจัย
ที่ส่งผลต่อประสิ ทธิ ภาพการฝึ กอบรมครู โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน พบว่า ปั จจัยหนึ่งที่มีความสาคัญ
อย่างมากต่อการบรรลุความสาเร็ จของพัฒนาครู คือ “ความพร้อมของโรงเรี ยน” อันได้แก่ ผูบ้ ริ หาร
และครู ตอ้ งมีความพร้อมที่จะพัฒนาตนเอง ดังนั้นในการนารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถ
ในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิดที่พฒั นาขึ้นไปใช้ จะต้องคานึงถึงปั จจัยดังกล่าวด้วย
109

1.3 การพัฒนาครู ตามรู ปแบบที่พฒั นาขึ้น มุ่งเน้นให้ครู สามารถเขียนแผนการจัด


การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด และนาไปใช้ในสถานการณ์หอ้ งเรี ยนจริ ง ซึ่งจาเป็ นต้องได้รับก ารนิเทศ ให้
คาปรึ กษา และให้ขอ้ มูลย้อนกลับอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นในการนารู ปแบบการพัฒนาครู น้ ีไปใช้ จึงต้อง
มุ่งเน้นให้ครู ที่เข้ารับการพัฒนาได้ปฏิบตั ิจริ งอย่างต่อเนื่อง ภายใต้การดูแลช่วยเหลือของวิทยากร
ซึ่งจะช่วยเสริ มสร้างให้ครู มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่ เน้นการคิดอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

2. ข้ อเสนอแนะในการวิจัยต่ อไป
2.1 ควรมีการศึกษาผลการใช้รูปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ในบริ บทพื้นที่โรงเรี ยนอื่นๆ ต่อไป โดยให้เน้นกิจกรรมของการนิเทศ
ภายในอย่างเป็ นระบบ และมีการศึกษาความสามารถในการคิดของนักเรี ยนที่เปลี่ยนแปลงไป
ภายหลังที่ครู นาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดไปใช้ในสถานการณ์จริ งอย่างจริ งจัง
2.2 ควรมีการศึกษาวิจยั ที่พฒั นารู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด ร่ วมกับตัวแปรอื่น ๆ เช่น ทักษะการอานวยความสะดวกในการเรี ยนรู้ ของครู
2.3 ควรนาแนวคิด การฝึ กอบรมครู โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน การฝึ กอบรมแบบมี
ส่ วนร่ วม และการอบรมเพื่อแก้ไขปั ญหาแบบครบวงจร ไปพัฒนารู ปแบบการฝึ กอบรมครู ให้มี
ความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีในประเด็นอื่น ๆ เช่น การจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
การวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน เป็ นต้น
บรรณานุกรม

กมล สุ ดประเสริ ฐ. (2540). การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ วมของผู้ปฏิบัติงาน. พิมพ์ครั้งที่ 2.


กรุ งเทพฯ : เจ. เอ็น.ที.
จงกลนี ชุติมาเทวินทร์ . (2544). การฝึ กอบรมเชิงพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุ งเทพฯ : พี.เอ.ลีฟวิง่ .
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สานักงาน. (2548). สานฝัน ด้ วยการคิด. กรุ งเทพฯ :
เสมาธรรม.
เฉลียว บุรีภกั ดี. (2545). ชุ ดวิชาการวิจัยชุ มชน. กรุ งเทพฯ : เอส. อาร์ . พริ้ นติ้ง แมสโปรดักส์ .
ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2544). วิทยาการด้ านการคิด. กรุ งเทพฯ : เดอะมาสเตอร์กรุ๊ ป
แมเนจเม้นท์.
นริ นทร์ชยั พัฒนพงศา. (2547). การมีส่วนร่ วม หลักการพืน้ ฐาน เทคนิคและกรณีตัวอย่าง.
เชียงใหม่ : สิ ริลกั ษณ์การพิมพ์.
บุญชวน วงศ์ชา. (2550). การพัฒนาครู เรื่อง การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
ด้ วยการประชุ มปฏิบัติการ โดยใช้ โรงเรียนเป็ นฐาน โรงเรีย นโนนค้ อวิทยาคม
จังหวัดศรีสะเกษ, 15 มีนาคม 2552. เข้าถึงใน http://www.sisaketedu1.go.th
/51/news/boonchon.doc.
บุญเลี้ยง ทุมทอง. (2550). แนวทางการพัฒนาการสอนกระบวนการคิด. มหาสารคาม :
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ประพันธ์ศิริ สุ เสารัจ. (2551). การพัฒนาการคิด. พิมพ์ครั้งที่ 2 ฉบับปรับปรุ ง. กรุ งเทพฯ :
ห้างหุ น้ ส่ วนจากัด 9119 เทคนิคพริ้ นติ้ง.
ประวิต เอราวรรณ์ และคณะ. (2541). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษารู ปแบบการฝึ กอบรมครู โดยใช้
โรงเรียนเป็ นฐาน : การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเพือ่ เสริมสร้ างทักษะชีวติ ใน
การป้องกันโรคเอดส์ . กรุ งเทพฯ : สานักงานโครงการพิเศษ สานักงานคณะกรรมการ
การประถมศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิ การ.
พันธุ์ทิพย์ รามสู ต. (2540). การวิจัยปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่ วม. กรุ งเทพฯ : พี.เอ.ลิฟวิง่ .
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน), สานักงาน. (2547).
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545.
กรุ งเทพฯ : พริ กหวานกราฟฟิ ค.
111

บรรณานุกรม (ต่ อ)

รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน), สานักงาน. (2546). ผลงานวิจัย


งานมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา ทีไ่ ด้ รับคัดเลือกให้ นาเสนอในงานสั มมนาทาง
วิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 3 ปี สมศ. กรุ งเทพฯ : สานักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).
. (มปป.). มาตรฐาน ตัวชี้วดั และเกณฑ์ การพิจารณา เพือ่ การประเมินคุณภาพภายนอก
ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานรอบที่ 2 (พ.ศ. 2549 – 2553). กรุ งเทพฯ :
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).
เลขาธิการสภาการศึกษา, สานักงาน. (2543). แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา :
เพือ่ พร้ อมรับการประเมินภายนอก. กรุ งเทพฯ : สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).
วาสนา คุณาอภิสิทธิ์ . (2547). การพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ในการจัดทาสาระหลักสู ตร กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา, 15 มีนาคม 2552. เข้าถึงใน http://hdl.handle.net
/123456789/534.
วิชาการ,กรม. (2542). การสั งเคราะห์ รูปแบบการพัฒนาศักยภาพของเด็กไทยด้ านทักษะการคิด .
กรุ งเทพฯ : กองวิจยั ทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทวงศึกษาธิ การ.
สมบัติ การจนารักพงค์. (2549). คู่มือการประเมินทักษะการคิด. กรุ งเทพฯ : ธารอักษร.
สุ วทิ ย์ มูลคา. (2547 ก). กลยุทธ์ การสอนคิดวิเคราะห์ . กรุ งเทพฯ : ภาพพิมพ์.
. (2547 ข). ครบเรื่องเรื่องการคิด. กรุ งเทพฯ : ภาพพิมพ์.
. (2549 ก). กลยุทธ์ การสอนคิดสร้ างสรรค์ . พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุ งเทพฯ : ภาพพิมพ์.
. (2549 ข). การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด . กรุ งเทพฯ : อี.เค.บุค๊ ส์.
สาราญ กาจัดภัย และคณะ. (2547). การพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลการพัฒนา
ครู และบุคลากรทางการศึกษาเพือ่ การปฏิรูปการเรียนรู้ : กรณีศึกษา
โรงเรียนพรรณาวุฒาจารย์ อาเภอพรรณนานิคม จังหวัดสกลนคร. สกลนคร :
คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
อนันต์ เพียรพานิชย์. (2550). การพัฒนารู ปแบบการพัฒนาครู ส่ ู การปฏิรูปการเรียนรูโดยใช้ ้
โรงเรียนเป็ นฐาน, 15 มีนาคม 2552. เข้าถึงใน http://www.drampra.ac.th/kk.htm.
ภาคผนวก
113

ภาคผนวก ก

เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

1. แบบทดสอบความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด


และผลการวิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบ
2. แบบสอบถาม สภาพ ปัญหา และความต้องการพัฒนาความสามารถ
ในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
3. แบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
4. แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
114

แบบทดสอบ
ความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด

คาชี้แจง
1. แบบทดสอบนี้ วัดความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ซึ่งเป็ น
แบบทดสอบประเภทปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ
2. ในแต่ละข้อคาถาม ให้ท่านเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว จากนั้นเขียน
เครื่ องหมายกากบาท () ลงในช่องตัวเลือก “ก ข ค หรื อ ง” ในกระดาษคาตอบที่
แจกให้เท่านั้น

1. “กระบวนการทางปั ญญาที่สามารถขยายขอบเขตความคิดที่มีอยู่เดิมสู่ ความคิดที่


แปลกใหม่ แตกต่างไปจากความคิดเดิมและเป็ นความคิดที่ใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม”
เป็ นความหมายของสิ่ งใดต่อไปนี้
ก. การคิดแก้ปัญหา ข. การคิดวิเคราะห์
ค. การคิดสร้างสรรค์ ง. การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
2. “ความสามารถในการจาแนก แยกแยะองค์ประกอบของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง ซึ่ งอาจเป็ นวัตถุ
สิ่ งของ เรื่ องราว หรื อเหตุการณ์ และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบนั้น เพื่อ
ค้นหาสภาพความเป็ นจริ ง” ตรงกับความหมายในข้อใดมากที่สุด
ก. การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ ข. การคิดวิเคราะห์
ค. การคิดแก้ปัญหา ง. การคิดสร้างสรรค์
3. “ความสามารถทางสมองที่จะคิดพิจารณาไตร่ ตรอง พินิจพิเคราะห์ถึงสิ่ งต่าง ๆ ที่เป็ นปม
ประเด็นสาคัญที่ทาให้เกิดสภาวะความไม่สมดุลขึ้น โดยพยายามหาหนทางคลี่คลายขจัดปั ดเป่ า
ประเด็นสาคัญเหล่านั้นให้กลับเข้าสู่ สภาวะสมดุล หรื อสภาวะที่เราคาดหวัง ” เป็ นความหมายของ
สิ่ งใดต่อไปนี้
ก. การคิดแก้ปัญหา ข. การคิดวิเคราะห์
ค. การคิดสร้างสรรค์ ง. การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
115

4. “กระบวนการพิจารณาไตร่ ตรองข้อมูลหรื อสถานการณ์ที่ปรากฏอย่างรอบคอบ มีเหตุผล


เพื่อนาไปสู่ การสรุ ปที่สมเหตุสมผล รวมทั้งการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิ ภาพ ว่าสิ่ งใดถูกต้อง สิ่ งใด
ควรเชื่อ หรื อสิ่ งใดควรทา” ตรงกับความหมายในข้อใดมากที่สุด
ก. การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ ข. การคิดวิเคราะห์
ค. การคิดแก้ปัญหา ง. การคิดสร้างสรรค์
5. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบสาคัญของการคิดวิเคราะห์
ก. สิ่ งที่กาหนดให้วเิ คราะห์ ข. ความสาคัญในการวิเคราะห์
ค. การค้นหาความจริ งหรื อความสาคัญ ง. หลักการหรื อเกณฑ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์

6. ข้อใดเรี ยงลาดับขั้นตอนของกระบวนการคิดวิเคราะห์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ได้ถูกต้อง


1. กาหนดปั ญหาหรื อวัตถุประสงค์
2. กาหนดหลักการหรื อกฎเกณฑ์
3. สรุ ปคาตอบ
4. กาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการวิเคราะห์
5. พิจารณาแยกแยะ
ก. 1, 4, 2, 5 และ 3 ข. 4, 1, 2, 5 และ 3
ค. 1, 2, 4, 5 และ 3 ง. 4, 2, 1, 5 และ 3
7. “การกาหนดข้อกาหนดสาหรับใช้แยกส่ วนประกอบของสิ่ งที่กาหนดให้” เป็ นขั้นตอนใด
ของกระบวนการคิดวิเคราะห์
ก. กาหนดปั ญหาหรื อวัตถุประสงค์ ข. กาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการวิเคราะห์
ค. กาหนดหลักการหรื อกฎเกณฑ์ ง. พิจารณาแยกแยะ

8. “การคิดแยกหน่วยใหญ่ออกมาเป็ นหน่วยย่อย ๆ เพื่อค้นหาว่าหน่วยย่อยใดสาคัญที่สุด”


เป็ นการคิดวิเคราะห์ในลักษณะใด
ก. การคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ข. การคิดวิเคราะห์ความสาคัญ
ค. การคิดวิเคราะห์หลักการ ง. การคิดวิเคราะห์สาเหตุและผล
9. ข้อใดเป็ นเป้ าหมายที่สาคัญที่สุดของการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
ก. สร้างความคิดใหม่ หรื อสิ่ งประดิษฐ์ใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน
ข. หาคาตอบที่ถูกต้องเหมาะสม สาหรับนาไปใช้แก้ปัญหาที่มีอยู่
ค. สร้างทางเลือกจากข้อมูลที่มีอยูไ่ ด้หลากหลายและมีเหตุผล
ง. ทาให้ได้ความคิดที่ชดั เจน สมเหตุสมผล เพื่อการตัดสิ นว่าควรทา หรื อควรเชื่อสิ่ งใด
116

10. ข้อใดต่อไปนี้ ถือว่าเป็ นองค์ประกอบเฉพาะของการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ


ก. ประเด็นปัญหาหรื อคาถามที่ตอ้ งการรู้
ข. ข้อมูลเชิงประจักษ์จากแหล่งต่าง ๆ
ค. สารสนเทศ เพื่อใช้ประกอบการคิด
ง. แนวคิดอย่างมีเหตุผล
11. ขั้นตอนกระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณในข้อใดต่อไปนี้ จะต้องกระทาเป็ น
อันดับแรก
ก. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากแหล่งต่าง ๆ
ข. พิจารณาความน่าเชื่อถือ และความพอเพียงของข้อมูล
ค. ระบุหรื อทาความเข้าใจกับประเด็นปั ญหา หรื อข้อโต้แย้ง
ง. ตั้งสมมติฐาน
12. “การจัดระบบข้อมูลที่มีอยูห่ ลากหลายเป็ นหมวดหมู่ แยกแยะความแตกต่างของข้อมูลว่า
ข้อมูลใดเป็ นข้อคิดเห็น ข้อมูลใดเป็ นข้อเท็จจริ ง และจัดเรี ยงลาดับความสาคัญของข้อมูล รวมทั้ง
พิจารณาถึงเงื่อนไขหรื อข้อตกลงเบื้องต้นต่าง ๆ ที่อยูเ่ บื้องหลังของข้อมูลนั้น ๆ” เป็ นขั้นตอนใดของ
กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
ก. ระบุลกั ษณะของข้อมูล
ข. ประเมินข้อสรุ ป
ค. พิจารณาความน่าเชื่อถือ และความพอเพียงของข้อมูล
ง. ระบุหรื อทาความเข้าใจกับประเด็นปั ญหา หรื อข้อโต้แย้ง
13. “ในช่วงปี 2548-2549 พบว่า เยาวชนอายุต่ากว่า 25 ปี พยายามฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้นจาก 30
คนเป็ น 40 คนต่อแสนคน หรื อคิดเป็ นจานวนเยาวชนที่พยายามฆ่าตัวตายปี ละ 7,800 คน หรื อเฉลี่ย
วันละ 21 คน และที่ฆ่าตัวตายสาเร็ จปี ละ 800 คน หรื อเฉลี่ยวันละ 2 คน” จากสถานการณ์ขา้ งต้น
ชี้ให้เห็นว่า เยาวชนดังกล่าวน่าจะขาดทักษะในเรื่ องใดต่อไปนี้มากที่สุด
ก. การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ ข. การคิดวิเคราะห์
ค. การคิดแก้ปัญหา ง. การคิดสร้างสรรค์
14. ข้อใดใช้แทนความหมายของคาว่า “ปัญหา” ได้ดีที่สุด
ก. ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ
ข. ความแตกต่างระหว่างสิ่ งที่คาดหวังกับสิ่ งที่เป็ นจริ ง
ค. สิ่ งที่ขดั ขวางต่อการบรรลุความสาเร็ จในการกระทาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
ง. ถูกทุกข้อ
117

15. ให้พิจารณาสิ่ งที่กาหนดให้ต่อไปนี้


สภาพทีเ่ ป็ นจริงในปัจจุบัน “เด็กชายแดงสอบเก็บคะแนนระหว่างเรี ยนครั้งผ่านมา
ได้เพียงร้อยละ 20 ของคะแนนเต็ม”
สภาพทีค่ าดหวัง “ครู ต้ งั เกณฑ์ของการรอบรู ้ในแต่ละบทเรี ยนไว้ อย่างน้อยร้อยละ 60
ของคะแนนเต็ม”
สภาพทีเ่ ป็ นปัญหา “เด็กชายแดงจาเป็ นต้องแก้ไขปรับปรุ งการเรี ยนภาษาอังกฤษของ
ตนเอง ในส่ วนที่ยงั ไม่เข้าใจ เพื่อให้การสอบซ่อมได้คะแนนผ่านเกณฑ์ที่ กาหนด และยังเป็ นพื้นฐาน
ที่ดีในการเรี ยนบทเรี ยนต่อ ๆ ไป”
“ปัญหา” ดังกล่าวเป็ นปั ญหาประเภทใด
ก. ปั ญหาเชิงป้ องกัน ข. ปัญหาเชิงพัฒนา
ค. ปั ญหาเชิงแก้ไขหรื อปรับปรุ ง ง. ถูกทุกข้อ
16. “การทาความเข้าใจปัญหาให้ถ่องแท้วา่ มีลกั ษณะอย่างไร เกิดจากสาเหตุใดบ้าง และ
สาเหตุใดที่อยูใ่ นวิสัยที่จะแก้ไขหรื อจัดการได้” เป็ นการบรรยายเกี่ยวกับสิ่ งใด
ก. การสารวจปัญหา ข. การวิเคราะห์ปัญหา
ค. การวางแผนแก้ปัญหา ง. การปฏิบตั ิการแก้ปัญหา

17. ข้อใดเรี ยงลาดับขั้นตอนของกระบวนการคิดแก้ปัญหาที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ได้ถูกต้อง


1. เก็บรวบรวมข้อมูล 2. หาสาเหตุของปัญหา
3. วิเคราะห์ขอ้ มูล 4. กาหนดปั ญหา
5. สรุ ปผล 6. วางแผนแก้ปัญหา
ก. 4, 2, 6, 1, 3 และ 5 ข. 4, 2, 1, 6, 3 และ 5
ค. 6, 4, 2, 1, 3 และ 5 ง. 6, 2, 4, 1, 3 และ 5
18. ข้อใดต่อไปนี้ เป็ นองค์ประกอบสาคัญทั้งหมดของความคิดสร้างสรรค์
ก. ความคิดคล่องแคล่ว ความคิดยืดหยุน่ ความคิดริ เริ่ ม และความคิดละเอียดลออ
ข. ความคิดคล่องแคล่ว ความคิดยืดหยุน่ ความคิดริ เริ่ ม และความคิดแยกแยะ
ค. ความคิดริ เริ่ ม ความคิดคล่องแคล่ว ความคิดแยกแยะ และความคิดละเอียดลออ
ง. ความคิดริ เริ่ ม ความคิดยืดหยุน่ ความคิดแยกแยะ และความคิดละเอียดลออ
118

19. “เด็กคนหนึ่งยืนมองเครื่ องถ่ายเอกสารแล้วครุ่ นคิดว่า ทาอย่างไรหนอจึงจะมี


เครื่ องถ่ายเอกสารที่ใส่ หนังสื อเข้าไปแล้ว สัง่ ให้ถ่ายตามเลขหน้าได้เลย” การคิดของเด็กคนนี้จดั เป็ น
การคิดแบบใด
ก. การคิดแก้ปัญหา ข. การคิดวิเคราะห์
ค. การคิดสร้างสรรค์ ง. การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
20. “ความสามารถในการปรับสภาพของความคิดในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้” เป็ นลักษณะ
ของการคิดแบบใด
ก. ความคิดคล่องแคล่ว ข. ความคิดละเอียดลออ
ค. ความคิดแยกแยะ ง. ความคิดยืดหยุน่
21. หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดให้ขอ้ ใดต่อไปนี้ เป็ นมาตรฐานการเรี ยนรู้
ก. หลักการ ข. จุดหมาย
ค. โครงสร้าง ง. สาระการเรี ยนรู้
22. มาตรฐานการเรี ยนรู้คืออะไร
ก. ข้อกาหนดคุณภาพผูเ้ รี ยนเฉพาะด้านความรู ้
ข. ข้อกาหนดคุณภาพผูเ้ รี ยนด้านความรู ้และด้านทักษะกระบวนการ
ค. ข้อกาหนดคุณภาพผูเ้ รี ยนด้านความรู ้และด้านคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยม
ง. ข้อกาหนดคุณภาพผูเ้ รี ยนทั้งด้านความรู ้ ด้านทักษะกระบวนการ และด้านคุณธรรม
จริ ยธรรมและค่านิยม
23. ผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังรายปี หรื อรายภาค ได้มาจากข้อใด
ก. วิเคราะห์จากมาตรฐานการเรี ยนรู ้การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. วิเคราะห์จากมาตรฐานการเรี ยนรู ้ช่วงชั้น
ค. วิเคราะห์จากสาระการเรี ยนรู้
ง. วิเคราะห์จากคาอธิบายรายวิชา
24. ข้อใดต่อไปนี้ ถือเป็ นเครื่ องมือสาคัญสาหรับครู ในการจัดการเรี ยนการสอน เพราะมี
การกาหนดขั้นตอนและรายละเอียดของการจัดการเรี ยนรู ้ในแต่ละครั้งว่า จะจัดการเรี ยนรู ้ให้เกิดผล
อะไรกับผูเ้ รี ยน
ก. หลักสู ตรสถานศึกษาแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
ข. คู่มือครู ในการจัดการเรี ยนรู ้
ค. แผนการจัดการเรี ยนรู้
ง. ถูกทุกข้อ
119

25. ให้พิจารณาสิ่ งที่กาหนดให้ต่อไปนี้


1) ข้อมูลเกี่ยวกับผูเ้ รี ยน
2) ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ประเภทรู ปแบบการสอน วิธีสอน และเทคนิค
การสอนต่าง ๆ
3) ข้อมูลเกี่ยวกับการคิดแบบต่าง ๆ ที่ตอ้ งการให้เกิดกับผูเ้ รี ยน
4) ข้อมูลเกี่ยวกับสื่ อ อุปกรณ์ นวัตกรรม และแหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ
5) ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้
จากสิ่ งที่กาหนดให้ ข้อมูลใดเป็ นลักษณะพิเศษเฉพาะ ที่จาเป็ นต้องใช้ในการออกแบบ
การเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด ซึ่ งแตกต่างไปจากการออกแบบการเรี ยนรู ้โดยทัว่ ไป
ก. 1) ข. 2)
ค. 3) ง. 1) และ 3)
26. บทบาทของครู ในข้อใดสอดคล้องตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ก. ผูช้ ้ ีนา ข. ผูถ้ ่ายทอดความรู ้
ค. ผูช้ ่วยเหลือ ส่ งเสริ ม และสนับสนุนผูเ้ รี ยน ง. ถูกทุกข้อ

27. ข้อใด ไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน


ก. ต้องชัดเจนว่าต้องการวัดอะไร เพื่ออะไร
ข. ต้องเลือกเครื่ องมือที่ใช้ในการวัดผลให้เหมาะสม สอดคล้องกับสิ่ งที่ตอ้ งการวัด
ค. ควรใช้เครื่ องมือที่หลากหลาย เพราะเครื่ องมือแต่ละชนิดมีขอ้ จากัดแตกต่างกัน
ง. การวัดและประเมินผลถือเป็ นจุดสิ้ นสุ ดของการเรี ยนการสอน
28. ข้อใดต่อไปนี้ เรี ยงลาดับพฤติกรรมทางด้านสมองและสติปัญญา (Cognitive Domain)
ตามแนวคิดของ Benjamin S. Bloom และคณะ จากระดับต่าสุ ดไปสู่ ระดับสู งสุ ด ได้ถูกต้อง
ก. ความรู้-ความจา,ความเข้าใจ,การวิเคราะห์,การนาไปใช้,การสังเคราะห์,การประเมินค่า
ข. ความรู้-ความจา,ความเข้าใจ,การนาไปใช้,การวิเคราะห์,การประเมินค่า,การสังเคราะห์
ค. ความรู้-ความจา,ความเข้าใจ,การนาไปใช้,การวิเคราะห์,การสังเคราะห์,การประเมินค่า
ง. ความรู้-ความจา,ความเข้าใจ,การวิเคราะห์,การสังเคราะห์,การประเมินค่า,การนาไปใช้
120

29. ให้พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(1) การประเมินตามสภาพจริ ง (Authentic Assessment) เป็ นการประเมินผลที่สอดคล้อง
กับกระบวนการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญมากที่สุด และยังสอดคล้องกับการวัดและ
ประเมินผลตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
(2) แนวคิดและกระบวนการประเมินตามสภาพจริ ง เน้นการประเมินผลระหว่างเรี ยน
ของผูเ้ รี ยนแต่ละคน โดยคานึงถึงสภาพปั ญหาและผลการปฏิบตั ิจริ งทั้งในชั้นเรี ยนและใน
ชีวติ ประจาวัน
(3) วิธีการประเมินผลตามสภาพจริ ง มุ่งประเมิน 2 ด้านใหญ่ ๆ คือ ด้านทักษะ (Skills) ที่
ผูเ้ รี ยนได้ฝึกและลงมือปฏิบตั ิจริ ง และ (2) ด้านค่านิยมและเจตคติของผูเ้ รี ยน (Values and Attitude)
ต่อการเรี ยน รวมทั้งพฤติกรรมที่แสดงออก
ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับ 3 ข้อความข้างต้น
ก. ผิดข้อเดียวคือข้อ (1) ข. ผิดข้อเดียวคือข้อ (2)
ค. ผิดข้อเดียวคือข้อ (3) ง. ถูกทั้ง 3 ข้อ
30. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับแผนการจัดการเรี ยนรู ้
ก. แผนการจัดการเรี ยนรู ้แบบพิสดารเป็ นแผนที่เขียนแบบแปลกใหม่
ข. แผนการจัดการเรี ยนรู้แบบบรรยายเป็ นการจัดทาแผนโดยอธิ บายรายละเอียดแต่ละ
องค์ประกอบของแผนเป็ นความเรี ยงตามลาดับหัวข้อ
ค. แผนการจัดการเรี ยนรู้แบบตารางเป็ นแผนที่บรรจุองค์ประกอบสาคัญของแผนใน
รู ปแบบตาราง
ง. ผลการสอน ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในการจัดการเรี ยนการสอนเป็ น
ประเด็นที่สาคัญในการบันทึกผลหลังการสอน
31. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการวางแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด
ก. ครู จะต้องวิเคราะห์หลักสู ตรในส่ วนสาระการเรี ยนรู ้ มาตรฐานการเรี ยนรู ้ รวมทั้ง
ผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง
ข. การสอนการคิดที่ดีที่สุดคือการทาหน่วยการเรี ยนรู ้เรื่ องการคิดขึ้นมาเพื่อสอน
นักเรี ยนโดยตรง
ค. การออกแบบการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิดจะต้องเลือกเทคนิควิธีการจัดการเรี ยนรู้
ให้เหมาะสมสอดคล้องกับกระบวนการคิดที่ตอ้ งการพัฒนา
ง. การออกแบบการเรี ยนรู้ที่เน้นกระบวนการคิดควรออกแบบวิธีวดั และประเมินผล
ไปพร้อม ๆ กัน
121

32. ข้อใดอธิบายความหมายของผังความคิดได้สมบูรณ์ที่สุด
ก. เป็ นผังที่แสดงความสัมพันธ์ของสาระ หรื อความคิดต่าง ๆ โดยจัดทาให้สวยงาม
ข. เป็ นผังที่แสดงให้เห็นโครงสร้างในภาพรวมโดยใช้เส้น คา ระยะห่างจากจุดศูนย์กลาง
สี เครื่ องหมาย รู ปทรงเรขาคณิ ต แสดงความหมายและความเชื่อมโยงของสาระนั้น ๆ
ค. เป็ นผังแสดงความสัมพันธ์ของสาระในภาพรวมโดยใช้เส้น คา ระยะห่างจาก
จุดศูนย์กลาง สี เครื่ องหมาย รู ปทรงเรขาคณิ ต แสดงความหมายและความเชื่อมโยง
ของสาระนั้น ๆ
ง. เป็ นผังแสดงความสัมพันธ์ของสาระในภาพรวมโดยใช้รูปทรงเรขาคณิ ต
แสดงความหมายและความเชื่อมโยงของสาระนั้น ๆ
33. ในกรณี ขอ้ มูลหรื อเนื้อหาสาระเป็ นปั ญหาที่มีสาเหตุของปั ญหาซับซ้อนมีสาเหตุหลัก
และสาเหตุยอ่ ยหลายประการ ควรใช้ผงั กราฟิ กชนิดใดในการแสดงข้อมูลจึงจะเหมาะสมที่สุด
ก. ผังความคิด ข. ผังมโนทัศน์
ค. ผังก้างปลา ง. ผังใยแมงมุม
34. เทคนิควิธีสอนใดต่อไปนี้เหมาะสมสาหรับการส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์มากที่สุด
ก. การสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิ การ
ข. การสอนแบบอุปนัย
ค. การสอนแบบนิรนัย
ง. วิธีสอนแบบซินเนคติกส์
35. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิ การ
ก. วิธีคิดแบบสื บสาวเหตุปัจจัยเป็ นวิธีคิดเพื่อให้รู้สภาวะที่เป็ นจริ ง
ข. วิธีคิดแบบอริ ยสัจ แบบวิธีคิดแบบแก้ปัญหา
ค. วิธีคิดแบบคุณโทษและทางออก เป็ นการคิดบนพื้นฐานความตระหนักว่าทุกสิ่ ง
ทุกอย่างมีท้ งั ส่ วนดีและส่ วนด้อย
ง. วิธีคิดแบบเร้าคุณธรรม เป็ นการคิดแบบแยกแยะว่าอะไรดีอะไรไม่ดีอย่างชัดเจน
36. ในการพัฒนาความสามารถทางการคิดของผูเ้ รี ยน ครู จะต้องคานึงถึงองค์ประกอบใน
ด้านใด
ก. ข้อมูลเนื้อหาที่ใช้ในการคิด
ข. คุณสมบัติที่เอื้อต่อการคิด
ค. กระบวนการคิด ลักษณะและทักษะการคิด
ง. ถูกทุกข้อ
122

37. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องในเรื่ องการคิดแบบหมวกหกใบ


ก. หมวกสี ขาวแทนข้อมูลที่เป็ นข้อเท็จจริ ง
ข. หมวกสี แดงแทนอารมณ์ ความรู ้สึกของตนเองเกี่ยวกับประเด็นที่กาลังพิจารณา
ค. หมวกสี เหลืองแทนความคิดสร้างสรรค์ คิดให้มีทางเลือกอย่างหลากหลาย
ง. หมวกสี ฟ้าแทนการคิดวางแผน กากับ ตรวจสอบ ประเมิน
38. เมื่ออ่านข่าวอาจารย์ลวนลามทางเพศต่อนักศึกษาแล้ว สมชายแสดงความคิดว่า “เป็ น
เรื่ องเลวร้ายมาก ปั ญหานี้มีจุดอ่อนตรงไหน ทาไมจึงเกิดขึ้นซ้ าซาก” ในขณะที่สมศรี แสดงความคิด
ว่า “ปั ญหานี้อะไรคือข้อมูลที่เกิดขึ้น มาจากแหล่งใด” จากกรณี ขา้ งต้น สมชายและสมศรี ใช้หมวก
ความคิดแบบใด
ก. สมชาย ใช้หมวกสี ดา สมศรี ใช้หมวกสี ขาว
ข. สมชาย ใช้หมวกสี แดง สมศรี ใช้หมวกสี ขาว
ก. สมชาย ใช้หมวกสี ฟ้า สมศรี ใช้หมวกสี ดา
ก. สมชาย ใช้หมวกสี ขาว สมศรี ใช้หมวกสี ดา
39. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องในการคาถามของครู
ก. เมื่อตั้งคาถามแล้ว ครู ควรหยุดสักครู่ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้คิดหาคาตอบ
ข. หากครู ตอ้ งการทบทวนความรู ้พ้นื ฐาน ควรใช้คาถามที่เ น้นความรู้ ความจา ความเข้าใจ
ค. การใช้คาถามแบบเปิ ดจะช่วยให้เกิดการอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นได้มาก
ง. เพื่อให้เกิดความคิดที่หลากหลาย ครู ควรใช้คาถามหลาย ๆ คาถามในเวลาเดียวกัน
40. ข้อใดจัดลาดับขั้นตอนของการจัดการเรี ยนรู ้แบบแก้ปัญหาได้ถูกต้องที่สุ ด
ก. กาหนดปั ญหา วางแผนแก้ปัญหา ตั้งสมมติฐาน เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูล
สรุ ปผล
ข. กาหนดปั ญหา ตั้งสมมติฐาน วางแผนแก้ปัญหา เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูล
สรุ ปผล
ค. กาหนดปั ญหา ตั้งสมมติฐาน เก็บรวบรวมข้อมูล วางแผนแก้ปัญหา วิเคราะห์ขอ้ มูล
สรุ ปผล
ง. กาหนดปั ญหา วางแผนแก้ปัญหา เก็บรวบรวมข้อมูล ตั้งสมมติฐาน วิเคราะห์ขอ้ มูล
สรุ ปผล
..........................................................................................................................................
123

ผลการวิเคราะห์ คุณภาพ
แบบทดสอบความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด
ผลการวิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้น
การคิด ปรากฏดังตาราง 15

ตาราง 15 ผลการวิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัด


การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด

ข้อที่ p r ข้อที่ p r
1 .71 .57 21 .54 .36
2 .64 .71 22 .57 .29
3 .57 .86 23 .46 .21
4 .70 .64 24 .71 .21
5 .46 .93 25 .68 .50
6 .64 .57 26 .68 .36
7 .61 .64 27 .50 .29
8 .57 .57 28 .61 .21
9 .68 .36 29 .57 .43
10 .75 .50 30 .61 .36
11 .71 .29 31 .61 .64
12 .71 .29 32 .61 .36
13 .61 .36 33 .61 .50
14 .50 .43 34 .39 .21
15 .64 .29 35 .46 .50
16 .75 .36 36 .54 .36
17 .71 .43 37 .57 .43
18 .43 .29 38 .64 .29
19 .75 .29 39 .71 .43
20 .43 .29 40 .61 .50

ความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบทั้งฉบับเท่ากับ 0.91


124

แบบสอบถาม สภาพ ปัญหา และความต้ องการพัฒนา


ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด
คาชี้แจง
ข้อมูลจากการตอบแบบสอบถามนี้ เป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ในการออกแบบและวางแผน
พัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้ นการคิด ดังนั้นขอให้ท่านตอบแบบสอบถาม
ทุกข้อตามความเป็ นจริ ง โดยการเขียนเครื่ องหมาย “ ” ลงในช่องคาตอบที่ตอ้ งการ
หรื อเขียนคาตอบลงในช่องว่างที่กาหนดให้

ตอนที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม


1. เพศ ชาย หญิง
2. อายุ ...................... ปี
3. สถานภาพสมรส โสด แต่งงานแล้วและยังอยูด่ ว้ ยกัน
แต่งงานแล้วแต่แยกกันอยู่ หม้าย
4. วุฒิการศึกษาสู งสุ ด คือ............................................สาขา (วิชาเอก)................................................
หรื อกาลังศึกษาต่อในระดับ ................................. สาขา ...............................................................
5. ท่านมีประสบการณ์ในการสอน....................ปี
6. ท่านสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ใด โปรดระบุ (ตอบได้มากกว่าหนึ่งกลุ่มสาระการเรี ยนรู้)
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
7. ท่านสอนระดับชั้น ........................................................................................................................

ตอนที่ 2 สภาพ และปัญหาในการจัดการเรียนรู้


1. ในช่วง 3 ปี ที่ผา่ นมา ท่านเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาตนเองในเรื่ องใดบ้าง
ไม่เคยเข้ารับการอบรม
 เคยเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับ......................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
125

2. ปั จจุบนั ท่านสอนโดยมีแผนการจัดการเรี ยนรู ้ หรื อไม่


สอนไปตามหนังสื อเรี ยน โดยไม่มีแผนการจัดการเรี ยนรู ้
สอนไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้
อื่น ๆ โปรดระบุ.........................................................................................................................
3. ท่านสร้างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง หรื อไม่
ไม่มี (ไม่ใช้)
 สร้างขึ้นใช้เอง
 ไม่ได้สร้างเอง โดยได้มาจาก....................................................................................................
4. ท่านมีสไตล์การสอนอย่างไร
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
5. ท่านคิดอย่างไรกับการสอนในปั จจุบนั ที่เป็ นอยูข่ องท่าน
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
6. ผลการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนที่ท่านสอนในภาคเรี ยนที่ผา่ นมาเป็ นอย่างไร
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
7. มีประเด็นใดบ้าง ที่ท่านคิดว่านักเรี ยนของท่านจาเป็ นต้องแก้ ไข ปรับปรุ ง หรื อพัฒนาให้ดีข้ ึน
(กรุ ณา เรี ยงลาดับตามความจาเป็ น) .................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
8. ท่านคิดว่า จุดเด่นของท่านซึ่ งเกี่ยวข้องกับการเรี ยนการสอนคืออะไร
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
126

9. ท่านคิดว่า จุดที่ควรปรับปรุ งของท่านซึ่ งเกี่ยวข้องกับการเรี ยนการสอนคืออะไร


........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
10. ท่านคิดว่าปั ญหา /หรื ออุปสรรคในการจัดการเรี ยนการสอนของท่านคืออะไร
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
11. ความสามารถในการคิด (โดยเฉพาะการคิดขั้นสู ง) ของนักเรี ยนของท่านเป็ นอย่างไร
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
12. ท่านคิดย่างไร เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
แล้วสภาพจริ งในการเรี ยนการสอนของท่านเกี่ยวกับเรื่ องดังกล่าว เป็ นอย่างไร
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
127

ตอนที่ 3 ประเมินตนเองและความต้ องการพัฒนาตนเองเกีย่ วกับความสามารถในการจัดการเรียนรู้


ทีเ่ น้ นการคิด
ประเมินตนเอง ความต้องการพัฒนาตนเอง
รายการ

มีปานกลาง

มีนอ้ ยที่สุด
มีมากที่สุด

ปานกลาง

น้อยที่สุด
มากที่สุด
มีนอ้ ย
มีมาก

น้อย
มาก
1. ความรู ้เกี่ยวกับการคิดและ
การพัฒนาการคิด
2. ความรู ้เกี่ยวกับรู ปแบบการสอน
วิธีสอน และเทคนิคการสอน
ต่าง ๆ ที่ช่วยพัฒนาการคิด
ของนักเรี ยน
3. การออกแบบกิจกรรมการเรี ยนรู ้
เพื่อพัฒนาการคิดของนักเรี ยน
4. การเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้
ที่เน้นการคิด
5. ความรู ้เกี่ยวกับการออกแบบ
และสร้างนวัตกรรมต่าง ๆ
เพื่อพัฒนาการคิดของนักเรี ยน
6. ความรู ้เกี่ยวกับการวัดและ
ประเมินการคิดของนักเรี ยน
7. ความรู ้เกี่ยวกับการเขียนรายงาน
การใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนา
การคิดของนักเรี ยน
128

ตอนที่ 4 รู ปแบบการฝึ กครู ให้ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด


1. ท่านคิดว่ารู ปแบบการฝึ กครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ควรมี
ลักษณะอย่างไร
เห็นด้วย
รายการ มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ที่สุด กลาง ที่สุด
1. จัดอบรมเชิงปฏิบตั ิการ ให้มีท้ งั ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ
2. การจัดอบรมเชิงปฏิบตั ิการ ให้แบ่งเป็ นช่วง ๆ ตามประเด็น
เนื้อหา ไม่ควรจัดรวมทุกประเด็นครั้งเดียว
4. จัดให้มีพี่เลี้ยงคอยให้คาแนะนา
5. จัดเวทีนาเสนอผลงาน
6. จัดระบบนิเทศ ติดตาม และประเมินผลอย่างใกล้ชิด
และสม่าเสมอ
7. จัดให้มีชุดการเรี ยนรู ้ เพื่อทบทวนและศึกษาเพิม่ ด้วยตนเอง
8. จัดหาตัวอย่างแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิดไว้ใน
ห้องสมุดของโรงเรี ยน
9. จัดหาหนังสื อ ตารา และรายงานการวิจยั ที่เกี่ยวข้องไว้ใน
ห้องสมุดของโรงเรี ยน
10. จัดประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนรู้ เสนอปัญหา และหาแนวทาง
แก้ไขร่ วมกัน อย่างสม่าเสมอ

2. นอกจาก 10 ประเด็นดังกล่าวไปแล้วข้างต้น ท่านคิดว่า น่าจะเพิม่ เติมรายการใดอีกบ้าง


(เสนอแนะได้เต็มที่)
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

ขอขอบคุณที่ให้ความร่ วมมืออย่างดียงิ่

(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สาราญ กาจัดภัย)


หัวหน้าโครงการวิจยั
129

แบบประเมินความเหมาะสม
ของแผนการจัดการเรียนรู้ ที่เน้ นการคิด
(สาหรับผูท้ รงคุณวุฒิ)

คาชี้แจง
ขอความอนุเคราะห์ให้ท่านตรวจสอบความเหมาะสมของแผนการจัดการเรี ยนรู้ ที่เน้น
การคิดของครู โรงเรี ยนบ้านท่าวัด (คุรุราษฏร์บารุ งวิทย์) ซึ่ งเป็ นกลุ่มเป้ าหมายได้รับการพัฒนาตาม
รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ ที่เน้นการคิดโดยทาเครื่ องหมาย “  ”
ลงในช่องระดับความเหมาะสม และให้ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อครู กลุ่มเป้ าหมายจะได้นาไป
พิจารณาปรับปรุ งแก้ไขให้สมบูรณ์ต่อไป
การให้คะแนนเป็ น 5,4,3,2 และ 1 เมื่อท่านเห็นว่าแผนการจัดการเรี ยนรู ้ตามรายการประเมิน
นั้น ๆ มีความเหมาะสมในระดับ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ตามลาดับ

ระดับความเหมาะสม
รายการประเมิน ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม
5 4 3 2 1
1. สาระสาคัญ
1.1 ครอบคลุมจุดประสงค์การเรี ยนรู้
1.2 ครอบคลุมขอบข่ายสาระการเรี ยนรู ้
/เนื้อหา
1.3 กะทัดรัดแต่ได้ใจความชัดเจนสมบูรณ์
2. จุดประสงค์ การเรียนรู้
2.1 สอดคล้องและครอบคลุมกับ
สาระการเรี ยนรู้ /เนื้อหา
2.2 ระบุพฤติกรรมสอดคล้องกับ
กระบวนการจัดการเรี ยนรู้
2.3 มีความเฉพาะเจาะจง
2.4 มีความเป็ นไปได้ที่จะบรรลุผล
2.5 สามารถวัดและประเมินผลได้
130

ระดับความเหมาะสม
รายการประเมิน ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
5 4 3 2 1
3. สาระการเรียนรู้
3.1 ระบุขอบข่ายเรื่ องที่จะเรี ยนอย่างชัดเจน
3.2 สอดคล้องกับสาระสาคัญที่กาหนดไว้
3.3 น่าสนใจเหมาะสมกับระดับชั้น
ของผูเ้ รี ยน
3.4 เหมาะสมกับกระบวนการเรี ยนรู ้
และเวลา
4. กระบวนการจัดการเรียนรู้
/กิจกรรมการเรียนรู้
4.1 เป็ นลาดับขั้นตอนที่เหมาะสมกับ
ธรรมชาติของเนื้อหาวิชาที่สอน
4.2 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้
และสามารถทาให้บรรลุจุดประสงค์
การเรี ยนรู้ได้
4.3 สอดคล้องกับสาระการเรี ยนรู ้
4.4 เหมาะสมกับวัย ธรรมชาติและ
ความสนใจของผูเ้ รี ยน
4.5 ใช้รูปแบบ/วิธี/เทคนิคการจัด
การเรี ยนรู ้ที่จะช่วยส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยน
พัฒนาการคิด
4.6 ใช้เทคนิคการจัดการเรี ยนรู ้ที่จะช่วย
ให้ผเู้ รี ยนกระตือรื อร้นที่จะเรี ยนรู้
4.7 กิจกรรมการเรี ยนรู ้ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยน
สร้างความรู้และสรุ ปความรู้ดว้ ยตนเอง
131

ระดับความเหมาะสม
รายการประเมิน ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
5 4 3 2 1
5. สื่ อ/นวัตกรรม/แหล่ งเรียนรู้
5.1 สอดคล้องกับสาระการเรี ยนรู ้
5.2 สอดคล้องกับกิจกรรมการเรี ยนรู้
5.3 สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรี ยนรู ้
5.4 มีความน่าสนใจ กระตุน้ ให้เกิด
การเรี ยนรู้
5.5 ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกคิด
5.6 เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รี ยน
6. การวัดและประเมินผล
6.1 มีการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้
ที่หลากหลาย
6.2 วิธีวดั และเครื่ องมือวัดสอดคล้อง
ตามจุดประสงค์และสามารถประเมิน
สิ่ งที่ตอ้ งการประเมินได้จริ ง
6.3 มีเกณฑ์การประเมินผลการเรี ยนรู้
ที่ชดั เจน

ข้ อเสนอแนะเพิม่ เติม
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

ลงชื่อ.....................................ผูป้ ระเมิน
( )
ตาแหน่ง ...........................................................
132

แบบสอบถามความพึงพอใจต่ อการใช้ รูปแบบการพัฒนาครู ให้ มี


ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ทเี่ น้ นการคิด

คาชี้แจง
ข้อมูลจากการตอบแบบสอบถามนี้ เป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ในการประเมินและปรับ
รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น การคิด ดังนั้นขอให้ท่านตอบ
แบบสอบถามทุกข้อตามความเป็ นจริ ง โดยการเขียนเครื่ องหมาย “ ” ลงในช่องคาตอบที่ตอ้ งการ
หรื อเขียนคาตอบลงในช่องว่างที่กาหนดให้

ตอนที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม


1. เพศ ชาย หญิง
2. อายุ ...................... ปี
3. วุฒิการศึกษาสู งสุ ด คือ............................................สาขา (วิชาเอก)................................................
หรื อกาลังศึกษาต่อในระดับ ................................. สาขา ...............................................................
4. ท่านสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ใด โปรดระบุ (ตอบได้มากกว่าหนึ่งกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ )
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
5. ท่านสอนระดับชั้น........................................................................................................................

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจเกีย่ วกับการใช้ รูปแบบการพัฒนาครู ให้ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้


ทีเ่ น้ นการคิด

ระดับความพึงพอใจ
รายการ มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ที่สุด กลาง ที่สุด
1. ท่านมีส่วนร่ วมในการกาหนดรู ปแบบการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด
2. รู ปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดสอดคล้องกับความต้องการของท่าน
133

ระดับความพึงพอใจ
รายการ มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ที่สุด กลาง ที่สุด
3. การพัฒนาครู โดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐานเป็ นรู ปแบบที่ดี
เพราะช่วยส่ งเสริ มให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปใน
ทิศทางเดียวกันทั้งโรงเรี ยน
4. บุคลากรทุกคนในโรงเรี ยนรับรู้ เข้าใจ ต้องการและยินดี
เข้าร่ วมกิจกรรม โดยเฉพาะผูอ้ านวยการโรงเรี ยน
เห็นความสาคัญและให้การสนับสนุน
5. กระบวนการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัด
การเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด มีความเหมาะสม
6. กิจกรรมต่าง ๆ ของกระบวนการพัฒนาครู ให้มี
ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด ส่ งเสริ มให้
ท่านมีความรู ้ ความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น
การคิดมากยิง่ ขึ้น
7. การได้เข้าร่ วมกิจกรรมครั้งนี้ มีผลทาให้ท่านมีเจตคติที่ดี
ยิง่ ขึ้นต่อการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิดของนักเรี ยน
8. เมื่อเสร็ จสิ้ นการเข้าร่ วมกิจกรรมครั้งนี้ ท่านมีความมัน่ ใจ
มากยิง่ ขึ้นในการเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่เน้นการคิด
9. จากการทดลองสอนโดยใช้แผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น
การคิดที่ท่านสร้างขึ้น พบว่านักเรี ยนกระตือรื อร้นมาก
ในการทากิจกรรมส่ งเสริ มการคิด
10. นักเรี ยนพอใจที่ครู จดั กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่ งเสริ มให้
พวกเขาได้คิด ได้แสดงความคิดเห็น และลงมือปฏิบตั ิจริ ง
ร่ วมกับเพื่อน ๆ
11. นักเรี ยนกล้าคิด กล้าแสดงความคิดเห็นมากขึ้น เมื่อท่าน
กระตุน้ โดยกิจกรรมต่าง ๆ ในแผนการจัดการเรี ยนรู้
ที่เน้นการคิด
134

ตอนที่ 3 ความคิดเห็น หรือข้ อเสนอแนะอืน่ ๆ


จากการใช้รูปแบบการพัฒนาครู ให้มีความสามารถในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิดใน
โรงเรี ยนบ้านท่าวัด “คุรุราษฎร์บารุ งวิทย์” ครั้งนี้ ท่านมีความคิดเห็นหรื อมีขอ้ เสนอแนะเพิ่ มเติม
อย่างไร เพื่อคณะผูว้ จิ ยั จะได้นาไปปรับปรุ งในโอกาสต่อไป
ความคิดเห็น หรือข้ อเสนอแนะ
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

ขอขอบคุณที่ให้ความร่ วมมืออย่างดียงิ่

(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สาราญ กาจัดภัย)


หัวหน้าโครงการวิจยั
135

ภาคผนวก ข

ตัวอย่างชุดการเรี ยนรู้ดว้ ยตนเอง


(สาหรับให้ครู ศึกษาเพิ่มเติม/ทบทวนความรู้ดว้ ยตนเอง)
136

ชุดการเรียนรู้ ที่ 1

ความรูเ้ บื้องต้นเกี่ยวกับ
การคิดวิเคราะห์

เอกสารประกอบโครงการพัฒนาครู
ให้ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ที่เน้ นกระบวนการคิดของผู้เรียน
137

คานา
เอกสาร “ชุดการเรี ยนรู้ที่ 1: ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการคิดวิเคราะห์ ” จัดทาขึ้นโดยมี
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ครู ที่เข้าร่ วม “โครงการพัฒนาความสามารถของครู ในการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น
กระบวนการคิดของนักเรี ยน” ได้ศึกษา ทบทวน และทาความเข้าใจเกี่ยวกับการคิดวิเคราะห์ดว้ ย
ตนเอง ซึ่ งเนื้อหาสาระต่าง ๆ ในเอกสารชุดนี้ ประกอบด้วย
1. ความหมายของการคิดวิเคราะห์
2. องค์ประกอบของการคิดวิเคราะห์
3. กระบวนการคิดวิเคราะห์
4. ลักษณะของการคิดวิเคราะห์
5. ทักษะย่อยของการคิดวิเคราะห์
หลังจากศึกษาเอกสารชุดนี้เสร็ จสิ้ น ขอให้ตรวจสอบความรู ้ ความเข้าใจของท่าน
โดยการทาแบบฝึ กหัดท้ายบทด้วยความตั้งใจ

สาราญ กาจัดภัย
138

การคิดวิเคราะห์

ความหมายของการคิดวิเคราะห์
การวิเคราะห์ และการคิดวิเคราะห์ มีความหมายดังแสดงในภาพต่อไปนี้

การวิเคราะห์ การคิดวิเคราะห์
หมายถึง การจาแนก แยกแยะ หมายถึง ความสามารถใน
องค์ประกอบของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง การจาแนก แยกแยะองค์ประกอบ
ออกเป็ นส่ วนๆ เพื่อค้นหาว่ามี ของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง ซึ่ งอาจเป็ นวัตถุ
องค์ประกอบย่อย ๆ อะไรบ้าง สิ่ งของ เรื่ องราว หรื อเหตุการณ์
ทามาจากอะไร ประกอบขึ้นมา และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล
ได้อย่างไร และมีความสัมพันธ์ ระหว่างองค์ประกอบนั้น เพื่อ
เชื่อมโยงกันอย่างไร ค้นหาสภาพความเป็ นจริ ง
หรื อสิ่ งสาคัญของสิ่ งที่กาหนดให้

ที่มา : สุ วทิ ย์ มูลคา (2547 : 9)

องค์ ประกอบของการคิดวิเคราะห์
การคิดวิเคราะห์ มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ คือ 1) สิ่ งที่กาหนดให้ 2) หลักการหรื อ
กฎเกณฑ์ และ 3) การค้นหาความจริ งหรื อความสาคัญ (สุ วทิ ย์ มูลคา. 2547 : 17) เพื่อให้เข้าใจและ
สามารถนาไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ขออธิ บายเพิ่มเติม ดังนี้
1. สิ่ งทีก่ าหนดให้ วเิ คราะห์ อาจเป็ นวัตถุ สิ่ งของ เรื่ องราว เหตุการณ์ หรื อปรากฏการณ์
ต่าง ๆ
2. หลักการหรือเกณฑ์ ทใี่ ช้ ในการวิเคราะห์ มีหลากหลายสาหรับนามาใช้ในการพิจารณา
สิ่ งต่าง ๆ ที่กาหนดให้ ซึ่ งในการเลือกหลักการหรื อเกณฑ์ในการฝึ กคิดวิเคราะห์แต่ละครั้ง ครู อาจ
เป็ นผูก้ าหนด หรื อให้นกั เรี ยนเป็ นคนกาหนดเอง ยกตัวอย่างเช่น
139

2.1 วิเคราะห์จาแนก แยกแยะออกเป็ นองค์ประกอบหรื อส่ วนประกอบย่อย ๆ


ตัวอย่างคาถาม/กิจกรรม ชวนให้ คิดวิเคราะห์
 ส่ วนประกอบสาคัญของบ้าน มีอะไรบ้าง และนักเรี ยนคิดว่าส่ วนประกอบ
ใดของบ้านสาคัญที่สุด เพราะเหตุใด
 นักเรี ยนคิดว่าองค์ประกอบของ “ครอบครัวที่อบอุ่น” มีอะไรบ้าง และ
องค์ประกอบใดสาคัญที่สุด เพราะเหตุใด
2.2 วิเคราะห์โดยใช้ “ความเหมือนกัน/ความคล้ายคลึงกัน” หรื อ “ความแตกต่างกัน”
เป็ นเกณฑ์ในการพิจารณาสิ่ งต่าง ๆ
ตัวอย่างคาถาม/กิจกรรม ชวนให้ คิดวิเคราะห์
 นักเรี ยนคิดว่า “เป็ ด” กับ “ไก่” เหมือนกันในเรื่ องใดบ้าง
 วัตถุ สิ่ งของต่าง ๆ เหล่านี้ ถ้าจัดหมวดหมู่โดยใช้หลักการว่า “สิ่ งที่
เหมือนกันจัดอยูด่ ว้ ยกัน” จะจัดได้กี่หมู่ อะไรบ้าง และนักเรี ยนใช้
ความเหมือนกันในเรื่ องใดเป็ นเกณฑ์ในการจัด
 นักเรี ยนคิดว่า “คน” กับ “สัตว์” แตกต่างกันในเรื่ องใดบ้าง และ
ความแตกต่างในเรื่ องใดที่เด่นชัดที่สุด
2.3 วิเคราะห์โดยใช้หลักการ “ความขัดแย้งหรื อตรงข้ามกัน”
ตัวอย่างคาถาม/กิจกรรม ชวนให้ คิดวิเคราะห์
 ครู ให้นกั เรี ยนจับคู่คาศัพท์ที่มีความหมายตรงข้ามกัน หรื อครู กาหนด
คาศัพท์มา แล้วให้นกั เรี ยนหาคาที่มีความหมายตรงกันข้าม
 ครู ให้นกั เรี ยนวิเคราะห์จุดเด่น - จุดด้อย หรื อ ข้อดี - ข้อเสี ย ของสิ่ งใด
สิ่ งหนึ่ง
2.4 วิเคราะห์โดยใช้หลักการ “การมีความสัมพันธ์กนั ในเชิงสาเหตุ และผล”
ตัวอย่างคาถาม/กิจกรรม ชวนให้ คิดวิเคราะห์
 ให้นกั เรี ยนวิเคราะห์สาเหตุสาคัญที่ทาให้ประเทศไทยเสี ยกรุ งศรี อยุธยา
ครั้งที่ 2 ให้กบั ประเทศพม่า
 ให้นกั เรี ยนวิเคราะห์ผลที่จะเกิดขึ้นตามมา หากป่ าไม้ถูกทาลาย
140

2.5 วิเคราะห์โดยใช้หลักการ “การมีความสัมพันธ์กนั อย่างอื่นที่ไม่ใช่ในเชิงสาเหตุ


และผล” เช่น มากกว่า, น้อยกว่า, เป็ นสับเซต, เป็ นสมาชิก, เป็ นสิ่ งของที่ใช้ร่วมกัน ฯลฯ
ตัวอย่างคาถาม/กิจกรรม ชวนให้ คิดวิเคราะห์
 ให้นกั เรี ยนบอกชื่อสิ่ งของเครื่ องใช้ต่าง ๆ ที่มกั ใช้ร่วมกัน ให้ได้มากที่สุด
 ให้นกั เรี ยนบอกจานวนเต็มบวก 2 จานวน ที่บวกกันแล้วได้คาตอบเป็ น 50
 ให้นกั เรี ยนหาสับเซตทั้งหมดของเซตที่กาหนดให้
3. การค้ นหาความจริงหรือความสาคัญ เป็ นการพิจารณาส่ วนประกอบของสิ่ งที่กาหนดให้
ตามหลักการหรื อกฎเกณฑ์ แล้วทาการรวบรวมประเด็นที่สาคัญเพื่อหาข้อสรุ ป เช่น จากตัวอย่าง
คาถามชวนวิเคราะห์ที่วา่ “เป็ ด กับไก่ เหมือนกันในเรื่ องใดบ้าง” จะเห็นว่า
สิ่ งทีก่ าหนดให้ วเิ คราะห์ คือ “เป็ ด กับ ไก่”
หลักการหรือกฎเกณฑ์ ในการวิเคราะห์ คือ “ความเหมือนกัน”
การค้ นหาความจริงหรือความสาคัญ คือ คาตอบทั้งหมดที่นกั เรี ยนตอบซึ่ งผ่านการคิด
วิเคราะห์อย่างสมเหตุสมผล เช่น “ออกลูกเป็ นไข่, เป็ นสัตว์ปีก” เป็ นต้น
องค์ประกอบของการคิดวิเคราะห์สรุ ปได้ดงั ภาพประกอบต่อไปนี้

การค้ นหาความจริงหรือความสาคัญ
(เป็ นการพิจารณาส่ วนประกอบของสิ่ งที่กาหนดให้ตามหลักเกณฑ์
แล้วทาการรวบรวมประเด็นที่สาคัญ เพื่อหาข้อสรุ ป)

องค์ ประกอบ
ของการคิดวิเคราะห์

หลักการหรือกฎเกณฑ์ สิ่ งทีก่ าหนดให้ วเิ คราะห์


(ใช้แยกส่ วนประกอบสิ่ งที่กาหนดให้) (อาจเป็ นวัตถุ สิ่ งของ เรื่ องราว
วิเคราะห์) เหตุการณ์ หรื อปรากฏการณ์ต่าง ๆ)
141

กระบวนการคิดวิเคราะห์
กระบวนการคิดวิเคราะห์ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังภาพประกอบต่อไปนี้

ขั้นที่ 5 สรุ ปคาตอบ


ขั้นที่ 4 พิจารณาแยกแยะ
ขั้นที่ 3 กาหนดหลักการหรือกฎเกณฑ์
ขั้นที่ 2 กาหนดปัญหาหรือวัตถุประสงค์
ขั้นที่ 1 กาหนดสิ่ งทีต่ ้ องการวิเคราะห์

ที่มา : สุ วทิ ย์ มูลคา (2547 : 18)

ทั้ง 5 ขั้นตอนข้างต้น อธิ บายรายละเอียด ดังนี้


ขั้นที่ 1 กาหนดสิ่ งทีต่ ้ องการวิเคราะห์ เป็ นการกาหนดวัตถุสิ่งของ เรื่ องราว หรื อเหตุการณ์
ต่าง ๆ ขึ้นมา เพื่อเป็ นต้นเรื่ องที่จะใช้วเิ คราะห์ เช่น พืช สัตว์ หิ น ดิน รู ปภาพ บทความ เรื่ องราว
เหตุการณ์หรื อสถานการณ์จากข่าว ของจริ งหรื อสื่ อเทคโนโลยีต่าง ๆ
ขั้นที่ 2 กาหนดปัญหาหรือวัตถุประสงค์ เป็ นการกาหนดประเด็นหรื อข้อสงสัยจากปั ญหา
ของสิ่ งที่ตอ้ งการวิเคราะห์ ซึ่ งอาจจะกาหนดเป็ น คาถาม หรื อเป็ นการกาหนดวัตถุประสงค์ของ
การวิเคราะห์เพื่อค้นหาความจริ ง สาเหตุ หรื อความสาคัญ เช่น ภาพนี้ บทความนี้ตอ้ งการสื่ อหรื อ
บอกอะไรที่สาคัญที่สุด
ขั้นที่ 3 กาหนดหลักการหรือกฎเกณฑ์ เป็ นการกาหนดข้อกาหนดสาหรับใช้แยก
ส่ วนประกอบของสิ่ งที่กาหนดให้ เช่น เกณฑ์ในการจาแนกสิ่ งที่เหมือนกันหรื อแตกต่างกัน
หลักเกณฑ์ในการหาลักษณะความสัมพันธ์เชิงเหตุผล อาจจะเป็ นลักษณะความสัมพันธ์ที่มี
ความคล้ายคลึงกันหรื อขัดแย้งกัน
ขั้นที่ 4 พิจารณาแยกแยะ เป็ นการพินิจ พิเคราะห์ทาการแยกแยะ กระจายสิ่ งที่กาหนดให้
ออกเป็ นส่ วนย่อย ๆ โดยอาจใช้เทคนิคคาถาม ใคร (Who) อะไร (What) ที่ไหน (Where) เมื่อไร
(When) และ อย่างไร (How)
ขั้นที่ 5 สรุ ปคาตอบ เป็ นการรวบรวมประเด็นที่สาคัญ เพื่อหาข้อสรุ ปเป็ นคาตอบหรื อตอบ
ปั ญหาของสิ่ งที่กาหนดให้
142

ลักษณะของการคิดวิเคราะห์
ไสว เลี่ยมแก้ว (เข้าถึงใน http://gotoknow.org/blog/mind/81919, 15 พ.ค. 2551) แบ่ง
การคิดวิเคราะห์ ออกเป็ น 3 ลักษณะ ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ความสาคัญ (Analysis of Elements)
การคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ (Analysis of Relation) และ การคิดวิเคราะห์หลักการ (Analysis of
Organizational Principles) ซึ่ง ไสว เลี่ยมแก้ว ได้อธิ บายเพิ่มเติม ดังนี้
ลักษณะที่ 1 การคิดวิเคราะห์ ความสาคัญ เป็ นการคิดแยกหน่วยใหญ่ออกมาเป็ นหน่วย
ย่อย ๆ เพื่อค้นหาว่าหน่วยย่อยใดสาคัญที่สุด ซึ่งการวิเคราะห์ความสาคัญ นักการศึกษาบางท่าน
เรี ยกว่า “การวิเคราะห์ส่วนประกอบ” ยกตัวอย่าง เช่น
 ในการเรี ยนวิชาวิทยาศาสตร์ ครู ให้เด็กถอนต้นไม้เล็ก ๆ มาต้นหนึ่ง แล้วให้ช่วยกัน
แยกแยะส่ วนประกอบของต้นไม้ออกเป็ นส่ วนๆ เช่น ใบ ลาต้น กิ่ง รากแก้ว รากฝอย ยอด ดอก
ผล ฯลฯ ถ้าครู ให้เด็กทุกคนบันทึกไว้ และให้ท่องจาไว้ ก็เรี ยกว่า "ครู สอนให้ท่องจา" ไม่ใช่
คิดวิเคราะห์ตามความหมายนี้ แต่ถา้ ครู ถามต่อว่า "ส่ วนต่าง ๆ ที่นกั เรี ยนแยกออกมานั้น
ส่ วนใดสาคัญที่สุด"ในลักษณะนี้จึงจะเรี ยกว่า "สอนให้เด็กคิดวิเคราะห์ความสาคัญ"
 ในเรื่ องพระอภัยมณี ตัวละครใดที่สาคัญที่สุด
ลักษณะที่ 2 การคิดวิเคราะห์ ความสั มพันธ์ (ไสว เลี่ยมแก้ว. เข้าถึงใน
http://gotoknow.org/blog/mind/82534, 15 พ.ค. 2551) ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งต่าง ๆ รอบตัวเรา
อย่างน้อยมี ๓ แบบ คือ
1. ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผล เช่น "ฝนตก" (สาเหตุ) ทาให้ "ถนนเปี ยก" (ผล)
2. ความสัมพันธ์เชิงสหสัมพันธ์ เช่น "เขาเก่งภาษาไทย" ในขณะเดียวกัน"เขาก็เก่ง
ภาษาอังกฤษด้วย" คือ "ถ้าเก่งไทยแล้วจะเก่งอังกฤษด้วย" โดยที่การเก่งภาษาไทย"ไม่ได้" เป็ น
"สาเหตุ" ให้เขาต้องเก่งอังกฤษด้วย ความสัมพันธ์แบบนี้ เป็ นสหสัมพันธ์แบบตามกัน หรื อ
เป็ นบวก แต่ถา้ "เก่งไทย แล้ว อ่อนเลข" ก็เรี ยกว่า สหสัมพันธ์แบบกลับกัน หรื อสหสัมพันธ์
ทางลบ
3. ความสัมพันธ์แบบธรรมดา เช่น แดงแก่กว่าดา แม่รักลูก นายเหลืองสู งกว่า
นายเขียว แมวเล็กกว่าเสื อ เป็ นต้น
การคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ เป็ นการแยกแยะออกเป็ นหน่วย ๆ เพื่อดูวา่ "หน่วยใด
สัมพันธ์กบั หน่วยใด" ยกตัวอย่าง เช่น
143

 ถ้าครู ถามให้นกั เรี ยนคิดว่า "ส่ วนต่าง ๆ ของต้นไม้ที่นกั เรี ยนแยกออกมาเป็ นส่ วน ๆ
คือ ใบ ดอก ลาต้น กิ่ง ราก เปลือก นั้น ส่ วนใดสัมพันธ์กนั มากที่สุด” ซึ่งนักเรี ยนก็อาจจะตอบว่า
“เปลือกกับลาต้น เพราะว่า เปลือกช่วยห่อหุ ม้ ลาต้น ” หรื ออาจตอบว่า "รากกับเปลือก เพราะว่า ราก
ดูดอาหารแล้วส่ งผ่านขึ้นไปทางเปลือก”
 อะไรเป็ นสาเหตุให้เกิดลม
 พระนเรศวร กับ พระเจ้าตากสิ น เหมือนกันตรงไหน
 อะไรต่อไปนี้ ทางานสัมพันธ์กนั มากที่สุด ก. ปอด - หัวใจ ข. หัวใจ - สมอง
ค. ปอด - จมูก ง. สาไส้ - อาหาร จ. หัวใจ - ตับ
ลักษณะที่ 3 การคิดวิเคราะห์ หลักการ (ไสว เลี่ยมแก้ว. เข้าถึงใน
http://gotoknow.org/blog/mind/84109 , 15 พ.ค. 2551) โดยที่ "หลักการ" เป็ นสิ่ งที่ยดึ ส่ วนย่อยให้
รวมกันเป็ นกลุ่มก้อน หรื อ ยึดสิ่ งต่าง ๆ เข้าเป็ นหน่วยระบบ หรื อ ยึดถือสาหรับปฏิบตั ิ ดังนั้น การคิด
วิเคราะห์หลักการ จึงหมายถึง การคิดเพื่อค้นหาว่า "หลักอะไรที่ทาให้สิ่งต่าง ๆ เกาะกลุ่มรวมกันเป็ น
หน่วยหรื อยึดถือปฏิบตั ิ ยกตัวอย่างเช่น
 ครู มกั จัดวิชาเลขไว้ตอนเช้าในตารางสอน เพราะยึดหลักว่าตอนเช้าสมองนักเรี ยน
ปลอดโปร่ ง
 เราสร้างเขื่อนกั้นน้ าเพื่อทาให้น้ าเกิดการต่างระดับมาก ๆ เพราะยึดหลักว่า น้ ายิง่ ระดับ
ต่างกันมาก ๆ จะยิง่ ทาให้การไหลของน้ ายิง่ มีแรงมาก
 กลุ่มต่าง ๆ ยังคงรวมกันเป็ นกลุ่มได้ เพราะหลักผลประโยชน์ร่วมกัน
 กลุ่มแตกสลาย เพราะหลักผลประโยชน์ขดั กัน
 ในการติดตาพืชนั้น เรายึดหลักการใด ก. การขยายตัวของเซลล์
ข. กลุ่มเซลล์พวกเดียวกัน ค. อาหารผ่านผนังเซลได้
 "ใครราญใครรุ กด้าว แดนไทย ไทยรบจนสุ ดใจ ขาดดิ้น" ผูเ้ ขียนคาประพันธ์น้ ี
ใช้กลวิธีใด ก. ปลุกให้ตื่น ข. เกลี้ยกล่อม

ทักษะย่ อยของการคิดวิเคราะห์
ในการฝึ กการคิดวิเคราะห์ ครู อาจเริ่ มต้นด้วยฝึ กทักษะย่อยต่าง ๆ ต่อไปนี้
(คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2540: 44)
1. การรวบรวมข้อมูลทั้งหมดมาจัดระบบหรื อเรี ยบเรี ยงให้ง่ายแก่การทาความเข้าใจ
2. การกาหนดมิติหรื อแง่มุมที่จะวิเคราะห์ โดย
144

2.1 อาศัยความรู้เดิมหรื อประสบการณ์เดิม และ/หรื อ


2.2 อาศัยการค้นพบลักษณะหรื อคุณสมบัติร่วมของกลุ่มข้อมูลบางกลุ่ม
3. การกาหนดหมวดหมู่ในมิติหรื อแง่มุมที่จะวิเคราะห์
4. การแจกแจงข้อมูลที่มีอยูล่ งในแต่ละหมวดหมู่โดยคานึงถึงความเป็ นตัวอย่าง เหตุการณ์
การเป็ นสมาชิก หรื อความสัมพันธ์เกี่ยวข้องโดยตรง
5. การนาข้อมูลที่แจกแจงเสร็ จแล้วในแต่ละหมวดหมู่มาจัดลาดับเรี ยงอันดับ หรื อจัดระบบ
ให้ง่ายแก่การกระทาความเข้าใจ
6. การเปรี ยบเทียบข้อมูลระหว่างแต่ละหมวดหมู่ ในแง่ของความมาก-น้อย
ความสอดคล้อง-ความขัดแย้ง ผลทางบวก-ผลทางลบ ความเป็ นเหตุ-เป็ นผล ลาดับ ความต่อเนื่อง

บทสรุป
1. การคิดวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการจาแนก แยกแยะองค์ประกอบของสิ่ งใด
สิ่ งหนึ่ง ซึ่ งอาจเป็ นวัตถุ สิ่ งของ เรื่ องราว หรื อเหตุการณ์และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่าง
องค์ประกอบนั้น เพื่อค้นหาสภาพความเป็ นจริ ง
2. การคิดวิเคราะห์ มีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ คือ 1) สิ่ งที่กาหนดให้ 2) หลักการ
หรื อกฎเกณฑ์ และ 3) การค้นหาความจริ งหรื อความสาคัญ
3. กระบวนการคิดวิเคราะห์ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 กาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการ
วิเคราะห์ ขั้นที่ 2 กาหนดปั ญหาหรื อวัตถุประสงค์ ขั้นที่ 3 กาหนดหลักการหรื อกฎเกณฑ์
ขั้นที่ 4 พิจารณาแยกแยะ และ ขั้นที่ 5 สรุ ปคาตอบ
4. การคิดวิเคราะห์ แบ่งออกเป็ น 3 ลักษณะ ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ความสาคัญ การคิด
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ และ การคิดวิเคราะห์หลักการ
5. ทักษะย่อยของการคิดวิเคราะห์ ได้แก่ 1) การรวบรวมข้อมูลทั้งหมดมาจัดระบบหรื อ
เรี ยบเรี ยงให้ง่ายแก่การทาความเข้าใจ 2) การกาหนดมิติหรื อแง่มุมที่จะวิเคราะห์ 3) การกาหนด
หมวดหมู่ในมิติหรื อแง่มุมที่จะวิเคราะห์ 4) การแจกแจงข้อมูลที่มีอยูล่ งในแต่ละหมวดหมู่ และ
5) การนาข้อมูลที่แจกแจงเสร็ จแล้วในแต่ละหมวดหมู่มาจัดลาดับเรี ยงอันดับ หรื อจัดระบบให้ง่าย
แก่การกระทาความเข้าใจ
145

แบบฝึ กหัด
ตอนที่ 1 จงตอบประเด็นคาถามต่อไปนี้

1. จงอธิบายความหมายของการคิดวิเคราะห์
2. องค์ประกอบสาคัญของการคิดวิเคราะห์ มีกี่องค์ประกอบ อะไรบ้าง และจงอธิบาย
แต่ละองค์ประกอบพอสังเขป
3. จงอธิ บายขั้นตอนของกระบวนการคิดวิเคราะห์
4. การคิดวิเคราะห์แบ่งออกเป็ นกี่ลกั ษณะ อะไรบ้าง และจงอธิ บายแต่ลกั ษณะพอสังเขป
5. ทักษะย่อยของการคิดวิเคราะห์มีอะไรบ้าง

ตอนที่ 2 จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด

1. “ความสามารถในการจาแนก แยกแยะองค์ประกอบของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง ซึ่ งอาจเป็ นวัตถุ


สิ่ งของ เรื่ องราว หรื อเหตุการณ์ และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบนั้น เพื่อ
ค้นหาสภาพความเป็ นจริ ง” ตรงกับความหมายในข้อใดมากที่สุด
ก. การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ ข. การคิดวิเคราะห์
ค. การคิดแก้ปัญหา ง. การคิดสร้างสรรค์

2. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ องค์ประกอบสาคัญของการคิดวิเคราะห์


ก. สิ่ งที่กาหนดให้วเิ คราะห์ ข. ความสาคัญในการวิเคราะห์
ค. การค้นหาความจริ งหรื อความสาคัญ ง. หลักการหรื อเกณฑ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์

3. ข้อใดเรี ยงลาดับขั้นตอนของกระบวนการคิดวิเคราะห์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ ได้ถูกต้อง


1. กาหนดปั ญหาหรื อวัตถุประสงค์
2. กาหนดหลักการหรื อกฎเกณฑ์
3. สรุ ปคาตอบ
4. กาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการวิเคราะห์
5. พิจารณาแยกแยะ
ก. 1, 4, 2, 5 และ 3 ข. 4, 1, 2, 5 และ 3
ค. 1, 2, 4, 5 และ 3 ง. 4, 2, 1, 5 และ 3
146

4. “การกาหนดข้อกาหนดสาหรับใช้แยกส่ วนประกอบของสิ่ งที่กาหนดให้” เป็ นขั้นตอนใด


ของกระบวนการคิดวิเคราะห์
ก. กาหนดปั ญหาหรื อวัตถุประสงค์ ข. กาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการวิเคราะห์
ค. กาหนดหลักการหรื อกฎเกณฑ์ ง. พิจารณาแยกแยะ

5. “การคิดแยกหน่วยใหญ่ออกมาเป็ นหน่วยย่อย ๆ เพื่อค้นหาว่าหน่วยย่อยใดสาคัญที่สุด”


เป็ นการคิดวิเคราะห์ในลักษณะใด
ก. การคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ข. การคิดวิเคราะห์ความสาคัญ
ค. การคิดวิเคราะห์หลักการ ง. การคิดวิเคราะห์สาเหตุและผล

เอกสารอ้ างอิง
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สานักงาน สานักนายกรัฐมนตรี . ทฤษฎีการเรี ยนรู้เพื่อพัฒนา
กระบวนการคิด. กรุ งเทพฯ : 2540.
วีระ สุ ดสังข์. การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ . กรุ งเทพฯ :
ชมรมเด็ก, 2550.
สุ วทิ ย์ มูลคา. กลยุทธ์การสอนคิดวิเคราะห์ . กรุ งเทพฯ : ภาพพิมพ์, 2547.
ไสว เลี่ยมแก้ว. “คิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์” เข้าถึงใน http://gotoknow.org/blog/mind/82534,
วันที่ 15 พฤษภาคม 2551
. “คิดวิเคราะห์ความสาคัญ” เข้าถึงใน http://gotoknow.org/blog/mind/81919,
วันที่ 15 พฤษภาคม 2551
. “คิดวิเคราะห์หลักการ” เข้าถึงใน http://gotoknow.org/blog/mind/84109,
วันที่ 15 พฤษภาคม 2551
147

ชุดการเรียนรู้ ที่ 2
ไตร่ตรอง
ให้รอบคอบ
อย่าด่วนสร ุป
หรือตัดสินใจ

ความรูเ้ บื้องต้นเกี่ยวกับ
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ

เอกสารประกอบโครงการพัฒนาครู
ให้ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ ที่เน้ นกระบวนการคิดของผู้เรียน
148

คานา
เอกสาร “ชุดการเรี ยนรู้ที่ 2: ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ” จัดทาขึ้น
โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อให้ครู ที่เข้าร่ วม “โครงการพัฒนาความสามารถของครู ในการจัดการเรี ยนรู้ที่
เน้นกระบวนการคิดของนักเรี ยน” ได้ศึกษา ทบทวน และทาความเข้าใจเกี่ยวกับการคิดอย่างมี
วิจารณญาณด้วยตนเอง ซึ่ งเนื้อหาสาระต่าง ๆ ในเอกสารชุดนี้ ประกอบด้วย
6. ความหมายของการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
7. องค์ประกอบของการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
8. กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
9. ทักษะความสามารถในการคิดย่างมีวจิ ารณญาณ
หลังจากศึกษาเอกสารชุดนี้เสร็ จสิ้ น ขอให้ตรวจสอบความรู ้ ความเข้าใจของท่าน
โดยการทาแบบฝึ กหัดท้ายบทด้วยความตั้งใจ

สาราญ กาจัดภัย
149

การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ (Critical thinking) เป็ นกระบวนการคิดที่มีความสาคัญและ
จาเป็ นสาหรับผูเ้ รี ยนทุกระดับ เนื่องจากกระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณนี้ มีเป้ าหมายเพื่อให้ได้
ความคิดที่ผา่ นการพิจารณาถึงข้อมูล หลักฐาน และเหตุผลมาอย่างรอบคอบแล้ว ซึ่ งความคิดที่ได้น้ ี
จะสามารถนาไปใช้ได้อย่างกว้างขวางในทุก ๆ สถานการณ์ เพราะการกระทาใด ๆ ก็ตามควรต้อง
ผ่านการคิดอย่างรอบคอบก่อน ดังนั้นการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณจึงเป็ นพื้นฐานของการคิดทั้งปวง
(ทิศนา แขมมณี . 2544 : 149-150)

ความหมายของการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ


การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ (Critical thinking) มีผใู ้ ห้ความหมายไว้คล้าย ๆ กัน พอสรุ ป
ได้วา่ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ หมายถึงกระบวนการพิจารณาไตร่ ตรองข้อมูลหรื อสถานการณ์ที่
ปรากฏอย่างรอบคอบ มีเหตุผล มีหลักเกณฑ์ มีหลักฐานที่เชื่อถือได้ เพื่อนาไปสู่ การสรุ ปที่
สมเหตุสมผล รวมทั้งการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิ ภาพ ว่าสิ่ งใดถูกต้อง สิ่ งใดควรเชื่อ สิ่ งใดควรเลือก
หรื อสิ่ งใดควรทา (กรมวิชาการ. 2542 : 69 ; สุ วทิ ย์ มูลคา และคณะ. 2549 : 46)

องค์ ประกอบของการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ


องค์ประกอบของการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณมี 7 ประการ (ชวนวล คณานุกลู . เข้าถึงใน
http://seashore.buu.ac.th/~chawanua/Human%20Thinking%20System%2007/HM%20index
.html, 24 พฤษภาคม 2551; วีระ สุ ดสังข์. 2550 : 7-8) ดังภาพประกอบต่อไปนี้
150

2. ประเด็นคาถาม
1. จุดมุ่งหมาย
3. สารสนเทศ

7. การนาไปใช้และ 4. ข้อมูลเชิงประจักษ์
เหตุผลตามมา
5. แนวคิดอย่างมีเหตุผล
6. ข้อสันนิษฐาน

องค์ประกอบของการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณทั้ง 7 ประการ มีคาอธิ บายเพิ่มเติม ดังนี้


1. จุดมุ่งหมาย เป็ นเป้ าหมาย หรื อวัตถุประสงค์ในการคิดครั้งนั้น ๆ เช่น
 เพื่อให้ได้ความคิดที่รอบคอบสมเหตุสมผลผ่านการพิจารณากลัน่ กรองอย่างดี
 เพื่อการตัดสิ นใจอย่างถูกต้อง
 เพื่อการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลและเหมาะสม
 เพื่อการศึกษาวิจยั และการเรี ยนรู้
 เพื่อการริ เริ่ มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ
2. ประเด็นคาถาม เป็ นปั ญหาหรื อคาถามที่ตอ้ งการรู ้ ซึ่ งผูค้ ิดสามารถระบุเองได้ เช่น
 จากเหตุการณ์ของ “ชายหนุ่มแต่งงานกับงู เพราะมีความเชื่อว่าเป็ นเนื้อคู่กนั มา
ตั้งแต่ชาติปางก่อน” ซึ่ งเป็ นข่าวดังในช่วงหนึ่งที่ผา่ นมา ลองคิดพิจารณาซิ วา่ “ทาไมชาวบ้านบางคน
จึงเชื่ออย่างงมงาย ถึงขนาดนาเอาน้ าที่ให้งูอาบ มาดื่มกิน ถ้าเป็ นเราจะทาอย่างชาวบ้านกลุ่มนั้น
หรื อไม่ เพราะเหตุใด”
 “วันทองเป็ นหญิงสองใจ” จริ งหรื อ ท่านคิดอย่างไร เพราะอะไร
 ท่านเชื่อหรื อไม่วา่ “บั้งไฟพญานาค” มีจริ ง เพราะเหตุใด
3. สารสนเทศ เป็ นข้อมูล ข้อความรู ้ต่าง ๆ เพื่อใช้ประกอบการคิด ซึ่ งควรมีความกว้าง
ลึก ชัดเจน ยืดหยุน่ ได้ และมีความถูกต้อง
4. ข้ อมูลเชิ งประจักษ์ เป็ นข้อมูลที่ได้มาจากทั้งแหล่งปฐมภูมิ (เก็บจริ งจากแหล่งกาเนิด หรื อ
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลโดยตรง) และแหล่งทุติยภูมิ (มีการเก็บรวบรวมไว้แล้ว โดยบุคคลอื่น) ซึ่ งข้อมูลทั้งสอง
แหล่งดังกล่าวที่ได้มานั้นต้องเชื่อถือได้ มีความชัดเจน ถูกต้อง และมีความเพียงพอต่อการใช้พ้ื นฐาน
ในการคิดอย่างมีเหตุผล
151

5. แนวคิดอย่ างมีเหตุผล แนวคิดอย่างมีเหตุผลนี้รวมถึง กฎ ทฤษฎี และหลักการต่าง ๆ ซึ่ ง


แนวคิดที่ได้มาต้องมีความถูกต้องและเกี่ยวข้องกับปั ญหาหรื อคาถามที่ตอ้ งการหาคาตอบ
6. ข้ อสั นนิษฐาน เป็ นคาตอบที่คาดคะเนไว้อย่างมีเหตุผล (สมมติฐาน) ซึ่งต้องมีความชัดเจน
และมองเห็นแนวทางในการหาคาตอบ ข้อมูลที่จาเป็ นต้องใช้ สาหรับนามาวิเคราะห์เพื่อหาข้อสรุ ป
หรื อพิสูจน์ขอ้ สันนิษฐานนั้น ๆ
7. การนาไปใช้ ประโยชน์ และผลทีต่ ามมา เป็ นสิ่ งที่ผคู ้ ิดต้องคานึงทั้งในแง่ประโยชน์โดย
ตรงที่จะเกิดขึ้นจากผลสรุ ปที่ได้จากการคิดนั้น และในแง่ถึงผลกระทบตามมาทั้งในด้านบวกและ
ด้านลบ ดังนั้น ผูค้ ิดต้องคิดหรื อมองให้ไกล

กระบวนการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ

กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังภาพประกอบต่อไปนี้

หยุด เมื่อได้ขอ้ สรุ ปที่สมเหตุสมผล

ไม่สมเหตุสมผล
7. ประเมินข้อสรุ ป

6. ลงข้อสรุ ป

5. ตั้งสมมติฐาน

4. ระบุลกั ษณะของข้อมูล

ไม่น่าเชื่อถือ/ไม่เพียงพอ 3. พิจารณาความน่าเชื่อถือ และความพอเพียงของข้อมูล

2. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากแหล่งต่าง ๆ

1. ระบุหรื อทาความเข้าใจกับประเด็นปั ญหา หรื อข้อโต้แย้ง

ที่มา : ปรับจาก กรมวิชาการ (2542 : 71)


152

กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณทั้ง 7 ขั้นตอน มีคาอธิ บายเพิ่มเติม ดังนี้


ขั้นที่ 1 ระบุหรือทาความเข้ าใจกับประเด็นปัญหา หรือข้ อโต้ แย้ง ในที่น้ ีรวมถึงข้อคาถาม
หรื อข้ออ้างต่าง ๆ ที่นามาพิจารณา เพื่อให้เกิดความกระจ่างชัดว่า มันคืออะไร อีกทั้งยังช่วยทาให้
ผูค้ ิดเกิดความตระหนักในปั ญหา ข้อโต้แย้ง ข้อคาถาม หรื อข้ออ้างนั้น ๆ
ขั้นที่ 2 รวบรวมข้ อมูลทีเ่ กีย่ วข้ องจากแหล่ งต่ าง ๆ เป็ นการรวบรวมข้อมูล หลักฐานที่
เกี่ยวข้องกับปั ญหา ข้อโต้แย้ง ข้อคาถาม หรื อข้ออ้าง ที่นามาคิดพิจารณาจากแหล่งต่าง ๆ ซึ่ งอาจต้อง
ใช้วธิ ี การเก็บรวบรวม และเครื่ องมือที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การสอบถาม
การศึกษาเอกสาร และการใช้ประสบการณ์เดิมที่มีอยู่
ขั้นที่ 3 พิจารณาความน่ าเชื่ อถือ และความพอเพียงของข้ อมูล ข้อมูลหรื อหลักฐานต่าง ๆ ที่
ได้มาจากการเก็บรวบรวมในขั้นที่ 2 ต้องมีความน่าเชื่อถือ โดยอาจต้องใช้วธิ ี การพิจารณาหลายอย่าง
ร่ วมกัน เช่น วิธีการและเครื่ องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเหมาะสมหรื อไม่ บุคคลหรื อแหล่งให้
ข้อมูลมีความน่าเชื่อถือเพียงใด ข้อมูลใดจาเป็ น และข้อมูลใดไม่จาเป็ น เป็ นต้น นอกจาก
ความน่าเชื่อถือแล้ว ยังต้องพิจารณาต่ออีกว่า ข้อมูลทั้งหมดที่มีอยู่ พอเพียงหรื อไม่ ถ้ายังไม่พอเพียง
หรื อยังไม่มีความน่าเชื่อถือ ผูค้ ิดจะต้องวกกลับไปดาเนินการซ้ าในขั้นที่ 2 จนกว่าจะได้ขอ้ มูลหรื อ
หลักฐานที่คิดว่ามีความน่าเชื่อถือและครบถ้วน สาหรับที่จะนาใช้ในขั้นต่อไป
ขั้นที่ 4 ระบุลกั ษณะของข้ อมูล เป็ นการจัดระบบข้อมูลที่มีอยูห่ ลากหลายเป็ นหมวดหมู่
แยกแยะความแตกต่างของข้อมูลว่าข้อมูลใดเป็ นข้อคิดเห็น ข้อมูลใดเป็ นข้อเท็จจริ ง และจัด
เรี ยงลาดับความสาคัญของข้อมูล รวมทั้งพิจารณาถึงเงื่อนไขหรื อข้อตกลงเบื้องต้นต่าง ๆ ที่อยู่
เบื้องหลังของข้อมูลนั้น ๆ ซึ่ งการกระทาดังกล่าวจะต้องอาศัยความสามารถทั้งในการจัดระบบข้อมูล
การแยกแยะ การจัดลาดับความสาคัญ การใช้หลักเหตุผล ความรู้ และประสบการณ์เดิมใน
การตีความข้อมูลเพื่อค้นหาความหมายแท้จริ ง
ขั้นที่ 5 ตั้งสมมติฐาน เป็ นการตั้งข้อสันนิษฐานจากการวิเคราะห์เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลที่มีอยูใ่ นขั้นที่ 4 อย่างมีเหตุผล เพื่อกาหนดขอบเขต แนวทาง หรื อทางเลือกในการพิจารณา
หาข้อสรุ ปของประเด็นปั ญหา ข้อโต้แย้ง ข้อคาถาม หรื อข้ออ้างต่าง ๆ ที่หยิบยกขึ้นมาเป็ นประเด็น
ในการคิด
ขั้นที่ 6 ลงข้ อสรุ ป เป็ นการพิจารณาความเหมาะสม ความมีเหตุผล หรื อความเป็ นไปได้
มากที่สุดของสมมติฐาน หรื อข้อสันนิษฐานต่าง ๆ ในขั้นที่ 5 จากนั้นตัดสิ นใจเลือกทางเลือก และ
ลงข้อสรุ ปเกี่ยวกับประเด็นปั ญหา ข้อโต้แย้ง ข้อคาถาม หรื อข้ออ้างต่าง ๆ ที่หยิบยกขึ้นมาเป็ น
ประเด็นในการคิด
153

ขั้นที่ 7 ประเมินข้ อสรุ ป เป็ นการตัดสิ นข้อสรุ ปที่ได้ในขั้นที่ 6 ว่ามีความสมเหตุสมผล


หรื อไม่ โดยการพิจารณาไตร่ ตรอง ทบทวนกลับไปกลับมาอย่างรอบคอบ ซึ่ งในการประเมินข้อสรุ ป
นี้ อาจจาเป็ นต้องพิจารณาถึงผลที่จะตามมา คุณค่าต่อการนาไปใช้ประโยชน์ ผลได้ -ผลเสี ย คุณ-โทษ
ทั้งในระยะสั้นระยะยาว ถ้าประเมินแล้วเห็นว่าความสมเหตุสมผล และ/หรื อมีความเหมาะสม ก็หยุด
และสรุ ปผลการคิด แต่ถา้ ยังไม่สมเหตุสมผลก็ให้วกกลับไปดาเนินการซ้ าในขั้นที่ 4 หรื อขั้นที่ 2

ทักษะความสามารถในการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ


ผูท้ ี่คิดอย่างมีวจิ ารณญาณจะมีความสามารถ ดังนี้ (ทิศนา แขมมณี และคณะ.
2544 : 153-154)
1. สามารถกาหนดเป้ าหมายในการคิดได้อย่างถูกทาง
2. สามารถระบุประเด็นในการคิดได้อย่างชัดเจน
3. สามารถประมวลข้อมูลทั้งทางด้านข้อเท็จจริ ง และความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นที่คิดทั้ง
ทางกว้าง ทางลึก และทางไกล
4. สามารถวิเคราะห์ขอ้ มูล และเลือกข้อมูลที่จะใช้ในการคิดได้
5. สามารถประเมินข้อมูลได้
6. สามารถใช้หลักเหตุผลในการพิจารณาข้อมูลและเสนอคาตอบ หรื อทางเลือกที่
สมเหตุสมผลได้
7. สามารถเลือกทางเลือก หรื อลงความเห็นในประเด็นที่คิดได้
154

บทสรุป
1. การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ หมายถึงกระบวนการพิจารณาไตร่ ตรองข้อมูลหรื อ
สถานการณ์ที่ปรากฏอย่างรอบคอบ มีเหตุผล มีหลักเกณฑ์ มีหลักฐานที่เชื่อถือได้ เพื่อนาไปสู่
การสรุ ปที่สมเหตุสมผล รวมทั้งการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิ ภาพ ว่าสิ่ งใดถูกต้อง สิ่ งใดควรเชื่อ สิ่ งใด
ควรเลือก หรื อสิ่ งใดควรทา
2. เป้ าหมายสาคัญของการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ เพื่อประเมินหรื อทาให้ได้ความคิดที่
ชัดเจนและสมเหตุสมผล ผ่านการพิจารณากลัน่ กรองอย่างรอบคอบ อันจะนาไปสู่ การตัดสิ นว่า
ควรทา หรื อควรเชื่อสิ่ งใด
3. องค์ประกอบสาคัญของการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ ได้แก่ 1) จุดมุ่งหมายในการคิด
2) ประเด็นปัญหาหรื อคาถามที่ตอ้ งการรู้ 3) สารสนเทศ หรื อข้อมูล ข้อความรู ้ต่าง ๆ เพื่อใช้
ประกอบการคิด 4) ข้อมูลเชิงประจักษ์ 5) แนวคิดอย่างมีเหตุผล 6) ข้อสันนิษฐาน และ
7) การนาไปใช้ประโยชน์และผลที่ตามมา
4. ขั้นตอนกระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 ระบุหรื อทาความเข้าใจ
กับประเด็นปั ญหา หรื อข้อโต้แย้ง ขั้นที่ 2 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากแหล่งต่าง ๆ ขั้นที่ 3
พิจารณาความน่าเชื่อถือ และความพอเพียงของข้อมูล ขั้นที่ 4 ระบุลกั ษณะของข้อมูล ขั้นที่ 5
ตั้งสมมติฐาน ขั้นที่ 6 ลงข้อสรุ ป และขั้นที่ 7 ประเมินข้อสรุ ป
5. ทักษะความสามารถในการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ ได้แก่ 1) สามารถกาหนดเป้ าหมายใน
การคิดได้อย่างถูกทาง 2) สามารถระบุประเด็นในการคิดได้อย่างชัดเจน 3) สามารถประมวลข้อมูล
ทั้งทางด้านข้อเท็จจริ ง และความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นที่คิดทั้งทางกว้าง ทางลึก และทางไกล
4) สามารถวิเคราะห์ขอ้ มูล และเลือกข้อมูลที่จะใช้ในการคิดได้ 5) สามารถประเมินข้อมูลได้
6) สามารถใช้หลักเหตุผลในการพิจารณาข้อมูลและเสนอคาตอบ หรื อทางเลือกที่สมเหตุสมผลได้
และ 7) สามารถเลือกทางเลือก หรื อลงความเห็นในประเด็นที่คิดได้
155

แบบฝึ กหัด
ตอนที่ 1 จงตอบประเด็นคาถามต่อไปนี้

1. จงอธิ บายความหมายของการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ


2. อะไรเป้ าหมายสาคัญที่สุดของการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
3. องค์ประกอบสาคัญของการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ มีอะไรบ้าง และจงอธิ บาย
แต่ละองค์ประกอบพอสังเขป
4. จงอธิ บายขั้นตอนของกระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
5. ทักษะความสามารถในการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณมีอะไรบ้าง

ตอนที่ 2 จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด

1. “กระบวนการพิจารณาไตร่ ตรองข้อมูลหรื อสถานการณ์ที่ปรากฏอย่างรอบคอบ มีเหตุผล


เพื่อนาไปสู่ การสรุ ปที่สมเหตุสมผล รวมทั้งการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิ ภาพ ว่าสิ่ งใดถูกต้อง สิ่ งใด
ควรเชื่อ หรื อสิ่ งใดควรทา” ตรงกับความหมายในข้อใดมากที่สุด
ก. การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ ข. การคิดวิเคราะห์
ค. การคิดแก้ปัญหา ง. การคิดสร้างสรรค์

2. ข้อใดเป็ นเป้ าหมายที่สาคัญที่สุดของการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ


ก. สร้างความคิดใหม่ หรื อสิ่ งประดิษฐ์ใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน
ข. หาคาตอบที่ถูกต้องเหมาะสม สาหรับนาไปใช้แก้ปัญหาที่มีอยู่
ค. สร้างทางเลือกจากข้อมูลที่มีอยูไ่ ด้หลากหลายและมีเหตุผล
ง. ทาให้ได้ความคิดที่ชดั เจน สมเหตุสมผล เพื่อการตัดสิ นว่าควรทา หรื อควรเชื่อสิ่ งใด

3. ข้อใดต่อไปนี้ ถือว่าเป็ นองค์ประกอบเฉพาะของการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ


ก. ประเด็นปัญหาหรื อคาถามที่ตอ้ งการรู้
ข. ข้อมูลเชิงประจักษ์จากแหล่งต่าง ๆ
ค. สารสนเทศ เพื่อใช้ประกอบการคิด
ง. แนวคิดอย่างมีเหตุผล
156

4. ขั้นตอนกระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณในข้อใดต่อไปนี้ จะต้ องกระทาเป็ น


อันดับแรก
ก. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากแหล่งต่าง ๆ
ข. พิจารณาความน่าเชื่อถือ และความพอเพียงของข้อมูล
ค. ระบุหรื อทาความเข้าใจกับประเด็นปั ญหา หรื อข้อโต้แย้ง
ง. ตั้งสมมติฐาน

5. “การจัดระบบข้อมูลที่มีอยูห่ ลากหลายเป็ นหมวดหมู่ แยกแยะความแตกต่างของข้อมูลว่า


ข้อมูลใดเป็ นข้อคิดเห็น ข้อมูลใดเป็ นข้อเท็จจริ ง และจัดเรี ยงลาดับความสาคัญของข้อมูล รวมทั้ง
พิจารณาถึงเงื่อนไขหรื อข้อตกลงเบื้องต้นต่าง ๆ ที่อยูเ่ บื้องหลังของข้อมูลนั้น ๆ” เป็ นขั้นตอนใดของ
กระบวนการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
ก. ระบุลกั ษณะของข้อมูล
ข. ประเมินข้อสรุ ป
ค. พิจารณาความน่าเชื่อถือ และความพอเพียงของข้อมูล
ง. ระบุหรื อทาความเข้าใจกับประเด็นปั ญหา หรื อข้อโต้แย้ง

เอกสารอ้ างอิง
ชวนวล คณานุกลู . เข้าถึงใน http://seashore.buu.ac.th/~chawanua/Human%
20Thinking%20System%2007/HM%20index .html, 24 พฤษภาคม 2551.
ทิศนา แขมมณี และคณะ. วิทยาการด้านการคิด . กรุ งเทพฯ : บริ ษทั เดอะมาสเตอร์กรู๊ ป
แมเนจเม้นท์ จากัด, 2544.
วิชาการ,กรม. การสังเคราะห์รูปแบบการพัฒนาศักยภาพของเด็กไทยด้านทักษะการคิด .
กรุ งเทพฯ : กองวิจยั ทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทวงศึกษาธิการ, 2542.
วีระ สุ ดสังข์. การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และคิดสร้างสรรค์. กรุ งเทพฯ :
ชมรมเด็ก, 2550.
สุ วทิ ย์ มูลคา และคณะ. การเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นการคิด . พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุ งเทพฯ:
ภาพพิมพ์, 2549.
157

ภาคผนวก ค

ตัวอย่ างเอกสารแนะนาขั้นตอนการสืบค้นงานวิจยั ทางการศึกษา


: เวปไซต์ http://dcms.thailis.or.th/
158

เอกสารแนะนาขัน้ ตอนการสืบค้นงานวิจยั ทางการศึกษา


: เวปไซต์ http://dcms.thailis.or.th/

ขอแนะนา เวปไซต์ http://dcms.thailis.or.th/ เวปไซต์น้ ี คุณครู สามารถสื บค้น


งานวิจยั ทางการศึกษาของทุกมหาวิทยาลัย สถาบัน และหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่ งสามารถดาวน์โหลด
รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ได้ท้ งั เล่ม (Full Text) ถ้าต้องการเห็นเครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั รวมทั้ง
ตัวอย่างนวัตกรรมทางการศึกษา ก็สามารถดาวน์โหลดดูได้ในส่ วนของภาคผนวก ขั้นตอนสื บค้น
มีดงั นี้
1. เข้าสู่ เวปไซด์ http://dcms.thailis.or.th/ จะปรากฏหน้าต่างดังนี้

2. คลิกที่เมนู Search Digital Collection (ดังภาพข้างล่าง)


159

3. เมื่อคลิกจะปรากฏภาพ ดังนี้

4. คลิกที่เมนู Advance Search จะปรากฏ ดังนี้

5. พิมพ์คา หรื อข้อความที่ตอ้ งการสื บค้นลงในช่องว่าง


ตัวอย่าง ในที่น้ ีตอ้ งการสื บค้นคาว่า “ชุ ดการสอน”
ต้ องการสื บค้ น : ชุดการสอน จากเขตข้ อมูล : ทุกเขตข้อมูล
เลือกมหาวิทยาลัย/สถาบัน : ทุกแห่ง เลือกชนิดเอกสาร : วิทยานิพนธ์ /thesis
160

รายละเอียดปรากฏดังภาพข้างล่าง

6. เมื่อคลิกปุ่ ม ค้นหา จะปรากฏ ดังนี้


161

7. เลือกรายการเอกสารที่ตอ้ งการ โดยการคลิกที่รายชื่อเอกสารนั้นๆ


ตัวอย่าง ต้องการเอกสารเรื่ อง “การพัฒนาชุดการสอนทักษะการฟัง พูด ภาษาอังกฤษ
สาหรับนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5”
เมื่อ คลิก จะปรากฏ ดังนี้
162

ส่ วนด้านล่างของหน้าจอจะปรากฏรายการเอกสารในแต่ละบท ซึ่ งผูส้ ื บค้นสามารถคลิก


เพื่อให้แสดงรายละเอียดของเอกสารในแต่ละบทได้ (Download Full text)

คลิกเพือ

Download
เอกสารแต่ละบท

8. หากประสงค์จะสั่งพิมพ์ บันทึกไฟล์ ก็ดาเนินการต่อได้ตามปกติ

ขอให้ มีความสุ ขกับการสื บค้ นครับ


163

ภาคผนวก ง

ภาพกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร
164

ภาพ 11 ประชุมชี้แจง และปรึ กษาหารื อเกี่ยวกับโครงการวิจยั


165

ภาพ 12 ชมวีดีทศั น์ตวั อย่างการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนเพื่อพัฒนาการคิด


166

ภาพ 13 ฝึ กออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนเน้นการคิด


167

ภาพ 14 ร่ วมกิจกรรมสาธิ ตการจัดการเรี ยนรู ้เน้นการคิด (การคิดแบบหมวก 6 ใบ)


168

ภาพ 15 ฝึ กทักษะการสื บค้นข้อมูลทางอินเตอร์ เน็ต เกี่ยวกับงานวิจยั


นวัตกรรมเพื่อพัฒนาการคิด และอื่น ๆ
169

ภาคผนวก จ

ตัวอย่างแผนการจัดการเรี ยนที่เน้นการคิดที่ครู กลุ่มเป้ าหมายจัดทาขึ้น


170

ตัวอย่ างที่ 1

กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6


หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรื่อง ท้องถิ่นของเรา
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 1 เรื่อง การประกอบอาชีพในท้องถิ่น เวลา 2 ชั่วโมง

1. สาระสาคัญ
ประชากรส่ วนใหญ่ในบ้านท่าวัดมีอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การทาไร่ ทานา และทาการประมง
น้ าจืด เนื่องจากหมู่บา้ นตั้งอยูร่ ิ มหนองหาร ซึ่ งเป็ นแหล่งน้ าจืดที่มีปลาชุกชุมมาก เมื่อจับปลาได้
บริ โภคไม่หมดจึงนามาถนอมอาหาร และแปรรู ปอาหารไว้บริ โภคในครัวเรื อน

2. ผลการเรียนรู้ ทคี่ าดหวัง


นักเรี ยนมีความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกอบอาชีพหลักที่สาคัญในท้องถิ่น

3. จุดประสงค์ การเรียนรู้
3.1 นักเรี ยนบอกอาชีพหลักในท้องถิ่นได้ถูกต้อง
3.2 นักเรี ยนบอกประโยชน์ของการประกอบอาชีพในท้องถิ่นได้
3.3 นักเรี ยนสารวจการประกอบอาชีพที่สาคัญในท้องถิ่นได้
3.4 นักเรี ยนแสดงความคิดเห็นต่อการประกอบอาชีพในท้องถิ่นได้

4. สาระการเรียนรู้
4.1 อาชีพสาคัญในท้องถิ่น
4.2 ประโยชน์ของการประกอบอาชีพในท้องถิ่น

5. กระบวนการจัดการเรียนรู้
5.1 ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
5.1.1 นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน
5.1.2 ครู สนทนากับนักเรี ยนเกี่ยวกับงานที่ครู มอบหมายในชัว่ โมงก่อนเรี ยน ให้นกั เรี ยนไป
สารวจสภาพทัว่ ไปของบ้านท่าวัด ว่ามีสภาพทาเลที่ต้ งั เป็ นอย่างไร ประชากรประกอบอาชีพอะไร
และแหล่งทรัพยากรที่เกี่ยวข้องในการนาวัตถุดิบมาทาน้ าปลาจากปลาร้ามีที่ไหนบ้าง โดยให้ไป
171

สารวจนอกเวลาเรี ยน ผลการสารวจของแต่ละกลุ่มเป็ นอย่างไร มีปัญหาอุปสรรคอะไรบ้าง ครู


สนทนากับนักเรี ยนต่อไปโดยใช้คาถามนาต่อไปว่า
5.1.2.1 ทาไมหมู่บา้ นที่นกั เรี ยนอาศัยอยูจ่ ึงตั้งติดกับหนองหาร
5.1.2.2 ชาวบ้านท่าวัดประกอบอาชีพอะไรบ้าง
5.1.2.3 การประกอบอาชีพในท้องถิ่นมีประโยชน์อย่างไร
5.2 ขั้นสอน
5.2.1 ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มเตรี ยมงานที่ครู มอบหมายให้ไปสารวจนอกเวลาเรี ยน
เกี่ยวกับสภาพทัว่ ไปของบ้านท่าวัด ว่ามีสภาพทาเลที่ต้ งั เป็ นอย่างไร ประชากรประกอบอาชีพอะไร
และแหล่งทรัพยากรที่เกี่ยวข้องในการนาวัตถุดิบมาทาน้ าปลาจากปลาร้ามีที่ไหนบ้าง
5.2.2 แต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน โดยครู อธิ บายเพิ่มเติมถึงอาชีพ
หลักที่สาคัญในท้องถิ่นได้แก่อาชีพอะไรบ้าง ประโยชน์ของการประกอบอาชีพ แหล่งทรัพยากร
และภูมิปัญญาที่พบในท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องในการนาวัตถุดิบมาทาน้ าปลาจากปลาร้า พร้อมกับแจก
ใบความรู้ที่ 1.1 และ 1.2 ให้นกั เรี ยนศึกษาประกอบ
5.3 ขั้นสรุ ป
5.3.1 นักเรี ยนและครู ร่วมกันสรุ ป เรื่ อง ทาเลที่ต้ งั ของหมู่บา้ น การประกอบอาชีพและ
แหล่งทรัพยากรในท้องถิ่น ครู ตอบคาถามหรื อข้อสงสัยอื่นๆ แล้วให้นกั เรี ยนทุ กคนบันทึกลงใน
สมุดของตนเอง
5.3.2 นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน

6. สื่ อและแหล่ งเรียนรู้


6.1 รู ปภาพแหล่งทรัพยากรในท้องถิ่นและอาชีพที่สาคัญในท้องถิ่น
6.2 ใบความรู้ที่ 1.1,1.2
6.3 ใบงานที่ 1.1,1.2
6.4 แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน

7. การวัดและประเมินผล
7.1 สิ่ งที่จะวัด
7.1.1 ด้านความรู้
7.1.1.1 การตรวจใบงาน
7.1.1.2 สังเกตจากการตอบคาถาม
7.1.1.3 การรายงานหน้าชั้นเรี ยน
172

7.1.2 ด้านทักษะปฏิบตั ิ
7.1.2.1 สังเกตจากการทางานกลุ่มของนักเรี ยน
7.1.2.2 การตรวจผลงาน
7.1.3 ด้านเจตคติ
ประเมินพฤติกรรมนักเรี ยนขณะปฏิบตั ิกิจกรรม
7.2 เครื่องมือวัด
7.2.1 แบบประเมินการตรวจใบงาน
7.2.2 แบบประเมินผลงานกลุ่ม
7.2.3 แบบประเมินการเสนอผลงานหน้าชั้นเรี ยน
7.2.4 แบบประเมินพฤติกรรมนักเรี ยนขณะปฏิบตั ิกิจกรรม
7.2.5 แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน / เฉลยแบบทดสอบ

8. ข้ อเสนอแนะเพิม่ เติม
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(..........................................................)
ตาแหน่ง............................................................
...................../.................../................
9. ความคิดเห็นของหัวหน้ าสถานศึกษา
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(..........................................................)
ตาแหน่ง............................................................
...................../..................../................
173

10. บันทึกผลหลังการเรียนรู้
10.1 ผลที่เกิดกับผูเ้ รี ยน................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
10.2 ปัญหา / อุปสรรค.................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
10.3 ข้อเสนอแนะ / วิธีแก้ไข.......................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

ลงชื่อ
(..........................................................)
ตาแหน่ง............................................................
...................../..................../................
174

ใบความรู้ที่ 1.1

กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6


ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 1 เรื่อง สภาพแวดล้ อมของชุ มชน

สภาพแวดล้ อมของชุ มชน


สภาพทัว่ ไปของบ้ านท่าวัด
บ้านท่าวัด แบ่งการปกครองออกเป็ น 2 หมู่ คือ บ้านท่าวัดเหนือ ตั้งอยูท่ ี่หมู่ 3 และ
บ้านท่าวัดใต้ ตั้งอยูห่ มู่ที่ 9 ต. เหล่าปอแดง อ.เมือง จ. สกลนคร มีอาณาเขตติดต่อกับหมู่บา้ น
ใกล้เคียง ดังนี้
ทิศเหนือ ติดกับ หนองหาร
ทิศใต้ ติดกับ บ้านดอนยาง
ทิศตะวันออก ติดกับ หนองหาร
ทิศตะวันตก ติดกับ หนองหาร
ชุมชนบ้านท่าวัดมีทาเลที่ต้ งั ติดอยูก่ บั ริ มหนองหารตามแนวยาว ประชากรส่ วนใหญ่
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทานา มีแหล่งน้ าสาคัญที่เป็ นแหล่งอาหาร ได้แก่ หนองหาร
ซึ่ งเป็ นแหล่งน้ าที่มีขนาดใหญ่ มีความอุดมสมบูรณ์ มีปลาน้ าจืดหลายชนิดชุกชุมเป็ นแหล่ง
เพาะพันธุ์ปลาน้ าจืดตามธรรมชาติที่สาคัญ มีแหล่งต้นน้ าไหลมาจากเทือกเขาภูพานมารวมกันที่
หนองหาร หลังจากนั้นก็จะไหลลงสู่ ลาน้ าก่าและไหลลงสู่ แม่น้ าโขงต่อไป ช่วงฤดูน้ าหลาก
ประมาณเดือนมิถุนายนถึง เดือนสิ งหาคมชาวบ้านท่าวัดจะอาศัยช่วงเวลาว่างจากการทานาหรื อว่าง
จากการประกอบอาชีพอื่นมาทาการประมงน้ าจืดที่ลุ่มน้ าหนองหาร อุปกรณ์ที่ใช้ในการจับปลา
ได้แก่ ตาข่าย (มอง) ไซ ลอบ แห สวิง ยกยอ ฯลฯ ปลาที่จบั ได้มีหลายชนิดทั้งปลาขนาดเล็ก
และปลาขนาดใหญ่ เช่น ปลาดุก ปลานิล ปลาไน ปลาตะเพียน ปลาหมอตาล ปลาช่อน
ปลาตองกราย ปลาขาวไทย ปลาซิ ว ปลาตะเพียน ปลาสร้อย กุง้ ปู และปลาเล็กปลาน้อยอื่นๆ
อีกมากมาย โดยชาวบ้านจะจับปลาได้มากในฤดูฝนแล้วจะนาไปขายเพื่อเป็ นรายได้เสริ มให้กบั
ครอบครัว แต่เนื่องจากจับปลาได้ปริ มาณมากทาให้ขายได้ในราคาตกต่า ไม่คุม้ ค่ากับการลงทุน
ชาวบ้านจึงหาวิธีการที่จะนาปลาเหล่านั้นมาถนอมอาหารด้วยวิธีการต่างๆ เช่น ทาปลาร้า ปลาแห้ง
ปลาร้าบอง เก็บไว้บริ โภคในครัวเรื อน สาหรับการทาปลาร้านั้นเกือบทุกครัวเรื อนจะทาปลาร้าไว้
175

บริ โภค เพราะในชีวติ ประจาวันทุ กครัวเรื อนจะประกอบอาหารโดยใช้ปลาร้าเป็ นเครื่ องปรุ ง


ปลาที่ใช้ทาปลาร้าส่ วนใหญ่จะใช้ปลาขนาดเล็ก และปลาขนาดกลาง เช่น ปลาซิ ว ปลาสร้อย
ปลากระดี่ ปลาขาวไทย เป็ นต้น ปลาร้านอกจากจะใช้บริ โภคในชีวติ ประจาวันแล้ว ถ้ามีมากยัง
สามารถจาหน่ายได้ราคาดีอีกด้วย
ด้วยเหตุที่ชาวบ้านท่าวัดมีวตั ถุดิบ คือปลาร้าจานวนมากนี้เอง ชาวบ้านจึงนาเอาปลาร้ามา
ผลิตเป็ นน้ าปลาไว้บริ โภคในครัวเรื อน เพื่อเป็ นการประหยัดค่าใช้จ่ายและยังเป็ นการอนุรักษ์
ภูมิปัญญาท้องถิ่นได้อีกทางหนึ่งด้วย
176

ใบความรู้ที่ 1.2

กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6


ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 1 เรื่อง อาชีพหลักทีส่ าคัญในท้องถิ่น
อาชีพหลักทีส่ าคัญในท้องถิ่น
อาชีพที่สาคัญในท้องถิ่นบ้านท่าวัดมีหลายสาขาอาชีพที่สรุ ปได้ดงั นี้
1. อาชีพการเกษตร เป็ นอาชีพหลักของท้องถิ่น ได้แก่ การทานา ทาสวนมะเขือเทศ
การเลี้ยงสัตว์ การประมงน้ าจืด เป็ นต้น

อาชีพทานา

อาชีพทาสวนมะเขือเทศ

อาชีพประมงน้ าจืด
177

2. อาชีพการทาปลาร้ า เป็ นลักษณะเด่นอีกประการหนึ่งของชาวบ้านท่าวัดหรื อหมู่บา้ น


รอบหนองหาร คือการหากินกับหนองหารจนได้ชื่อว่าเป็ นวัฒนธรรมปลา หรื อที่รู้จกั กันโดยทัว่ ไป
สาหรับหมู่บา้ นที่อยูต่ ิดกับแม่น้ าทางภาคอีสานจะมีชื่อเรี ยกว่า วัฒนธรรมปลาแดก บ้านท่าวัดเป็ น
อีกหมู่บา้ นหนึ่งที่มีวถิ ีชีวติ อยูก่ บั วัฒนธรรมปลาแดกมาตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั อาชีพหลักของ
ชาวบ้านท่าวัดสมัยก่อน คือการหาปลา ปลาในหนองหารเมื่อ 10 ปี ให้หลังมีมากมาย ชาวบ้าน
สามารถจับปลาเพื่อนามาเป็ นอาหารได้มาก เมื่อเหลือจากการประกอบอาหารสิ่ งที่ขาดไม่ได้ประจา
หมู่บา้ นคือการทาปลาร้า หรื อปลาแดกที่เรี ยกกันในภาคอีสานนัน่ เอง เมื่อมีปลามากสามารถนามา
แปรรู ปเป็ นปลาร้ากันมาก และยังนาปลาไปขายยังต่างถิ่น ทั้งปลาสด ปลาแห้ง หรื อแม้แต่ปลาร้า
จนมีสมญานามของแม่คา้ พ่อค้าที่นาปลาไปขายยังต่างถิ่นว่า “นายฮ้อยปลาหรื อนายฮ้อยปลาแดก
ซึ่งเป็ นชื่อที่นิยมเรี ยกกันในสมัยนั้น
สาหรับวัฒนธรรมปลาแดกของชุมชนบ้านท่าวัดที่มีมาและวิธีการผลิตที่คล้ายกับชุมชน
ริ มหนองหารทัว่ ไป คือ
1. ขั้นการเตรี ยม เริ่ มจากทุกครอบครัวจะจัดเตรี ยมอุปกรณ์ในการทาปลาแดก โดย
แยกหน้าที่ระหว่างผูช้ ายกับผูห้ ญิง กล่าวคือ การผลิตหรื อทาเครื่ องมือจับปลา ได้แก่ สุ่ ม ลอบ
ตุม้ ปลา ไซ เบ็ด หลี่ ข้อง กระหยัง กระเชอ ฯลฯ ส่ วนผูห้ ญิงจะจัดเตรี ยมอุปกรณ์การทาปลา
แดก เช่น ไห หม้อ หรื อโอ่งดิน
2. ขั้นการจับปลาทาปลาแดก โดยทัว่ ไปจะมีการจับปลาในหนองหารตลอดปี แต่ที่จบั
ปลาได้เป็ นจานวนมาก คือช่วงฤดูฝนหรื อน้ าหลาก ซึ่ งชาวบ้านทัว่ ไปเรี ยกว่า “ยามปลาขึ้น” ใน
ปั จจุบนั จับปลาได้จานวนไม่แน่นอน แต่ที่พอจะนามาทาปลาแดกได้จานวนมากคือ การจับปลา
ด้วยหลี่ ซึ่ งไม่ได้จบั ในหนองหารแต่จบั ในท้องนาของชาวบ้านที่มีหว้ ยหรื อร่ องน้ าไหลในฤดูฝน
ปลาส่ วนใหญ่จะเป็ นปลาที่มีขนาดเล็ก
3. ขั้นการทาปลาแดก เมื่อได้ปลามาจานวนมากก็จะทาการคัดเลือกปลาที่จะทาปลา
แดก หรื อไม่คดั เลือกก็ได้ ขึ้นอยูก่ บั ว่าจะทาปลาแดกนัว หรื อต่วง โดยจะนาปลามาขอดเกล็ดและ
ชาแหละเอาขี้ปลาออก จากนั้นจะนาปลาไปทาความสะอาดประมาณ 2-3 ครั้ง หรื อจนกว่าจะ
สะอาด เมื่อล้างปลาเสร็ จแล้วจะนาปลาไปตาหรื อโขลกในครกกระเดื่อง หรื อชาวบ้านเรี ยกว่า ครก
มอง ในขณะที่ตาหรื อโขลกนั้นจะเติมเกลือและราผสมไปด้วยให้พอเหมาะตามที่ตอ้ งการ จากนั้น
จะนาปลาไปหมักเกลืออีกครั้งหนึ่งในภาชนะทิง้ ไว้คา้ งคืน 1-2 คืน
ในการผสมเกลือหรื อหมักปลาแดก มีวธิ ี การง่ายๆไม่ซบั ซ้อนทั้งนี้การทาปลาแดก
178

ขึ้นอยูก่ บั อยูก่ บั ความต้องการของผูท้ าว่า ต้องการปลาแดกดีมีคุณภาพ คือ ไม่มีกลิ่นเหม็น ไม่มีสี


ดา ไม่เหลวและสามารถเก็บไว้กินได้นานๆ การทาปลาแดกมี 2 อย่างคือ ปลาแดกนัวกับปลา
แดกต่วง ปลาแดกนัวเป็ นปลาแดกที่มีรสดี ปลาแดกต่วงเป็ นปลาแดกที่มีกลิ่นออกจะเหม็น หรื อ
กลิ่นตุๆ แต่อร่ อยที่หลายคนนิยมกิน การทาปลาแดกนัวต้องใช้เกลือหมักให้มาก โดยใช้ปลา
น้ าหนักประมาณ 6 กิโลกรัม ต่อเกลือประมาณ 3 กิโลกรัม คลุกหรื อที่ชาวบ้านเรี ยกว่า “ซาว”
ให้เข้ากัน แล้วใช้มือกดลงใจกลางภาชนะที่ใช้หมักให้ปลาอัดกันแน่น
ในขณะที่ชาวบ้านส่ วนหนึ่งกล่าวว่า การทาปลาแดกมีวธิ ี คล้ายคลึงกันแต่จะเลือกทา
เฉพาะปลาแดกดีเก็บไว้กินได้นานๆ มีการคัดเลือกปลาขนาดใหญ่และชนิดปลาสาหรับทาปลาแดก
เช่น ปลาตะเพียน ปลาขาวไทย ปลาขาว ปลาดุก และจะต้องเป็ นปลาสด ทาการขอดเกล็ด บั้ง
หรื อกรี ดข้าง 2-3 ครั้ง ชาแหละเอาขี้ปลาและเครื่ องในออก ล้างน้ าให้สะอาด ปล่อยให้สะเด็ดน้ า
จากนั้นจะนามาคลุกให้เข้ากันกับเกลือ โดยใช้สูตรปลา 6 กิโลกรัม เกลือ 3 กิโลกรัม หรื อ
มากกว่านี้ ราข้าว 3 กิโลกรัม ให้สังเกตที่เนื้อปลาถ้าได้ที่ตวั ปลาจะแข็งหรื อแน่น แล้วนาไปเก็บ
ไว้ในไห 6-7 วัน และสังเกตดูวา่ มีแมลงตอมหรื อไม่ ถ้ามีแสดงว่าเกลือไม่พอต้องเติมเกลืออีก ถ้า
จะให้ดีตอ้ งเติมข้าวคัว่ ลงไปด้วยประมาณ 1 กิโลกรัม จากนั้นก็จะปิ ดปากไหทิง้ ไว้ประมาณ 1
สัปดาห์ เพื่อดูวา่ ปลาแดกมีน้ าเอ่อขึ้นมาหรื อไม่ หากไม่มีหนอนด้วยก็จะนาฝามาปิ ดปากไหให้
แน่น แล้วนาไปเก็บไว้ให้เรี ยบร้อย

อาชีพการทาปลาร้า

อาชีพทาปลาร้า
179

ประโยชน์ ของการทาปลาร้ า
1. เป็ นการประหยัด
2. เป็ นการถนอมอาหารไว้รับประทานยามขาดแคลน
3. รักษาคุณลักษณะที่ดีและคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไว้
4. เป็ นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
5. เป็ นการเพิ่มรายได้
6. สนับสนุนอาชีพในท้องถิ่น
7. ได้ปลาร้าที่สะอาดเพราะผลิตด้วยตนเอง
8. เป็ นการส่ งเสริ ม พัฒนา ปรับปรุ งการผลิตเพื่อให้ได้ปลาร้าที่มีคุณภาพยิง่ ขึ้น
9. เกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตน

ประโยชน์ ของการประกอบอาชีพ ในท้องถิ่น


1. การประกอบอาชีพมีประโยชน์ในแง่การสร้างรายได้ และพัฒนาระบบเศรษฐกิจ
2. การประกอบอาชีพเป็ นการใช้ทรัพยากรที่มีอยูต่ ามสภาพท้องถิ่นให้เกิดความคุม้ ค่า
โดยการนามาแปรรู ปในงานอาชีพ
3. การประกอบอาชีพในท้องถิ่น ทาให้คนในท้องถิ่นมีความรู ้สึกรักและผูกพัน
ตลอดจนมีเจตคติที่ดีต่อชุมชนและท้องถิ่นของตนเอง
4. การประกอบอาชีพมีประโยชน์ต่อบุคคล ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ

สรุ ป
อาชีพที่สาคัญในท้องถิ่น ได้แก่ อาชีพเกษตรกรรม เช่น ทานา ทาสวนมะเขือเทศ
เลี้ยงสัตว์ และอาชีพประมงน้ าจืด ซึ่ งจับปลาในน้ าหนองหาร ถ้ามีปริ มาณมากขายได้ราคาต่าก็
นามาทาปลาร้า ซึ่ งก่อให้เกิดรายได้เป็ นจานวนมากและเมื่อนาปลาร้ามาแปรรู ปเป็ นน้ าปลาก็จะช่วย
เพิม่ พูนรายได้สูงขึ้นไปอีก ทาให้เป็ นสิ นค้าที่เป็ นเอกลักษณ์ของชุมชนเป็ นอย่างดียงิ่
180

ใบงานที่ 1.1

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6


ประกอบแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 1 เรื่ อง ศึกษาสภาพแวดล้อมในชุมชน

คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมต่อไปนี้


1. ให้นกั เรี ยนไปสารวจสภาพลักษณะทัว่ ไปของบ้านท่าวัด แล้ววาดแผนที่ประกอบ
(10 คะแนน)
181

ใบงานที่ 1.2

กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6


ประกอบแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่ 1 เรื่ อง สารวจอาชีพหลักที่ สาคัญในท้องถิ่น

คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมต่อไปนี้


1. ให้นกั เรี ยนสารวจอาชีพหลักที่สาคัญในท้องถิ่น มีอะไรบ้าง (5 คะแนน).....................................
......................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
2. จงบอกประโยชน์ของการทาปลาร้ามาเป็ นข้อๆ (5 คะแนน).....................................................
.....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
182

แบบประเมินการตรวจใบงาน
ประกอบแผนการสอนที่ 1 เรื่ อง สารวจอาชีพหลักที่สาคัญในท้องถิ่น ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ชื่อ...................................................................................เลขที่......................
คาชี้แจง ผูส้ อนตรวจผลงานในใบงานกิจกรรมของนักเรี ยนในรายการต่อไปนี้

รายการทีป่ ระเมิน

เนือ้ หาครบถ้ วน (4)

ส่ งผลงานตามเวลาที่
เลขที่ ชื่อ - สกุล หมาย

ความเป็ นระเบียบ

ความตั้งใจในการ
เหตุ

เรียบร้ อย (2)

กาหนด (2)
ทางาน (2)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11

เกณฑ์การประเมิน
8 – 10 คะแนน อยูใ่ นเกณฑ์ ดี
5–7 คะแนน อยูใ่ นเกณฑ์ พอใช้
ต่ากว่า 5 คะแนน อยูใ่ นเกณฑ์ ต้องปรับปรุ ง

ลงชื่อ...............................................................ผูป้ ระเมิน
183

แบบประเมินผลงานกลุ่ม
แผนการเรียนรู้ ที่ 1 การประกอบอาชีพในท้องถิ่น
กลุ่มที่.................สมาชิก 1...................................................... 2...................................................
3...................................................... 4...................................................
5...................................................... 6...................................................

คะแนนที่ได้
รายการประเมิน หมายเหตุ
3 2 1
1. บทบาทหน้าที่ในกลุ่ม
2. ความร่ วมมือของสมาชิก
3. รับฟังความคิดเห็นซึ่ งกันและกัน
4. สรุ ปข้อมูลถูกต้องชัดเจน
5. ทางานเสร็ จตามเวลาที่กาหนด
คะแนนรวม (15 คะแนน)
ระดับคะแนนที่ได้

ลงชื่อ..............................................ผูป้ ระเมิน
(นายนาวา ศรี ษะเนตร)
เกณฑ์ การประเมิน
1. บทบาทหน้ าทีใ่ นกลุ่ม
3 ปฏิบตั ิหน้าที่ตามบทบาทที่ได้รับมอบหมายได้อย่างดีเยีย่ ม
2 ปฏิบตั ิหน้าที่ตามบทบาทที่ได้รับมอบหมายได้เป็ นบางส่ วน
1 ปฏิบตั ิหน้าที่ตามบทบาทที่ได้รับมอบหมายได้นอ้ ยมาก
2. ความร่ วมมือของสมาชิก
3 สมาชิกในกลุ่มทุกคนให้ความร่ วมมือในการทางานกลุ่มเป็ นอย่างดี
2 สมาชิกในกลุ่มให้ความร่ วมมือในทางานเพียงบางส่ วน
1 สมาชิกในกลุ่มส่ วนใหญ่ไม่ให้ความร่ วมมือในการทางาน และมีความขัดแย้งกัน
ในกลุ่ม
184

3. รับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
3 รับฟังความคิดเห็นของสมาชิกภายในกลุ่ม ยอมรับเสี ยงข้างมาก ไม่แสดงท่าทาง
ไม่พอใจเมื่อสมาชิกคนอื่นไม่เห็นด้วย
2 รับฟังความคิดเห็นของสมาชิกภายในกลุ่ม ยอมรับเสี ยงข้างมาก แต่แสดงท่าทาง
ไม่พอใจเมื่อสมาชิกคนอื่นไม่เห็นด้วย
1 รับฟังความคิดเห็นของสมาชิกภายในกลุ่มเป็ นบางครั้ง ไม่ยอมรับเสี ยงข้างมาก
4. สรุ ปข้ อมูลถูกต้ องชั ดเจน
3 สรุ ปข้อมูลถูกต้อง ชัดเจน เข้าใจง่าย
2 สรุ ปข้อมูลถูกต้องบางส่ วน
1 สรุ ปเนื้อหายังไม่ชดั เจน
5. ทางานเสร็จตามเวลาทีก่ าหนด
3 ผลงานดีเยีย่ ม ครอบคลุมเนื้อหา ทางานเสร็ จทันเวลาที่กาหนด
2 ผลงานพอใช้ ครอบคลุมเนื้อหาบางส่ วน ทางานเสร็ จทันเวลาที่กาหนด
1 ผลงานต้องปรับปรุ ง เนื้อหาไม่ครบ ทางานเสร็ จไม่ทนั เวลา

ระดับคุณภาพ
คะแนนรวม 15 – 12 คะแนน ได้ระดับดีเยีย่ ม
คะแนนรวม 11 – 8 คะแนน ได้ระดับดี
คะแนนรวม 7 – 4 คะแนน ได้ระดับพอใช้
185

แบบประเมินการเสนอผลงานหน้ าชั้นเรียน
แผนการเรียนรู้ ที่ 1 เรื่อง การประกอบอาชีพในท้องถิ่น
กลุ่มที่.................สมาชิก 1...................................................... 2...................................................
3...................................................... 4...................................................
5...................................................... 6...................................................

คะแนนที่ได้
รายการประเมิน หมายเหตุ
3 2 1
1. การเตรี ยมพร้อมที่จะรายงาน
2. คาพูดและน้ าเสี ยงการรายงานชัดเจน
3. ความสมบูรณ์ถูกต้องของเนื้อหา
4. ตอบข้อซักถามได้ถูกต้องชัดเจน
5. การรักษาเวลาในการรายงาน
คะแนนรวม (15 คะแนน)
ระดับคะแนนที่ได้

ลงชื่อ..............................................ผูป้ ระเมิน
(นายนาวา ศรี ษะเนตร)
เกณฑ์ การประเมิน
1. การเตรียมพร้ อมทีจ่ ะรายงาน
3 มีการเตรี ยมตัวที่จะรายงานมาเป็ นอย่างดี สมาชิกทุกคนในกลุ่มมีส่วนร่ วมใน
การแสดงความคิดเห็น ผูร้ ายงานมีความมัน่ ใจในตัวเองสู ง
2 มีการเตรี ยมตัวที่จะรายงานมาเป็ นอย่างดี สมาชิกในกลุ่มมีส่วนร่ วมในการ
แสดงความคิดเห็นเพียงบางส่ วน ผูร้ ายงานมีความมัน่ ใจในตัวเองสู ง
1 มีการเตรี ยมตัวที่จะรายงานมาเป็ นอย่างดี สมาชิกในกลุ่มมีส่วนร่ วมในการ
แสดงความคิดเห็นเพียงบางส่ วน ผูร้ ายงานไม่มีความมัน่ ใจในตัวเอง
186

2. คาพูดและนา้ เสี ยงในการรายงานชั ดเจน


3 พูดจาฉะฉาน เสี ยงดังฟังชัด สามารถพูดโน้มน้าวให้ผฟู้ ังคล้อยตาม ใช้ภาษา
ได้ถูกต้องเหมาะสม เข้าใจง่าย
2 พูดจาฉะฉาน เสี ยงดังฟังชัด สามารถพูดโน้มน้าวให้ผฟู้ ังคล้อยตาม ใช้ภาษา
ไม่ถูกต้อง เข้าใจยาก
1 พูดจาฉะฉาน เสี ยงดังฟังชัด ไม่สามารถพูดโน้มน้าวให้ผฟู ้ ังคล้อยตามได้ ใช้
ภาษาไม่ถูกต้อง เข้าใจยาก
3. ความสมบูรณ์ ของเนือ้ หา
3 เนื้อหาสื่ อความหมายชัดเจน สมบูรณ์ถูกต้อง สะอาดเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย
2 เนื้อหาสื่ อความหมายชัดเจน สมบูรณ์ถูกต้อง สกปรกบางส่ วนไม่เป็ นระเบียบ
1 เนื้อหาสื่ อความหมายชัดเจน สมบูรณ์บางส่ วน สกปรกไม่เป็ นระเบียบ
4. ตอบข้ อซักถามได้ ถูกต้ องชั ดเจน
3 ตอบคาถามได้ถูกต้องสมบูรณ์ ตรงประเด็น ชัดเจน ไม่คลุม เครื อ
2 ตอบคาถามได้ถูกต้องสมบูรณ์ ตรงประเด็น ชัดเจน พูดคลุมเครื อ
1 ตอบคาถามได้ถูกต้องสมบูรณ์ ตรงประเด็นบางส่ วน ชัดเจน พูดคลุมเครื อ
5. การรักษาเวลาในการรายงาน
3 ใช้เวลาในการรายงานพอดีกบั เวลาที่กาหนด
2 ใช้เวลาในการรายงานเกินเวลาที่กาหนดเพียงเล็กน้อย
1 ใช้เวลาในการรายงานเกินเวลาที่กาหนดมาก
ระดับคุณภาพ
คะแนนรวม 15 – 12 คะแนน ได้ระดับดีเยีย่ ม
คะแนนรวม 11 – 8 คะแนน ได้ระดับดี
คะแนนรวม 7 – 4 คะแนน ได้ระดับพอใช้
187

แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียนขณะปฏิบัติกจิ กรรมการเรียนรู้
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการประกอบอาชีพในท้องถิ่น
ที่ ชื่อ – นามสกุล รายการ ระดับคะแนน
รวม ผ่าน ไม่ ผ่าน

รับฟังความคิดเห็นของ

การช่วยเหลือในกลุ่ม
ความรับผิดชอบใน

สมาชิกในกลุ่ม

การมีส่วนร่ วม
การทางาน

5 5 5 5 20

เกณฑ์ การประเมิน
16 – 20 คะแนน อยูใ่ นเกณฑ์ ดีเยีย่ ม
11 – 15 คะแนน ” ดี
6 – 10 คะแนน ” พอใช้
0 – 5 คะแนน ” ควรปรับปรุ ง
ลงชื่อ …………………………………………ผูป้ ระเมิน
(………………………………………..)
….….......... / ……………/ …………..
188

แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
ใช้ ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 1 เรื่อง การประกอบอาชีพในท้องถิ่น
จานวน 10 ข้ อ เวลา 10 นาที

คาชี้แจง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงตัวเลือกเดียวแล้วกาเครื่ องหมาย X ลงใน


กระดาษคาตอบ
1. แหล่งน้ าที่มีความสาคัญต่อชุมชนบ้าน
ท่าวัดคือข้อใด 5. อาชีพหลักที่สาคัญที่สุดของชาวบ้านท่าวัด
ก. หนองหาร คืออาชีพอะไร
ข. หนองบัว ก. ทานา
ค. ห้วยน้ าพุง ข. ทาสวนมะเขือเทศ
ง. ห้วยน้ าก่า ค. ทาสวนยางพารา
2. อาชีพในข้อใดที่ไม่ใช่อาชีพหลักของ ง. ค้าขาย
ชาวบ้านท่าวัด 6. ข้อใดคือประโยชน์ของการประกอบอาชีพ
ก. ปลูกมะเขือเทศ ในท้องถิ่น
ข. ทานา ก. สร้างความร่ ารวยให้กบั คนในท้องถิ่น
ค. ประมงน้ าจืด ข. เป็ นการใช้ทรัพยากรที่มีอยูใ่ นท้องถิ่น
ง. ปลูกมันสาปะหลัง ให้เกิดความคุม้ ค่า
3. การประกอบอาชีพเกษตรกรรมของชาวบ้าน ค. แก้ปัญหาความยากจน
ท่าวัดในอดีตได้รับการถ่ายทอดมาจากใคร ง. ทาให้คนในท้องถิ่นมีความรู ้สึกรักและ
ก. นักวิชาการ ผูกพันต่อท้องถิ่นของตนเอง
ข. บรรพบุรุษ 7. สมัยก่อนชาวบ้านท่าวัดเรี ยกคนที่นาปลาไป
ค. เกษตรตาบล ขายยังต่างถิ่นว่าอะไร
ง. เกษตรอาเภอ ก. พ่อค้าปลา
4. หนองหารมีแหล่งกาเนิดต้นน้ าจากที่ใด ข. แม่คา้ ปลา
ก. ภูพาน ค. นายฮ้อยปลา
ข. ภูสิงห์ ง. เฒ่าแก่ปลา
ค. ภูทอก
ง. ภูเพ็ก
189

8. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ที่ใช้ในการจับปลาของ
ชาวบ้านท่าวัด
ก. สุ่ ม 10. ชาวบ้านจะตาหรื อโขลกปลาร้าโดยใช้
ข. ไซ เครื่ องมือชนิดใด
ค. ลอบ ก. ใช้คอ้ นทุบ
ง. อวน ข. ครกกระเดื่อง
9. อัตราส่ วนในการทาปลาร้าของชาวบ้านระหว่าง ค. ครกหิน
ปลา : เกลือ : รา ที่นิยมใช้คือข้อใด ง. เครื่ องบด
ก. 5 : 3 : 3
ข. 5 : 2 : 2
ค. 6 : 3 : 3
ง. 6 : 2 : 2
………………………………………………………………………………………………………..
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
1. ก 2. ง 3. ข 4. ก 5. ก 6. ง 7. ค 8. ง 9. ค 10. ข
190

ตัวอย่ างที่ 2

แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6


แผนการสอนที่ 1 เรื่อง “หมู่บ้านแห่ งความรัก” (การอ่านในใจ) เวลา 3 ชั่วโมง
………………………………………………………………………………………………………..
มาตรฐาน ท 1.1
ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู ้และความคิดไปใช้ตดั สิ นแก้ปัญหาและสร้างวิสัยทัศน์ใน
การดาเนินชีวติ และมีนิสัยรักการอ่าน

สาระการเรียนรู้
การอ่านในใจผูอ้ ่านต้องสามารถจับใจความสาคัญของเรื่ อง และลาดับเหตุการณ์ของเรื่ องได้
อย่างรวดเร็ วและถูกต้อง

ผลการเรียนรู้ ทคี่ าดหวัง


1. เมื่ออ่านในใจแล้ว นักเรี ยนสามารถตั้งคาถามและตอบคาถามในบทเรี ยนได้
2. นักเรี ยนสามารถลาดับเหตุการณ์และสรุ ปใจความสาคัญของเรื่ องได้
3. นักเรี ยนสามารถเชื่อมโยงกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในหมู่บา้ นของตนเองได้

เนือ้ หาสาระ
อ่านในใจ เกี่ยวกับเรื่ อง “หมู่บา้ นแห่งความรัก” จากหนังสื อเรี ยนภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 เล่ม 1

กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนา (20 นาที)
1. ครู สนทนากับนักเรี ยนเกี่ยวกับเรื่ องราวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในหมู่บา้ นของนักเรี ยน
จากนั้นให้ทุกคนเขียนเล่าเรื่ องที่ตนเองยังพอจาได้คนละ 1 เรื่ อง ส่ งครู
ขั้นที่ 2 ขั้นเปรียบเทียบสิ่ งทีค่ ้ ุนเคย (60 นาที)
2. ให้นกั เรี ยนอ่านในใจเกี่ยวกับเรื่ อง “หมู่บา้ นแห่งความรัก” จากหนังสื อเรี ยนภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 เล่ม 1
3. แบ่งกลุ่มนักเรี ยนตามความเหมาะสม เพื่อแลกเปลี่ยนสิ่ งที่ได้จากการอ่าน แล้วสรุ ป
ประเด็นสาระสาคัญของเรื่ อง เช่น เหตุการณ์น้ าท่วม การรณรงค์ต่อต้านการตั้งบ่อนการพนัน เป็ นต้น
191

4. ให้แต่ละกลุ่มคิดเปรี ยบเทียบเรื่ องราวที่ได้อ่านกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในหมู่บา้ นของ


นักเรี ยน ว่ามีความเหมือนหรื อความแตกต่างกันอย่างไร
เช่น น้ าท่วม กับ ภัยแล้ง เหมือนหรื อต่างกันอย่างไร
การพนัน กับ การประหยัด เหมือนหรื อต่างกันอย่างไร
ขั้นที่ 3 ขั้นเปรียบเทียบกับตนเอง (15 นาที)
5. ให้แต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่ งกันและกัน โดยสมมติวา่ ถ้านักเรี ยนอยูใ่ น
เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง เช่น เหตุการณ์การเกิดพายุ การเกิดไฟไหม้ ภัยแล้ง หรื อการเล่น
การพนัน เป็ นต้น นักเรี ยนจะรู ้สึกอย่างไร
ขั้นที่ 4 ขั้นหาและอธิบายคาทีม่ ีความหมายขัดแย้งกัน (25 นาที)
6. ให้นกั เรี ยนหาคาคู่ขดั แย้ง เมื่อเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ ขึ้น ทั้งที่มีอยูใ่ นบทเรี ยนและที่
หมู่บา้ นของนักเรี ยน เช่น เรื อบก ไฟเย็น น้ าตก ปลาบิน พร้อมอธิ บายความหมายของคาคู่ขดั แย้งที่
หาได้น้ นั ๆ
ขั้นที่ 5 ขั้นสร้ างสรรค์ ผลงาน (40 นาที)
7. ครู คืนผลงานเขียนเล่าเรื่ องราวที่เกิดขึ้นในหมู่บา้ นตนเอง (ผลงานในกิจกรรมขั้นที่ 1)
ให้กบั นักเรี ยนทุกคน เพื่อทาการทบทวนใหม่ ปรับปรุ งแก้ไข จากนั้นเขียนใหม่อีกครั้ง ให้เรื่ องราว
ที่เขียนมีความน่าสนใจ กระตุน้ ให้ผอู ้ ่านอยากอ่าน โดยอาศัยคา ข้อความ ประโยคที่ได้ร่วมกัน
วิเคราะห์ อภิปรายในข้อที่ 2, 3 และ 4
ขั้นที่ 6 ขั้นชื่นชมผลงาน (20 นาที)
8. ให้นกั เรี ยนแต่ละคนนาเสนอผลงานของตนหน้าชั้นเรี ยน เพื่อนและครู ร่วมกันวิพากษ์
วิจารณ์และกล่าวคาชมเชย

สื่ อการเรียนรู้
1. บทอ่านเรื่ อง “หมู่บา้ นแห่งความรัก” จากหนังสื อเรี ยนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
เล่ม 1
2. ประวัติหมู่บา้ น และเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เคยเกิดขึ้นในหมู่บา้ นของนักเรี ยน
3. รู ปภาพเหตุการณ์ ต่าง ๆ เช่น รู ปภาพเกิดพายุ น้ าท่วม ไฟไหม้ เป็ นต้น
192

การวัดและประเมินผล

สิ่ งที่ตอ้ งวัดและประเมิน วิธีการวัด เครื่ องมือที่ใช้ เกณฑ์การประเมิน


1. พฤติกรรมการเรี ยน ครู สงั เกต แบบบันทึกการสังเกต 3 หมายถึง ดี
1.1 ความกระตือรื อร้น พฤติกรรมของ พฤติกรรมการเรี ยน 2 หมายถึง พอใช้
ในการร่ วมทากิจกรรม นักเรี ยนแต่ละคน 1 หมายถึง ควรปรับปรุ ง
1.2 การร่ วมแสดงความคิดเห็น ในขณะทากิจกรรม เกณฑ์ผา่ น ค่าเฉลี่ย
1.3 การรับฟังความคิดเห็นของ ต่าง ๆ ตั้งแต่ 2.00 ขึ้นไป
คนอื่น
2. ความถูกต้องและเหมาะสม ตรวจผลงานของ แบบประเมินผลงาน 3 หมายถึง ดี
ของผลงานการเขียนเล่า นักเรี ยนแต่ละคน การเขียนเล่าเรื่ องราวที่ 2 หมายถึง พอใช้
เรื่ องราวที่เกิดขึ้นในหมู่บา้ น เกิดขึ้นในหมู่บา้ นของ 1 หมายถึง ควรปรับปรุ ง
ของนักเรี ยน นักเรี ยน เกณฑ์ผา่ น ค่าเฉลี่ย
2.1 ความถูกต้องของคา ตั้งแต่ 2.00 ขึ้นไป
ประโยค และภาษาที่ใช้
2.2 ความสละสลวยของคา
ประโยค และภาษาที่ใช้
2.3 ความน่าสนใจของ
การลาดับเรื่ องหรื อเหตุการณ์
2.4 ความเป็ นระเบียบ เรี ยบร้อย
ของผลงาน

บันทึกหลังสอน
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………..

ลงชื่อ ………………………………………………..
ครู ผสู้ อน
193

ตัวอย่ างที่ 3

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 1 รายวิชา ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


หน่ วยการเรียนรู้ Festival หน่ วยที่ 1 Let’ s Celebrate
หน่ วยย่อยที่ 1.1 ฝึ กทักษะการตั้งคาถามและทักษะการคาดคะเน
เวลา 1 ชั่วโมง
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. สาระสาคัญ
การตั้งคาถามและการคาดคะเน เป็ นทักษะที่มีความสาคัญช่วยให้เกิดการเรี ยนรู ้และ
ทาให้เกิดความเข้าใจในเรื่ องหรื อสถานการณ์ที่กาหนดได้เร็ วขึ้น

2. ผลการเรียนรู้ ทคี่ าดหวัง


1. เพื่อให้นกั เรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจและมีทกั ษะในการตั้งคาถาม
2. เพื่อให้นกั เรี ยนสามารถทานายล่วงหน้า โดยอาศัยความรู ้เดิมกับสาระที่อ่าน

3. สาระการเรียนรู้
1. ทักษะการตั้งคาถาม
2. ทักษะการคาดคะเน

4. กิจกรรมการเรียนการสอน
1. แจ้งจุดประสงค์ให้นกั เรี ยนทราบว่า เมื่อเรี ยนจบหน่วยย่อย 1.1 “ฝึ กทักษะการตั้งคาถาม
และทักษะการคาดคะเน” แล้ว นักเรี ยนจะมีความรู ้ความเข้าใจและทักษะในเรื่ องการตั้งคาถามและ
สามารถคาดคะเน ทานายล่วงหน้า โดยอาศัยการเชื่อมโยงความรู ้เดิมกับสาระที่อ่านได้
2. ครู แนะนากลวิธีการตั้งคาถามแก่นกั เรี ยน ด้วยการถามนักเรี ยนว่านักเรี ยนเคยตั้งคาถาม
เพื่อหาคาตอบในเรื่ องที่อ่านหรื อไม่
3. ครู อธิ บายถึงประโยชน์ของการตั้งคาถาม ได้แก่
1) การตั้งคาถามช่วยให้นกั เรี ยนทราบว่าเนื้อหาสาระที่อ่านครอบคลุมเรื่ องอะไรบ้าง
2) การตั้งคาถามจะช่วยให้นกั เรี ยนสามารถจากัดขอบเขตของเนื้อหาที่จะเรี ยน
3) การตั้งคาถามจะช่วยนักเรี ยนในการเตรี ยมตัวสอบหรื อการอ่านเรื่ องต่าง ๆ
194

4. ครู อธิ บายว่าในการฝึ กตั้งคาถามของครู เอง ครู จะถามตัวเองว่าเรื่ องที่อ่านเกี่ยวกับ


อะไร ผูแ้ ต่งเรื่ องบอกอะไรกับเรา ซึ่ งจะทาให้เราตั้งคาถามเกี่ยวกับเรื่ องนั้น
5. นักเรี ยนอ่านเรื่ อง “The Bathroom” จากใบความรู้ที่ 1 แล้วครู ยกตัวอย่างคาถามที่
นักเรี ยนสามารถตั้งคาถามเกี่ยวกับเนื้อเรื่ องดังนี้
1. What is Mr. Johnson’s favorite room?
2. What is in the room?
3. When does Mr. Johnson like to stay in the bathroom all morning?
4. Is he happy in the bathroom?
5. Who is unhappy? Why?
6. Who is annoyed?
6. ครู แนะนาให้นกั เรี ยนสังเกตคาถามแต่ละข้อแล้วให้นกั เรี ยนฝึ กตอบคาถาม
7. ครู ให้นกั เรี ยนอ่านและลองฝึ กตั้งคาถามจากใบความรู ้ที่ 2 เรื่ อง “ Tony’s house” โดยครู
คอยให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิด
8. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายและสรุ ปวิธีการตั้งคาถาม

หลังจากนั้นครู จึงสอนวิธีการคาดคะเนให้แก่นกั เรี ยนว่าความรู ้เดิม ได้แก่ความรู ้ทาง


ด้านเนื้อหา ภาษาที่ผอู ้ ่านมีอยูส่ ามารถช่วยทาความเข้าใจในเนื้อเรื่ องได้มากขึ้น การคาดคะเน
เหตุการณ์อาศัยสิ่ งช่วยเดาหลายประการเช่น ชื่อเรื่ องหรื อหัวข้อเรื่ อง ภาพหรื อแผนภูมิ
คา ข้อความ การใช้ภาษาในการเขียน
9. ครู แจกใบความรู้ที่ 3 เรื่ อง “Happy Birthday” ให้นกั เรี ยนทุกคนลองคาดคะเนเหตุการณ์
ในเรื่ องจากนั้นครู นาเสนอตัวอย่างการคาดคะเนจากเรื่ องที่อ่านโดยอาจตั้งคาถามเพื่อการคาดคะเน
ดังนี้
คาถาม การคาดคะเน
1. What is going to happen on Saturday night? There will be a surprise party
for Carol .
2. Do you think John will come to the party? I think John will come to the
party.
3. Who is Tina going to invite to the party? I think Tina is going to invite Brenda
and her friends.
4. Is Carol’s brother coming? I think Carol’s brother will come.
195

Tina and her friends are going to


have a party at Tina’s apartment.
The neighbors will not complain
about the noise because Tina is
going to invite them.
10. ครู นาเนื้อเรื่ อง Happy Birthday มาสรุ ปให้นกั เรี ยนเข้าใจ เพราะการที่นกั เรี ยนมีความรู้
ในเรื่ องบางเรื่ องมาแล้วจะช่วยให้เข้าใจเรื่ องใหม่ได้ดีข้ ึน
11. ครู อธิ บายให้นกั เรี ยนเข้าใจว่าในการคาดคะเนนักเรี ยนสามารถนาความรู ้เดิมมาช่วยได้
เป็ นอย่างดี
12. ครู อธิ บายว่ากรณี ที่นกั เรี ยนไม่มีความรู ้หรื อไม่มีประสบการณ์ เกี่ยวกับเรื่ องนั้นมาก่อน
ก็สามารถจะคาดคะเนได้ โดยอาศัยสิ่ งต่างๆหลายประการเช่น ภาพ ข้อความหรื อชื่อเรื่ อง
13. ครู แจกบทอ่านเรื่ อง “Merry Christmas ” จากใบความรู้ที่ 4 ให้นกั เรี ยนทุกคน
หลังจากนั้นแสดงวิธีการคาดคะเนให้นกั เรี ยนดูพร้อมทั้งอธิ บาย รายละเอียดต่างๆให้นกั เรี ยนฟังจน
เข้าใจ
14. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายและสรุ ปวิธีการคาดคะเนเป็ นข้อ ๆ

5. สื่ อการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมฝึ กทักษะการอ่าน ประกอบด้วย
1. ใบความรู้ที่ 1เรื่ อง The Bathroom
2. ใบความรู้ที่ 2 เรื่ อง Tina’s House
3. ใบความรู้ที่ 3 เรื่ อง Happy Birthday
4. ใบความรู้ที่ 4 เรื่ อง Merry Christmas
6. การวัดผลและการประเมินผล
1. สิ่ งทีต่ ้ องการประเมินและวิธีวดั ผล
ความเข้าใจและทักษะเกี่ยวกับการตั้งคาถาม และการคาดคะเน ประเมินจาก
การสังเกตผลงานการตั้งคาถาม และการคาดคะเนของนักเรี ยนขณะทากิจกรรมในระหว่างเรี ยน
2. เครื่องมือทีใ่ ช้ วดั ผล
แบบบันทึกผลการสังเกต
196

7. กิจกรรมเสนอแนะ
ให้นกั เรี ยนศึกษาเนื้อเรื่ องอื่นๆในห้องสมุดแล้วฝึ กทักษะการตั้งคาถามและการคาดคะเนให้
เกิดความชานาญ

8. บันทึกหลังการสอน
1. ผลการสอน
1) บันทึกผลขณะทีก่ าลังสอน
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
2) บันทึกผลหลังสอน
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
2. ปัญหาและอุปสรรค
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
3. ข้ อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

ลงชื่อ .............................................................................
ครู ผสู้ อน
197

ใบความรู้ ที่ 1
THE BATHROOM

Mr. Johnson’s favorite room is the bathroom. There are magazines,


a stereo and TV. There is a comfortable bathtub. On Saturdays and
Sundays, he is in the bathroom all morning. He is happy in the
bathroom, but his wife and children are not happy. As a matter of fact,
they are very annoyed.
198

ใบความรู้ ที่ 2
Tony’s House

Tony lives in a house in Leeds. There are seven rooms in his house.
Downstairs there are a kitchen, a living room where he watches television
and a dining room where he eats. There is also a porch outside the front
door and a hall. Upstairs there are three bedrooms, a bathroom and a
toilet. There is also a garage and a front and back garden. In the back
garden there is a fish pond.
199

ใบความรู้ ที่ 3
บทสนทนาเรื่อง Happy Birthday
**********************************

Happy Birthday

Tina : We are going to have a surprise party for Carol’s birthday on


Saturday night. Do you want to come?
John : Sure. I love parties. Who are you going to invite?
Tina : Brenda and her friends, Jane , Derek, and Mary.
John : Super, I like them. They are fun.
Tina : Do you think I need to invite Carol’s brother?
John : Sure. Invite him. And where are you going to have the party?
Tina : In my apartment.
John : In your apartment? What are the neighbors going to say about the
noise?
Tina : Don’t worry. I’m going to invite them too.
200

ใบความรู้ ที่ 4
Merry Christmas

Children love Christmas and wait eagerly for it. Every child believes in
Santa Claus, a fat jolly man with a long white beard, dressed in a red suit. On
Christmas Eve, at his home at the north Pole, Santa climbs into his sleigh, which
is pulled through the sky by eight reindeer. All through the night, he flies from
house to house around the world, carrying a big bag with a gift for every child.
Children hang up long stockings because they believe that Santa Claus will come
and put gifts in the stockings.
201

ตัวอย่ างที่ 2 (ต่ อ)

แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 2 รายวิชา ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


หน่ วยการเรียนรู้ Festival หน่ วยที่ 1 Let’ s Celebrate
หน่ วยย่อยที่ 1.2 ฝึ กทักษะการสรุ ปและทักษะการอธิบายขยายความ
เวลา 1 ชั่วโมง
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. สาระสาคัญ
การสรุ ปและการอธิ บายขยายความเป็ นทักษะที่มีความสาคัญ ช่วยให้เกิดการเรี ยนรู ้และทา
ให้เกิดความเข้าใจในเรื่ องหรื อสถานการณ์ที่กาหนดได้เร็ วขึ้น

2. ผลการเรียนรู้ ทคี่ าดหวัง


1. เพื่อให้นกั เรี ยนรู้เข้าใจและมีทกั ษะในการสรุ ปความและ การจับใจความสาคัญของเรื่ อง
และการตั้งชื่อเรื่ องได้
2. เพื่อให้นกั เรี ยนสามารถอธิ บายขยายความคาศัพท์และเนื้อหาสาระที่อ่านให้ผอู ้ ื่นเกิดความ
เข้าใจชัดเจนมากยิง่ ขึ้น

3. สาระการเรียนรู้
1. ทักษะการสรุ ป
2. ทักษะการอธิบายขยายความ

4. กิจกรรมการเรียนการสอน
1. แจ้งจุดประสงค์ให้นกั เรี ยนทราบว่าเมื่อเรี ยนจบหน่วยย่อย 1.2 “ ฝึ กทักษะการสรุ ป
การอธิบายขยายความ” แล้ว นักเรี ยนจะมีความรู้ความเข้าใจและมีทกั ษะในการสรุ ปความหมาย
ของเนื้อเรื่ อง สามารถจับใจความสาคัญของเรื่ อ งที่อ่านและสามารถอธิ บายขยายความ คาศัพท์หรื อ
ข้อความที่อ่านให้เกิดความเข้าใจยิง่ ขึ้นได้
2. ครู ให้นกั เรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน เล่นเกมต่อชิ้นส่ วนภาพเกี่ยวกับวันคริ สต์มาสและ
บอกว่าเป็ นภาพเกี่ยวกับอะไร และควรตั้งชื่อนั้นว่าอะไร
3. ครู อธิบายวิธีการสรุ ปใจความสาคัญของเรื่ องที่อ่าน โดยนาคาตอบจากคาถามที่ฝึกถาม
และฝึ กตอบมาเป็ นประเด็นสาคัญที่สรุ ปได้
4. ครู แจกใบความรู้ที่ 1 เรื่ อง The Bathroom ให้นกั เรี ยนอ่านแล้วสรุ ปใจความสาคัญจาก
บทอ่านตามวิธีการสรุ ปที่ได้ศึกษามาและให้นกั เรี ยนตั้งชื่อเรื่ อง
202

5. ครู ให้นกั เรี ยนบอกวิธีการสรุ ปใจความสาคัญของเรื่ องที่อ่าน


6. ครู แจกใบความรู้ที่ 2 เรื่ อง Tony’s House ให้นกั เรี ยนอ่านแล้วสรุ ปใจความสาคัญตั้งชื่อ
เรื่ องและทาแบบทดสอบ
หลังจากนั้นครู จึงสอนทักษะการอธิ บายขยายความว่า ในการทาความเข้าใจคาหรื อ
ข้อความที่ไม่ชดั เจนมีวธิ ี ดงั นี้
1) การอ่านเนื้อเรื่ องซ้ าก็จะช่วยให้เข้าใจเรื่ องชัดเจนยิง่ ขึ้น
2) การเชื่อมโยงคาหรื อข้อความเข้าด้วยกันจะช่วยให้เข้าใจความหมายยิ่ งขึ้น
3) ซักถามผูร้ ู้หรื อเปิ ดพจนานุกรม
7. ครู ให้นกั เรี ยนฝึ กขยายความจากเรื่ องที่อ่านเรื่ อง Tony’s Houseโดยให้นกั เรี ยนอ่าน
แล้วให้นกั เรี ยนทดลองหาคาที่ไม่เข้าใจความหมาย
8. ครู อภิปรายซักถามนักเรี ยนเกี่ยวกับคาที่นกั เรี ยนเลือกมา
9. ครู อธิ บายว่าการทาให้ความหมายของคาเหล่านั้นชัดเจนขึ้น จะช่วยให้นกั เรี ยนเข้าใจ
เนื้อเรื่ องมากขึ้น สิ่ งเหล่านี้จะเป็ นประโยชน์ต่อการอ่านมาก
10. ครู ยกเนื้อเรื่ องเดิมมาอภิปรายอีกครั้งพร้อมทั้งแสดงวิธีในการทาความเข้าใจให้ชดั เจน
ในแต่ละขั้นตอนให้นกั เรี ยนดู
11. ครู ให้นกั เรี ยนฝึ กขยายความจากเรื่ องที่อ่านเรื่ องที่ 2 คือ เรื่ อง The Bathroom ครู คอย
ให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิด
12. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายและสรุ ปวิธีการอธิ บายขยายความ

5. สื่ อการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมฝึ กทักษะการอ่าน ประกอบด้วย
1. ชิ้นส่ วนต่อภาพเกี่ยวกับวันคริ สต์มาส
2. แบบฝึ กอ่านเรื่ องที่ 1 เรื่ อง Tony’s House
3. แบบฝึ กอ่านเรื่ องที่ 2 เรื่ อง The Bathroom

6. การวัดผลและการประเมินผล
1. วิธีวดั ผล
1) ประเมินจากการทาแบบทดสอบเรื่ องที่ 1 Tony’s House
2) ประเมินจากการทาแบบทดสอบเรื่ องที่ 2 The Bathroom
2 .เครื่องมือทีใ่ ช้ วดั ผล
1) แบบทดสอบเรื่ องที่ 1 Tony’s House
203

2) แบบทดสอบเรื่ องที่ 2 The Bathroom


7. กิจกรรมเสนอแนะ
ให้นกั เรี ยนศึกษาเนื้อเรื่ องอื่นๆในห้องสมุดแล้วฝึ กทักษะการตั้งคาถามและการคาดคะเนให้
เกิดความชานาญ

8. บันทึกหลังการสอน
1. ผลการสอน
1) บันทึกผลขณะทีก่ าลังสอน
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
2) บันทึกผลหลังสอน
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
2. ปัญหาและอุปสรรค
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
3. ข้ อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

ลงชื่อ .................................................................
ครู ผสู้ อน
204

แบบทดสอบเรื่องที่ 1
Tony’s House

Mr. Johnson’s favorite room is the bathroom. There are magazines, a stereo and
TV. There is a comfortable bathtub. On Saturdays and Sundays, he is in the bathroom all
morning. He is happy in the bathroom, but his wife and children are not happy. As a matter
of fact, they are very annoyed.

1. What is Mr. Johnson’s favorite room?


a. A bedroom.
b. A bathroom.
c. A classroom.
d. A dining room.
2. Who is happy?
a. Mrs. Johnson.
b. Mr. Jack.
c. Mr. Johnson
d. My father.
3. How does Mrs. Johnson feel?
a. She is happy.
b. She is sad.
c. She is fine.
d. She is annoyed.
205

แบบทดสอบเรื่องที่ 2
The Bathroom

Tony lives in a house in Leeds. There are seven rooms in his house. Downstairs
there are a kitchen, a living room where he watches television and a dining room where he
eats. There is also a porch outside the front door and a hall. Upstairs there are three
bedrooms, a bathroom and a toilet. There is also a garage and a front and back garden. In
the back garden there is a fish pond.

4. Where does Tony live?


a. In an apartment.
b. In a house in Leeds.
c. In a hospital.
e. In a living room.
5. How many rooms are there in his house?
a. There are five rooms.
b. There are six rooms.
c. There are seven rooms.
d. There are eight rooms.
6. Where does he watch TV?
a. In the kitchen.
b. In the bathroom.
c. In the bedroom.
d. In the living room.
7. Where does he eat?
a. In the kitchen.
b. In the bathroom.
c. In the dining room.
d. In the living room.
206

ข้ อมูลทีมนักวิจยั
จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

ลาดับที่ 1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาราญ กาจัดภัย


หัวหน้ าโครงการวิจัย
 วุฒิการศึกษาสู งสุ ด กศ.ด. (วิจยั และประเมินผลการศึกษา)
 ตาแหน่ง ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8
 สังกัด คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
 ความรับผิดชอบต่อโครงการวิจยั
1. จัดทาโครงร่ างการวิจยั
2. เข้าร่ วมอบรมเชิงปฏิบตั ิการเพื่อพัฒนานักวิ จยั
3. ประสานงานกับผูเ้ กี่ยวข้องกับโครงการวิจยั ทั้งระดับบุคคลและหน่วยงาน
4. ร่ วมปฏิบตั ิการวิจยั ทุกขั้นตอน
5. เป็ นวิทยากรอบรมเชิงปฏิบตั ิการ
6. เป็ นที่ปรึ กษา และตรวจผลงานของครู ที่เข้าร่ วมโครงการ
6. จัดทาเอกสารรายงานความก้าวหน้าของโครงการ
7. จัดทารายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณ์

ลาดับที่ 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ประยูร บุญใช้


ผู้ร่วมวิจัย
 วุฒิการศึกษาสู งสุ ด คด. (หลักสู ตรและการสอน)
 ตาแหน่ง ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8
 สังกัด คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
 ความรับผิดชอบต่อโครงการวิจยั
1. เป็ นวิทยากรอบรมเชิงปฏิบตั ิการ
2. ร่ วมปฏิบตั ิการวิจยั ทุกขั้นตอน
3. เป็ นที่ปรึ กษาการปฏิบตั ิงานของครู ที่เข้าร่ วมโครงการ

You might also like