You are on page 1of 3

Back ground

การเรียนการสอนที่เอื้ออานวยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในชัน
้ เรียนมากยิ่งขึน

ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ด้วยตนเองจากงานปฏิบัติที่ได้รับมอบหมาย และ
เป็ นการส่งเสริมให้ผู้เรียนกล้าแสดงออกทางภาษามากยิ่งขึน
้ วิธีการเรียน
รู้แบบเน้นงานปฏิบัติเป็ นอีกหนึ่งวิธีการเรียนที่เหมาะกับผู้เรียนในระดับ
อุดมศึกษา และเป็ นการตอบสนองต่อทักษะการเรียนรู้ (กัลยารัตน์ เศวต
นันทน์ และ กนกวรรณ คันธากร, 2553) และเป็ นการสอที่มีความน่า
สนใจในการสอนภาษาอังกฤษ คือ การสอนโดยใช้
กิจกรรมที่เน้นงานปฏิบัติ (Task - based Activities) (สมหวัง พันธะลี,
2541) การเรียนรู้แบบเน้น
งานปฏิบัตินี ้ เป็ นวิธีการเรียนรู้เพื่อการสื่อสารที่เน้นกระบวนการ ที่ยึด
ภาระงานเป็ นฐาน
(Task-Based Instruction : TBI) เป็ นการเรียนรู้ภาษาที่เกิดจากการ
ปฏิสัมพันธ์ในขณะที่ ทาภาระ
งานให้สำเร็จ ความรู้ด้านคาศัพท์และโครงสร้างจะเป็ นผลที่ได้จากการฝึ ก
ใช้ภาษาในขณะทากิจกรรม
ซึ่งครูผู้สอนหลายท่านนิยมนาแนวคิดนีไ้ ปใช้กับนักเรียนในระดับประถม
ศึกษา เพราะเชื่อว่าการเรียนรู้
ภาษาเกิดจากกระบวนการที่นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติงานจนลุล่วงตามจุด
มุ่งหมายที่กำหนดไว้

teaching and learning methods that encourage students to actively


participate in class. Students will pick up new skills on their own from
the prescribed practical projects. and to further inspire language
learners to express themselves One of the best teaching techniques
for students in higher education is the hands-on approach. and in
response to mastering new abilities (Kalayarat Sawettanan and
Kanokwan Kanthakorn, 2010) and it is an interesting method in
teaching English, which is teaching by using

Task-based Activities (Somwang Bunlee, 1998)

this practical work It is a process-based communicative learning


method. based on workload

(Task-Based Instruction : TBI) is a language learning that comes from


interaction while doing tasks.

The activity will provide participants the opportunity to practice their


language skills while learning vocabulary and grammar.

This idea is frequently applied to elementary school children by


teachers. because it is thought that language acquisition occurs as a
result of students acting to accomplish their intended goals.

ครูทำหน้าที่เป็ นพี่เลีย
้ ง (Facilitator) อยู่ห่างๆ คอยสนับสนุน แนะนา
นักเรียน โดยไม่ต้องแก้ไขความบกพร่องระหว่างทากิจกรรม เพื่อให้
นักเรียนรู้สึกเป็ นอิสระในการทากิจกรรม นักเรียนรายงานให้กับทัง้ ชัน

ด้วยการพูดหรือการเขียนโดยอธิบายว่านักเรียนทากิจกรรมที่ได้รับมอบ
หมายอย่างไร

ส่วนนักเรียนวิเคราะห์สำรวจและอภิปรายร่วมกันในหัวข้อที่กำหนดให้ใน
ใบ
งาน นักเรียนสามารถเรียนรู้ คำวลี รูปแบบประโยคของคาศัพท์ต่าง ๆ ใน
บทเรียน ครูเป็ นผู้นำการฝึ ก
ปฏิบัติ คำวลี และ รูปแบบประโยคใหม่ ที่มีขน
ึ ้ ในข้อมูลที่เรียนไป

In order to encourage and mentor pupils, the teacher serves


as a facilitator (mentor) from a distance. so that children feel
independent when performing activities, without having to
repair the flaw during the action The entire class hears from
the students. Describe, either verbally or in writing, how the
student completes the given task.

The issues listed on the worksheet were examined, surveyed,


and debated by the class as a whole.

Tasks In the class, students can pick up new vocabulary,


phrases, and sentence structures. Exercises are guided by the
instructor.

Practice the new vocabulary, expressions, and sentence


structures that have appeared in the information you have
studied.

You might also like