You are on page 1of 12

MCS 3181

การพูดสาหรับผู้นา
SPEECH FOR LEADERSHIP

โดย อ.วิชชุตา มังคะลี


EMAIL:VICHUTA.M@GMAIL.COM
• การเตรี ยมตัวก่อนการพูดกับ
ผู้ใต้ บงั คับบัญชา
บทที่ 9 • วิธีและขันตอนการพู
้ ดกับ
ผู้ใต้ บงั คับบัญชา
วิธีพดู กับผู้ใต้ บงั คับบัญชาที่ทางานมี • ข้ อแนะนาสาหรับ
ผู้บงั คับบัญชา
ประสิทธิภาพน้ อย • วิธีพดู กับเพื่อนร่วมงานที่มี
ประสิทธิภาพน้ อย
การเตรี ยมตัวก่อนการพูดกับผู้ใต้ บงั คับบัญชา
หัวหน้ างานควรเตรี ยมตัวก่อนการพูดชี ้แจง ดังนี ้
1. จัดทาสิง่ ที่จาเป็ น
 พยายามหาข้ อมูล ข้ อเท็จจริ งของผู้ใต้ บงั คับบัญชา และควรศึกษาความคิดเห็นไปจนถึงความรู้ สกึ ของ
ผู้ใต้ บงั คับบัญชา เพื่อใช้ เป็ นส่วนประกอบในการพิจารณาข้ อบกพร่องของผู้ใต้ บงั คับบัญชา
 ควรรักษาอารมณ์และจิตใจให้ สงบและปกติก่อนพูดกับผู้ใต้ บงั คับบัญชา
 จัดหาสถานที่ที่พดู ให้ เป็ นส่วนตัวเฉพาะสองต่อสอง
การเตรี ยมตัวก่อนการพูดกับผู้ใต้ บงั คับบัญชา

2. ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ (Human Nature)


 รู้สกึ ว่าตนเองมีความสาคัญ
 ต้ องการในคนอื่นรับรู้วา่ เป็ นพวกเดียวกัน ไม่ถกู กีดกันและอยากให้ คนอื่นให้ เกียรติ ให้ ความนับถือและสนใจ
 สนใจตนเองและเห็นแก่ตนเองก่อน
 อยากเจริ ญก้ าวหน้ าขึ ้น
 อยากให้ มีการดาเนินการกับปั ญหาต่างๆที่เผชิญอยูท่ นั ที
การเตรี ยมตัวก่อนการพูดกับผู้ใต้ บงั คับบัญชา
2. ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ (Human Nature)
 อยากพูดมากกว่าอยากฟั ง
 ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง
 มีนิสยั อยากรู้อยากเห็น
 อยากให้ คาแนะนาปรึกษาคนอื่นมากกว่ารับฟั งคาแนะนาจากคนอื่น
 ไม่ชอบการบังคับที่ใกล้ ชิดเกินไปหรื อหละหลวมเกินไป
วิธีและขันตอนการพู
้ ดกับผู้ใต้ บงั คับบัญชา
1. พูดชี ้แจงกับผู้ใต้ บงั คับบัญชาสองต่อสอง
ไม่ควรมีผ้ อู ื่นที่ไม่มีสว่ นเกี่ยวข้ องเข้ ามาร่วมในการพูดชี ้แจง เพราะอาจทาให้ ผ้ ใู ต้ บงั คับบัญชาเกิดความรู้ สึกอับอายเป็ นเรื่ องปกติ วิธีการพูด
ชี ้แจงควรเป็ นไปในลักษณะที่เป็ นกันเองไม่จ่โู จม หรื อมุ่งเอาผิดจากผู้ใต้ บงั คับบัญชา และควรฟั งเหตุผลและคาอธิ บายจากผู้ใต้ บงั คับบัญชา
ด้ วย พร้ อมทังควรเปิ
้ ดอกาสให้ ได้ แก้ ไขปรับปรุงแนวคิดและการปฏิบตั ิก่อน เพื่อสร้ างความรับผิดชอบต่อผู้ใต้ บงั คับบัญชาอีกทาง
2. ให้ ความช่วยเหลือแก่ผ้ ใู ต้ บงั คับบัญชา
หัวหน้ างานควรให้ ความช่วยเหลือตามสมควร การพูดแนะนาหรื อแจ้ งข่าวสารเกี่ยวกับการปฏิบตั ิงานนัน้ ควรใช้ วิธีแบบเล่าสูก่ นั ฟั งอย่างเป็ น
กันเอง และอาจพูดเชิงชักจูงให้ ลงมือทา หรื อลองปฏิบตั ิดู
3. หมัน่ ติดตามผลงาน
การติดตามผลงานนี ้ไม่ควรทาอย่างเปิ ดเผยจนเกินไป เพราะจะทาให้ ผ้ ใู ต้ บงั คับบัญชาเกิดความหวาดระแวง หรื อระมัดระวังจนเกิดความตึง
เครี ยดขึ ้น และเมื่อผู้ใต้ บงั คับบัญชาทางานดีขึ ้น หรื อแก้ ไขปรับปรุงข้ อผิดพลาดได้ ก็ควรยกย่อง ชมเชย เพื่อให้ กาลังใจในการพันนาต่อไป
วิธีและขันตอนการพู
้ ดกับผู้ใต้ บงั คับบัญชา
4. ปรึกษากับผู้บงั คับบัญชาระดับสูงขึ ้นไป
เมื่อผู้ใต้ บงั คับบัญชายังคงประพฤติปฏิบตั ิตนเช่นเดิมไม่มีการปรับปรุงแก้ ไข หัวหน้ างานควรปรึกษากับผู้บงั คับบัญชาระดับสูงขึ ้นไปใน
ลักษณะขอความช่วยเหลือและเล่าให้ ฟังอย่างตรงไปตรงมาอย่างเป็ นขันตอน ้ ละเอียดและยุติธรรม ไม่ควรพูดว ้าเติมหรื อเกินจริ ง และ
ให้ ผ้ บู งั คับบัญชาที่สงู ขึ ้นนาไปพิจารณาหาแนวทางปฏิบตั ิตอ่ ไป
5. ปฏิบตั ิตามระเบียบ (การลงโทษ)
ข้ อนี ้เป็ นขันสุ
้ ดท้ ายที่ผ้ นู าหรื อหัวหน้ างานจะนามาใช้ กบั ผู้ใต้ บงั คับบัญชา หัวหน้ างานต้ องมัน่ ใจว่ามีหลักฐาน ข้ อเท็จจริ งหรื อข้ อมูล
ต่างๆที่เกี่ยวข้ องเพียงพอและสนับสนุนการกระทาของตน
ข้ อแนะนาสาหรับผู้บงั คับบัญชาในขณะที่พดู กับผู้ใต้ บงั คับบัญชา

1. ควรเรี ยกชื่อผู้ใต้ บงั คับบัญชา


2. ควรควบคุมอารมณ์ และให้ ความเป็ นกันเอง
3. ควรมีความยุติธรรมต่อผู้ใต้ บงั คับบัญชา
4. ควรแสดงความปรารถนาดีตอ่ ผู้ใต้ บงั คับบัญชาอย่างจริ งใจ
5. ควรพูดด้ วยวาจาสุภาพและมีตผุ ล หลีกเลี่ยงการพูดดูถกู เหยียดหยาม ท้ าทาย หรื อออกคาสัง่ เป็ นต้ น
ข้ อแนะนาสาหรับผู้บงั คับบัญชาในขณะที่พดู กับผู้ใต้ บงั คับบัญชา

6. ควรหลีกเลี่ยงการใช้ อานาจและการเอาชนะ
7. ควรรับฟั งและให้ โอกาสผู้ใต้ บงั คับบัญชาชี ้แจง
8. ควร “เอาใจเขเมาใส่ใจเรา” เพื่อพยายามเข้ าใจสาเหตุของผู้ใต้ บงั คับบัญชา
9. การพูดยกย่องชมเชย หัวหน้ างานควรพูดด้ วยความบริ สทุ ธิ์ใจ จริ งใจ
10.พูดในเรื่ องที่ผใู ต้ บงั คับบัญชาสนใจ และอธิบายความสาคัญของตาแหน่งงานที่ผ้ ใู ต้ บงั คับบัญชารับผิดชอบอยู่
ข้ อแนะนาสาหรับผู้บงั คับบัญชาในขณะที่พดู กับผู้ใต้ บงั คับบัญชา
11.ให้ ความสนใจต่อความผิดพลาด และความรู้สกึ หรื อทัศนคติที่ไม่ดีโดยทางอ้ อม
12.ควรเล่าประสบการณ์ทางานที่ผิดพลาดของหัวหน้ าที่มีสาเหตุเดียวกัน เพื่อเป็ นนวทางปฏิบตั ิ แก้ ไขปรับปรุง
ต่อไป
13.ถ้ าหัวหน้ างานเป็ นฝ่ ายผิดควรรับผิดชอบอย่างเต็มใจ ไม่ควรบ่ายเบี่ยง
14.พยายามพูดให้ แก้ ไขข้ อบกพร่องที่แก้ ไขได้ ง่ายก่อน
15.ถ้ าต้ องยื่นคาขาด หัวหน้ างานควรทาอย่างเป็ นมิตร หนักแน่นและไม่ต้องขอโทษอะไรทังสิ
้ ้นถ้ าผู้ใต้ บงั คับบัญชา
ผิดพลาดจริง
วิธีพดู กับเพื่อนร่วมงานที่มีประสิทธิภาพน้ อย
1. ใช้ วิธีพดู ปรึกษาขอความคิดเห็น
เพราะว่าเพื่อนร่วมงานจะมีความรู้สกึ ภูมิใจว่าตนเป็ นคนที่มีความสาคัญคนหนึง่ จึงยินดีที่จะให้ คาแนะนา หรื อให้
ความช่วยเหลือ
2. ใช้ วิธีพดู ขอร้ อง
เริ่มต้ นด้ วยการเล่าเรื่ องหรื อชี ้แจงให้ เพื่อนร่วมงานเห็นข้ อบกพร่องของการปฏิบตั ิงานที่ไม่มีประสิทธิภาพ และผลเสีย
ที่กระทบส่วนรวม แล้ วจึงพูดขอร้ อง ขอความร่วมมือด้ วยวาจาสุภาพ อ่อนโยน
สรุปเนื ้อหาในบทที่ 9
 ในหน่วยงานใดหน่วยงานหนึง่ ย่อมจะมีคนทางานที่มีประสิทธิภาพน้ อย เช่น คนเกียจคร้ าน คนที่ลางานบ่อยๆ คนที่
ทางานบกพร่องเสมอ ฯลฯ หัวหน้ างานควรเตรี ยมตัวก่อนเพื่อพูดกับผู้ใต้ บงั คับบัญชาได้ อย่างมีประสิทธิภาพเต็มที่
 การพูดกับผู้ใต้ บงั คับบัญชาที่มีประสิทธิภาพน้ อย เริ่ มจากพูดชี ้แจงแบบสองต่อสอง ให้ ความช่วยเหลือแก่
ผู้ใต้ บงั คับบัญชา ติดตามผลงาน หาเหตุผลเพิ่มเติม พูดปรึกษาผู้บงั คับบัญชาที่สงู ขึ ้นไป และปฏิบตั ิตามระเบียบการ
ลงโทษ
 ในการพูดกับผู้ใต้ บงั คับบัญชา หัวหน้ างานควรใช้ วาจาสุภาพและกิริยาที่สภุ าพ ควรรักษาอารมณ์ ให้ ความยุติธรรม
และความเป็ นกันเอง หลีกเลี่ยงการใช้ อานาจและการเอาชนะ พยายามให้ ความเห็นใจและช่วยเหลือให้ มากที่สดุ
 กรณีที่หวั หน้ างานต้ องพูดกับเพื่อนร่วมงานที่มีประสิทธิภาพน้ อยนัน้ ควรใช้ วิธีพดู ปรึกษาขอความคิดเห็น และใช้ วิธี
พูดขอร้ อง

You might also like